Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore inbound2713248247827670540

inbound2713248247827670540

Published by thianon.maneewan.10, 2021-11-12 08:55:58

Description: inbound2713248247827670540

Search

Read the Text Version

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ผบู้ รหิ ารระบบเครอื ขา่ ย Network System Administer นยิ ามอาชพี วางแผน ศกึ ษา วเิ คราะห์ ออกแบบ นำ� ไปใชง้ าน ทดสอบ ประเมินผลและบ�ำรุงรักษาระบบเครือข่าย และระบบสอื่ สารขอ้ มลู อนื่ ๆ รวมทงั้ แกไ้ ขปญั หาตา่ ง ๆ ทีเ่ กิดข้นึ ลักษณะของงานท่ที ำ� 1. ผปู้ ระกอบอาชีพน้ี จะตอ้ งบริหารจดั การ และดูแลการท�ำงานของระบบแม่ข่าย เช่นเดียวกับ ระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น เคร่ืองเมนเฟรม และมินิ โดยหน้าท่ีของผู้บริหารระบบเครือข่ายจะ ครอบคลุมหนา้ ท่ใี นด้านต่าง ๆ ดังนี้ 2. ด้านบัญชีและสิทธิของผู้ใช้ระบบ ท�ำการเพิ่มผู้ใช้ใหม่ ระงับการใช้งานส�ำหรับผู้ใช้ ก�ำหนดสิทธิของ ผใู้ ชใ้ หใ้ ช้ทรพั ยากรใดได้บ้าง ก�ำหนดสิทธิการใชไ้ ฟล์ตา่ ง ๆ ฯลฯ 3. ด้านความปลอดภัยของระบบ ท�ำการก�ำหนดสิทธิ การเปิด-ปิดระบบ การส�ำรองข้อมูล และน�ำคืน 139 ขอ้ มูล ฯลฯ 4. กำ� หนดการจดั แบง่ และการใชง้ านทรพั ยากร บนั ทกึ ขอ้ มลู โครงสรา้ งของการจดั เกบ็ ขอ้ มลู การใชเ้ ครอื่ งพมิ พ์ ต่าง ๆ 5. ติดตั้งปรับปรุงระบบปฏิบัติการ ปรับรุ่นของระบบปฏิบัติการ การเพ่ิมดิสก์ใหม่ การเพิ่มอุปกรณ์หรือ ทรัพยากรของระบบ ฯลฯ 6. ติดตงั้ โปรแกรมประยุกต์และโปรแกรมระบบลงในแมข่ ่าย ดูแลสทิ ธิการใช้งานโปรแกรมต่าง ๆ ของผใู้ ช้ และกลมุ่ ผ้ใู ช้ 7. ปรบั ปรุงประสิทธิภาพของแม่ข่ายใหส้ ามารถรองรบั การใช้งานของผู้ใช้ในระบบได้ 8. ดูแลระบบเครือขา่ ยแลน ท้ังอุปกรณ์ และข่ายสายสัญญาณส�ำหรบั เครอื ข่ายย่อย 9. เปน็ ที่ปรึกษาใหแ้ ก่ผู้ใชร้ ะบบเครอื ขา่ ย สภาพการจ้างงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หรอื สาขาท่ีเกีย่ วข้อง สามารถปฏิบตั ิงานในสถานประกอบการภาคเอกชน จะได้รับคา่ ตอบแทนเปน็ เงนิ เดอื นทรี่ ะดบั เรม่ิ ตน้ การทำ� งานประมาณ 15,000 - 18,000 บาท สวสั ดกิ ารตา่ ง ๆ คา่ รกั ษาพยาบาล และโบนัสเปน็ ไปตามเงอ่ื นไขขอ้ ตกลงกบั ผ้วู ่าจ้าง ท�ำงานวนั ละ 8 ช่ัวโมง อาจท�ำงานล่วงเวลา วนั เสาร์ วนั อาทิตย์ และวันหยดุ ตามความจำ� เป็น

ท20่ตี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สภาพการทำ� งาน Department of Employment ผ้ทู ป่ี ระกอบอาชีพน้ี จะท�ำงานในสำ� นักงาน มสี ิง่ อำ� นวยความสะดวกสบายเช่นเดยี วกบั สำ� นกั งานทว่ั ไป ทีม่ ี เครอ่ื งคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบเครอื ขา่ ย จำ� เปน็ ตอ้ งนงั่ ทำ� งานหนา้ จอคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เวลานาน ๆ อาจจะเปน็ อนั ตราย ตอ่ สายตาได้ และมีอาการปวดเมอ่ื ยหลงั ได้ โอกาสในการมีงานท�ำ ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ สว่ นประกอบสำ� คญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในขณะทเี่ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้มีระบบเครือข่ายเพิ่มเป็นจ�ำนวนมาก แต่ปัจจุบันไม่สามารถสร้างบุคลากรที่มี ความเช่ียวชาญด้านบริหารระบบเครือข่ายได้ทันกับความต้องการ และไม่มีหลักสูตรท่ีผลิตบัณฑิตทางด้านระบบ เครอื ข่ายโดยตรง จงึ ท�ำให้ผบู้ รหิ ารระบบเครอื ข่ายทมี่ ีความรู้ ความสามารถ เป็นทีต่ อ้ งการของตลาดแรงงาน คณุ สมบัตขิ องผูป้ ระกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ หรอื สาขาทีเ่ ก่ยี วข้อง 2. ควรมีความรูเ้ ก่ียวกบั ระบบคอมพิวเตอรเ์ ปน็ อยา่ งดี ทั้งด้านฮารด์ แวร์ ระบบปฏิบตั ิการ โปรแกรมระบบ ระบบเครือข่าย 3. สนใจศึกษาระบบคอมพิวเตอร์จนมีความเชี่ยวชาญ หรือผ่านการฝึกอบรมด้านระบบเครือข่ายและ ระบบปฏิบัตกิ ารเครือขา่ ย เพ่ือใหม้ ีความสามารถในการปฏบิ ัติงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 4. สนใจและติดตามข้อมูลข่าวสารอยู่เสมอ เพราะในปัจจุบันนี้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ได้มีการพัฒนา อย่างรวดเรว็ 5. สามารถท�ำงานเปน็ ทมี ได้ 140 6. ขยัน อดทน และมีความรบั ผดิ ชอบสูง สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบนั การศึกษา สาขาวิทยาการคอมพวิ เตอร์ สถาบันการศึกษาที่สังกดั สำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา อาทิ - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เว็บไซต์ http://www.chula.ac.th/chula/th/main.htmln โทรศัพท์ 0-2215-0871-3 - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เว็บไซต์ http://www.ku.ac.th โทรศพั ท์ 0-2579-0113, 0-2942-8500-11 - มหาวิทยาลัยทกั ษณิ เว็บไซต์ http://www.tsu.ac.th โทรศัพท์ 0-7431-1885-7 สาขาวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ สถาบันการศกึ ษาทสี่ งั กดั ส�ำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา อาทิ - มหาวทิ ยาลัยเกษมบัณฑติ เวบ็ ไซต์ http://www.kbu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2321-6930-39 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://www.tu.ac.th โทรศัพท์ 0-2221-6111-20 - มหาวิทยาลัยรงั สิต เวบ็ ไซต์ http://www.rsu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2997-2200 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ เวบ็ ไซต์ http://www.kku.ac.th โทรศพั ท์ 0-4320-2222, 0-4320-3333 - มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล เวบ็ ไซต์ http://www.rmut.ac.th โทรศัพท์ 0-2549-4990-2 - สาขาการบรหิ ารระบบคอมพวิ เตอร์ และเครอื ขา่ ย มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ http://www.bu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2249-0141-4, 0-2350-3500 (เอกชน)

ทีต่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - สารสนเทศศาสตร์ สาขาบริหารระบบ มหาวิทยาลัยศรีปทุม http://www.spu.ac.th โทรศัพท์ กรมการ ัจดหางาน 0-2579-9120-39 (เอกชน) Department of Employment - สาขาเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย http://www.utcc.ac.th โทรศพั ท์ 0-2697-6000 (เอกชน) โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชีพ ผูบ้ รหิ ารระบบเครอื ข่ายท่มี ีความรู้ ความสามารถ และมีทักษะในการสื่อสารดีจะมโี อกาสเล่อื นต�ำแหน่งข้นึ มีโอกาสเลื่อนต�ำแหน่งตามโครงสร้างขององคก์ รจนเป็นผ้ชู ว่ ยผจู้ ดั การฝ่าย หรอื ผจู้ ดั การฝา่ ย และเป็นผู้บรหิ ารของ องค์กรได้ และอาจประกอบอาชพี เปน็ ท่ปี รกึ ษาอิสระได้ อาชีพที่เกย่ี วเนื่อง นกั ออกแบบระบบเครอื ขา่ ย นกั บรหิ ารระบบคอมพวิ เตอร์ นกั ออกแบบระบบ นกั บรหิ ารระบบเวบ็ นกั บรหิ าร ระบบฐานขอ้ มลู นักออกแบบระบบฐานข้อมลู แหล่งขอ้ มูลอ่ืน ๆ - ศูนยเ์ ทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แหง่ ชาติ (NECTEC) เว็บไซต์ http://www.nectec.or.th โทรศัพท์ 0-2564-6900 - สมาคมธุรกจิ คอมพวิ เตอร์ไทย เวบ็ ไซต์ http://www.atci.or.th โทรศัพท์ 0-2216 -5991 - ศูนย์วิจัยระบบเครือขา่ ย เวบ็ ไซต์ http://www.noc.mut.ac.th โทรศพั ท์ 0-2988-3655 - สถาบันพัฒนาผู้เช่ยี วชาญระบบเครือขา่ ยและความปลอดภัยข้อมูลคอมพิวเตอร์ เวบ็ ไซต ์ http://www. acisonline.net โทรศพั ท์ 0-2650-5771 - หลักสูตรอบรมวิชาชีพคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ http://www.itdestination.com โทรศพั ท์ 0-2509-8444, 141 02-509-0484 - ศนู ย์พัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศ เวบ็ ไซต์ http://www.cdit.co.th โทรศัพท์ 0-2421-7278-9

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ีต่ 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผู้บริหารระบบขา่ วสาร Management Information System (MIS) นยิ ามอาชพี ผู้บริหารระบบข่าวสาร เป็นท้ัง ผรู้ บั และผเู้ ผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสาร โดยตอ้ ง ตรวจสอบให้ถูกต้องก่อนน�ำไปเผยแพร่ แ ก ้ ไ ข ป ั ญ ห า ไ ด ้ อ ย ่ า ง ถู ก ต ้ อ ง แ ล ะ ทันกาล น�ำระบบและโปรแกรมต่าง ๆ ทางคอมพวิ เตอร์และสรรหาบคุ ลากร ลักษณะของงานที่ทำ� 1. ก�ำหนดมาตรฐานเพื่อให้ มนั่ ใจในความถกู ตอ้ งและความนา่ เชอื่ ถอื ของข้อมลู ข่าวสารท่ีเผยแพร่สภู่ ายนอก 2. วิเคราะห์และจัดการระบบข้อมลู เพือ่ การเผยแพรแ่ ละการน�ำเสนอ 142 3. ควบคุมและรบั ผดิ ชอบในการจดั การข่าวสารท้งั หมด กำ� กับดแู ลสง่ั การผ้ใู ต้บังคับบัญชา สภาพการจา้ งงาน ท�ำงานตามเวลาปกติ 8 ชั่วโมง/วนั เวน้ แต่มีงานเร่งดว่ น และจำ� เปน็ กอ็ าจจะตอ้ งทำ� งานมากกวา่ แต่กจ็ ะได้ รบั คา่ ตอบแทนการทำ� งานตามระเบยี บหรอื หลกั เกณฑท์ แ่ี ตล่ ะองคก์ รจะกำ� หนดขน้ึ เพราะความตอ้ งการขา่ วสารเพอ่ื การตดั สนิ ใจในการบรหิ ารงานตอ้ งไดใ้ หท้ นั ตอ่ เหตกุ ารณ์ และขอ้ มลู บางเรอื่ งทใี่ ชจ้ ะมกี ารเปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา สภาพการท�ำงาน ส่วนใหญ่ท�ำงานในสำ� นกั งาน มสี ง่ิ อำ� นวยความสะดวกสบายเชน่ ส�ำนักงานทว่ั ไป ที่มีเคร่อื งคอมพิวเตอรแ์ ละ ระบบเครอื ข่าย ชว่ ยในการคน้ หาข้อมูลในอินเทอรเ์ น็ต ผบู้ รหิ ารระบบขา่ วสาร จำ� เปน็ ตอ้ งนงั่ ทำ� งานศกึ ษาขอ้ มลู และเอกสารตา่ ง ๆ หนา้ จอคอมพวิ เตอรน์ าน ๆ อาจ จะเป็นอนั ตรายต่อสายตาได้ ด้านปวดขอ้ มอื ปวดแขน และการนั่งนาน ๆ ก็จะทำ� ให้ปวดหลังได้ โอกาสในการมงี านท�ำ ผู้บริหารระบบข่าวสาร เป็นผู้มีความรอบรู้ในการวิเคราะห์ ตรวจสอบข้อมูลข่าวสารเพ่ือความถูกต้องก่อน ที่จะน�ำมาเผยแพร่ ยิ่งเกิดความเปล่ียนแปลงในสภาพกาลปัจจุบันมากเท่าไร ความต้องการบุคลากรในสายงานน้ี ยอ่ มมคี วามตอ้ งการเพ่มิ มากข้ึน

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาีพรกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment คณุ สมบตั ขิ องผ้ปู ระกอบอาชพี 1. ส�ำเร็จการศกึ ษาตามสาขาวิชาทเี่ ก่ียวขอ้ ง 2. สามารถวิเคราะห์ ตรวจสอบ และควบคุม ระบบงานและการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบาย และแผนงานที่องค์กรก�ำหนดไว้ 3. มีสัมพันธภาพท่ีดีทั้งบุคคลภายในและ ภายนอกหน่วยงาน ผู้รว่ มงานและผู้ใต้บงั คับบัญชา 4. มคี วามสามารถในการถา่ ยทอดขอ้ มลู เพอื่ ให้ เกิดความถูกตอ้ ง น่าเชอื่ ถอื และสรา้ งภาพพจนท์ ่ีมีให้แก่ องคก์ ร 5. มีความสามารถในการตัดสินใจที่รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ และแก้ปัญหาที่เกิดข้ึนจากการท�ำงาน หรือปญั หาเฉพาะหน้าอ่นื ๆ ได้ดี สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา ศกึ ษาในหลักสตู รและสาขาทเ่ี กี่ยวข้องได้จากสถาบันอุดมศึกษาทว่ั ประเทศ โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี ผู้ทม่ี คี วามสามารถในการบรหิ าร มปี ระสบการณ์ และมีทกั ษะในการสอื่ สารดี จะมีโอกาสเล่อื นต�ำแหนง่ ขึ้น 143 เปน็ ผบู้ ริหารระดบั สูงขององคก์ รในทสี่ ดุ อาชีพท่ีเก่ียวเน่ือง นกั ขา่ ว นักวเิ คราะห์ เช่น นักวเิ คราะห์เศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง ผปู้ ฏบิ ตั งิ านด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ แหลง่ ข้อมูลอ่ืน ๆ - NECTEC สถาบันการศึกษา - สมาคมคอมพิวเตอร์แหง่ ประเทศไทย

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ีต่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผผู้ ลิตรายการโทรทศั น์ Television Poducer นิยามอาชีพ ผลิตหรือมอบหมายให้มีผู้ด�ำเนินการผลิต รายการโทรทัศน์ให้ส�ำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค ์ ติดตามดูแลงานของฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ ข้ันตอนการวางแผนการผลิตรายการ การ ดำ� เนนิ การผลติ และหลงั การดำ� เนนิ การผลติ ประเมนิ ผล รายการเพ่ือน�ำข้อมูลที่ได้มาเป็นแนวทางในการ จัดทำ� ตอ่ ไป ลักษณะการทำ� งาน นอกจากจะประสานงานในเรื่องรูปแบบและ ท่ีมางานฝ่ายต่าง ๆ แล้ว กระบวนการแต่ละข้ันตอน ในการท�ำงานทั้งในและนอกสถานที่ควรจะมีความสะดวกสบาย และมีปัญหาท่ีแตกต่างกัน ผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ 144 จึงตอ้ งเปน็ คนทส่ี ามารถแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้าตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเปน็ อย่างดี การทำ� งานจะอยภู่ ายใตข้ อ้ จำ� กดั ของเวลาผผู้ ลติ รายการโทรทศั น์ ตอ้ งมกี ารวางแผนงานทช่ี ดั เจน กระตอื รอื รน้ ในการท�ำงาน แอคทฟี ตลอดเวลา เพราะตอ้ งมผี ลงานสง่ อยา่ งสม�่ำเสมอตามขอ้ ตกลงกบั ทางชอ่ ง เพอื่ ใหท้ นั เวลาทไ่ี ด้ กำ� หนดเอาไว้ สภาพการจา้ งงาน การท�ำงานรายการโทรทศั นจ์ ะได้ผลตอบแทน ขน้ึ อยูก่ ับภาระหนา้ ที่ เงินเดือนในระบบของงานประจำ� และ จะไดข้ น้ึ ตามประสบการณท์ �ำงานและต�ำแหนง่ งาน แตห่ ากเปน็ ฟรีแลนซ์ (Freelance) ถา้ จะจา้ งเปน็ งาน ๆ รายไดก้ ็ จะแตกตา่ งกนั ขน้ึ อยกู่ บั รปู แบบความยากงา่ ยของงาน เมอ่ื คำ� นวณคา่ ใชจ้ า่ ยแลว้ อาจขอรบั เปน็ เงนิ กอ้ นทเี ดยี ว หรอื จ่ายเป็นงวด ๆ ตามลำ� ดับข้ันตอนของงาน ท้ังนี้ ขน้ึ อยู่กบั นโยบายหรอื ข้อตกลง สภาพการทำ� งาน ผผู้ ลติ รายการโทรทศั นจ์ ะมสี ถานทที่ ำ� งานทเี่ ปลยี่ นไปตามรปู แบบของรายการอาจเปน็ สตดู โิ อ หรอื ตอ้ งออก ไปถา่ ยท�ำนอกสถานท่ี เพอื่ ใหส้ อดคล้องกบั เรอื่ งทตี่ อ้ งการนำ� เสนอ - ต้องลงพื้นทเ่ี พอ่ื หาขอ้ มูล ขออนุมตั ิเจ้าของสถานทเี่ พ่อื การถา่ ยท�ำ หรอื จดั เตรยี มความพรอ้ มในสตูดโิ อ - เก็บภาพบรรยากาศต่าง ๆ เพื่อน�ำมาประกอบในรายการ บรรยากาศโดยรวม มีระบบการทำ� งานแบบเปน็ พเี่ ปน็ น้องกนั เวลาเข้าและออกงานจะไมแ่ นน่ อนขน้ึ อยูก่ ับ แตล่ ะงานและกระบวนการท�ำงานนัน้ ๆ

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสในการมีงานท�ำ กรมการ ัจดหางาน ในปัจจุบัน ได้มีช่องทางการบริโภคส่ือผ่านทางทีวีดิจิทัล และเปิดกว้างมากข้ึน ท�ำให้ช่องทางการรับสาร Department of Employment ของผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้น ดังนั้น ความต้องการในการผลิตรูปแบบรายการจึงมีมากข้ึนไปด้วย ดังน้ัน เพอื่ การตอบสนองความตอ้ งการแลว้ ผผู้ ลติ รายการโทรทศั นจ์ งึ มคี วามตอ้ งการสงู ตาม ความตอ้ งการจา้ งงานสายอาชพี ดังกลา่ ว จงึ มีโอกาสเพิม่ ขน้ึ อย่างต่อเนื่อง คณุ สมบัติของผปู้ ระกอบอาชีพ 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาจากคณะนเิ ทศศาสตร์ และ สาขาวชิ าที่เกย่ี วขอ้ ง 2. ต้องเป็นคนที่ท�ำงานอย่างเป็นระบบ มี ขน้ั ตอน ตรวจสอบไดง้ า่ ย เพราะมีขัน้ ตอนในการท�ำงาน ค่อนข้างมาก ตอ้ งเปน็ คนทม่ี ีความรับผิดชอบ 3. มคี วามละเอยี ด รอบคอบ กระตอื รอื รน้ และ ตรงตอ่ เวลา เพราะมเี ร่อื งเวลาการออกอากาศทช่ี ดั เจน 4. มีความรอบคอบ ควรตรวจสอบความ ถกู ต้องก่อนน�ำมาออกอากาศ 5. สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี ต้อง เป็นคนทีก่ ล้าตัดสินใจได้ทนั ท่วงที 6. มีการพัฒนาตัวเองและงานข้ึนไปเรื่อย ๆ เพราะกระแสตามความนิยมเปลี่ยนแปลงและเกิดข้ึนใหม่ อยูต่ ลอดเวลา ต้องตามให้ทัน และนำ� มาเสนอใหม้ คี วามนา่ สนใจใหม้ ากทส่ี ุด 7. มมี นษุ ยสัมพนั ธ์ทดี่ ี เพราะท�ำงานกันเปน็ ทีม และพบปะผคู้ นหลากหลายรูปแบบ 145 8. มีความคดิ สรา้ งสรรค์ สามารถคดิ รูปแบบหรอื วิธกี ารนำ� เสนอรายการใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา 9. มีวิธีการค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง มีความรู้รอบตัว สามารถเขียนสคริปต์ หรอื ค�ำบรรยายบทสมั ภาษณไ์ ด้ 10. มีความรู้พนื้ ฐานในเรื่องของการถา่ ยทำ� ระบบกล้อง ไฟ การตดั ต่อ เพ่ือสามารถดูภาพรวมของงานได้ สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบันการศึกษา หลักสูตรการผลิตสกู๊ปรายการโทรทัศน์ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ถึงแนวคิดและเทคนิคการผลิตสกู๊ปรายการให้ น่าสนใจ การสรา้ งและพัฒนาบท กระบวนการผลิต พรอ้ มท้ังการฝกึ ปฏิบตั ิ เช่น - สถาบันกนั ตนา วนั จันทร์-ศุกร์ เวลา 8.30 - 12.00 น. และ 13.00 - 18.00 น. - กนั ตนา เทรนนิง่ เซน็ เตอร์ วนั จันทร์-อาทิตย์ เวลา 8.30 - 12.00 น. และ 13.00 - 18.00 น. 999 หมู่ 2 ถนนศาลายา-บางภาษี ต�ำบลคลองโยง อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศพั ท์ 0-3424-0361- 4 สมัครผ่านทางอีเมล โดยส่งใบสมคั รพรอ้ มสำ� เนาใบโอนเงินมาที่อีเมล [email protected] - มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา หลักสูตรนเิ ทศศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาวทิ ยุโทรทศั น์ 1 ถนนอู่ทองนอก แขวงวชริ ะ เขตดสุ ติ กรงุ เทพฯ 10300

ท20่ตี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ Department of Employment - ความกา้ วหนา้ ของผผู้ ลติ รายการโทรทศั นน์ นั้ จะมาจากประสบการณก์ ารท�ำงาน และมคี ณุ สมบตั คิ รบถว้ น การมคี อนเนคชั่น (Connection) ท่ีดเี พ่ือขยายหรอื ต่อยอดงานต่อไป - หากท�ำงานได้อย่างมีศักยภาพในภาพรวม ก็จะได้เล่ือนต�ำแหน่งเป็นโปรดิวเซอร์ เป็นคนที่ก�ำหนด รปู แบบกระบวนการท�ำงาน และตดั สินใจเรือ่ งตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ ในรายการ - เป็นผู้ควบคุมการผลิต มีหน้าท่ีดูแลภาพรวมของทุกรายการท่ีมีอยู่ในบริษัท รวมไปถึงเรื่องงบประมาณ ความเหมาะสม การตลาด และการก�ำหนดรูปแบบรายการ ลูกค้าของผผู้ ลติ รายการโทรทัศนแ์ บ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ดงั น้ี - ช่องโทรทัศน์ ช่องแต่ละช่องมีรูปแบบและกลุ่มเป้าหมายที่แตกต่างกัน เพราะฉะน้ันในการผลิตรายการ โทรทศั นต์ ้องค�ำนึงถงึ ชอ่ งทจ่ี ะรองรับรายการของเรา แต่ละช่องมีข้อจ�ำกัดอย่างไรบ้าง - นายทุน หรือสปอนเซอร์ ท่ีให้งบประมาณเพ่ือน�ำไปผลิตรายการ ก็จะขึ้นอยู่ที่ว่าต้องผลิตรายการให้ตรง ตามความต้องการของนายทุน - ผูช้ ม คอื กลมุ่ เปา้ หมายหลกั ท่จี ะบ่งชีว้ า่ รายการทเ่ี ราผลติ น้นั ประสบความส�ำเรจ็ มากน้อยเพยี งใด โดยมา จากการสำ� รวจและวดั ความนยิ ม (Rating) จงึ ตอ้ งมกี ารคดิ รปู แบบของรายการ ใหต้ รงตามความตอ้ งการ ตามกระแส นยิ ม หรอื หารเรื่องราวใหม่ ๆ ใหค้ วามแตกตา่ ง เพอ่ื ดงึ ดดู ความสนใจจากผชู้ มกลุ่มเปา้ หมาย อาชพี ที่เกย่ี วเน่ือง ผู้ก�ำกับรายการโทรทัศน์ นักเขียนบทรายการ โทรทัศน์ ครีเอทีฟรายการโทรทัศน์ ดารา นักแสดง นักร้อง พิธีกร แขกรับเชิญท่ีเป็นบุคคลทั่วไป เจ้าหน้าที่ 146 ตัดต่อและล�ำดับภาพ ช่างภาพกล้องวีดิทัศน์ โปรดิวเซอร์ รายการโทรทัศน์ ผู้จัดการกองถ่าย เจ้าหน้าที่กราฟิก ผู้ด�ำเนินรายการโทรทัศน์ ผู้ประกาศข่าว ผู้ส่ือข่าว ผู้ผลิต รายการวิทยโุ ทรทัศน์ทางอินเทอร์เนต็ แหลง่ ข้อมลู อนื่ ๆ - สมาคมกิจการวิทยกุ ระจายเสยี งและวิทยุโทรทศั น์ (สก.วท.) เว็บไซต์ http://www.btrt60.com/ - องคก์ ารกระจายเสียงและแพรภ่ าพสาธารณะแหง่ ประเทศไทย (ส.ส.ท.) เว็บไซต์ http://www2.thaipbs. or.th/IndependentProducers/ - กันตนา เว็บไซต์ http://www.kantana.com/ - ดีดา้ วิดโี อ โปรดักช่ัน เว็บไซต์ http://www.dida.tv/home.aspx - ทีวีธนั เดอร์ เวบ็ ไซต์ http://www.tvthunder.co.th/ - ทีวีบูรพา เว็บไซต์ http://www.tvburabha.com/ - บีอีซี-เทโร เอน็ เตอร์เทนเม้นท์ เว็บไซต์ http://www.bectero.com/index.php - บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชัน่ เว็บไซต์ http://www.broadcastthai.com/ - เปา่ จิน จง เวบ็ ไซต์ http://www.paujinjong.com/ - โพลีพลสั เว็บไซต์ http://www.polyplus.co.th/ - เวิร์คพอยท์ เอน็ เทอรเ์ ทนเมนท์ เวบ็ ไซต์ http://www.workpoint.co.th/ - สยามอินเตอรม์ ลั ตมิ ีเดีย เวบ็ ไซต์ http://www.smm.co.th/

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ผู้พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ Information System Developer นยิ ามอาชีพ วางแผน ศกึ ษา วเิ คราะห์ ออกแบบ น�ำไปใชง้ าน ทดสอบ ประเมินผลและบ�ำรุงรักษาระบบฐานข้อมูลและโปรแกรมระบบ จดั การฐานขอ้ มลู รวมทัง้ แก้ไขปัญหาตา่ ง ๆ ท่เี กิดขึน้ ลักษณะของงานทีท่ �ำ 1. ศกึ ษาและค้นหาปัญหาหรอื ความตอ้ งการขององค์กรจากผูบ้ ริหาร ต้องเขา้ ใจเป้าหมายของแต่ละระบบ งานขององคก์ ร 2. ก�ำหนดเป้าหมายของการท�ำงานของระบบการท�ำงานของคอมพวิ เตอร์ 3. ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลที่จะน�ำเข้ามาในระบบคอมพิวเตอร์ ออกแบบรายงานของคอมพิวเตอร์ให้ตรงกับ ความต้องการของฝา่ ยบริหารเพ่ือประกอบการตดั สนิ ใจ 4. ประมาณการค่าใช้จา่ ยในการพัฒนาระบบต่าง ๆ ใหก้ ับฝา่ ยบริหารในการตดั สนิ ใจ เมอ่ื ไดร้ บั อนมุ ัติแลว้ ต้องทดสอบให้ม่นั ใจวา่ โปรแกรมหรือระบบปฏิบัติการโดยรวมท�ำงานไดจ้ รงิ ตามที่ไดอ้ อกแบบไว้ 5. ควบคมุ และรบั ผดิ ชอบงานในการจดั การขา่ วสารทงั้ หมด เรม่ิ ตง้ั แตก่ ารออกแบบระบบ การวเิ คราะหร์ ะบบ 147 การเขียนโปรแกรมระบบ การควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถด�ำเนินการได้ตามต้องการ รวมถึงการน�ำเสนอ รายงานตอ่ ผบู้ รหิ ารเพอ่ื การตดั สนิ ใจ ตอ้ งเขา้ ใจในระบบงานตา่ ง ๆ ขององคก์ ร ตง้ั แตง่ านในระดบั ปฏบิ ตั กิ ารประจำ� วนั งานการบริหารจัดการข้อมูลภายนอกท่ีจะมีผลกระทบต่องานธุรกิจขององค์กร เพื่อน�ำข้อมูลต่าง ๆ มาประมวลผล เปน็ ขอ้ มลู ข่าวสารใหผ้ บู้ รหิ าร สภาพการจา้ งงาน ผู้ปฏิบัติอาชีพนี้ ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจนถึงระดับปริญญาโท ในสาขาคอมพิวเตอร์ หรือสาขา เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอื่ สาร หากรบั ราชการ จะไดร้ บั คา่ ตอบแทนเปน็ เงนิ เดอื น ไดร้ บั สวสั ดกิ าร และเบย้ี เลยี้ ง ตามระเบยี บส�ำนกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น สำ� หรบั ผทู้ ที่ ำ� งานนใ้ี นภาคเอกชน จะไดร้ บั คา่ ตอบแทนเปน็ เงนิ เดอื นทร่ี ะดบั เรม่ิ ตน้ การทำ� งาน นอกจากนี้ ยงั ได้รบั สวัสดกิ ารตา่ ง ๆ ค่ารักษาพยาบาล และโบนสั ตามเง่ือนไขขอ้ ตกลงกบั ผูว้ ่าจา้ ง ท�ำงานวันละ 8 - 9 ชว่ั โมง อาจ ท�ำงานลว่ งเวลา วันเสาร์ วนั อาทติ ย์ และวนั หยดุ ตามความจ�ำเป็น สภาพการทำ� งาน ส่วนใหญ่ท�ำงานในส�ำนักงาน มีส่ิงอ�ำนวยความสะดวกสบายเช่นเดียวกับส�ำนักงานทั่วไป ท่ีมีเครื่อง คอมพวิ เตอรแ์ ละระบบเครอื ข่าย ช่วยในการค้นหาขอ้ มูลในอนิ เทอร์เน็ต ผูป้ ฏิบัตงิ านอาชพี น้ี จ�ำเป็นต้องนั่งทำ� งาน

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ตี่ 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ศกึ ษาข้อมูลและเอกสารตา่ ง ๆ ซ่งึ อาจจะต้องน่ังอยู่หน้าจอคอมพวิ เตอร์เป็นเวลานาน ๆ ซ่ึงอาจจะเปน็ อันตรายตอ่ สายตาได้ และการที่ต้องพิมพ์งานบนแป้นพมิ พเ์ ปน็ เวลานาน ๆ อาจจะมปี ัญหาการปวดขอ้ มือ ปวดแขน และการนง่ั ตวั ตรงนาน ๆ กจ็ ะท�ำให้ปวดหลงั ได้ โอกาสในการมีงานทำ� ปัจจุบันแนวโน้มความต้องการจ้างงานส�ำหรับผู้ท่ีปฏิบัติงานในด้านการบริหารจัดการข่าวสารยังมีอีกมาก ย่งิ การพฒั นาทางดา้ นคอมพวิ เตอร์ซบั ซอ้ นยงุ่ ยากมากข้นึ เท่าใด ความตอ้ งการผ้ทู ี่ประกอบอาชีพนจ้ี ะเพมิ่ สงู ขึ้นตาม เนอื่ งจากข้อมูลขา่ วสารเปน็ ปัจจัยสำ� คญั ต่อการตัดสนิ ใจของผบู้ รหิ ารในองคก์ ร สถาบัน หรอื หน่วยงานต่าง ๆ ซึง่ มี ความส�ำคญั มากในการด�ำเนนิ ธุรกจิ และในการแข่งขนั ด้านการตลาด ผู้เช่ยี วชาญด้านฐานขอ้ มูล คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชพี 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจนถึงระดับปริญญาโท ในสาขาคอมพิวเตอร์ หรือสาขาเทคโนโลยี สารสนเทศ และการส่ือสาร 2. ควรมีความรทู้ างดา้ นการเขียนภาษาคอมพวิ เตอร์ 3. สามารถวิเคราะหแ์ ละแกไ้ ขปญั หาได้ดี 4. ทักษะทางดา้ นคณติ ศาสตร์และภาษาองั กฤษอยู่ในเกณฑ์ดี 5. มีทักษะในการตดิ ต่อสือ่ สาร 6. มนุษยสัมพันธ์ดี 7. มีทกั ษะในการควบคมุ ผู้ใตบ้ งั คับบัญชา 148 สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบนั การศกึ ษา - มหาวิทยาลยั มหิดล เว็บไซต์ http://www.mahidol.ac.th/muthai/ โทรศพั ท์ 0-2201-5000 - มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://www.ku.ac.th/ โทรศพั ท์ 0-2579-0113, 0-2942-8500-11 - มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เวบ็ ไซต์ http://www.chiangmai.ac.th โทรศพั ท์ 0-5322-1699, 0-5394-1000 - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เว็บไซต์ http://www.tu.ac.th โทรศัพท์ 0-2221-6111-20 - มหาวิทยาลยั นเรศวร เวบ็ ไซต์ http://www.nu.ac.th โทรศพั ท์ 0-5526-1000-4 สาขาวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ อาทิ - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เว็บไซต์ http://www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศัพท์ 0-2215-0871-3 - มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ เวบ็ ไซต์ http://www.tsu.ac.th โทรศัพท์ 0-7431-1885-7 สาขาระบบสารสนเทศเพอื่ การจัดการ ส�ำนกั วชิ าเทคโนโลยที รัพยากร อาทิ - มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี เวบ็ ไซต์ http://www.sut.ac.th โทรศพั ท์ 0-4422-3000 (เอกชน) - คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เว็บไซต์ http://www.kmutt.ac.th โทรศพั ท์ 0-2427-0039, 0-2427-0059 - เทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธรรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เว็บไซต์ http:// www.tu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2221-6111-20

ทตี่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ โครงการร่วมมือระหว่างคณะบริหารธุรกิจ และส�ำนักงานการศึกษา กรมการ ัจดหางาน ระบบสารสนเทศ สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ http://www.nida.ac.th โทรศพั ท์ 0-2374-4977, 0-2377- Department of Employment 7400-19 สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ ในสถาบันการศึกษาอื่น ๆ สังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศกึ ษา โอกาสความกา้ วหน้าในอาชพี ผทู้ รี่ บั ราชการหรอื เปน็ พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ จะไดเ้ ลอ่ื นตำ� แหนง่ และเงนิ เดอื น ตามกฎระเบยี บทว่ี างไว้ ในสว่ น ผู้ประกอบอาชีพนี้ในภาคเอกชนควรศึกษาต่อในระดับปริญญาโท และหรือปริญญาเอก เพ่ือเพ่ิมโอกาสในการปรับ เล่ือนขั้น เลื่อนต�ำแหน่งที่สูงขึ้น และหากผู้ประกอบอาชีพนี้มีความสามารถในการบริหารและจัดการระบบข่าวสาร มปี ระสบการณ์ และมีทักษะในการสอื่ สารดี จะมโี อกาสเลื่อนตำ� แหน่งขึ้นเป็นผบู้ รหิ ารระดบั สูงขององค์กรได ้ อาชีพท่เี ก่ยี วเนื่อง อาจารยห์ รอื วทิ ยากรบรรยาย คอมพวิ เตอร์โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ด้านการบรหิ าร แหล่งขอ้ มูลอน่ื ๆ - ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) เว็บไซต์ http://www.nectec. or.th/ite โทรศัพท์ 0-2642-5001-10 - สมาคมธรุ กิจคอมพิวเตอรไ์ ทย เว็บไซต์ http://www.atci.or.th โทรศัพท์ 0-2216-5991 - ฐานขอ้ มลู หนว่ ยงานของรฐั เว็บไซต์ http://www.oic.thaigov.go.th/ginfo โทรศัพท์ 0-2281-8552, 0-2281-8553 149 - ชมรมไทยเวบ็ มาสเตอร์ เวบ็ ไซต์ http://www.webmaster.or.th โทรศพั ท์ 0-2962-2684, 0-2962-2900 ต่อ 2211

กรมการ ัจดหางาน ท20ีต่ 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผสู้ ื่อขา่ วโทรทัศน์ Television News Reporter นิยามอาชพี เก็บข่าวด้วยวิธีการสัมภาษณ์ สอบถาม หรือโดยวิธีอ่ืน ๆ ท่ีจะท�ำให้ การเก็บข่าวถูกต้องเสนอข่าวในลักษณะ ที่ชัดเจน รัดกุม และถูกต้อง รับและ ศึกษาประเด็นข่าวท่ีได้รับมอบหมาย รวบรวม ค้นคว้า และจัดเตรียมข้อมูล เกีย่ วกบั ประเดน็ ขา่ ว ตดิ ต่อประสานงาน สมั ภาษณบ์ คุ คล บนั ทึกและเกบ็ รวบรวม ข้อมูลจากแหล่งข่าว ตรวจสอบ คัดเลือก ข้อมูลและเขียนข่าว เสนอข่าวท่ีเขียน ต่อกองบรรณาธิการเพ่ือพจิ ารณาอนุมตั ิศกึ ษา คน้ ควา้ ติดตามข่าวสารอยา่ งต่อเนื่องเพ่ือใช้เป็นขอ้ มูลในการท�ำขา่ ว ปฏิบัติงานอ่ืนตามที่ได้รับมอบหมาย อาจส่งรายงานข่าวจากท้องถิ่นท่ีห่างไกลให้แก่สถานี อาจเชี่ยวชาญในการหา 150 ขา่ วประเภทใดประเภทหนงึ่ โดยเฉพาะและอาจมชี ือ่ เรยี กตามสายงานทท่ี �ำ ลกั ษณะของงานที่ทำ� ผสู้ อ่ื ขา่ วหรอื นกั ขา่ วทสี่ งั กดั อยกู่ บั สอื่ มวลชนใดกต็ ามตอ้ งปฏบิ ตั หิ นา้ ทห่ี ลกั อยา่ งเดยี วกนั คอื เสาะแสวงหาขา่ ว เจาะข่าว และท�ำขา่ วด้วยวิธีการสัมภาษณ์ สอบถาม เข้าร่วมฟังในท่ีประชมุ แถลงข่าวการสัมมนา ตดิ ตามเหตกุ ารณ์ คดตี า่ ง ๆ หรอื ปฏบิ ตั งิ านตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมายใหท้ ำ� ขา่ วหรอื สารคดเี ฉพาะเรอื่ งจดบนั ทกึ ขอ้ เทจ็ จรงิ จากการสงั เกต การสัมภาษณ์ การสอบถาม การถา่ ยภาพ การบันทกึ เทปเสยี งเทปโทรทศั น์ วดิ โี อเทป เขยี นขา่ วตามรปู แบบของการ เสนอขา่ วทถี่ กู ตอ้ ง ชดั เจน โปรง่ ใส และมรี ายละเอยี ดตามความเหมาะสมเรอ่ื งหรอื เหตกุ ารณท์ เี่ ปน็ ขา่ ว สง่ ขา่ วใหก้ บั กองบรรณาธกิ ารเพอ่ื พจิ ารณากอ่ นเผยแพรโ่ ดยการออกอากาศหรอื ลงพมิ พใ์ นสง่ิ พมิ พต์ ามวตั ถปุ ระสงคข์ องการเสนอ ขา่ วแกส่ าธารณชน การรายงานขา่ วอาจรายงานสดตรงมา หรอื สถานทที่ เี่ ปน็ ขา่ ว เชน่ ผลของการเลอื กตง้ั สงครามใน พน้ื ทจ่ี รงิ ทอ่ี ย่ใู นทหี่ า่ งไกลในประเทศ ต่างประเทศ มุมใดมุมหนึ่งของโลกโดยผา่ นอุปกรณ์การสอ่ื สาร เช่น โทรศัพท์ วิทยสุ ือ่ สาร เครื่องโทรสาร และอินเทอรเ์ นต็ เปน็ ต้น ผสู้ อ่ื ขา่ วทเี่ ชยี่ วชาญหรอื ไดร้ บั มอบหมายใหท้ �ำขา่ วดา้ นใดดา้ นหนงึ่ อาจไดร้ บั การเรยี กชอื่ หรอื วา่ จา้ งตามสาย งานทปี่ ฏิบตั เิ ช่น ผสู้ ่ือขา่ วสายการเมอื ง ผสู้ อื่ ข่าวสายเศรษฐกิจ ผู้ส่อื ข่าวสายสิง่ แวดลอ้ ม ผสู้ ือ่ ข่าวสารอาชญากรรม หรืออาจได้รับการเรียกตามสถานที่ท่ีไปท�ำข่าวเป็นประจ�ำ ได้แก่ ผู้ส่ือข่าวประจ�ำท�ำเนียบรัฐบาล ผู้สื่อข่าวประจ�ำ กระทรวงกไ็ ดผ้ ูส้ ่อื ข่าวจะตอ้ งรบั ผิดชอบในการทำ� ขา่ วใหไ้ ด้อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 1 ชน้ิ งาน แตถ่ า้ เป็นขา่ วท่ีต้องวเิ คราะห์ เจาะลึกอาจต้องใช้เวลา 3 - 4 วันในการทำ� ขา่ ว

ทต่ี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการจา้ งงาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ผู้สื่อข่าวท่ีท�ำงานในองค์กรสื่อสารมวลชนของรัฐบาลจะได้รับค่าจ้างอัตราตามวุฒิการศึกษา ส่วนองค์กร ส่ือมวลชนภาคเอกชนค่าตอบแทนสวัสดิการสูงเนื่องจากมีชั่วโมงท�ำงานท่ียาวนานกว่าผู้สื่อข่าวในหน่วยงานของรัฐ ผู้สื่อข่าวสื่อมวลชนในส่ือของเอกชนจะได้รับค่าตอบแทนขั้นต่�ำประมาณ 16,500 - 19,700 บาท ไม่รวมค่า ยานพาหนะประจ�ำเดือนเดือนละประมาณ 2,000 – 4,000 บาท เพราะมีความคล่องตัวในการท�ำงานมากกว่า ผสู้ อ่ื ขา่ วขององคก์ รสอื่ สารมวลชนในความดแู ลของรฐั สามารถเบกิ คา่ เลยี้ งรบั รองคา่ ใชจ้ า่ ยในการหาซอื้ และคน้ ควา้ หาข้อมลู นอกเหนือจากสวสั ดกิ ารท่ีไดร้ ับตามหลกั เกณฑท์ ่แี ต่ละองคก์ รก�ำหนด นกั ข่าวอสิ ระจะต้องมีประสบการณ์ และสายสมั พนั ธ์มากอยา่ งนอ้ ย 3 ปี และจะได้คา่ ตอบแทนการเขียนขา่ วเรือ่ งละประมาณ 2,000 - 10,000 บาท ตามความส�ำคัญและความยากง่ายของข่าว ระยะเวลาท�ำงานของผู้สื่อข่าวไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับเหตุการณ์และ ความจ�ำเปน็ ทีต่ ้องหาข่าว จงึ อาจกลา่ วไดว้ ่าผสู้ อ่ื ขา่ วต้องทำ� งาน 24 ชว่ั โมง สภาพการทำ� งาน เนื่องจากมีการแข่งขันในการน�ำเสนอ ข่าวสารจากส่ือมวลชนอย่างกว้างขวาง การรายงานข่าวในปัจจุบันจึงต้องด�ำเนินการ ตลอด 24 ช่ัวโมงโดยไม่มีผลัดของเวลา การท�ำงาน เพราะอาจได้รับมอบหมายให้ รับผิดชอบเพียงผู้เดียว ผู้ส่ือข่าวหรือนักข่าว ตอ้ งทำ� งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายใหท้ นั ตามกำ� หนด เวลาของการปิดข่าวหรือส่งต้นฉบับข่าว เพื่อ น�ำเข้าสู่กระบวนการในความรับผิดชอบของ 151 กองบรรณาธิการท่ีต้องตรวจความถูกต้องของ เนื้อหาข่าวก่อนการส่งเพื่อการแพร่ภาพและกระจายเสียงหรือออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ เคเบิ้ลทีวีและ ทางส่ืออินเทอร์เน็ต ดังนั้นสภาพการท�ำงานจึงมีความกดดันสูง เพราะเร่งรีบด�ำเนินการเพ่ือให้มีโอกาสเสนอข่าว เป็นแหล่งแรก ข่าวสารที่เสนอจะต้องมีความถูกต้องแม่นย�ำในเน้ือหาของข่าวท่ีน�ำเสนอและต้องเจาะลึกเพื่อให้ได้ ขา่ วทแี่ ท้จริง ผู้สอื่ ข่าวท่ดี ีนอกเหนือจากปฏบิ ัติตนเป็นท่ีนา่ เชื่อถือในทางวิชาชีพแล้วยงั ตอ้ งรบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าที่ คือมีการ เตรยี มตวั หาขอ้ มลู ของแหลง่ ขา่ วทจี่ ะไปสมั ภาษณห์ รอื เรยี กกนั วา่ ทำ� การบา้ นลว่ งหนา้ โดยปรกึ ษาผมู้ คี วามรอู้ ยา่ งเชน่ บรรณาธกิ าร นกั วชิ าการ การคน้ ควา้ อกี ทงั้ ตอ้ งเปน็ ผทู้ สี่ นใจหาความรมู้ ากกวา่ สายงานทต่ี นเองรบั ผดิ ชอบ เพอ่ื ใหไ้ ด้ มาซงึ่ ข้อมูลครอบคลุมทกุ ประเดน็ ในการน�ำเสนอข่าว ผสู้ ่อื ข่าวอาจจะต้องนัดหมายสัมภาษณ์ผูท้ เ่ี ห็นเหตุการณ์หรือ เกยี่ วขอ้ งกบั เหตกุ ารณ์ ผสู้ อื่ ขา่ วอาจจะตอ้ งระมดั ระวงั และมคี วามรอบคอบในการทำ� งานเพราะในบางครงั้ อาจจะเสยี่ ง อนั ตรายจากอทิ ธพิ ลจากตวั บคุ คลหรอื ในทอ้ งทท่ี รุ กนั ดารบางแหง่ อาจจะไมม่ คี วามปลอดภยั เชน่ การทำ� ขา่ วเกยี่ วกบั สงครามหรอื เรือ่ งท่มี อี ทิ ธพิ ลอยเู่ บ้ืองหลัง ผสู้ อ่ื ข่าวคอ่ นข้างมีอสิ ระในการทำ� งานสงู มีเง่อื นไขท่ตี ้องรับผดิ ชอบสงู ใน ผลงานทตี่ อ้ งทำ� ใหเ้ สรจ็ ตามกำ� หนดสง่ เนอ่ื งจากสอ่ื มวลชนมอี ทิ ธพิ ลในชวี ติ ประจำ� วนั ของผบู้ รโิ ภค สามารถโนม้ นา้ ว และชี้น�ำหรือชักจูงผู้รับข่าวสารหรือสาธารณชนได้ ผู้สื่อข่าวจึงควรค�ำนึงถึงบทบาทในการรับผิดชอบต่อสังคม เช่น เดียวกับสื่อมวลชนและทุกวันนี้ท้ังผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารได้ตระหนักถึงอิทธิพลเหล่าน้ีเช่นกัน จึงได้จัดต้ัง กลุ่มข้ึนมาตรวจข้อมูลข่าวสารทั้งจากทางธุรกิจและเน้ือหาสาระที่น�ำเสนอ อย่างเช่น สมาคมคุ้มครองผู้บริโภคหรือ สมาพนั ธผ์ สู้ ่อื ขา่ วแหง่ ประเทศไทย ฯลฯ

ท20่ตี 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน โอกาสในการมีงานท�ำ Department of Employment ปัจจุบันส่ือสารมวลชนได้เปล่ียนเข้าสู่ยุคของทางด่วนข้อมูลข่าวสารในระบบดิจิทัลท�ำให้มีการขยายตัว ทางธุรกิจและการควบรวมกิจการเช่าช่วงหรือสัมปทานในการประมูลสื่อมวลชนจากภาครัฐบาลเพ่ือมาด�ำเนินการ เผยแพร่ข่าวสารครบวงจร เช่น เจ้าของสื่อธุรกิจโทรทัศน์ จะมีสถานีวิทยุ นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ ครอบคลุมไปถึงการเสนอข่าวทางอินเทอร์เน็ตเพื่อเสนอข่าวสู่ชุมชนหรือผู้รับข่าวสารทุกกลุ่มทุกวัยให้ครบ ทุกรูปแบบ โดยครอบคลุมทั้งเนื้อหาสาระทางภูมิปัญญาและบันเทิงจึงท�ำให้มีการแข่งขันกันสูงในการ รายงานข่าว ซึ่งต้องการความรวดเร็วทันเวลาและใกล้ชิดกับเหตุการณ์ท�ำให้แนวโน้มตลาดแรงงาน ด้านการรับสมัครผู้สื่อข่าวรายงานข่าว หรือนักข่าวของวิทยุโทรทัศน์หนังสือพิมพ์ นิตยสารและวารสารจึงมี มากข้ึนกว่าในอดีต โดยเฉพาะกลุ่มผู้ส่ือข่าวกลุ่มใหม่คือผู้สื่อข่าวอิเล็กทรอนิกส์หรือ (e-reporter) ที่ต้องการ ความช�ำนาญทางด้านอินเทอร์เน็ตในการสื่อสาร โดยผู้รับข่าวสารจะมีบทบาทมากข้ึนในการโต้ตอบแสดง ความคิดเห็นต่อข่าวท่ีได้รับกับสื่อมวลชนและผู้สื่อข่าวประเภทนี้ได้ทันที ส่วนผู้ส่ือข่าวที่มีความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้านและมีความน่าเช่ือถือสามารถท�ำงานเป็นอิสระให้กับส่ือมวลชนต่าง ๆ ได้ในพื้นที่ภูมิประเทศ ท่ีไกล ๆ ซึ่งเป็นผู้ส่ือข่าวที่ไม่ประจ�ำหรือเรียกว่าผู้ส่ือข่าวอิสระ (Freelance Reporter) ซ่ึงสามารถท�ำข่าวเสนอ ให้กับองค์กรสื่อสารมวลชน ส�ำนักข่าวต่าง ๆ ทั่วโลกได้ถ้ามีความสามารถด้านภาษาต่างประเทศจะเป็นส่วน ที่ช่วยส่งเสริมหรือได้รับการว่าจ้างจากส่ือต่างประเทศที่มีส�ำนักข่าวหรือกองบรรณาธิการอยู่ในประเทศ หรืออาจ ประจำ� อยใู่ นภูมิภาคดว้ ยอัตราค่าจ้างและผลประโยชนต์ อบแทนอย่างอืน่ ๆ ที่คอ่ นข้างสงู คุณสมบตั ขิ องผปู้ ระกอบอาชีพ 1. ควรมีความสนใจความเคลื่อนไหวของข่าวสารท่ัวโลก เป็นนักสังเกตการณ์ท่ีสามารถเข้าใจสถานการณ์ น้นั ๆ และสามารถสอื่ สารรายงานขอ้ มลู ข่าวสารได้ถูกต้องและแม่นยำ� 152 2. ต้องมีสขุ ภาพร่างกายแขง็ แรงมีความอดทน ระมัดระวังและรอบคอบ สุขุม 3. ท�ำงานเป็นทีมได้ พร้อมปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ขณะปฏิบัติหน้าท่ีได้เป็นอย่างดี มคี วามรบั ผิดชอบสูงต่อทั้งแหลง่ ขา่ วและตอ่ วชิ าชพี 4. สามารถทำ� งานใหล้ ลุ ว่ งตามหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบใหท้ นั ตามกำ� หนดเวลา ซงึ่ อาจตอ้ งใชเ้ วลามากกวา่ บคุ ลากร ในอาชีพอ่นื ๆ 5. มคี วามกล้าในการปฏิบัตกิ าร หรือการน�ำเสนอข่าวท่บี างคร้งั อาจเสี่ยงอนั ตรายถึงชวี ติ 6. สามารถถา่ ยภาพและใช้อุปกรณเ์ ครอื่ งมือส่อื สารได้ทุกชนิด 7. มคี วามเข้าใจในเรอื่ งสทิ ธมิ นษุ ยชนอย่างถอ่ งแท้ สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา - คณะวารสารศาสตรแ์ ละสอ่ื สารมวลชน มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ศูนยร์ ังสติ 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลคลองหน่ึง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121 โทรศัพท์ 0-2696-6215 โทรสาร 0-2696-6218 อเี มล [email protected] - คณะวารสารศาสตร์และส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ อาคารธรรมศาสตร์ 60 ปี ชัน้ 4 เลขที่ 2 ถนนพระจันทร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2613- 2733, 0-2613-2734 โทรสาร 0-2613-2726 อีเมล [email protected]

ที่ตลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - ภาควิชานิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ สาขาสื่อสารมวลชน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย กรมการ ัจดหางาน เกษตรศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://cai.hum.ku.ac.th/PAGE/academic01.html Department of Employment - สาขาวิทยุกระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรงุ เทพ วทิ ยาเขตกลว้ ยน้�ำไท เลขท่ี 119 ถนนพระราม 4 เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2350-3500-99 โทรสาร 0-2240-1516 อเี มล [email protected] รบั สมัคร 0-2249-5132-6 (สายตรง) 0-2350-3500 ต่อ 1582-1588, 1609-1610 โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี ผู้ปฏิบัติงานในอาชีพผู้สื่อข่าว เมื่อช�ำนาญ ในการหาขา่ ว สรา้ งแหลง่ ขา่ วและพฒั นาการทำ� ขา่ ว จนเป็นที่น่าเชื่อถือของกองบรรณาธิการ ประมาณ 1 -2 ปี ก็จะได้รับการเล่ือนต�ำแหน่งหรือมีโอกาส ไปศึกษาหรือดูงานสัมมนาร่วมกับสื่อมวลชนจาก ตา่ งประเทศหรอื ไดร้ บั ทนุ ใหไ้ ปศกึ ษาตอ่ จากเจา้ ของ องค์กรสื่อน้ัน ๆ จากนั้น จะได้เป็นหัวหน้าข่าว นกั ขา่ วอาวโุ ส ผชู้ ว่ ยบรรณาธกิ ารจนถงึ บรรณาธกิ าร หรือเลื่อนข้ึนเป็นฝ่ายบริหารจัดการ หรือสามารถ เลอื กทำ� งานกบั สอื่ แขนงอนื่ ๆ ไดต้ ามความสามารถ และความตอ้ งการ ความม่นั คงของงานขนึ้ อยกู่ บั ความสามารถและการพฒั นาตนเองของผสู้ ่อื ข่าว อาชีพทีเ่ กย่ี วเนอ่ื ง 153 นักประชาสมั พนั ธ์ นักหนังสือพมิ พ์ ผจู้ ดั รายการวทิ ยุโทรทัศน์ พิธีกรผูด้ �ำเนนิ รายการวิทยโุ ทรทศั น์ ผ้เู ขยี น บทโทรทศั น์ คอลัมนสิ ต์ ช่างภาพ ผผู้ ลติ รายการวทิ ยโุ ทรทัศน์ แหลง่ ขอ้ มลู อื่น ๆ - ประกาศโฆษณารับสมคั รงานทางหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ และอินเทอร์เน็ต - สโมสรผู้ส่ือข่าวเศรษฐกิจ - สมาคมผ้สู ่อื ขา่ วแห่งประเทศไทย - องคก์ ารสอื่ สารมวลชนแห่งประเทศไทย - กรมประชาสมั พันธ์

กรมการ ัจดหางาน ท20่ีต0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผูส้ ่ือข่าว Reporter นิยามอาชพี เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบส�ำหรับ การเขยี นขา่ ว โดยวธิ กี ารสัมภาษณ์ สอบถาม เขา้ รว่ มใน ทปี่ ระชมุ คน้ ควา้ จากเอกสาร หรอื โดยวธิ อี น่ื ๆ ทจี่ ะทำ� ให้ ขา่ วมขี อ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ ง และสมบรู ณเ์ พยี งพอและเสนอขา่ ว ทีเ่ ขียนตอ่ บรรณาธิการหวั หน้าขา่ ว หรอื ผ้เู รียบเรียงขา่ ว เพ่ือพิจารณาอนุมัติและปรับปรุงแก้ไข รวบรวมศึกษา คน้ ควา้ และจดั เตรยี ม ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ประเดน็ ขา่ ว ตดิ ตอ่ ประสานงานสัมภาษณ์ บันทกึ และเกบ็ ข้อมลู จากแหล่ง ข่าว ตรวจสอบ คัดเลือกข้อมูลและเขียนข่าว ติดตาม ขา่ วสารอยา่ งตอ่ เนอื่ งสมำ�่ เสมอเพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู พนื้ ฐานใน การจดั ทำ� ขา่ ว อาจเชย่ี วชาญในการหาขา่ วประเภทใดประเภทหนง่ึ โดยเฉพาะ และอาจมชี อ่ื เรยี กตามงานทที่ ำ� อาจสง่ รายงานขา่ วจากทอ้ งถน่ิ ทอ่ี ยหู่ า่ งไกล ใหแ้ กส่ ำ� นกั พมิ พอ์ าจไดร้ บั มอบหมายใหจ้ ดั ทำ� ขา่ วพเิ ศษหรอื ขา่ วเจาะในประเดน็ ท่สี �ำคัญ อาจเขียนบทความ บทวจิ ารณ์ตามความถนัดและ ตามท่ีได้รบั มอบหมาย อาจคิดริเร่ิมและคน้ หาประเดน็ ที่ 154 น่าสนใจส�ำหรับการจดั ทำ� ข่าวและเสนอตอ่ บรรณาธกิ าร หัวหนา้ ขา่ วเพอ่ื พจิ ารณาอนุมัติ ลักษณะของงานทีท่ ำ� ผู้ส่ือขา่ วหรือนักข่าว ปฏบิ ัติหน้าทห่ี ลกั คือ เสาะแสวงหาข่าวจากขา่ วตามสายตา่ ง ๆ เช่น ข่าวในพระราช ส�ำนัก ข่าวสงั คม ขา่ วอาชญากรรม ขา่ วเศรษฐกจิ ข่าวบนั เทงิ และขา่ วกฬี า เป็นตน้ ด้วยวธิ กี ารถา่ ยภาพ หาขอ้ มลู สัมภาษณ์ สอบถาม เข้าร่วมฟังในท่ีประชุมแถลงข่าว การสมั มนา ตดิ ตามเหตุการณ์ คดตี า่ ง ๆ หรือสารคดีเฉพาะ เรอื่ ง โดยการจดบนั ทกึ ขอ้ เทจ็ จรงิ จากการสงั เกต การสมั ภาษณ์ การสอบถาม การถา่ ยภาพ การบนั ทกึ เทปเสยี ง เทป โทรทัศน์ วิดโี อเทป เขยี นขา่ ว เสนอขา่ วทถี่ ูกตอ้ ง ชัดเจน โปร่งใส ส่งขา่ วใหก้ บั กองบรรณาธิการ เพื่อพจิ ารณากอ่ น เผยแพรโ่ ดยการออกอากาศ หรอื ลงพมิ พใ์ นส่ิงพมิ พ์ตามวัตถุประสงคข์ องการเสนอข่าวแก่สาธารณชน การรายงานขา่ วอาจรายงานสดจากสถานทท่ี เ่ี ปน็ ขา่ ว เชน่ การเลอื กตง้ั สงครามในพน้ื ทจี่ รงิ การแขง่ ขนั กฬี า เหตุดว่ นเหตรุ ้าย โดยผา่ นอุปกรณก์ ารสอ่ื สาร เชน่ โทรศพั ท์ วทิ ยุส่ือสาร เครื่องโทรสาร และอินเทอรเ์ น็ต เป็นต้น ผู้ส่ือข่าวจะต้องรับผิดชอบในการท�ำข่าวให้ได้อย่างน้อยวันละ 1 ช้ินงาน แต่ถ้าเป็นข่าวที่ต้องวิเคราะห์ เจาะลกึ อาจตอ้ งใช้เวลา 3 - 4 วันในการท�ำข่าว สภาพการจ้างงาน ผสู้ อ่ื ขา่ วทท่ี ำ� งานในองคก์ รสอ่ื สารมวลชนของรฐั บาลจะไดร้ บั คา่ จา้ งอตั ราตามวฒุ กิ ารศกึ ษา สว่ นองคก์ รสอื่ สาร มวลชนภาคเอกชน จะได้คา่ ตอบแทน และสวสั ดกิ ารสงู จากวฒุ กิ ารศึกษา และประสบการณ์ เน่อื งจากมีกำ� ไรจาก ผลประกอบการ

ทต่ี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผู้สอื่ ขา่ วสื่อมวลชนในสอื่ ของเอกชน นอกจากจะไดร้ ับค่าตอบแทนรายเดือนแลว้ ยงั มคี ่ายานพาหนะประจำ� กรมการ ัจดหางาน เดอื น เพราะมีความคลอ่ งตัวในการทำ� งาน สามารถเบิกคา่ เลย้ี งรบั รอง ค่าใช้จา่ ยในการหาซือ้ และค้นคว้าหาข้อมลู Department of Employment นอกเหนือจากสวสั ดกิ ารทไี่ ดร้ ับตามหลักเกณฑ์ท่แี ต่ละองค์กรก�ำหนด ระยะเวลาทำ� งานของผสู้ ่อื ขา่ วไมแ่ นน่ อน ขึ้นอยกู่ ับเหตุการณแ์ ละความจ�ำเปน็ ท่ตี ้องหาขา่ ว จึงอาจกลา่ วได้ ว่าผู้สื่อขา่ วตอ้ งทำ� งาน 24 ชั่วโมง สภาพการทำ� งาน การรายงานขา่ วในปจั จบุ นั ตอ้ งดำ� เนนิ การตลอด 24 ชว่ั โมง โดยไมม่ ผี ลดั ของเวลาการทำ� งาน ผสู้ อ่ื ขา่ ว หรอื นักข่าวต้องท�ำงานที่ได้รับมอบหมายให้ทันตามก�ำหนดเวลาของการปิดข่าวหรือส่งต้นฉบับข่าว เพ่ือน�ำเข้าสู่ กระบวนการของกองบรรณาธิการท่ีต้องตรวจความถูกต้องของเนื้อหาข่าวก่อนการส่งเพื่อการแพร่ภาพ และกระจายเสียง หรือออกอากาศทางสถานีวิทยุ โทรทัศน์ เคเบิ้ลทีวี และทางส่ืออินเทอร์เน็ต ดังนั้น สภาพ การท�ำงานจึงมีความกดดันสูง เพราะเร่งรบี ด�ำเนนิ การ ผู้ส่ือข่าวท่ีดี ต้องมีการเตรียมตัวหาข้อมูลของแหล่งข่าว อีกท้ังต้องเป็นผู้ท่ีสนใจหาความรู้มากกว่าสายงาน ท่ตี นเองรับผดิ ชอบ เพ่อื ให้ไดม้ าซ่งึ ข้อมลู ครอบคลมุ ทุกประเด็นในการนำ� เสนอขา่ ว อาจจะต้องนัดหมายสัมภาษณ์ผู้ที่เห็นเหตุการณ์หรือเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ ต้องระมัดระวัง และมี ความรอบคอบในการท�ำงาน เพราะในบางคร้ังอาจจะเสี่ยงอันตรายจากอิทธิพลจากตัวบุคคลหรือในท้องที่ที่ไม่มี ความปลอดภยั เชน่ การท�ำขา่ วเกีย่ วกับสงคราม หรอื ภัยธรรมชาติ เปน็ ต้น โอกาสในการมีงานทำ� ปัจจุบันสื่อสารมวลชนได้เปล่ียนเข้าสู่ยุคของข้อมูลข่าวสารในระบบดิจิตอล ท�ำให้มีการขยายตัวทางธุรกิจ การควบรวมกจิ การเชา่ ชว่ ง หรอื สมั ปทานในการประมลู สอ่ื มวลชนจากภาครฐั บาล เพอื่ มาดำ� เนนิ การเผยแพรข่ า่ วสาร 155 ครบวงจร จึงท�ำให้มีการแข่งขันกันสูง ซ่ึงต้องการความรวดเร็ว ทันเวลา และใกล้ชิดกับเหตุการณ์ ท�ำให้แนวโน้ม ด้านการรับสมัครผู้ส่ือข่าว ผู้รายงานข่าว หรือนักข่าว ของวิทยุโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร และวารสาร จึงมีมากขึ้นกว่าในอดีต โดยเฉพาะกลุม่ ผสู้ ่ือข่าวกลุ่มใหม่ คอื ผูส้ ่ือข่าวอเิ ล็กทรอนิกส์ หรอื e-reporter ที่ตอ้ งการ ความช�ำนาญทางด้านอินเทอร์เน็ตในการสื่อสาร โดยผู้รับข่าวสารจะมีบทบาทในการแสดงความคิดเห็นต่อข่าว ทไ่ี ดร้ บั กับสอ่ื มวลชนและผูส้ ่อื ขา่ วประเภทนไี้ ดท้ นั ที สว่ นผสู้ อื่ ขา่ วทมี่ คี วามเชย่ี วชาญเฉพาะดา้ น สามารถทำ� งานเปน็ อสิ ระใหก้ บั สอ่ื มวลชนตา่ ง ๆ ได้ หรอื เรยี กวา่ ผสู้ อื่ ขา่ วอสิ ระ (Freelance reporter) ซง่ึ สามารถทำ� ขา่ วเสนอใหก้ บั องคก์ รสอ่ื สารมวลชน สำ� นกั ขา่ วตา่ ง ๆ ทวั่ โลกได้ ถ้ามีความสามารถด้านภาษาตา่ งประเทศจะเปน็ ส่วนทชี่ ่วยสง่ เสรมิ หรอื ไดร้ ับการวา่ จา้ งจากส่ือตา่ งประเทศ ที่มีส�ำนักข่าว หรือกองบรรณาธิการอยู่ในประเทศ หรืออาจประจ�ำอยู่ในภูมิภาคด้วยอัตราค่าจ้างและผลประโยชน์ ตอบแทนอย่างอนื่ ๆ ทค่ี ่อนขา้ งสงู คณุ สมบัตขิ องผูป้ ระกอบอาชีพ 1. ควรจบปรญิ ญาตรี คณะมนษุ ยศาสตร์ ศลิ ปศาสตร์ วารสารศาสตร์ นเิ ทศศาสตร์ หรอื สาขาวชิ าทเี่ กยี่ วขอ้ ง เช่น เศรษฐศาสตร์ รฐั ศาสตร์ 2. ควรมีความสนใจความเคลือ่ นไหวของเหตกุ ารณ์บา้ นเมอื งท้ังในประเทศและต่างประเทศ มจี ติ วญิ ญาณ ของการเป็นนกั ขา่ ว ไวตอ่ การทำ� ขา่ ว เป็นนกั สงั เกตการณ์ที่มีปฏิภาณ ไหวพริบ และสามารถสื่อสารรายงานขอ้ มูล

ท20ี่ต0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน ข่าวสารได้ถกู ตอ้ งและแมน่ ยำ� Department of Employment 3. ต้องมสี ขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรง มีความอดทน ระมดั ระวงั และรอบคอบ 4. ทำ� งานเป็นทมี ได้ พร้อมปรับตัวเขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มและสถานการณ์ ขณะปฏิบัตหิ นา้ ทีไ่ ดเ้ ป็นอย่างดี 5. สามารถท�ำงานใหล้ ุลว่ งตามหน้าทรี่ ับผิดชอบให้ทันตามกำ� หนดเวลา 6. มีความกล้าในการปฏบิ ตั ิการหรือการนำ� เสนอขา่ ว ทบ่ี างคร้ังอาจเสี่ยงอนั ตรายถงึ ชีวติ 7. สามารถใชอ้ ปุ กรณถ์ า่ ยภาพ และเครื่องมือสอื่ สารได้ทกุ ชนิด 8. ตอ้ งเสนอขา่ วขอ้ เทจ็ จรงิ อนั เปน็ สารประโยชนต์ อ่ สาธารณชน ไมบ่ ดิ เบอื นขอ้ เทจ็ จรงิ ซอื่ สตั ย์ มอี ดุ มการณ์ ไม่เหน็ แก่อามิสสนิ จ้าง สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบันการศึกษา - สาขาวทิ ยุกระจายเสยี งและวทิ ยโุ ทรทัศน์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ วทิ ยาเขตกลว้ ยนำ้� ไท 119 ถนนพระราม 4 คลองเตย กรงุ เทพฯ 10110 โทรศพั ท์ 0-2350-3500-99 โทรสาร 0-2240-1516 อเี มล info@ bu.ac.th รบั สมคั ร 0-2249-5132-6 (สายตรง) 0-2350-3500 ตอ่ 1582-1588, 1609-1610 - คณะสอ่ื สารมวลชน มหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหง 2086 ถนนรามคำ� แหง แขวงหวั หมาก เขตบางกะปิ กรงุ เทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2310-8000 โทรสาร 0-2310-8022 เวบ็ ไซต์ www.ru.ac.th - คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยร์ ังสิต 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธนิ ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121 โทรศัพท์ 0-2696-6215 โทรสาร 0-2696-6218 อเี มล [email protected] - คณะวารสารศาสตร์และสอื่ สารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ อาคารธรรมศาสตร์ 60 ป ี ชนั้ 4 เลขท่ี 2 ถนนพระจนั ทร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศพั ท์ 0-2613-2733, 156 0-2613-2734 โทรสาร 0-2613-2726 อีเมล [email protected] โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี ผู้ปฏิบัติงานในอาชีพผู้ส่ือข่าว เมื่อช�ำนาญในการหาข่าว สร้างแหล่งข่าว และพัฒนาการท�ำข่าวจนเป็นที่ นา่ เชอ่ื ถอื ของกองบรรณาธกิ าร จะไดร้ บั การเลอ่ื นต�ำแหนง่ หรอื มโี อกาสไปศกึ ษาหรอื ดงู านสมั มนารว่ มกบั สอื่ มวลชน จากต่างประเทศ หรือได้รับทุนให้ไปศึกษาต่อจากองค์กรสื่อนั้น ๆ จากนั้นจะได้เป็นหัวหน้า หรือเลื่อนข้ึนเป็น ฝ่ายบรหิ ารจดั การ หรอื เลือกท�ำงานกบั สื่อแขนงอ่นื ๆ ไดต้ ามความสามารถ อาชพี ที่เก่ยี วเนื่อง นักประชาสมั พนั ธ์ นักหนังสอื พิมพ์ ผู้จดั รายการวทิ ยุ โทรทศั น์ พธิ ีกรผดู้ �ำเนนิ รายการวิทยุโทรทศั น์ ผู้เขียน บทโทรทัศน์ คอลัมนสิ ต์ ชา่ งภาพ ผผู้ ลติ รายการวทิ ยโุ ทรทศั น์ แหลง่ ข้อมลู อื่น ๆ - ประกาศโฆษณารับสมคั รงานทางหนงั สือพิมพ์ โทรทัศน์ และอนิ เทอร์เนต็ - สโมสรผ้สู ื่อข่าว - สมาคมผสู้ ื่อขา่ วแหง่ ประเทศไทย - องค์การสอื่ สารมวลชนแห่งประเทศไทย - กรมประชาสมั พันธ์

ที่ตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ผสู้ อ่ื ขา่ วหนงั สอื พมิ พ์ Journalist นิยามอาชพี ผู้เก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือใช้เป็นวัตถุดิบส�ำหรับการเขียน ข่าวโดยวิธีการสัมภาษณ์ สอบถาม เข้าร่วมในที่ประชุม ค้นคว้า จากเอกสาร หรือโดยวธิ ีอน่ื ๆ ทีจ่ ะท�ำให้ขา่ วมขี ้อมูลท่ีถูกตอ้ งและ สมบูรณเ์ พียงพอและเสนอขา่ วท่ีเขียนต่อบรรณาธกิ าร หวั หนา้ ข่าว หรอื ผเู้ รยี บเรยี งขา่ วเพอ่ื พจิ ารณาอนมุ ตั แิ ละปรบั ปรงุ แกไ้ ข รวบรวม ศึกษา ค้นคว้า และจัดเตรียมข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นข่าว ติดต่อ ประสานงาน สัมภาษณ์ บนั ทึกและเกบ็ ขอ้ มลู จากแหล่งข่าว ตรวจ สอบ คัดเลือกข้อมูลและเขียนข่าว ติดตามข่าวสารอย่างต่อเนื่อง สมำ�่ เสมอเพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู พน้ื ฐานในการจดั ทำ� ขา่ ว อาจเชยี่ วชาญในการหาขา่ วประเภทใดประเภทหนง่ึ โดยเฉพาะ และ อาจมชี อื่ เรยี กตามงานทท่ี ำ� อาจสง่ รายงานขา่ วจากทอ้ งถนิ่ ทอี่ ยหู่ า่ งไกลใหแ้ กส่ ำ� นกั พมิ พ์ อาจไดร้ บั มอบหมายใหจ้ ดั ทำ� ข่าวพิเศษหรือข่าวเจาะในประเดน็ ทส่ี �ำคัญ อาจเขียนบทความ บทวิจารณต์ ามความถนดั และตามทไี่ ด้รับมอบหมาย อาจคิดริเร่ิมและค้นหาประเด็นท่ีน่าสนใจส�ำหรับการจัดท�ำข่าวและเสนอต่อบรรณาธิการ หัวหน้าข่าวเพื่อพิจารณา อนมุ ัติ 157 ลกั ษณะของงานทที่ ำ� ผู้ท่ีปฏิบัติงานอาชีพนี้ท�ำหน้าที่เสาะแสวงหาข่าวด้วยวิธีการสัมภาษณ์ การถ่ายภาพ บันทึกเทปเข้าร่วมฟัง การแถลงขา่ ว ซักถาม ตลอดจนคน้ ควา้ ข้อมลู เพ่มิ เตมิ ตามความจ�ำเป็นจากแหลง่ ข่าวท้ังจากบุคคลผู้เชย่ี วชาญ และ ข้อมูลทางด่วนข่าวสาร และห้องสมุดเพ่ือให้เน้ือหาของข่าวชัดเจน ครอบคลุมข้อมูลทุกด้านในประเด็นที่เขียนหรือ ไดร้ ับมอบหมายจากหัวหนา้ ข่าวหรือบรรณาธิการให้ตรงกบั ข้อเทจ็ จรงิ มคี วามเปน็ กลางมสี ารประโยชน์ต่อผู้บรโิ ภค ข่าวสาร และทันเหตุการณ์จริง ซึ่งปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีช่วยท�ำให้นักหนังสือพิมพ์สามารถรายงาน ข่าวจากสถานท่ีเกิดเหตุการณ์จริงหรือพื้นท่ีอันห่างไกลจากต่างจังหวัด หรือต่างประเทศผ่านอินเทอร์เน็ตส่งถึง กองบรรณาธิการได้อย่างรวดเร็วรวมทั้งภาพถ่ายที่ถ่ายด้วยกล้องดิจิตอลซึ่งสามารถเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์พกพา และอนิ เทอรเ์ นต็ ได้เช่นกนั นอกเหนือจากการสง่ ขา่ วด้วยเครือ่ งโทรสาร โทรศพั ทแ์ ละวทิ ยุสอ่ื สาร ผสู้ อื่ ขา่ วหนงั สอื พมิ พท์ ไี่ ดร้ บั มอบหมายใหท้ ำ� ขา่ วสำ� คญั ๆ จะไดร้ บั อปุ กรณแ์ ละเครอื่ งมอื สอ่ื สารทท่ี นั สมยั ทกุ ชนิดเพอื่ ให้สามารถส่งขา่ วใหท้ นั เวลาหรอื เหตกุ ารณแ์ ละตอ้ งปฏบิ ตั ิตนภายในกรอบของหน้าท่คี วามรบั ผดิ ชอบ และ จรรยาบรรณ โดยปฏิบัตงิ านดงั นี้ 1. หาข่าวและรายงานข่าวด้วยความซื่อตรงและสุภาพ เสนอข้อเท็จจริงอันเป็นสารประโยชน์และ ไม่บิดเบอื นข้อเท็จจริงด้วยประการใด ๆ 2. ปฏบิ ัตกิ ารเพ่อื ใหไ้ ด้มาซึ่งขา่ ว ภาพและเอกสารต่าง ๆ ดว้ ยวิธีการอันชอบธรรม 3. แสดงตนเองว่าเป็นผู้แทนหนังสือพิมพ์ก่อนสัมภาษณ์บุคคลใดบุคคลหน่ึงด้วยความมุ่งหมายในการ น�ำเร่ืองนนั้ มาตีพิมพ์โฆษณา

ท20ตี่ 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน 4. ส่งรายงานขา่ วให้บรรณาธิการพจิ ารณาเพ่อื พมิ พ์เผยแพร่ต่อไป Department of Employment 5. อาจต้องทำ� งานในตา่ งจงั หวดั หรอื ตา่ งประเทศหรอื ในสถานทที่ ่ีมอี ันตรายหรือมีความไม่ปลอดภยั สภาพการจ้างงาน ผสู้ อื่ ขา่ วหนงั สอื พมิ พท์ ม่ี คี วามสามารถมรี ายไดห้ รอื เงนิ เดอื น รวมทง้ั คา่ ยานพาหนะเปน็ คา่ ตอบแทนคอ่ นขา้ ง สูง นอกเหนือจากสวัสดิการและโบนัสซึ่งข้ึนอยู่กับผลประกอบการขององค์กร และนโยบายธุรกิจของแต่ละองค์กร โดยท่ัวไปผู้ส่ือข่าวหนังสือพิมพ์ที่มีวุฒิการศึกษา ระดับปริญญาตรี จะได้รับเงินเดือนขั้นต้นประมาณ 16,500 - 18,700 บาท โดยจะได้รับค่ายานพาหนะประจ�ำเดือน อีกคนละ 3,000 - 4,000 บาท ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับสภาวะ ค่าครองชพี ในแต่ละปถี า้ มคี วามสามารถในการถ่ายภาพด้วยจะไดร้ บั ค่าถา่ ยภาพ หรอื คา่ เชา่ ซอื้ ลิขสิทธภ์ิ าพในอตั รา ภาพละประมาณ 500 - 2,500 บาท หรอื อาจสงู กวา่ นข้ี น้ึ อยกู่ บั ความสำ� คัญของภาพ หรือประเทศที่ตอ้ งการซอ้ื ภาพ สภาพการทำ� งาน ธรรมชาตขิ องการทำ� งานอาชพี นกั หนงั สอื พมิ พห์ รอื ผสู้ อ่ื ขา่ วหนงั สอื พมิ พท์ วั่ โลกจะเหมอื นกนั คอื ตอ้ งมคี วาม พรอ้ มในการทำ� งานทนั ทที ไี่ ดร้ บั มอบหมาย และตอ้ งมอี ปุ กรณก์ ารทำ� งานทจี่ ำ� เปน็ พรอ้ มใชง้ านไดท้ นั ทเี ชน่ เดยี วกนั ใน บางครง้ั ตอ้ งทำ� งานตลอด 24 ชว่ั โมง แตม่ กี ำ� หนดเวลาในการสง่ งานทแี่ นน่ อน ของการปดิ ตน้ ฉบบั ขา่ วของแตล่ ะสาย ข่าวที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าข่าว หรือ หัวหน้ากองบรรณาธิการ ช่ัวโมงการท�ำงานของผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ไม่ แนน่ อนอาจผนั แปรไปตามเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ในแตล่ ะวนั อาจตอ้ งทำ� งานในวนั หยดุ ตอ้ งพยายามเสาะแสวงคน้ ควา้ หา ขา่ วในสถานทต่ี า่ ง ๆ อาจใชเ้ วลาท�ำงานแตล่ ะวนั ยาวนานกวา่ พนกั งานทที่ �ำงานในธรุ กจิ อตุ สาหกรรมอน่ื ๆ เนอื่ งจาก ต้องท�ำงานที่ได้รับมอบหมายให้เสร็จโดยเร็วที่สุด เพื่อประโยชน์ของการบริโภคของสาธารณชน อีกทั้งต้องช่วงชิง การเสนอข่าวต้องท�ำงานแข่งกับเวลาเพื่อให้ข่าวเสร็จทันเวลาและส่งต้นฉบับให้บรรณาธิการตรวจสอบความถูกต้อง 158 กอ่ นพมิ พ์ การทำ� งานจงึ อยภู่ ายใตค้ วามกดดนั ของเงอ่ื นไขธรุ กจิ ของสอื่ สง่ิ พมิ พแ์ ตล่ ะประเภทเชน่ การขายพนื้ ทโ่ี ฆษณา การส่งท�ำฟิล์มและท�ำเพลทการส่งเข้าแท่นพิมพ์หรือโรงพิมพ์ การพับเข้าเล่ม การจัดส่ง การออกวางตลาดรวมถึง ความกดดนั ของสภาวการณ์ทำ� ขา่ ว และจรรยาบรรณของนกั หนังสอื พิมพ์ ผู้ส่ือข่าวหนังสือพิมพ์ในปัจจุบันไม่ต้องเข้ามาพิมพ์งานที่ส�ำนักพิมพ์เช่นแต่ก่อน หลังเสร็จส้ินการประชุม หารอื แนวทางในการท�ำข่าวกับหัวหนา้ กองบรรณาธิการ หรือหวั หนา้ ขา่ วแลว้ สามารถส่งข่าวผ่านอินเทอรเ์ น็ตหรอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ มลเขา้ กองบรรณาธกิ ารไดท้ นั ทเี พอ่ื ใหห้ วั หนา้ ขา่ ว หรอื กองบรรณาธกิ ารตรวจสอบขา่ ว นบั วา่ เปน็ การ ท�ำงานทีส่ ะดวกและมีประสทิ ธิภาพมากข้นึ แต่ในเวลาเดยี วกันผู้สื่อขา่ วหนงั สือพิมพ์ก็ต้องมีลกั ษณะเปน็ นายตนเอง รับผิดชอบต่อหน้าท่ี และตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงานอาชีพน้ีมีความเส่ียงสูงในการท�ำงาน เม่ือต้องออกไปท�ำข่าว ที่อยู่ในพื้นที่ท่ีมีอิทธิพล หรือมีอันตราย หรือในพ้ืนท่ีจลาจล สงคราม หรือภัยพิบัติจากธรรมชาติซึ่งสถานการณ์ เหล่านี้อาจท�ำให้นักหนังสือพิมพ์ได้รับการถูกข่มขู่ ถูกท�ำร้าย หรือถูกท�ำอันตรายถึงแก่ชีวิต หรือประสบอันตราย อนั เนื่องมาจากการปฏิบตั งิ าน ซ่ึงอาจถงึ ตายหรือบาดเจ็บได้ โอกาสในการมงี านท�ำ จุดเปลี่ยนของวงการส่ือมวลชนของประเทศไทยน้ันสวนกระแสกับภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวของประเทศ อยา่ งสนิ้ เชงิ นบั ตง้ั แตป่ ี 2537 เปน็ ตน้ มาสอ่ื ภาคเอกชนตา่ งแขง่ ขนั กนั ในเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ อกี ทงั้ ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีท�ำให้วงการส่ือมวลชนมีการแข่งขันกันสูงและเข้มข้นเพ่ือแย่งชิงความเป็นใหญ่ในการเสนอข่าวอัน เป็นวิธีการหน่ึงของการขยายฐานการตลาดอุปกรณ์ การสื่อสารในปัจจุบันสามารถส่งข่าวได้รวดเร็วจากทุกมุมโลก

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 อนิ เทอรเ์ นต็ และอเี มล ทำ� ใหก้ ารเสนอขา่ วเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รวดเรว็ และไรพ้ รมแดน การแขง่ ขนั ไมใ่ ชเ่ กดิ ขน้ึ กรมการ ัจดหางาน เฉพาะในวงการหนงั สอื พมิ พไ์ ทยเทา่ นน้ั ทตี่ อ้ งแขง่ ขนั กนั เองแตย่ งั ตอ้ งแขง่ ขนั กบั สอ่ื อน่ื ๆ ในประเทศและหนงั สอื พมิ พ์ Department of Employment ต่างประเทศท้ังในด้านการแลกเปลี่ยนเนื้อหาข่าวและการซ้ือขายข่าว ดังนั้นการรายงานข่าวในปัจจุบัน จึงมี ความเป็นสากลมากขึ้นท้ังในระดับประเทศ ภูมิภาคและโลกจึงนับเป็นโอกาสอันดีของนักส่ือสารมวลชนรุ่นใหม่ ๆ ทม่ี คี วามพรอ้ มมคี วามเขา้ ใจโลกในยคุ โลกาภวิ ตั นจ์ ะสามารถปฏบิ ตั อิ าชพี นไ้ี ดอ้ ยา่ งกวา้ งขวางทงั้ ใน และนอกประเทศ โอกาสในการมีงานท�ำในปัจจุบันของนักหนังสือพิมพ์มีให้เลือกมากมายส�ำหรับผู้ท่ีมีความสามารถหลายด้าน ผู้ที่จะ ประกอบอาชีพน้ีนอกจากจะต้องมีความสามารถในการเขียนข่าวเป็นภาษาไทยแล้ว ต้องมีความเข้าใจในภาษาต่าง ประเทศและภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย เพราะในวงการนม้ี ีการซ้ือขา่ วขายขา่ วท้ังในประเทศและตา่ งประเทศ อกี ทงั้ สอื่ สงิ่ พมิ พม์ คี วามจ�ำเปน็ ตอ้ งขยายฐานธรุ กจิ และปรบั ตวั ใหก้ า้ วทนั การพฒั นาของธรุ กจิ สอ่ื สาขาโทรทศั นเ์ คเบล้ิ ทวี แี ละ อนิ เทอรเ์ นต็ ซง่ึ กา้ วหนา้ ไปอยา่ งรวดเรว็ และเปน็ สอ่ื ทปี่ ระชาชนกลมุ่ หนงึ่ สามารถเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ยเชน่ กนั นกั หนงั สอื พมิ พ์ ที่มีคุณภาพ นอกจากจะได้รับการว่าจ้างจากส�ำนักข่าวต่างประเทศท่ีต้ังข้ึนในประเทศ หนังสือพิมพ์ฉบับภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ภาษาจนี และภาษาญีป่ ่นุ แล้ว ยงั มีโอกาสได้รับการวา่ จ้างจากหนงั สือพมิ พ์ตา่ งประเทศดว้ ย ยง่ิ กว่าน้นั เพอื่ ใหส้ ามารถแขง่ ขนั กบั สอื่ ประเภทอนื่ ไดส้ อ่ื สงิ่ พมิ พไ์ ทยไดป้ รบั กลยทุ ธก์ ารเสนอขา่ วโดยสง่ นกั หนงั สอื พมิ พอ์ อกทำ� ขา่ วในตา่ งประเทศมากขนึ้ เชน่ กนั สว่ นในประเทศกย็ งั มคี วามตอ้ งการนกั หนงั สอื พมิ พส์ ายพาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รวม ทง้ั สอื่ ท่เี พงิ่ เกดิ อยา่ งอินเทอรเ์ น็ตและเว็บไซต์ของหนงั สอื พิมพท์ ุกฉบบั คณุ สมบัตขิ องผูป้ ระกอบอาชีพ 1. สำ� เรจ็ การศึกษาในสาขาสอ่ื สารมวลชน วารสารศาสตร์ นเิ ทศศาสตรห์ รอื สาขาท่เี กย่ี วขอ้ งและสายงาน ทีส่ �ำคญั เชน่ เศรษฐกจิ การเงินการธนาคารซงึ่ อาจรบั ผูท้ ีส่ ำ� เรจ็ การศึกษาสาขาน้นั โดยตรง 2. มคี วามสนใจความเคลื่อนไหวของเหตุการณ์และสถานการณ์ของประเทศและโลก 3. มีความสนใจต้ังใจ รักในอาชีพ ขวนขวายหาความรู้และค้นคว้าหาข้อมูลความจริงของข่าวในทางลึก 159 และทางกว้าง 4. มีความรู้ภาษาตา่ งประเทศ สามารถใช้คอมพวิ เตอร์ และอุปกรณ์สือ่ สารทกุ ชนิด 5. มที ศั นคตทิ ี่ดี มีความเป็นกลาง มคี วามยตุ ิธรรม และพร้อมทจ่ี ะถกู ตรวจสอบจากประชาชนผบู้ ริโภค 6. สามารถเขา้ ใจสถานการณ์ คาดการณ์สถานการณ์ รวมท้ังสามารถวิเคราะหเ์ หตกุ ารณห์ รอื ขา่ วทเ่ี กดิ ขึน้ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งแม่นยำ� สมเหตุสมผล และเป็นไปในลักษณะของการสรา้ งสรรค์ และประเทืองความรแู้ กป่ ระชาชน 7. มคี วามรับผดิ ชอบสูง ซ่อื สัตย์มีสจั จะ สขุ มุ รอบคอบ ละเอียดถ่ถี ว้ น 8. มีความกล้าหาญอดทน มีความมั่นใจในตนเอง ไมท่ ้อถอยในงานท่ีต้องรับผิดชอบ 9. สามารถเดินทางไปท�ำข่าวได้ทกุ หนทุกแหง่ ทวั่ โลก 10. มสี ขุ ภาพแข็งแรง 11. มีสังคมและมนุษยสัมพันธ์ที่ดีสามารถสร้างความสัมพันธ์กับแหล่งข่าวและเป็นที่ไว้วางใจของแหล่งข่าว ในการเสนอขา่ ว สามารถเกบ็ รกั ษาความลับท่มี าของแหลง่ ข่าวอันอาจท�ำให้เกิดอนั ตรายต่อแหล่งขา่ วได้ 12. ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของนักหนังสือพิมพ์โดยส่งเสริมภราดรภาพ ละเว้นการถือเอาประโยชน์ ของเพ่ือนสมาชิกไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนในการปฏิบัติหน้าท่ีไม่รับสินจ้างรางวัลหรือผลประโยชน์ใด ๆ อันเป็น เคร่ืองจูงใจให้ไม่เคารพต่อหน้าท่ีและวิชาชีพของตน รักษา และส่งเสริมเกียรติคุณ และชื่อเสียงแห่งความเป็นนัก หนงั สอื พมิ พไ์ วเ้ ปน็ อยา่ งดี อนั เปน็ จรรยาบรรณของนกั หนงั สอื พมิ พท์ ก่ี ำ� หนดขน้ึ โดยสมาคมนกั ขา่ วและนกั หนงั สอื พมิ พ์ แหง่ ประเทศไทย พ.ศ.2498 แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ พ.ศ. 2507 และตอ้ งมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในเรอื่ งสทิ ธมิ นษุ ยชนอยา่ งลกึ ซง้ึ

กรมการ ัจดหางาน ท20่ตี 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผู้ท่ีจะประกอบอาชีพนี้ ควรเตรียมความพร้อมดังต่อไปนี้ คือ ส�ำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาในคณะต่าง ๆ ดังที่กล่าวมาและยังต้องมีความรู้ในภาษาไทย และภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี มีความสามารถในการถ่ายทอด มีความสนใจทางด้านศิลปะการสื่อสารความหมาย ประเภทต่าง ๆ รักการอา่ น การเขยี น มคี วามรู้ทั่วไป สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบนั การศึกษา - สาขาวทิ ยุกระจายเสียงและวิทยโุ ทรทัศน์ คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรุงเทพ วิทยาเขตกล้วยน�ำ้ ไท 119 ถนนพระราม 4 เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2350-3500-99 โทรสาร 0-2240-1516 อเี มล [email protected] รับสมคั ร 0-2249-5132-6 (สายตรง) 0-2350-3500 ตอ่ 1582-1588, 1609-1610 - คณะวารสารศาสตร์และสอื่ สารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนยร์ ังสิต 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธนิ ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121 โทรศัพท์ 0-2696-6215 โทรสาร 0-2696-6218 อีเมล [email protected] - คณะวารสารศาสตร์และส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ อาคารธรรมศาสตร์ 60 ปี ชั้น 4 เลขที่ 2 ถนนพระจนั ทร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2613- 2733, 0-2613-2734 โทรสาร 0-2613-2726 อีเมล [email protected] - ภาควิชานิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ สาขาส่ือสารมวลชน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เว็บไซต์ http://cai.hum.ku.ac.th/PAGE/academic01.html - คณะสอื่ สารมวลชน มหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหง 2086 ถนนรามคำ� แหง แขวงหวั หมาก เขตบางกะปิ กรงุ เทพฯ 10240 โทรศพั ท์ 0-2310-8000 โทรสาร 0-2310-8022 เว็บไซต์ www.ru.ac.th - คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ 96 หมู่ 3 ถนนพุทธมณฑลสาย 5 160 ต�ำบลศาลายา อำ� เภอพทุ ธมณฑล จงั หวดั นครปฐม 73170 โทรศัพท์ 0-2441-6000, 0-2889-4585-7 ต่อ 2001 โทรสาร 0-2441-6099 โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ ในการประกอบอาชีพนักหนังสือพิมพ์ นักหนังสือพิมพ์ท่ีมีความสามารถจะมีโอกาสเจริญเติบโตก้าวหน้าไป ตามล�ำดับคือ หัวหน้าข่าว บรรณาธิการสายข่าวจนถึงบรรณาธิการหนังสือพิมพ์หรืออาจได้รับความไว้วางใจจาก เจา้ ของสอื่ และนกั ขา่ วใหด้ ำ� รงตำ� แหนง่ บรรณาธกิ ารผพู้ มิ พ์ ผโู้ ฆษณา ซงึ่ มคี วามรบั ผดิ ชอบสงู มากเทา่ กบั ผเู้ ปน็ เจา้ ของ กจิ การ ในกรณที น่ี กั หนงั สอื พมิ พม์ คี วามสามารถเฉพาะตวั คอื ใชภ้ าษาตา่ งประเทศไดก้ ม็ โี อกาสกา้ วไปสกู่ ารทำ� งานใน สำ� นกั ข่าวตา่ งประเทศ นอกจากนีน้ กั หนังสอื พิมพอ์ าจพัฒนาจากการเขียนขา่ วมาเป็นนกั เขยี น นักประพันธ์ท่ตี ้องใช้ จินตนาการและทักษะการเขียน และภาษาสูงกวา่ การเขียนขา่ วนับเป็นการกา้ วหนา้ และการพฒั นาฝมี ือไปอีกระดบั หน่งึ อาชีพที่เกยี่ วเนอื่ ง นักประชาสัมพนั ธ์ นกั เขยี นบทวิทยุและโทรทศั น์ นักเขยี นสารคดี นักเขียนนวนิยาย บรรณาธิการข่าววิทยุ และโทรทัศนเ์ คเบลิ้ ทวี ี ข่าวทางอินเทอรเ์ น็ต นักจัดรายการวิทยแุ ละโทรทศั น์ พธิ กี ร นกั วิเคราะห์ ขา่ วทางวิทยแุ ละ โทรทศั น์ ชา่ งภาพ อาจารยพ์ เิ ศษ ผปู้ ระกาศขา่ วภาคภาษาไทยในเครอื ขา่ ยวทิ ยตุ า่ งประเทศ เจา้ หนา้ ทฝี่ า่ ยขา่ วประจำ� สถานทตู หรอื องค์กรระหว่างประเทศ นักเขยี นบทโฆษณา นักแปล

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 แหล่งข้อมูลอืน่ ๆ กรมการ ัจดหางาน Department of Employment - คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวชิ าการโฆษณา การประชาสมั พนั ธ์ และหนังสอื พมิ พ์ - ส่ิงพมิ พ์ของมหาวทิ ยาลัย วิทยาลัยในทบวงมหาวทิ ยาลยั และมหาวิทยาลยั เปิดทุกแหง่ - หนังสอื พิมพ์ทุกฉบบั ท่ีสนใจรับนักหนังสือพมิ พ์ - เว็บไซต์แหล่งจดั หางานของหนงั สือพมิ พ์แตล่ ะฉบับ - ส�ำนกั ข่าวต่างประเทศ - สโมสรผู้ส่ือข่าวตา่ งประเทศ - สโมสรผ้สู ือ่ ขา่ วเศรษฐกิจ - กรมประชาสมั พันธ์ 161

กรมการ ัจดหางาน 2ท0่ีต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 พนักงานเครอ่ื งประมวลผลอัตโนมัติ Automatic Data Processing นยิ ามอาชีพ ผ้สู ัง่ การและควบคุมเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ใหท้ �ำงานประมวล ผลขอ้ มลู เพอ่ื คำ� นวณขอ้ มูลทางธุรกิจ วทิ ยาศาสตร์ วศิ วกรรม หรอื ข้อมลู อื่น ๆ ตามชดุ คำ� ส่ังโปรแกรม ลักษณะของงานที่ทำ� 1. ตั้งสวิตช์ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ การท�ำงาน 2. คัดเลือกและใส่อุปกรณ์ส�ำหรับป้อนข้อมูลและ อปุ กรณ์แสดงผลลัพธ์ (input/output) พรอ้ มด้วยส่ิงต่าง ๆ เช่น เทปหรอื แผ่นดสิ กเ์ พอ่ื ใชใ้ นการท�ำงาน ใช้เครอ่ื งมอื ให้ท�ำงานตามชดุ ค�ำสัง่ โปรแกรม ซึ่งจะระบไุ ว้ในขอ้ ส่ังชีแ้ จงการปฏิบตั ิงาน 3. ควบคมุ ดูแลการท�ำงานของพนักงานควบคุมอุปกรณ์ การทำ� งานรอบนอก 4. ทำ� หน้าที่เปดิ และปดิ เครอ่ื งฯ และควบคุมให้เครอ่ื งฯ ท�ำงานไดต้ ามปกติ 162 5. สังเกตเคร่ืองคอมพิวเตอร์และแผงควบคุมบนตู้เครื่องคอมพิวเตอร์ เพ่ือคอยดูแสงไฟแสดงความ ผดิ พลาดในการทำ� งาน 6. ตรวจสอบข้อมูลท่ีปรากฏบนจอภาพ และข้อความท่ีแสดงข้อผิดพลาดหรือขัดข้องของเคร่ืองจักรหรือ ความบกพร่องของอปุ กรณแ์ สดงผลลัพธ์ 7. พิมพ์ค�ำส่ังการป้อนเข้าในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตามข้อสั่งชี้แจงซ่ึงได้ก�ำหนดไว้ล่วงหน้า เพ่ือแก้ไขการ ปฏิบัติงานทีผ่ ดิ พลาดหรือท่เี สียไป และตงั้ ต้นปฏิบตั งิ านตอ่ ไป 8. แจ้งให้ผู้ควบคุมงานทราบถึงความผิดพลาดหรือการขัดข้องของเครื่อง ทบทวนแผนงานเพ่ือพิจารณา มอบหมายงานต่อไป 9. บันทกึ การปฏิบตั งิ านและลงเวลากำ� กับไว้ 10. อาจควบคมุ เครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื จดั การอปุ กรณป์ อ้ นขอ้ มลู และแสดงผลลพั ธ์ สำ� หรบั เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ อีกเครอ่ื งหน่ึงตามขอ้ สั่งชแี้ จงของพนกั งานควบคุมเคร่อื งคอมพิวเตอร์เครื่องแรก 11. ดูแลควบคุมระบบเครือข่ายให้สามารถใช้งานได้ ตรวจสอบระบบควบคุมเครือข่ายเพ่ือดูสัญญาณข้อ ขดั ขอ้ งของลูกข่าย แกไ้ ขปญั หาที่เกดิ ขึน้ และปอ้ นคำ� สง่ั ให้ระบบทำ� งานได้ตามปกติ สภาพการจ้างงาน พนกั งานเครอื่ งประมวลผลอตั โนมตั ิ (คอมพวิ เตอร)์ มรี ายไดล้ กั ษณะเงนิ เดอื นเปน็ อตั ราเงนิ เดอื นการจา้ งงาน ตามวฒุ กิ ารศกึ ษา และอาจจะมคี า่ วชิ าเพมิ่ ใหส้ ำ� หรบั ผทู้ มี่ ปี ระสบการณ์ บางองคก์ รอาจจะใหค้ า่ จา้ งทำ� งานเปน็ กะ อตั รา เงนิ เดอื นโดยทว่ั ไปในหนว่ ยงานราชการเดอื นละ 15,000 - 17,900 บาท ในภาคเอกชนเดอื นละ 16,900 - 21,500 บาท

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 ข้ึนอยู่กับความรู้ความสามารถของผู้ปฏิบัติงาน และภารกิจขององค์กรธุรกิจนั้น ๆ และจะได้รับการเล่ือนข้ัน กรมการ ัจดหางาน เงินเดือนตามอัตราท่ีองค์การธุรกิจก�ำหนดไว้เป็นมาตรฐาน ถ้าท�ำงานในหน่วยงานของรัฐจะได้รับการเล่ือนขั้น Department of Employment เงินเดือนประจำ� ปีตามบญั ชีอัตราเงินเดือนทก่ี ำ� หนดไว้ ปกติปฏิบัติงานวันละ 8 ชั่วโมง แต่บางหน่วยงานท่ีมีความจ�ำเป็นต้องใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท�ำงานตลอด 24 ชั่วโมงก็จะต้องท�ำงานเป็นกะ กะละ 8 ช่ัวโมง ผู้ที่ท�ำงานในกะดึก คือรอบที่สามอาจจะได้รับค่าจ้างพิเศษ ในการท�ำงานอาจมีการหมุนเวียนกันปฏิบัติงานตามรอบของกะ และอาจต้องท�ำงานวันเสาร์และวันอาทิตย์ด้วย ซ่ึงผ้ปู ฏบิ ัติงานจะไดร้ บั คา่ จา้ งพิเศษในการทำ� งานวันหยดุ สภาพการทำ� งาน เคร่ืองคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ต้องอยู่ในสถานท่ีมีสภาพอุณหภูมิท่ีเหมาะและไม่ควรมีฝุ่นละอองเพ่ือ ป้องกันการเส่ือมเสียของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ พนักงานคอมพิวเตอร์จึงต้องท�ำงานอยู่ในสถานท่ีมีเคร่ืองปรับอากาศ สภาพทีท่ �ำงานจะเปน็ สำ� นกั งานทมี่ อี ุปกรณ์ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกเชน่ สำ� นักงานท่วั ไป ในการท�ำงานกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์จะต้องใช้สายตาในการตรวจสอบข้อมูลท่ีปรากฏ บนจอภาพพนักงาน คอมพวิ เตอรม์ ักจะมปี ัญหาในดา้ นสายตา และต้องนง่ั ท�ำงานตลอดเวลา 8 ช่ัวโมง อาจมีปัญหาด้านสขุ ภาพรา่ งกาย เชน่ ปวดหลงั เป็นตน้ โอกาสในการมีงานท�ำ ผู้ท่ีต้องการประกอบอาชีพเสมียนค�ำนวณข้อมูลสามารถเรียนรู้ได้จากหลักสูตรคอมพิวเตอร์ในสถาบัน การศึกษา โรงเรียนสอนคอมพิวเตอร์ และจากการฝึกฝนจากการท�ำงาน นอกจากน้ี อาจต้องเข้ารับการฝึก อบรมการใชโ้ ปรแกรมควบคมุ ระบบทม่ี คี วามแตกตา่ งกนั ไปตามประเภทและชนดิ ของโปรแกรมและระบบคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงอาจต้องเข้ารับการอบรมในหลักสูตรของบริษทั ผู้จัดจำ� หน่ายคอมพิวเตอร์ หรอื เรยี นรจู้ ากการเข้าปฏิบัติงาน 163 ปัจจุบันคอมพิวเตอร์มีความจ�ำเป็นต่อการประกอบธุรกิจ เพราะเป็นโลกของข้อมูลข่าวสาร และจ�ำเป็น ตอ้ งการความรวดเรว็ ในการปฏบิ ตั งิ าน ผทู้ ม่ี คี วามรแู้ ละความเขา้ ใจในการใชค้ อมพวิ เตอรจ์ งึ เปน็ ทต่ี อ้ งการของสถาน ประกอบธุรกิจ ความต้องการบุคลากรในต�ำแหน่งพนักงานคอมพิวเตอร์มักจะมีในธุรกิจขนาดกลางและขนาดใหญ่ ท่ีต้องการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะโปรแกรมควบคุมระบบที่แตกต่างไปจากคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กหรือที่ เรยี กวา่ พีซีทั่วไป เช่น องคก์ รทีใ่ ช้งานระบบเครือข่ายภายใน (LAN) แบบง่าย ๆ อาจจะต้องการบุคลากรที่มีความรู้ ในโปรแกรมควบคมุ ระบบเครอื ขา่ ย ซง่ึ แนวโนม้ ความตอ้ งการในตลาดแรงงานคอ่ นขา้ งสงู เนอ่ื งจากการลงทนุ สำ� หรบั การตดิ ตง้ั ระบบคอมพวิ เตอรล์ กั ษณะนมี้ คี า่ ใชจ้ า่ ยไมส่ งู มากและสถานประกอบกจิ การขนาดเลก็ มอี ยเู่ ปน็ จำ� นวนมาก คณุ สมบตั ขิ องผู้ประกอบอาชพี พนักงานคอมพิวเตอร์ต้องเป็นผู้ท่ีมีความรู้ความช�ำนาญในด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์สามารถที่ควบคุม การท�ำงานภายในฮาร์ดแวร์ได้และต้องสามารถที่จะแก้ปัญหาข้อขัดข้องต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ในระดับ หน่ึงเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถท�ำงานได้ โดยพนักงานคอมพิวเตอร์จะต้องมีความสามารถในการแก้ปัญหา เฉพาะหน้าที่เกดิ ขน้ึ ในกรณที เ่ี คร่ืองคอมพวิ เตอร์หรือระบบงานทป่ี ระมวลผลมีปัญหา พนักงานคอมพิวเตอร์ควรจะมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีเนื่องจากเป็นหน่วยงานที่ให้บริการในการให้ใช้งาน คอมพิวเตอร์และผู้ใช้ระบบอาจจะต้องการความช่วยเหลือในด้านการใช้งาน หรือต้องการการให้ความช่วยเหลือใน ด้านการใช้อุปกรณ์ป้อนข้อมูล และแสดงผลลัพธ์ เช่น การใช้เทปคอมพิวเตอร์ การส่ังพิมพ์ รายงานคอมพิวเตอร์ เป็นตน้

ท20่ตี 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน ผู้ที่จะประกอบอาชีพดังกล่าว ควรเตรียมความพร้อม Department of Employment ดังต่อไปนี้ : เพราะความต้องการพนักงานคอมพิวเตอร์ของแต่ละ องค์กรอาจจะมีความแตกต่างกันไป บางแห่งอาจจะต้องการ พนักงานคอมพิวเตอร์ท่ีส�ำเร็จวุฒิการศึกษา ปวส. (ประกาศนียบัตร วิชาชีพช้ันสูง) หรือผู้ที่จบวุฒิการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือ ปริญญาตรี และควรท่ีจะมีความรู้และเข้าใจภาษาอังกฤษได้ในระดับ หนงึ่ เน่อื งจากค�ำสง่ั โปรแกรมระบบจะใช้ภาษาองั กฤษ ในบางองค์กรคอมพิวเตอร์จะต้องเปิดตลอด 24 ช่ัวโมง เช่น ธรุ กิจการธนาคาร พนักงานคอมพวิ เตอรต์ ้องมคี วามพร้อมท่ีจะท�ำงาน ในลักษณะเป็นรอบกะได้ สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบันการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาคอมพิวเตอร์สารสนเทศ สาขา ระบบสารสนเทศ หรือสาขาการจัดการคอมพิวเตอร์ ในสถาบันการศึกษาท่ีสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศกึ ษา อาทิ - มหาวิทยาลัยมหดิ ล เว็บไซต์ http://www.mahidol.ac.th/muthai/ โทรศพั ท์ 0-2201-5000 - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://www.ku.ac.th โทรศัพท์ 0-2579-0113, 0-2942-8500-11 - มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ เว็บไซต์ http://www.chiangmai.ac.th โทรศัพท์ 0-5322-1699, 0-5394-1000 - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เว็บไซต์ http://www.tu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2221-6111-20 - มหาวทิ ยาลัยนเรศวร เว็บไซต์ http://www.nu.ac.th โทรศพั ท์ 0-5526-1000-4 164 - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เว็บไซต์ http://www.chula.ac.th/chula/th/main.html โทรศัพท์ 0-2215-0871-3 - มหาวทิ ยาลัยทักษณิ เว็บไซต์ http://www.tsu.ac.th โทรศพั ท์ 0-7431-1885-7 - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี เวบ็ ไซต์ http://www.kmutt.ac.th โทรศพั ท์ 0-2427-0039, 0-2427-0059 สาขาวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ ในสถาบนั การศกึ ษา ท่สี งั กดั สำ� นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อาทิ - มหาวทิ ยาลยั เกษมบณั ฑติ เว็บไซต์ http://www.kbu.ac.th โทรศัพท์ 0-2321-6930-39 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลัยรงั สิต เว็บไซต์ http://www.rsu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2997-2200 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ เวบ็ ไซต์ http://www.kku.ac.th โทรศพั ท์ 0-4320-2222, 0-4320-3333 โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชีพ พนกั งานควบคมุ คอมพวิ เตอร์ ทไี่ ดร้ บั การอบรม และมคี วามชำ� นาญในการใชง้ านระบบอาจจะพฒั นาตนเอง ใหม้ คี วามสามารถในการเขยี นโปรแกรม ซง่ึ อาจจะเปน็ โปรแกรมควบคมุ ระบบ หรอื โปรแกรมระบบงาน กจ็ ะสามารถ เปน็ นกั เขยี นโปรแกรมระบบได้ หรอื อาจจะพฒั นาจนมคี วามเชย่ี วชาญในดา้ นงานระบบเครอื ขา่ ยกจ็ ะเปน็ ผเู้ ชยี่ วชาญ ในงานระบบเครอื ขา่ ยไดเ้ ชน่ กนั และสำ� หรบั บางคนทมี่ ปี ระสบการณแ์ ละมคี วามสามารถในงานบรหิ ารกส็ ามารถทจ่ี ะ เปน็ ผูบ้ รหิ ารในสายงานปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอรไ์ ด้เช่นกนั ผทู้ มี่ ปี ระสบการณแ์ ละมคี วามสามารถในการสอน อาจจะหารายไดพ้ เิ ศษเพม่ิ เตมิ โดยเปน็ อาจารยใ์ นสถาบนั สอนคอมพวิ เตอรท์ ่ัวไปโดยสอนในหลกั สตู รการใช้หรือควบคมุ คอมพิวเตอร์

ทีต่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment อาชพี ที่เก่ียวเนื่อง พนกั งานคอมพิวเตอรอ์ าจพฒั นาตนเอง เป็นนักเขียนโปรแกรมระบบ (Computer Programmer) และนัก วิเคราะห์ระบบ (System Analyst) ได้ แหลง่ ข้อมลู อืน่ ๆ - แหลง่ ขอ้ มลู ทผี่ สู้ นใจทำ� งานเปน็ พนกั งานคอมพวิ เตอรจ์ ะหาขอ้ มลู ไดจ้ ากศนู ยเ์ ทคโนโลยี อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละ คอมพวิ เตอร์แห่งชาติ (เน็คเทค) - สำ� นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.) - ศนู ยส์ อบมาตรฐานวชิ าชพี คอมพวิ เตอรป์ ระจำ� ประเทศไทย (Authorized Prometric Testing Center APTC) 165

กรมการ ัจดหางาน ท20ีต่ 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 พนกั งานพมิ พ์ดีดคอมพวิ เตอร์ Word Processor นยิ ามอาชีพ ปฏิบัติงานพิมพ์หนังสือด้วยเคร่ืองพิมพ์ดีด : พิมพ์ หนงั สือทเ่ี ป็นภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศ เชน่ จดหมาย บันทึกรายงานประกาศ ค�ำสั่ง แบบฟอร์มและเอกสารอ่ืน ๆ เป็นต้น; ตรวจทานและแก้ไขหนังสือที่พิมพ์ให้ถูกต้อง ท�ำส�ำเนา; จัดแฟ้มเร่ืองและท�ำทะเบียนหนังสือ อาจ ปฏบิ ัติงานอน่ื ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ลกั ษณะของงานท่ีทำ� 1. ใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมต่าง ๆ พิมพ์ จดหมายแบบฟอร์มทางธุรกิจ รายงาน ฉลาก นามบัตรและ เอกสารอ่นื ๆ 2. จัดวางรูปแบบการพิมพ์ให้เหมาะสมกับงาน หรือความต้องการ โดยใช้โปรแกรมการสร้างเอกสาร การพมิ พ์ หรือการค�ำนวณท่ีตดิ ตง้ั บนไมโครคอมพวิ เตอร์ 166 3. ปอ้ นขอ้ มลู เอกสารลงในเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ หรอื วาดภาพ และนำ� ภาพมาประกอบในเอกสาร ทำ� แผนภมู ิ ตารางข้อมลู ค�ำนวณข้อมลู ในตาราง พิมพ์บนั ทกึ ลบ และแก้ไขปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ให้ถกู ตอ้ ง 4. บนั ทกึ จดั เกบ็ แฟม้ ขอ้ มลู เอกสารตา่ ง ๆ จดั พมิ พส์ ำ� เนาดว้ ยเครอื่ งพมิ พส์ ง่ หรอื รบั ขา่ วสาร โดยใชโ้ ทรสาร โทรพิมพ์ หรอื อื่น ๆ ปฏบิ ัตงิ านธุรการอน่ื ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง 5. ตรวจสอบงานพิมพ์ให้ถกู ตอ้ งจดั ทำ� ส�ำเนาหลายชุด จดั สง่ จดหมาย หรือรายงานทพ่ี ิมพแ์ ล้วไปให้บุคคล ทเี่ กยี่ วขอ้ ง 6. อาจท�ำงานประจ�ำวนั ในหน้าทขี่ องเสมยี นพนักงาน สภาพการจา้ งงาน พนักงานพิมพ์ดีดคอมพิวเตอร์ จะได้รับค่าตอบแทนการท�ำงานเป็นเงินเดือนในอัตราที่แตกต่างกันไปตาม ความรู้ ความช�ำนาญ และสถานประกอบการ นอกจากค่าตอบแทนเปน็ เงนิ เดอื นแล้วในภาครฐั วสิ าหกจิ และภาคเอกชนอาจไดร้ บั ค่าตอบแทนในรูปแบบ อน่ื เช่น คา่ รักษาพยาบาล เงนิ สะสม เงนิ ชว่ ยเหลือสวัสดกิ ารในรูปตา่ ง ๆ เงินโบนัส ค่าลว่ งเวลา เปน็ ต้น ทำ� งานโดยปกตวิ ันละ 8 ชัว่ โมง สัปดาหล์ ะ 40 - 48 ชวั่ โมง และอาจตอ้ งทำ� งานลว่ งเวลา เมอื่ มีความจำ� เป็น เรง่ ด่วน

ท่ีตลาด20แร0งงขา้อนมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สภาพการทำ� งาน กรมการ ัจดหางาน Department of Employment สภาพการท�ำงานเป็นการท�ำงานในส�ำนักงาน ไม่สกปรก แต่ต้องน่ังอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน วนั หน่ึงประมาณ 6 - 7 ช่ัวโมง หรอื มากกวา่ น้นั ตอ้ งใชป้ ระสาทสัมผัสของสายตาและมือ บางครัง้ อาจมีปัญหากบั สายตาได้ เน่อื งจากอย่กู บั จอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน โอกาสในการมีงานทำ� อาชพี ทเ่ี สยี่ งตกงาน ในศตวรรษหนา้ ถา้ ไมพ่ ดู ถงึ อาชพี นี้ หลาย ๆ คนอาจจะลมื ไปแลว้ ดว้ ยซ�้ำวา่ ยงั มอี าชพี น้ี อยู่ เพราะทกุ วนั นี้นอ้ ยคนนกั ท่จี ะใชพ้ มิ พด์ ีด แต่ถ้าเปน็ คอมพิวเตอร์ละ่ ก็ คงไม่ตอ้ งไปจ้างใครพมิ พ์ ใช้ ๆ ไปกจ็ ะชนิ เอง จึงไมต่ อ้ งแปลกใจเลยวา่ ทำ� ไมอาชีพนีถ้ ึงจะหายไป คุณสมบัติของผ้ปู ระกอบอาชพี 1. ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาปีท่ี 3 หรือเทียบเท่า หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้ันสูง (ปวส.) 2. และมคี วามสามารถในการใชค้ อมพวิ เตอร์ และมที กั ษะในการพมิ พร์ ะบบสมั ผสั ดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 3. มคี วามอดทน ละเอยี ด รอบคอบ 4. ช่างสังเกต จดจ�ำ รู้จกั วิเคราะห์ และแกไ้ ขปญั หา 5. มคี วามรับผิดชอบในงานท่ไี ด้รบั มอบหมาย 6. มีคุณธรรม จริยธรรม ขยัน ซื่อสัตย์ และมีระเบียบวินยั 7. ตอ้ งมคี วามรเู้ กย่ี วกบั หลกั ไวยากรณก์ ารสะกดคำ� การใชเ้ ครอื่ งหมายวรรคตอนทงั้ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ 8. ตอ้ งมีทกั ษะในการพมิ พ์สมั ผสั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง และรวดเร็ว 167 สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบันการศึกษา - กรมพัฒนาฝมี ือแรงงาน ถนนมติ รไมตรี แขวงดนิ แดง เขตดนิ แดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศพั ท์ 0-2245- 1707, 0-2245-4035 - โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ดินแดง 1) ซอยประชาสงเคราะห์ 17 ถนนประชาสงเคราะห์ เขตดินแดง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2246-1592 - โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (บางรัก) หลังสถานีต�ำรวจยานนาวา ถนนศรีเวียง เขตบางรัก กรุงเทพฯ โทรศพั ท์ 0-2236-6929 - โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ดินแดง 2) ซอยประชาสงเคราะห์ 17 ถนนประชาสงเคราะห์ แขวงดินแดง เขตดนิ แดง กรงุ เทพฯ โทรศัพท์ 0-2246-5769 - โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (บ่อนไก่) ซอยปลูกจิต 3 ถนนพระราม 4 เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2251-7950 - โรงเรยี นฝึกอาชีพกรงุ เทพมหานคร (อาทร สังขะวฒั นะ) เลขที่ 208 ถนนประชาอุทิศ เขตทงุ่ ครุ กรุงเทพฯ โทรศพั ท์ 0-2426-3653 - โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (หลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ) ซอยเพชรเกษม 81 ถนนเลียบคลองภาษีเจริญ ฝั่งใต้ เขตหนองแขม กรุงเทพฯ โทรศพั ท์ 0-2429-3573 - โรงเรียนฝกึ อาชีพกรงุ เทพมหานคร (คลองเตย) ซอยลอ็ ค 4-6 ถนนอาจณรงค์ เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ โทรศัพท์ 0-2240-0009

2ท0ตี่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี Department of Employment พนักงานพิมพ์ดีดคอมพิวเตอร์ ถ้าได้รับการพัฒนาการใช้คอมพิวเตอร์ PC และโปรแกรมส�ำเร็จรูปต่าง ๆ สามารถพัฒนาตนเองโดยการเข้าอบรมเกี่ยวกับโครงสร้างโปรแกรม เม่ือส�ำเร็จแล้วสามารถเป็น Programmer ได้ซ่ึงจะท�ำให้โอกาสการหางานท�ำในอาชีพที่เก่ียวเน่ืองเปิดกว้างข้ึน เมื่อมีการน�ำคอมพิวเตอร์มาใช้งานแทน เครื่องพิมพ์ดีดท�ำให้พนักงานพิมพ์ดีดธรรมดา ต้องปรับเปลี่ยนมาเป็นพนักงานพิมพ์ดีดคอมพิวเตอร์ ซึ่งพนักงาน พิมพ์ดีดคอมพิวเตอร์ต้องมีความรู้ในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ส�ำหรับใช้ในงานพิมพ์ ความต้องการพนักงาน พิมพ์ดีดเครื่องคอมพิวเตอร์ จะอยู่ในความต้องการของตลาดแรงงานในระดับปานกลาง เนื่องจากการเรียนรู้ ในการใช้งานเพ่ือการพิมพ์โดยคอมพิวเตอร์ค่อนข้างง่าย ดังน้ัน บุคลากรในองค์กรส่วนมากจะสามารถพิมพ์งานได้ ด้วยตนเอง แต่ในบางหน่วยงานยังต้องการบุคลากรท�ำหน้าที่ในการพิมพ์โดยเฉพาะเพื่อความรวดเร็วในการท�ำงาน ด้านเอกสาร พนักงานพมิ พ์ดดี สามารถเขา้ ทำ� งานได้ท้งั ในภาคเอกชน เชน่ ธุรกิจหรือเจา้ ของบริษทั เจ้าของโรงพมิ พ์ หรอื ส�ำนกั พมิ พ์ หรือหนว่ ยงานราชการและรัฐวสิ าหกจิ อาชพี ทเ่ี กีย่ วเนอ่ื ง เสมยี นทว่ั ไป เสมยี นโตต้ อบจดหมาย และจดรายงาน เสมยี นสำ� นกั งาน พนกั งานเรยี งพมิ พ์ พนกั งานพมิ พข์ า่ ว พนกั งานฝา่ ยสนิ คา้ และพสั ดชุ า่ งปฏบิ ตั ทิ างการพมิ พ์ ชา่ งเรยี งพมิ พ์ และจดั ประกอบหนา้ ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ พนกั งาน ตรวจปรูฟ๊ เลขานกุ าร พนักงานปอ้ นข้อมูลทางสถติ ิ แหล่งขอ้ มูลอื่น ๆ 168 - กรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน - โรงเรยี นฝึกอาชีพ กทม. - สถาบันการสอนคอมพวิ เตอรต์ ่าง ๆ

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment พนกั งานพสิ จู นอ์ ักษร (ผตู้ รวจปรู๊ฟ) Proofreader นยิ ามอาชพี ทำ� หนา้ ทตี่ รวจดคู วามถกู ตอ้ งของการเรยี งพมิ พก์ บั ตน้ ฉบบั : อา่ นตน้ ฉบบั เปรยี บเทยี บกบั งานเรยี งพมิ พค์ �ำตอ่ คำ� ; ตรวจตวั สะกด ตวั การนั ต์ เนอื้ หา วรรคตอน การใชต้ วั พมิ พ์ ขนาดตวั พมิ พใ์ หถ้ กู ตอ้ ง ตามกำ� หนด; ทำ� เครอื่ งหมายตา่ งๆ เมอ่ื มขี อ้ ผดิ พลาดหรอื ตอ้ งการ เพิม่ เตมิ เพ่ือใหช้ ่างเรียงพมิ พท์ �ำการแก้ไข ลักษณะของงานทีท่ ำ� เพอื่ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งในการใชภ้ าษา เชน่ การสะกดคำ� การนั ต์ การเวน้ วรรค การตดั คำ� ระหวา่ งบรรทดั คำ� ฉกี ขนาดตวั อกั ษร เปน็ ตน้ รวมทงั้ พจิ ารณาการขนึ้ ยอ่ หนา้ ใหม่ การจดั วางรปู ภาพประกอบเรอื่ ง และคาํ บรรยายภาพ ที่ตรงกับตําแหน่งท่ีกําหนดไว้ เพื่อจะได้แก้ไขก่อนส่งไปทําแม่พิมพ์เน่ืองจากถ้ามีความผิดพลาดเกิดข้ึนแล้ว การไปแก้ไขในช้ันแก้ไขแม่พิมพ์จะเสียค่าใช้จ่ายสูงกว่ามาก การพิสูจน์ตัวอักษรจึงนับเป็นข้ันตอนสําคัญต่อการ จดั ทาํ อารต์ เวริ ์กที่มีความถูกต้องสมบูรณ์แบบ นอกจากนี้ ยังรวมไปถงึ การตรวจสอบขอ้ มูลความถูกตอ้ งของชอื่ บุคคล สถานท่ี วนั ท่ี ปี พ.ศ. อักษรย่อด้วย หากเกิดความสงสัย กำ� กวม ไมแ่ นใ่ จ พสิ จู น์อกั ษรมีหนา้ ทีป่ ระสานกับนกั เขียนเพือ่ ตรวจสอบขอ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ ง 169 สภาพการจ้างงาน ถา้ ตอ้ งการทำ� งานดา้ นน้ี ตดิ ตอ่ ตามสำ� นักพมิ พ์ตา่ ง ๆ เป็นงานประจำ� เงนิ เดอื นพนกั งานประจำ� ทป่ี ระมาณ 15,000 - 17,000 บาทต่อเดือน สภาพการทำ� งาน พสิ จู นอ์ กั ษร โดยปกตแิ ลว้ มกั จะจา้ งเปน็ พนกั งานประจำ� กนั ไมว่ า่ จะเปน็ บรษิ ทั สำ� นกั พมิ พ์ หรอื ผปู้ ระกอบการ โรงพิมพ์ต่าง ๆ ต้องมีฝ่ายปรู๊ฟนั่งประจ�ำอยู่ในออฟฟิศนัยว่าสามารถเรียกใช้ ให้งาน เร่งงาน ประสานงาน ติดต่อ หรือก�ำหนดงานเสร็จได้ง่ายขึ้น เพราะบางคราอาจมีงานด่วน งานเร่ง หรือช่วงมีงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ซ่ึงส�ำนักพิมพ์ท้ังหลายต่างขมีขมันผลิตหนังสือเพ่ือตอบสนองความต้องการของลูกค้ากันเต็มท่ีท�ำให้งาน ในกองบรรณาธกิ ารอาจทำ� ไม่ทนั งานลน้ คนนอ้ ย จงึ มกี ารจ้างคนนอกมาชว่ ยในรูปแบบของฟรแี ลนซ์ โอกาสในการมีงานท�ำ ตำ� แหนง่ พสิ จู นอ์ กั ษรมคี วามจำ� เปน็ มาก เชน่ ในวงการวชิ าชพี เอกสารการเรยี นการสอนในระดบั มหาวทิ ยาลยั ซง่ึ มสี ำ� นกั พมิ พเ์ ปน็ ของหนว่ ยงานเอง หรอื ตำ� ราเรยี นตา่ ง ๆ ทมี่ บี รษิ ทั สำ� นกั พมิ พเ์ ปน็ จำ� นวนมาก งานขา่ วหนงั สอื พมิ พ์ หรอื นติ ยสารตา่ ง ๆ และสือ่ ส่ิงพิมพ์ทุกชนิด

ท20ต่ี 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน คุณสมบตั ขิ องผู้ประกอบอาชพี Department of Employment 1. สำ� เร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรจี ากคณะศิลปศาสตร์ หรอื สาขาทเี่ กี่ยวข้อง 2. มสี มาธิในการท�ำงานสงู 3. มีพ้ืนฐานความรทู้ างภาษาค่อนข้างดี 4. มนี ิสยั รักการอา่ น 5. มมี นุษยสมั พันธ์กบั เพอ่ื นรว่ มงาน และการประสานงานทีด่ ี 6. ร้หู ลักวธิ ใี นการคน้ คว้า ตรวจสอบค�ำสะกดต่าง ๆ สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบนั การศกึ ษา - คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เลขท่ี 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศพั ท์ 0-2579-5566-8 โทรสาร 0-2561-3485 เวบ็ ไซต์ www.human.ku.ac.th - คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน เลขที่ 1 หมู่ 6 ถนนมาลยั แมน อำ� เภอกำ� แพงแสน จงั หวดั นครปฐม 73140 หรอื ตู้ ปณ.21 ปทจ. ก�ำแพงแสน อำ� เภอกำ� แพงแสน จังหวัดนครปฐม 73140 โทรศัพท์ 0-3428-1105-7 โทรศัพท์ภายใน 3600-4 โทรสาร 0-3435-1402 เว็บไซต์ flas.ku.ac.th/ - คณะศลิ ปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เลขที่ 59/6 หมู่ 1 ถนน วปรอ. 366 ตำ� บลเชียงเครอื อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั สกลนคร 47000 โทรศพั ท์ 0-4272-5039 โทรสาร 0-4272-5040 โทรศัพท์ มอื ถอื 08-1739-1377 เว็บไซต์ fam.csc.ku.ac.th/ - คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรุงเทพ วทิ ยาเขตกล้วยนำ้� ไท เลขท่ี 119 ถนนพระราม 4 เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2350-3500-99 โทรสาร 0-2240-1516 อเี มล [email protected] รบั สมัครนักศึกษา 170 0-2249-5132-6 (สายตรง), 0-2350-3500 (ต่อ 1582-1588, 1609-1610) เวบ็ ไซต์ fam.csc.ku.ac.th/ - คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต เลขท่ี 9/1 หมู่ 5 ถนนพหลโยธิน ต�ำบล คลองหน่ึง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท์ 0-2902-0250-99 โทรสาร 0-2516-8553 อเี มล [email protected] รบั สมัครนักศกึ ษา 0-2902-0299 ตอ่ 2411-2417 เว็บไซต์ www.bu.ac.th/ - คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษมบณั ฑิต วทิ ยาเขตพฒั นาการ 1761 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท์ 0-2320-2777 โทรสาร 0-2321-4444 เวบ็ ไซต์ kbu.ac.th/home/ - คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตมีนบุรี 60 ถนนร่มเกล้า แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ 10510 โทรศพั ท์ 0-2904-2222 โทรสาร 0-2904-2200 เว็บไซต์ kbu.ac.th/home/ - คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลในเมือง อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดขอนแก่น 40002 โทรศัพท์ 0-4320-2861 โทรสาร 0-4320-2318 อีเมล [email protected] เวบ็ ไซต์ hs.kku.ac.th/ - คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย 112 หมู่ 7 บ้านหนองเด่ิน ต�ำบล หนองกอมเกาะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000 โทรศัพท์ 0-4241-5641 โทรสาร 0-4241-5699 อีเมล [email protected] เว็บไซต์ http://www.nkc.kku.ac.th/la/ - คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2218-4870 เว็บไซต์ http://www.arts.chula.ac.th/

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาพี รกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment - คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ 239 ถนนห้วยแกว้ ต�ำบลสเุ ทพ อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์ 0-5394-3208-9 โทรสาร 0-5322-1595 เว็บไซต์ www.human.cmu.ac.th/ - คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ เลขที่ 140 ถนนกาญจนวนิช หมู่ 4 ต�ำบล เขารูปชา้ ง อำ� เภอเมือง จังหวดั สงขลา 90000 โทรศัพท์ 0-7431-7600 ต่อ 1111 เวบ็ ไซต์ http://www.huso. tsu.ac.th/ - คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ทา่ พระจนั ทร์ 2 ถนนพระจนั ทร์ เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 โทรศพั ท์ 0-2613-2646 โทรสาร 0-2222-0869 เวบ็ ไซต์ http://arts.tu.ac.th/ - คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สิต 99 หมู่ 18 ตำ� บลคลองหนง่ึ อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121 โทรศัพท์ 0-2696-5626, 0-2696-5629, 0-2696-5204,0-2696-5205 โทรสาร 0-2696-5619 เว็บไซต์ http://arts.tu.ac.th/ - คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร อาคาร 1 และ 6 ต�ำบลทา่ โพธ์ิ อำ� เภอเมือง จังหวดั พษิ ณโุ ลก 65000 โทรศัพท์ 0-5596-2009, 0-5596-2035 โทรสาร 0-5596-2000 เวบ็ ไซต์ http://www.human.nu.ac.th/ - คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา 19 หมู่ 2 ต�ำบลแม่กา อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา 56000 โทรศัพท์ 0-5446-6666 ตอ่ 1382 โทรสาร 0-5446-6660 เว็บไซต์ www.libarts.up.ac.th/ - คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 169 ถนนลงหาดบางแสน ต�ำบลแสนสุข อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ชลบรุ ี 20131 โทรศพั ท์ 0-3810-2310 โทรสาร 0-3839-0355 เวบ็ ไซต์ www.huso.buu.ac.th/ - คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 จังหวัดนครปฐม 73170 อีเมล [email protected] โทรศัพท์ 0-2441-4401-4 กด 0 เวบ็ ไซต์ http://www.ar.mahidol.ac.th/ - คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสติ 52/347 พหลโยธนิ 87 ถนนพหลโยธนิ อำ� เภอเมอื ง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 0-2997-2200-30 ตอ่ 1221, 1223 เวบ็ ไซต์ http://www2.rsu.ac.th/Institution/Liberal-Arts - คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้ ตำ� บลหนองหาร อ�ำเภอสนั ทราย จงั หวัดเชยี งใหม่ 50290 เว็บไซต์ 171 www.libarts.mju.ac.th/ - คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ อาคาร 11 ช้นั 10 2410/2 ถนนพหลโยธิน เขตจตจุ กั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2579-1111 ตอ่ 1267 โทรสาร 0-2579-1111 ต่อ 1247 อีเมล [email protected] เว็บไซต์ www.spu.ac.th/liberal-arts/ - คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร เลขที่ 6 ถนนราชมรรคาใน ต�ำบลพระปฐมเจดีย์ อ�ำเภอเมือง จงั หวัดนครปฐม 73000 โทรศัพท์ 0-3425-5096-7 โทรสาร 0-3425-5794 งานบรกิ ารการศกึ ษา 0-3425-6709 เว็บไซต์ http://www.arts.su.ac.th/ - คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 181 ถนนเจริญประดิษฐ์ ต�ำบลรูสมิแล อ�ำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000 โทรศัพท์ 0-7333-1304 โทรสาร 0-7331-2232 เว็บไซต์ huso.pn.psu.ac.th/ - คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต อาคาร 1 ช้ัน 1 ในมหาวิทยาลัย หอ้ ง 1110 295 ถนนนครราชสีมา เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ 0-2244-5000 ต่อ 5800, 5802 โทรสาร 0-2241-8375 เว็บไซต์ human.dusit.ac.th/ - คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 15 ถนนกาญจนวณิชย์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 โทรศัพท์ 0-7428-2000 โทรสาร 0-7455-8941 เว็บไซต์ www.psu.ac.th/node/68

กรมการ ัจดหางาน ท20ี่ต0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ ผู้ที่สนใจอาชีพนี้ สามารถประกอบอาชีพทั้งในหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนท่ีเก่ียวกับการใช้ภาษาไทย นักวชิ าการ บรรณาธิการ พิสูจน์อักษร นกั เขียน นกั ประพันธ์ นกั วจิ ารณ์ อาชพี ทเี่ กย่ี วเนอ่ื ง นกั แปล ครสู อนภาษา กองบรรณาธิการ คอลัมนิสต์ นักเขียน แหลง่ ข้อมูลอน่ื ๆ - ประกาศตามเวบ็ ไซต์ 172

ทต่ี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาพี รกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment พิธีกรรายการโทรทัศน์ Master of Ceremony นิยามอาชพี ด�ำเนินรายการทางโทรทัศน์เพื่อให้ความรู้ สาระและความบันเทิง แก่ผู้ชม ซักซ้อมท�ำความเข้าใจกับบทโทรทัศน์หรือข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ก่อน ออกอากาศหรือบันทึกเทป น�ำเสนอเนื้อหารายการตามรูปแบบและวัตถุประสงค์ ท่ีก�ำหนดไว้ โดยการพูดคุย การสัมภาษณ์บุคคล การตอบปัญหาหรือวิธีการอ่ืน ๆ โฆษณาสินค้าหรือบริการแทรกในรายการ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าขณะออกอากาศ ประสานงานกับผู้ผลิตรายการเพ่ือขอค�ำแนะน�ำหรือข้อเสนอในการด�ำเนินรายการ ใหเ้ ป็นไปตามรปู แบบของรายการอย่างถูกตอ้ ง ลกั ษณะของงานที่ทำ� 1. ต้องรูร้ ปู แบบของงานจากผู้วา่ จ้าง เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มใหต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์ของงาน 2. ในกรณที ่ีไมม่ สี คริปต์ ควรหาขอ้ มลู ในเร่ืองทีต่ อ้ งการนำ� เสนอและเตรยี มบทพดู การเชิญชวนสนทนา หรอื การสัมภาษณม์ าใหพ้ ร้อมเปน็ อย่างดี เพอื่ การนำ� เสนอท่ถี ูกตอ้ งเหมาะสม และตอบโตร้ ะหว่างผู้รว่ มรายการได้ 3. กรณมี สี คริปต์ ควรอ่านเรอ่ื งทอ่ งจำ� มาเป็นอย่างดี เพื่อการน�ำเสนอ โดยไม่ใหเ้ กดิ ความผิดพลาด 4. ถ่ายทอดข้อมูลเรื่องราวต่าง ๆ และส่ือความหมายด้วยภาษาไทย หรือภาษาต่างประเทศที่ถูกต้อง 173 และชัดเจน 5. อาจน�ำเสนอลกั ษณะการพดู ด�ำเนนิ รายการกับผวู้ า่ จ้างก็ได้ ตามประสบการณ์ในการท�ำงาน 6. อาจดำ� เนนิ รายการคนเดยี ว หรอื ตงั้ แต่ 2 คนขึน้ ไปก็ได้ สภาพการจ้างงาน ผู้ด�ำเนินรายการ จะได้รับค่าตอบแทนเป็นงาน ๆ ไป ข้ึนอยู่กับฝ่ายพิธีกรเป็นผู้ก�ำหนด โดยพิจารณาจาก รูปแบบ ความยากง่ายของงาน ทั้งน้ี มีทั้งผู้เป็นพิธีกรอิสระ หรือมีสังกัดตามบริษัทอีเวนต์ต่าง ๆ หรือตามองค์กร สายงานสื่อสารมวลชนต่าง ๆ หรือข้ึนอยู่กับเง่ือนไขการจ้างที่ผู้ว่าจ้างก�ำหนด โดยค่าจ้าง/เวลาการท�ำงานต้อง เปน็ ไปตามขอ้ ตกลง สถานทีแ่ ละเวลา อาจเปน็ ตัวแปรทที่ ำ� ให้สภาพการจา้ งงานแตกตา่ งกนั ไป สภาพการทำ� งาน ถา้ เปน็ งานของสถานโี ทรทศั น์ พธิ กี รจะทำ� งานในชว่ งกำ� หนดเวลาตามผงั รายการของสถานฯี อาจจะในหอ้ งสง่ ของสถานี หรอื นอกสถานทเ่ี พอ่ื การแสดงสดหรอื มถี า่ ยทอดสด หรอื บนั ทกึ เทปโทรทศั นเ์ พอื่ นำ� ออกอากาศในชว่ งเวลา ท่ีก�ำหนดไว้ ต้องอยู่ท่ามกลางแสงสว่างมาจากแสงไฟในห้องส่ง อาจใช้เวลามากในการถ่ายท�ำซ�้ำหลายครั้ง เมอื่ เกิดข้อผดิ พลาด พิธกี รทดี่ ำ� เนนิ รายการมีคนเดียวหรอื มากกว่าหนึ่งคนขนึ้ อยูก่ บั รูปแบบการน�ำเสนอรายการ การดำ� เนนิ รายการสดเปน็ พธิ กี รบนเวที ตอ้ งใชค้ วามสามารถเฉพาะตวั และไหวพรบิ ในการแกไ้ ขปญั หาทอี่ าจ เกดิ ขนึ้ ไดโ้ ดยไมค่ าดคิด ใชเ้ วลาท�ำงานประมาณ 2 - 3 ช่ัวโมง และมกั จะเป็นพิธกี รคู่

ท20ี่ต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน โอกาสในการมีงานทำ� Department of Employment โอกาสในการท�ำงานเป็นพิธีกรมากที่สุด คือ VJ (VJ) คือ พิธีกรรายการเพลง การเป็น VJ ต้องมีความรู้ เร่ืองเพลงไทยและเพลงสากล สามารถพูดภาษาอังกฤษได้ดี เพราะรายการเพลงส่วนมากจะจัดเป็น 2 ภาษา พิธีกรแบบ VJ เป็นท่ีต้องการอย่างมากในขณะนี้ พิธีกรที่ด�ำเนินรายการสนทนา สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ และ การเมือง ก�ำลังมีความต้องการสูงเช่นกัน เพราะสถานการณ์บ้านเมืองในทุก ๆ ด้านขณะน้ี ล้วนมีเหตุการณ์ การเปล่ียนแปลง การเคล่ือนไหว การผันผวนอยู่ตลอดเวลา ท�ำให้สถานีโทรทัศน์ วิทยุในหลาย ๆ ช่อง รวมทั้ง เคเบ้ิลทีวี วิทยุชุมชนท้องถิ่น ผุดรายการน�ำเสนอข่าวสารบ้านเมืองกันมากมาย รายงานข่าวได้ตลอดเวลาเพื่อให้ ประชาชนรู้สถานการณ์ในบ้านเมืองมากย่ิงขึ้น ส่งเสริมอย่างกว้างขวาง และแพร่หลายสู่ท้องถ่ินและชุมชน รายการประเภทนีจ้ งึ ตอ้ งการพิธกี รร่นุ ใหมท่ ่มี ีความรคู้ วามสามารถในเร่ืองเศรษฐกจิ และการเมอื ง คณุ สมบตั ขิ องผูป้ ระกอบอาชีพ 1. สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีจากคณะนิเทศศาสตร์ หรอื สาขาทีเ่ ก่ยี วข้อง 2. มีประกาศนยี บตั รผู้ประกาศจากกรมประชาสัมพันธ์ 3. ต้องเป็นผู้ท่ีออกเสียงควบกล้�ำในภาษาไทยชัดเจน รวมทั้งมีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษได้จะ เป็นการดี มนี �้ำเสียงนา่ ฟัง สุภาพ และใช้จังหวะในการอ่านการพดู ไดถ้ ูกตอ้ ง 4. ตอ้ งมีรปู รา่ ง หนา้ ตา และบุคลกิ ค่อนข้างดี 5. มไี หวพริบ และปฏภิ าณดี สามารถแกไ้ ขเหตุการณท์ ่อี าจเกดิ ขน้ึ โดยไมค่ าดคิด 6. เป็นผู้ท่ีหมั่นหา โดยเฉพาะรูปแบบการน�ำเสนอความรู้รอบตัว และสนใจเหตุการณ์บ้านเมืองและ ของโลก เพือ่ ใช้ประโยชน์ในการดำ� เนนิ รายการ 7. มีคณุ ลักษณะในการท�ำงานเป็นทีมสงู มมี นุษยสัมพนั ธ์ มรี ะเบยี บวินยั ในการทำ� งาน 174 8. มีทศั นคติท่ีดีในอาชีพ 9. สามารถคดั เลอื กเชญิ ผรู้ ว่ มรายการและใหเ้ กยี รตแิ หลง่ ขา่ ว ในขณะพดู คยุ หรอื สมั ภาษณด์ ว้ ยความสภุ าพ มารยาทอันดี สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา - คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ฟารอ์ สี เทอรน์ 120 ถนนมหดิ ล ตำ� บลหายยา อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งใหม่ 50100 โทรศพั ท์ 0-5320-1800-4 โทรสาร 0-5320-1810 - สาขาวทิ ยุกระจายเสยี งและวทิ ยุโทรทศั น์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรงุ เทพ วิทยาเขตกล้วยน้�ำไท เลขที่ 119 ถนนพระราม 4 เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ 10110 โทรศพั ท์ 0-2350-3500-99 โทรสาร 0-2240-1516 อเี มล [email protected] รบั สมัคร 0-2249-5132-6 (สายตรง) 0-2350-3500 ต่อ 1582-1588, 1609-1610 - สาขาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต เลขท่ี 9/1 หมู่ 5 ถนนพหลโยธนิ ตำ� บลคลองหน่ึง อำ� เภอคลองหลวง จงั หวัดปทุมธานี 12120 โทรศพั ท์ 0-2902- 0250-99 โทรสาร 0-2516-8553 อเี มล [email protected] รับสมคั ร 0-2902-0299 ตอ่ 2411-2417 - สาขาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต อาคารดิจิตอล มัลติมเี ดยี คอมเพลก็ ซ์ (อาคาร 15) 52/347 พหลโยธนิ 87 ถนนพหลโยธิน อำ� เภอเมอื ง จังหวัดปทมุ ธานี โทรศพั ท์ 0-2997-2200-30 ตอ่ 4671-5 โทรสาร 0-2997-2200-30 ต่อ 467 เวบ็ ไซต์ www.ca.rsu.ac.th

ที่ตลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศนู ยร์ งั สติ 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธนิ กรมการ ัจดหางาน ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121 โทรศัพท์ 0-2696-6215 โทรสาร 0-2696-6218 Department of Employment อีเมล [email protected] - คณะวารสารศาสตร์และส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ อาคารธรรมศาสตร์ 60 ปี ชัน้ 4 เลขท่ี 2 ถนนพระจันทร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 โทรศพั ท์ 0-2613- 2733, 0-2613-2734 โทรสาร 0-2613-2726 อเี มล [email protected] - คณะการสอื่ สารมวลชน มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เว็บไซต์ http://www.masscomm.cmu.ac.th/ - ภาควิชานิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ สาขาส่ือสารมวลชน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://cai.hum.ku.ac.th/PAGE/academic01.html โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ จากการเป็นพิธีกรรายการทางวิทยุ ดีเจ หรือ VJ อาจพัฒนาความสามารถ มาเป็นผ้จู ัดรายการทางโทรทศั น ์ ผปู้ ระกาศ ข่าว ผูจ้ ดั รายการ ดารานักแสดง ถ้ามคี วามรู้ ด้านภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี ก็จะสามารถ ท�ำงานกับสถานีโทรทัศน์ในเครือข่ายของ ต่างประเทศได้ ส่วนพิธีกรจัดรายการ ประเภทถามตอบ หรือรายการที่ให้สาระ ทางเศรษฐกิจ หรือการเมือง อาจใช้ ความรอบรู้ ประสบการณ์ ท�ำการวิเคราะห์ 175 สถานการณ์ เขียนบทความลงหนังสือพิมพ์ ก็เป็นอีกช่องทางหนึ่งในการเพ่ิมอาชีพไปอีกก้าว และเพิ่มงาน ให้ไดม้ ากขึน้ อาชีพที่เก่ยี วเน่อื ง ผสู้ ือ่ ข่าว นกั หนังสือพมิ พ์ นักแสดง นกั เขยี น ครู / อาจารย์ นักวชิ าการ ผูผ้ ลติ รายการวทิ ยุ และโทรทศั น์ หรอื เคเบลิ้ ทวี ี แหลง่ ขอ้ มลู อืน่ ๆ - เว็บไซตบ์ รกิ ารจดั หางาน และเวบ็ ไซต์ของสถานีวทิ ยุโทรทศั นท์ กุ ชอ่ ง

กรมการ ัจดหางาน ท20ี่ต0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 พธิ ีกรรายการเพลงทางโทรทัศน์ Vedio Jockey (VJ) นิยามอาชพี ผู้ที่ท�ำหน้าท่ีในการจัดรายการเพลงผ่าน สื่อท่ีเห็นภาพได้ชัด เช่น โทรทัศน์ โดยรูปแบบ เพลงจะเปน็ รูปแบบของ Music Video (MV) ซึ่ง บทบาทและหนา้ ทข่ี อง VJ นนั้ แทบจะไมแ่ ตกตา่ ง จาก DJ มากนกั เพราะรปู แบบรายการจะมคี วาม คล้ายคลึงกัน บางช่วงของรายการอาจมีการให้ สาระความรู้แตกต่างกันไปตามรูปแบบของ รายการ ในการออกอากาศ 1 ชว่ งเวลามกั จะเปน็ แนวเพลงเดียวกัน และมักจะเป็นเพลงใหม่หรือ เพลงยอดนยิ มในขณะนนั้ ส่วนที่แตกต่างจาก DJ ก็คือเป็นการน�ำเสนองานเพลงผ่านทางโทรทัศน์ ในรูปแบบของ Music Video เท่านน้ั 176 ลกั ษณะของงานทท่ี �ำ การทำ� งานของ VJ คือการจดั รายการที่เกยี่ วกับเพลง (มวิ สิกวดิ โี อ) โดยมกี ารพูดจาทักทาย แนะนำ� รายการ ก่อนเริ่มรายการทุกคร้ัง หรือเปิดให้แลกเปล่ียนความคิดเห็น เล่นเกม การขอเพลงฮิต เป็นต้น ซ่ึงดูไปแล้วคล้าย กับบทบาทของพิธกี ร แต่ VJ ทำ� หน้าท่ใี นช่วงเวลาส้ันกวา่ ท้ังน้ี ใน 1 เทป VJ ต้องทำ� หนา้ ท่ีพดู ไมต่ �่ำกว่า 5 คร้งั มีท้ังการบันทึกเทป และรายการสด รวมทั้งรายการภาคสนามท่ีมีหน้าท่ีตามไปสัมภาษณ์ศิลปินนักร้อง VJ ต้องมี ความรู้เร่ืองเพลงไทยและเพลงสากล นอกจากนี้ยังต้องมีความสามารถพูดภาษาอังกฤษได้ดีเท่า ๆ กับภาษาไทย เพราะรายการเพลงสว่ นมากจะจดั เปน็ 2 ภาษา พิธกี รแบบVJ เปน็ ท่ตี อ้ งการอยา่ งมากในปัจจุบนั สภาพการจ้างงาน รายได้ของ VJ มีรายรับตามอัตราแต่ละรายการ และชั่วโมงการท�ำงาน ส่วนใหญ่จะจ้างงานในลักษณะ Freelanceหรอื ท�ำสัญญาจา้ งงานปีตอ่ ปี หรือตอ่ สัญญาอีก 3 ปี สภาพการทำ� งาน มีการนำ� เสนอเรอื่ งราวเกย่ี วกับเพลงและศลิ ปนิ ไมแ่ ตกต่างจากดเี จ ค่อนขา้ งอสิ ระในความคิด สามารถดไี ซน์ รูปแบบรายการให้มีความสนุกสนานตามบคุ ลกิ ของ VJ น้นั ๆ สครปิ ต์รายการจะมีเพยี งคร่าว ๆ เท่านั้น VJ จงึ ต้องมี ความรรู้ อบตวั สงู ขณะเดยี วกนั สว่ นใหญเ่ ปน็ รายการสด (เคเบลิ ทวี มี กั นำ� มา re-run) หรอื ถา้ ถา่ ยทำ� ลว่ งหนา้ เปน็ เทป ก็จะใช้สถานการณ์จริงในช่วงน้ันไม่ค่อยมีการสั่งคัท บางคร้ังมี VJ คู่ในรายการ มีการสัมภาษณ์ศิลปินไทยและ ตา่ งประเทศ การ phone–in, fax–in หรือ SMS จากผูช้ ม รายการเพลงมคี วามยาวตัง้ แต่ 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง

ทีต่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสในการมงี านท�ำ กรมการ ัจดหางาน Department of Employment บริษัทและองค์กรเอกชนที่ประกอบธุรกิจเก่ียวกับสื่อโฆษณาทางวิทยุและโทรทัศน์ ธุรกิจบันเทิง หรือ มูลนิธิต่าง ๆ เป็นผู้รับเช่าช่วงเวลาสถานีจากหน่วยงานราชการ เพื่อน�ำมาจัดด�ำเนินการและเผยแพร่รายการ ใชเ้ ปน็ สอ่ื ประชาสมั พนั ธส์ นิ คา้ ของตนเองใหค้ รบวงจร ทง้ั น้ี ผเู้ ชา่ ชว่ งสถานตี อ้ งจดั ท�ำผงั รายการภายใตก้ รอบนโยบาย และวัตถุประสงค์ของเจ้าของสถานี เช่น บริษัทผลิตเทปเพลง บริษัทจัดฉายภาพยนตร์จากทั้งในและต่างประเทศ กรณขี อง VJ อาจไดร้ ับการทาบทามให้เปน็ พิธกี รรายการอน่ื ทีไ่ มซ่ ้�ำกบั การเปน็ พิธกี รรายการเดมิ เป็นดารา และอาจ เป็นผู้ประกาศข่าวบันเทิง ถ้าฝึกฝนภาษาอังกฤษเพ่ิมเติมก็จะสามารถท�ำงานกับสถานีโทรทัศน์ ในเครือข่ายของ ต่างประเทศได้ คณุ สมบัตขิ องผู้ประกอบอาชพี 1. ส�ำเร็จการศึกษาจากคณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุและโทรทัศน์ หรอื สาขาวิชาอืน่ ๆ ที่เก่ียวข้อง 2. สนใจ และรักการพดู กลา้ แสดงออก สามารถสอื่ สารให้ผู้ชม ผ้ฟู งั เขา้ ใจได้ 3. มีประกาศนียบัตรผู้ประกาศฯ จากกรมประชาสัมพันธ์ ได้รับการฝึกอบรมจากสมาคมวิทยุโทรทัศน์ แห่งประเทศไทย และผ่านการสอบได้รับประกาศนียบัตรผู้ประกาศฯ จากกรมประชาสัมพันธ์ โดยสมัครสอบ ดว้ ยตนเอง หรอื ผา่ นสถาบันการศึกษาที่สงั กัดอย ู่ (ผู้สมคั รต้องอายุ 18 ปขี น้ึ ไป) 4. ต้องเป็นผูท้ อี่ อกเสียงควบกลำ้� ในภาษาไทยชัดเจน ภาษาอังกฤษใชไ้ ด้ มนี �้ำเสยี งนา่ ฟงั สุภาพ และมีลีลา ในการน�ำเสนอ 5. มคี วามสามารถเขียนบทวทิ ยดุ ้วยตนเอง 6. ต้องมรี ูปรา่ งหน้าตาและบุคลกิ ลกั ษณะทค่ี อ่ นข้างดแี ละโดดเดน่ เพ่ือดงึ ดดู ความสนใจจากผูช้ ม 7. มไี หวพรบิ และปฏภิ าณดี สามารถแก้ไขเหตุการณท์ อ่ี าจเกดิ ขน้ึ โดยไม่คาดคิด 8. เป็นผู้มคี วามร้รู อบตัว และสนใจกระแสเหตุการณ์ของโลก เพือ่ ใช้ประโยชน์ในการด�ำเนินรายการ 9. มีคุณลกั ษณะในการท�ำงานเปน็ ทีมสงู มมี นษุ ยสมั พันธ์ มรี ะเบียบวนิ ัยในการทำ� งาน 177 10. มที ศั นคติทดี่ ี มีความเป็นกลาง 11. มีความอบอุ่น เปดิ เผย ซื่อสตั ย์ เป็นกนั เองตอ่ ผรู้ ่วมรายการและผชู้ มรายการ 12. มีความรเู้ รอื่ งการใชส้ ญั ญาณมือ 13. มีดนตรีในหวั ใจ ฟังเพลง สงั เกตและจ�ำข้อมูลของเพลงใหม้ าก มีรสนยิ มในการฟงั เพลง สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบันการศกึ ษา - วชิ าการสอื่ สาร คณะนเิ ทศศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ฟารอ์ สี เทอรน์ 120 ถนนมหดิ ล ตำ� บลหายยา อำ� เภอเมอื ง จังหวดั เชียงใหม่ 50100 โทรศพั ท์ 0-5320-1800-4 โทรสาร 0-5320-1810 - สาขาวทิ ยุกระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์ คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยกรุงเทพ วทิ ยาเขตกลว้ ยน�้ำไท เลขท่ี 119 ถนนพระราม 4 เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2350-3500-99 โทรสาร 0-2240-1516 อีเมล [email protected] รบั สมคั ร 0-2249-5132-6 (สายตรง) 0-2350-3500 ตอ่ 1582-1588, 1609-1610 - สาขาวทิ ยกุ ระจายเสยี งและวทิ ยุโทรทัศน์ คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรงุ เทพ วทิ ยาเขตรังสิต เลขที่ 9/1 หมู่ 5 ถนนพหลโยธิน ตำ� บลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จงั หวัดปทมุ ธานี 12120 โทรศัพท์ 0-2902-0250-99 โทรสาร 0-2516-8553 อเี มล [email protected] รับสมคั ร 0-2902-0299 ต่อ 2411-2417 - สาขาวทิ ยกุ ระจายเสยี งและวทิ ยโุ ทรทศั น์ คณะนเิ ทศศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั รงั สติ อาคารดจิ ติ อล มลั ตมิ เี ดยี คอมเพลกซ์ (อาคาร 15) 52/347 พหลโยธิน 87 ถนนพหลโยธิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี โทรศัพท์

2ท0ี่ต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน 0-2997-2200-30 ต่อ 4671-5 โทรสาร 0-2997-2200-30 ต่อ 467 เว็บไซต์ www. ca.rsu.ac.th Department of Employment - คณะวารสารศาสตรแ์ ละส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ย์รังสิต 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธนิ ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121 โทรศัพท์ 0-2696-6215 โทรสาร 0-2696-6218 อีเมล [email protected] - คณะวารสารศาสตร์และส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ อาคารธรรมศาสตร์ 60 ปี ช้ัน 4 เลขท่ี 2 ถนนพระจันทร์ แขวงพระบรมมหาราชวงั เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร 10200 โทรศพั ท์ 0-2613-2733,0-2613-2734 โทรสาร 0-2613-2726 อเี มล [email protected] - สาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เว็บไซต์ http://www.libarts. mju.ac.th/ - คณะการสอ่ื สารมวลชน มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เว็บไซต์ http://www.masscomm.cmu.ac.th/ - ภาควิชานิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ สาขาสื่อสารมวลชน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://cai.hum.ku.ac.th/PAGE/academic01.html โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี การเปน็ VJเปน็ สะพานทอดไปสวู่ งการบนั เทงิ ในสาขาอน่ื ๆ ไดอ้ กี ดว้ ย ไมว่ า่ จะเปน็ พธิ กี รบนเวทใี นงานตา่ ง ๆ การได้เข้าไปเล่นเกมโชว์ เป็นนางเอกพระเอกมิวสิกวิดีโอ เล่นละคร แสดงภาพยนตร์ เป็นนักจัดรายการวิทยุ นาย แบบ นางแบบ พรเี ซนเตอร์โฆษณา แตว่ า่ จะไปไดไ้ กลแค่ ไหนกค็ งตอ้ งอาศัยความดังและเสนห่ ข์ องตวั VJ เอง 178 อาชีพท่เี กย่ี วเนอื่ ง ผปู้ ระกาศขา่ วบนั เทงิ นกั แสดง นกั รอ้ ง พธิ กี รโทรทศั น์ และพิธีกรเวทกี ารแสดง นกั พากย์บทภาพยนตร์ นกั ขา่ ว แหล่งขอ้ มูลอน่ื ๆ - เว็บไซต์ http://www.mtvthailand.com - เว็บไซต์ http://www.channelvthailand.com - เวบ็ ไซต์ http://www.atimemedia.com - เว็บไซต์ http://www.prd.go.th - เวบ็ ไซต์ http://www.thaidjcenter.com - เว็บไซต์ http://www.siamza.com/radio - เว็บไซต์ http://www.mthai.com - เวบ็ ไซต์ http://truemusic.truelife.com/home/index.jsp - เว็บไซต์ http://www.mozarzacademy.com

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment วศิ วกรส่ือิ สารโทรคมนาคม Telecommunications Engineer นิยามอาชีพ ออกแบบและทดสอบระบบและอปุ กรณโ์ ทรคมนาคม : วางแผน และควบคุมกระบวนการผลิต รวมท้ังการบ�ำรุงรักษาและซ่อมแซม อุปกรณ์ทางด้านโทรคมนาคม ; ตดิ ตง้ั ระบบและอุปกรณโ์ ทรคมนาคม ในสถานทตี่ งั้ สาขาตา่ ง ๆ ; วจิ ยั และพฒั นาผลติ ภณั ฑท์ างดา้ นโทรคมนาคม การบรหิ าร การจดั การโครงขา่ ยการสอ่ื สารและโทรคมนาคม ลกั ษณะของงานทที่ ำ� 1. ดำ� เนินการออกแบบระบบอปุ กรณ์ รวมทัง้ สว่ นประกอบตา่ ง ๆ เกี่ยวขอ้ งกับการโทรคมนาคม 2. ดำ� เนนิ การวางแผน และควบคมุ การผลติ การกอ่ สรา้ ง การตดิ ตงั้ ทดสอบการใชง้ านและการบำ� รงุ รกั ษา การพัฒนาเปล่ียนแปลงแกไ้ ข และการซ่อมบำ� รุง 3. ด�ำเนนิ การวางแผนผงั ระบบโทรคมนาคมและอิเลก็ ทรอนกิ ส์กบั อุปกรณต์ า่ ง ๆ 4. จดั ทำ� ตารางการปฏิบตั ิงานเขยี นแบบรา่ งแบบวาด 5. เตรียมข้อมูลและรายละเอียดในการท�ำงาน พร้อมระบุวิธีการผลิต การก่อสร้าง การติดตั้งวัสดุ และ 179 เครอื่ งมอื ท่ีตอ้ งใช้ ประมาณการคา่ ใช้จา่ ย คา่ แรง คา่ วัสดุ ผลิตภณั ฑ์ คา่ กอ่ สร้าง คา่ การตดิ ตัง้ และ คา่ ดำ� เนนิ การ 6. ดำ� เนนิ การตรวจตราและทดสอบเพอ่ื ประเมนิ คณุ ภาพ ประสทิ ธภิ าพ ลกั ษณะการปฏบิ ตั งิ านใหต้ รงตาม รายละเอยี ดทรี่ ะบุไว้ ความปลอดภัยตามเกณฑม์ าตรฐาน 7. ทำ� การตดิ ตาม ควบคมุ และสงั่ การดาวเทยี ม เพราะเวลาทดี่ าวเทยี มโคจรอยใู่ นอวกาศจะมแี รงดงึ ดดู ของ โลก ดวงจนั ทร์ ดวงอาทติ ย์ ซง่ึ อาจทำ� ใหด้ าวเทยี มโคจรเอยี งไปจากมมุ ปกติ จงึ ตอ้ งทำ� การบงั คบั การใหด้ าวเทยี มโคจร อย่ใู นต�ำแหน่งที่ถกู ต้องตลอดเวลา 8. ด�ำเนินการวางแผนและควบคุมการใช้ การบ�ำรุงรักษาระบบและอุปกรณ์โทรคมนาคม และระบบ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ขนาดใหญ่ เชน่ สถานวี ทิ ยกุ ระจายเสียง สถานรี ับคลนื่ ดาวเทียม เป็นต้น 9. ใหค้ �ำแนะน�ำ และท�ำการฝกึ อบรมการปฏิบัตงิ านทางวิศวกรรมโทรคมนาคม 10. ปฏิบัติงานอื่น ๆ เช่นเดียวกับวิศวกรไฟฟ้าท่ัวไป แต่เพ่ิมความช�ำนาญงานทางระบบ และอุปกรณ์ โทรคมนาคม เชน่ ระบบและอปุ กรณโ์ ทรศัพท์ และโทรเลขประเภทใชส้ ายหรอื ใชค้ ล่ืนวิทยุ เปน็ ต้น สภาพการจา้ งงาน วิศวกรโทรคมนาคมจะได้รบั ค่าตอบแทนเปน็ เงนิ เดอื นตามวฒุ กิ ารศึกษา และอาจจะมีค่าวิชาเพิ่มให้ส�ำหรับ ผูท้ ีม่ ีประสบการณ์ อัตราเงนิ เดือนโดยท่วั ไป ในหนว่ ยงานราชการเดือนละ 17,000 - 19,500 บาท ในภาคเอกชน เดอื นละ 17,500 - 21,000 บาท ขึน้ อยกู่ ับความรู้ความสามารถของผ้ปู ฏิบัติงาน และภารกิจขององคก์ รธรุ กจิ นั้น ๆ

ท20่ีต0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน และจะไดร้ บั การพจิ ารณาปรบั เงนิ เดอื นตามอตั ราทอี่ งคก์ ารธรุ กจิ กำ� หนดไวเ้ ปน็ มาตรฐาน ถา้ ทำ� งานในหนว่ ยงานของ Department of Employment รัฐ จะไดร้ ับการพจิ ารณาปรับเงินเดอื นประจ�ำปีตามอัตราเงินเดือนทกี่ �ำหนดไว้ นอกจากนี้ ยังไดร้ บั สวสั ดกิ าร และ ผลประโยชนต์ อบแทนพเิ ศษอยา่ งอนื่ ตามระเบยี บของทางราชการ หรือตามนโยบายขององค์กรธุรกจิ นั้น ๆ วิศวกร โทรคมนาคม โดยปกตปิ ฏิบตั งิ านวันละ 8 ชัว่ โมง อาจตอ้ งทำ� งานวันเสาร์ - อาทติ ย์ และวนั หยุด ในกรณีท่ตี อ้ งการ ใหง้ านที่ไดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ให้ทนั เวลา สภาพการทำ� งาน สถานทท่ี ำ� งานของวศิ วกรโทรคมนาคม คอื เปน็ สำ� นกั งานทมี่ อี ปุ กรณ์ สง่ิ อำ� นวยความสะดวก แตโ่ ดยลกั ษณะ งานทจี่ ะตอ้ งควบคมุ งานการสอื่ สารโทรคมนาคม และงานการตดิ ตง้ั และซอ่ มบำ� รงุ ระบบโทรคมนาคมเพอื่ ใหส้ ามารถ ทำ� งานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ จงึ จะตอ้ งควบคมุ งานในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารหรอื ปฏบิ ตั กิ ารควบคมุ งานภาคสนามเพอ่ื การตดิ ตง้ั หรอื ซอ่ มบำ� รงุ ในหนว่ ยงานทใี่ ชบ้ รกิ ารโทรคมนาคมตลอด 24 ชว่ั โมง และตอ้ งการใหม้ วี ศิ วกรโทรคมนาคม ควบคมุ ท�ำงานประจ�ำอยสู่ ถานคี วบคมุ ดาวเทียมภาคพ้ืนดนิ มีหนา้ ทีค่ วบคุมดาวเทยี ม โดยการท�ำงานอาจแบ่งเปน็ รอบ โดยทำ� งานรอบละ 8 ชวั่ โมง หมนุ เวยี นในแตล่ ะวนั กบั ทมี งาน เพอื่ ควบคมุ งานระบบการสอ่ื สารใหส้ ามารถทำ� งาน ได้ตลอด 24 ช่วั โมง โอกาสในการมีงานทำ� สามารถเข้ารับราชการ หรือท�ำงานในรัฐวิสาหกิจ เช่น การส่ือสารแห่งประเทศไทย องค์การโทรศัพท์แห่ง ประเทศไทย บริษัท วทิ ยกุ ารบนิ แหง่ ประเทศไทย กรมไปรษณยี โ์ ทรเลข เปน็ ต้น ท�ำงานในภาคเอกชน เช่น บริษทั ยคู อม บรษิ ัท เทเลคอมเอเชยี คอร์ปอเรช่ัน จ�ำกัด บรษิ ัท แอ๊ดวานซอ์ ินฟอร์เมช่นั ซิสเต็มส์ บรษิ ทั สามารถเทเลคอม มิวนิเคชนั่ เปน็ ตน้ นอกจากน้ี ยงั สามารถประกอบธรุ กจิ ส่วนตวั ได้ 180 เนื่องจากการมีอุปกรณ์การสื่อสารท่ีทันสมัยและการน�ำเทคโนโลยีใหม่มาใช้ ท�ำให้การส่ือสารเป็นเรื่องง่าย และสะดวก สามารถตดิ ตอ่ กันทั่วโลกไดท้ นั ทีเมอื่ มีความตอ้ งการตดิ ต่อ การใหบ้ ริการด้านการสื่อสารยงั เปน็ ธรุ กจิ ท่ี มกี ารแขง่ ขันกันสูง บคุ ลากรทางด้านน้ยี ังเปน็ ทตี่ ้องการในตลาดแรงงาน เนื่องจากไม่วา่ จะอยใู่ นภาวะใด การบริการ ด้านการส่ือสาร กย็ งั มคี วามจำ� เป็นอยตู่ ลอดเวลา คณุ สมบัตขิ องผปู้ ระกอบอาชีพ 1. สำ� เรจ็ การศึกษาปรญิ ญาตรสี าขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (โทรคมนาคม) จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ 2. มรี ่างกายแข็งแรง ไม่เป็นโรคทเ่ี ปน็ อุปสรรคตอ่ การทำ� งาน เชน่ ตาบอดสี 3. มคี วามคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ มคี วามสนใจในการตดิ ตามเทคโนโลยีใหม่ ๆ ท่มี กี ารพัฒนาอยตู่ ลอดเวลา มี ความอดทน ชอบการคิดคำ� นวณ มีความละเอียดรอบคอบ 4. มคี วามเป็นผนู้ ำ� และมมี นุษยสัมพนั ธท์ ีด่ ี 5. สามารถแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้าได้ สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบันการศกึ ษา เป็นผู้ผ่านการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรม อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (โทรคมนาคม) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล หรอื สถานศึกษาสงั กดั ทบวงมหาวิทยาลัย หลักสตู รการ ศกึ ษา 4 ปี หรือส�ำเร็จการศกึ ษาในระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) แล้วศกึ ษาตอ่ ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี

ทตี่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 ชัน้ สูง (ปวส.) หลักสูตร 2 ปี ประเภทวิชาชา่ งอตุ สาหกรรมสาขาวิชาช่างไฟฟ้า ในสถานศกึ ษาสังกดั กรมอาชีวศึกษา กรมการ ัจดหางาน สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล วทิ ยาลยั เทคโนโลยีอุตสาหกรรม หรือสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนอื Department of Employment และเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี หลักสูตร 2 ปี สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ในสถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล หรือสถาบันการศึกษาท่ีเปิดสอนระดับปริญญาตรี และรับโอนหน่วยกิตของผู้ส�ำเร็จการศึกษา ระดับ ปวส. เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี เมอ่ื ส�ำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรีสามารถที่จะขอหรอื สอบเพื่อรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม เพ่ือใช้เป็นหลักฐานในการประกอบอาชีพได้ท่ี กองวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สงั กัดกระทรวงมหาดไทย โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ วศิ วกรโทรคมนาคมผ้ทู ีเ่ ขา้ รับราชการ สามารถไดร้ ับการเล่อื นขน้ั และตำ� แหนง่ จนถงึ ระดับสงู สุดในสายงาน ตามเง่ือนไขระเบียบราชการ และผู้ท่ีท�ำงานในภาคเอกชนทั่วไป จะได้รับการเลื่อนข้ัน และปรับเงินเดือนตามความสามารถ และ ประสบการณ์ได้จนถึงระดับบริหารในองค์กรนั้น ส�ำหรับผู้ท่ีมี เงินทุนสามารถประกอบธุรกิจส่วนตัว โดยอาจจะเป็นตัวแทนใน การน�ำเข้าและติดต้ังอุปกรณ์โทรคมนาคม และอุปกรณ์ในการ ส่ือสาร อาชพี ทเี่ ก่ียวเนอ่ื ง วศิ วกรไฟฟา้ (ผลติ พลงั งาน) วศิ วกรไฟฟา้ (สง่ และจา่ ยพลงั งาน) วศิ วกรไฟฟา้ (อปุ กรณ)์ วศิ วกรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ แหลง่ ขอ้ มูลอนื่ ๆ 181 - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี เว็บไซต์ www.kmutt.ac.th - มหาวิทยาลัยสยาม เวบ็ ไซต์ www.siamu.ac.th, www.home.siam.th.eau - มหาวทิ ยาลยั อสั สัมชัญ เว็บไซต์ www.au.ae.th - วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์ เว็บไซต์ www.r-tech.go.th

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ี่ต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 วิศวกรฮาร์ดแวร์ Hardware Engineer นิยามอาชีพ วิจัย ออกแบบ พัฒนา ศึกษาและก�ำหนดคุณลักษณะ ติดต้ัง บริหาร กำ� หนดนโยบายการใช้งานและบ�ำรงุ รักษาระบบคอมพวิ เตอร์ (ตั้งแต่ คอมพิวเตอร์ส่วนตัวจนถึงคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง) วงจรดิจิตอล ระบบ การท�ำงานฝังตัว (Embedded System) ระบบจัดการ ระบบฐานข้อมูล โปรแกรมระบบ ระบบซอฟต์แวร์ประยุกต์ (ท้ังชนิดส�ำเร็จรูปและท่ีพัฒนา ข้ึนเอง) ระบบเครือข่าย ข้อมูลและอุปกรณ์สอื่ สารแวดลอ้ มท้งั หมด ลักษณะของงานทที่ ำ� 1. ออกแบบวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ ระบบดจิ ทิ ัล และแอนะลอ็ ก 2. เป็นผู้ออกแบบโปรแกรมประยุกต์บนคอมพิวเตอร์ คิดค้นวิธีเพ่ิมประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ ตามหลักพ้ืนฐานของสถาปตั ยกรรมและองคป์ ระกอบของคอมพิวเตอร์ 3. ท�ำการพฒั นา ประเมนิ สมรรถนะคอมพวิ เตอร์ ซีพียู ชุดค�ำสง่ั Input-Output ควบคุมแบบฮารด์ แวร์ 182 และไมโครโปรแกรม จดั ล�ำดบั ช้ันของหนว่ ยความจำ� หน่วยความจ�ำเสมือน การประมวลผลแบบต่าง ๆ 4. เลอื กใชล้ กั ษณะและชนดิ ของไมโครโปรเซสเซอร์ เทคนคิ การเชือ่ มต่อไมโครโปรเซสเซอร์ 5. ตรวจสอบความถูกต้องของวิธกี ารทำ� งานของคอมพวิ เตอร์ 6. แกป้ ัญหาท่เี กิดขึ้นกบั การท�ำงานของคอมพิวเตอร์ สภาพการจา้ งงาน เป็นผู้ท่ีส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หรือสาขาท่ีเก่ียวข้อง ส่วนใหญ่ ทำ� งานในสถานประกอบการดา้ นเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ หรอื สถานประกอบการอตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ ทมี่ กี ารใชร้ ะบบ คอมพวิ เตอร์ควบคุมระบบงาน ได้รบั เป็นเงนิ เดือนเดือนละประมาณ 16,900 - 19,900 บาท โดยมคี ่ารกั ษาพยาบาล และโบนัส ทีเ่ ป็นไปตามเงอื่ นไขขอ้ ตกลงกับผวู้ ่าจา้ ง ท�ำงานวันละ 8 ชัว่ โมง อาจท�ำงานล่วงเวลา วันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยดุ ตามความจำ� เป็นเรง่ ดว่ น สภาพการทำ� งาน ทำ� งานในสำ� นกั งานทม่ี สี งิ่ อำ� นวยความสะดวกตอ่ การทำ� งานครบครนั จะมกี ารไดอ้ อกไปตดิ ตอ่ ผใู้ ชง้ านระบบ เพอื่ ขอขอ้ มลู เพิ่มเตมิ บา้ งเป็นครัง้ คราว สว่ นใหญง่ านของวิศวกรฮาร์ดแวร์ เปน็ งานทีต่ ้องน่งั ทำ� งานอยกู่ บั โต๊ะทำ� งาน และต้องใช้งานร่วมกบั อปุ กรณ์ คอมพิวเตอรเ์ ปน็ เวลานาน ต้องใช้สมาธิ สายตาและมอื เปน็ งานทตี่ อ้ งใชค้ วามอดทน บรเิ วณท่ีทำ� งานเงียบสงบ ไม่มี เสยี งดงั รบกวน

ที่ตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสในการมงี านท�ำ กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ในปัจจบุ นั การเปล่ียนแปลงทางดา้ นเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ใหม่ ๆ เกดิ ขน้ึ อยูเ่ กือบจะตลอดเวลา นายจ้าง มีความต้องการจา้ งงานผู้ที่มีความร้ทู างดา้ นเทคโนโลยใี หม่ ๆ นอ้ี ยู่ตลอดเวลา จึงมีนโยบายทจี่ ะมกี ารว่าจ้างวิศวกร ฮารด์ แวร์ผู้มคี วามชำ� นาญมาทำ� งานให้กับองค์กร ผปู้ ระกอบอาชพี วิศวกรฮารด์ แวร์ ต้องปรบั ตัวให้พรอ้ มรบั ความรแู้ ละเทคโนโลยใี หมท่ ่เี กดิ ขึ้นอย่ตู ลอดเวลา เช่น ในปัจจุบัน ความต้องการคอมพิวเตอร์ท่ีมีสมรรถนะสูงก�ำลังอย่างเพ่ิมขึ้นรวดเร็ว ดังนั้นการเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ ทางดา้ นเทคโนโลยจี งึ เปน็ สง่ิ ทส่ี ำ� คญั สำ� หรบั วศิ วกรฮารด์ แวร์ จงึ ตอ้ งหมนั่ เขา้ รบั การอบรม สมั มนาเพอื่ เรยี นรเู้ ทคนคิ ใหม่ ๆ อย่ตู ลอดเวลา ย่ิงการพฒั นาของระบบคอมพวิ เตอร์ ยิง่ ซับซอ้ นยงุ่ ยากมากขึ้นเท่าใด ความต้องการจา้ งงาน ดา้ นวศิ วกรฮาร์ดแวรก์ เ็ พ่มิ สูงมากขน้ึ อย่างรวดเรว็ ตามไปด้วย คณุ สมบตั ิของผู้ประกอบอาชพี 1. ส�ำเรจ็ การศึกษาปริญญาตรี จากสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หรอื สาขาทเี่ กย่ี วข้อง 2. มที ักษะในการวิเคราะห์ และมีการจดั การแกไ้ ขปญั หาอยูใ่ นเกณฑ์ดี 3. มคี วามคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์ 4. มีทกั ษะทางดา้ นคณิตศาสตรแ์ ละภาษาอังกฤษอยูใ่ นเกณฑด์ ี 5. เป็นผมู้ มี นุษยสัมพันธ์ดี สามารถตดิ ตอ่ ส่อื สารกับผู้อ่นื ไดเ้ ป็นอยา่ งดี 6. สามารถท�ำงานร่วมกันเปน็ ทีมได้ สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบนั การศกึ ษา - มหาวิทยาลัยเกษมบณั ฑิต เว็บไซต์ http://www.kbu.ac.th โทรศพั ท์ 0-2321-6930-39 (เอกชน) - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://www.tu.ac.th โทรศัพท์ 0-2221-6111-20 183 - มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เวบ็ ไซต์ http://www.ku.ac.th โทรศพั ท์ 0-2579-0113, 0-2942-8500-11 - มหาวทิ ยาลยั รงั สิต เวบ็ ไซต์ http://www.rsu.ac.th โทรศัพท์ 0-2997-2200 (เอกชน) - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี เวบ็ ไซต์ http://www.kmutt.ac.th โทรศพั ท์ 0-2427-0039, 0-2427-0059 - มหาวทิ ยาลยั นเรศวร เว็บไซต์ http://www.nu.ac.th โทรศัพท์ 0-5526-1000-4 - มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ เวบ็ ไซต์ http://www.kku.ac.th โทรศัพท์ 0-4320-2222, 0-4320-3333 - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เว็บไซต์ http://www.rmut.ac.th โทรศัพท์ 0-2549-4990-2 - สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สถาบันการศึกษาในต่างประเทศ อาทิ Imperial College, Manchester University, CWRU และ AIT เปน็ ต้น โอกาสความกา้ วหน้าในอาชพี ผู้ที่มีความสามารถในการจัดการระบบการท�ำงาน การท�ำงบประมาณขององค์กร มีความสามารถในการ ควบคมุ ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาไดด้ ี และมคี วามสามารถในการตดิ ตอ่ สอื่ สารดจี ะมโี อกาสเลอื่ นตำ� แหนง่ ขน้ึ เปน็ ผชู้ ว่ ยผจู้ ดั การ ฝ่าย หรือผจู้ ดั การฝา่ ย และเปน็ ผ้บู ริหารขององค์กร ผู้รับราชการเปน็ ครูหรืออาจารย์ หรอื ทำ� งานวิจัยในกรม กอง สถาบันคน้ คว้าและวจิ ยั จะมโี อกาสกา้ วหนา้ ในระดับผู้บริหาร หรือถ้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอก จนส�ำเร็จการศึกษา ก็สามารถท�ำงานเป็น

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ตี่ 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 อาจารยห์ รอื ทำ� งานในหนว่ ยงานภาครฐั โดยทำ� งานในหนว่ ย งานปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั ทางคอมพวิ เตอร์ สำ� หรบั ผทู้ ช่ี อบประดษิ ฐ์ ค้นคว้า อาจคิดค้นประดิษฐ์เคร่ืองมือเครื่องใช้ที่เกี่ยวข้อง กับคอมพิวเตอร์ และน�ำออกมาเป็นผลิตภัณฑ์จ�ำหน่าย เปน็ อตุ สาหกรรมได้ อาชพี ท่เี ก่ียวเน่ือง นักออกแบบระบบงานคอมพิวเตอร์ นักวิเคราะห์ ระบบงานคอมพวิ เตอร์ นกั วเิ คราะหก์ ารสอื่ สารคอมพวิ เตอร์ นกั วเิ คราะหง์ านฐานขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ นกั บรหิ ารงาน ฐานขอ้ มูล วศิ วกรเก่ยี วกับระบบคอมพิวเตอร์ วศิ วกรเก่ียวกับซอฟตแ์ วร์ ครู / อาจารย์ แหลง่ ข้อมูลอื่น ๆ - ศนู ยเ์ ทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ (NECTEC) เวบ็ ไซต์ http://www.nectec.or.th/ite โทรศัพท์ 0-2642-5001-10 - สมาคมอตุ สาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย เวบ็ ไซต์ http://www.atsi.or.th โทรศพั ท์ 0-2962-1348 - สมาคมธรุ กิจคอมพวิ เตอร์ไทย เวบ็ ไซต์ http://www.atci.or.th โทรศพั ท์ 0-2216-5991 - ศนู ยก์ ารศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เวบ็ ไซต์ http://www.chula.ac.th โทรศพั ท์ 0-2215-0871-3 184

ท่ีตลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment อาร์ตไดเร็คเตอร์ Art Director นิยามอาชพี รับผิดชอบ ก�ำกับ และดูแลการปฏิบัติงานด้านศิลปะใน การผลติ รายการ การถา่ ยท�ำละครหรอื ภาพยนตร์ เช่น การออกแบบ ฉากเวที ควบคุมการสร้างและการติดต้ังฉากและอุปกรณ์ ประกอบฉาก ตามรูปแบบที่ก�ำหนดหรือเป็นไปตามจินตนาการ ที่มีอยู่ในบทละครหรือบทภาพยนตร์ เป็นผู้มีความรู้ ความช�ำนาญ ทางดา้ นศลิ ปะเป็นอยา่ งดี ลักษณะของงานที่ทำ� 1. ไดร้ บั โจทยจ์ ากลูกคา้ หรือ ผู้ก�ำกับ มาแล้วน�ำมาตคี วามหมายว่าตอ้ งทำ� อย่างไรกบั โจทย์ท่ีไดร้ ับมา คุยงานกับทมี เพ่อื สรปุ สง่ิ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 2. ดูโลเคชั่นทจ่ี ะใชใ้ นการท�ำงานในคร้ังนัน้ เพือ่ นำ� มาออกแบบงาน 3. ออกแบบงานและเสนองานให้กับลกู ค้า 4. แจกแจงงานทีอ่ อกแบบใหก้ บั ทีม 5. เตรยี มวสั ดอุ ุปกรณท์ ่ีจะตอ้ งใช้ในการท�ำงาน 185 6. แยกย้ายกบั ท�ำงานในส่วนทต่ี วั เองได้รบั มอบหมาย และตรวจเช็กงานของทมี ว่าตรงตามกบั ส่ิงทตี่ อ้ งการ หรือไม่ 7. ตงั้ งานในวนั ถ่ายทำ� จรงิ น�ำของทุกอย่างท่ีเราเตรยี มมาใช้ อาจปรับเปลี่ยนบางอย่างหนา้ งาน และเปน็ การท�ำงานท่ีต้องแก้ปัญหาเฉพาะหนา้ ตลอดเวลา 8. เมอ่ื เสรจ็ สน้ิ การถา่ ยทำ� ตอ้ งเกบ็ ของและอปุ กรณท์ กุ อยา่ งทเ่ี กย่ี วกบั Art ฉาก และพรอ๊ พ Career path/ ความกา้ วหนา้ ของสายอาชพี การท�ำงานของ Art director จะเริ่มไต่ระดับจากเด็กเดินพร๊อพ หน้าท่ีเร่ิมต้นคือการเตรียมอุปกรณ์ สร้างของช้ินเล็ก ๆ หากได้รับการไว้วางใจและมีผลงานที่ดีข้ึนเรื่อย ๆ ก็จะได้รับหน้าท่ีที่ใหญ่ข้ึน ไปจนถึงการที่ได้ ออกไอเดียและไดเ้ ลื่อนต�ำแหน่งไปยัง Art director และหวั หน้า Art director ในท่สี ดุ โดยการเลื่อนต�ำแหนง่ นนั้ จะขน้ึ อยกู่ บั ประสบการณ์ และความสามารถ หากมกี ารพฒั นาฝมี อื และการทำ� งานอยเู่ สมอ กจ็ ะสามารถเลอ่ื นตำ� แหนง่ หรือไดร้ บั มอบหมายในงานชิน้ ใหญ่ ๆ ไดไ้ มย่ ากนกั สภาพการจ้างงาน ข้ึนอยู่กับต�ำแหน่งและหน้าท่ีที่รับผิดชอบ โดยต�ำแหน่งแรกของ Art Directorจะเริ่มต้นท่ี 15,000 บาท หากเป็นงานประจำ� และในบางแห่งอาจจะให้ค่าเพิ่มในแตล่ ะงาน และเม่ือเรามคี อนเนคชนั่ เพ่มิ มากขึ้น หรอื รู้จกั คน เยอะขนึ้ เรากส็ ามารถรบั งานอนื่ ๆ เพม่ิ เตมิ ไดอ้ กี สว่ นมากเงนิ สำ� หรบั งานเสรมิ หรอื จอ๊ บ จะใหม้ าเปน็ กอ้ นใหญ่ ๆ และ

ท20ต่ี 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน ให้เราบริหารกันเอง หากบริหารดี หาแหล่งวัสดุท่ีมี Department of Employment ราคาถูกแต่มีคุณภาพดี ก็จะท�ำให้เรามีส่วนแบ่งจาก การท�ำงานเยอะขึน้ สภาพการทำ� งาน เน่ืองจากผู้ร่วมงานมักเป็นคนที่เรียนมาทาง สายศิลปะเป็นส่วนใหญ่ การท�ำงานจึงเป็นไปด้วย ความสนุกสนาน สบาย ๆ และไม่มีเวลาการเข้า หรือออกงานท่ีแน่นอน แต่ต้องมีความรับผิดชอบใน การท�ำงานน้ัน ๆ ให้เสร็จ ซ่ึงในบางคร้ังการท�ำงาน หลาย ๆ อย่างเป็นการทดลอง คือ เมื่อได้รับโจทย์มาว่าต้องท�ำส่ิงของประกอบฉากหรือฉาก อาจเป็นสิ่งที่เรา ไม่เคยเห็นหรือไม่มีอยู่จริง ก็ต้องศึกษาหาข้อมูลและลองท�ำออกมา ในบางครั้งอาจจะต้องมีการทดลองท�ำหลาย ครั้งเพ่ือให้ผลงานท่ีออกมาใกล้เคียงกับส่ิงที่ควรจะเป็นมากที่สุด และในบางโจทย์อาจต้องใช้เวลาในการท�ำงาน ค่อนข้างนาน มีหลายข้ันตอนในการผลิต หรือในบางคร้ังอาจจะกินเวลาในการพักผ่อน จึงต้องมีความรับผิดชอบ และอดทนต่อการทำ� งานมาก - ผู้ก�ำกับจะเป็นคนท่ีเข้าใจวิธีการท�ำงาน และรู้ว่าตนนั้นต้องการอะไร สามารถอธิบายความต้องการ ท้ังในด้านทฤษฎีและปฏิบัติได้เป็นอย่างดี เน่ืองจากมีการท�ำงานที่ใกล้เคียงกัน และเราเองก็ไม่ต้องไปรับโจทย์จาก ลูกค้าโดยตรง ผู้ก�ำกับจะเป็นคนรับโจทย์มาและตีความหมายก่อนจะส่งต่อให้เราซ่ึงงานจะถูกคิดมาแล้วหนึ่งสเต็ป และเราก็จะนำ� ไปคดิ ต่อและท�ำออกมาเป็นช้ินงาน - ลกู คา้ ท่ีสง่ ต่องานกับเราโดยตรง ในบางครัง้ ลกู คา้ ก็มคี วามร้ดู ้านศิลปะ หรอื รูว้ ่าต้องการงานแบบไหน แต่ 186 ในหลาย ๆ ครง้ั ลกู คา้ กไ็ มม่ คี วามรใู้ นวธิ กี ารทำ� งานเลย ใชค้ วามรสู้ กึ ในการตดั สนิ ใจงาน หรอื เสนอในสง่ิ ทเี่ ราเหน็ แลว้ ว่าไม่เหมาะสมกบั งาน หรือปญั หาต่าง ๆ ทต่ี ามมาจากลูกค้า ซึ่งมีผลกระทบต่อการทำ� งานมาก เราจงึ ตอ้ งเป็นคนท่ี สามารถแก้ไขปัญหาและรับมือกับลูกค้าได้เป็นอย่างดี มีการเปิดใจ รับฟังความคิดเห็นของลูกค้า และมีวิธีการพูด หรอื ปรบั การท�ำงานอย่างไรใหย้ ังคงงานเดิมทเ่ี ราได้คดิ ไว้ และกย็ ังมีไอเดยี ของลกู คา้ ในงานจนลูกค้าพอใจอีกดว้ ย อาชพี น้ตี อ้ งทำ� งานร่วมกบั อาชีพ - ผู้ก�ำกับ คือผู้ท่ีก�ำหนดภาพรวมของงานท้ังหมด เป็นคนที่คอยควบคุมและบอกความต้องการหรือสิ่งที่ ควรจะมีในงานนนั้ ๆ - ลูกค้า การรับงานโดยตรงกับลูกค้าน้ันเราจะต้องคุยและท�ำความเข้าในใจส่ิงที่ลูกค้าต้องการด้วยตัวเอง โดยลูกค้าก็จะมีหลายประเภท ทั้งคนที่รู้วิธีการท�ำงาน สามารถส่ือสารได้ว่าต้องการอะไร และลูกค้าท่ีไม่เข้าใจ รายละเอียดของงาน มีความต้องการงานแต่ส่ือสารในอีกรูปแบบหน่ึง เราจึงต้องเตรียมรับมือกับลูกค้าในหลาย ๆ แบบ - ผู้ช่วย หรือ เด็ก ART เด็ก prop การท�ำงานแต่ละชิ้นงานเราไม่สามารถท�ำให้ส�ำเร็จได้ด้วยตัวคนเดียว เพราะงานมีหลายขั้นตอน และมีรายละเอียดมาก จึงต้องมีผู้ช่วย เราจะแจกแจงงานส่ิงที่ต้องท�ำต่าง ๆ ให้กับ ผู้ช่วยแต่ละคนแยกย้ายกันไปท�ำ และน�ำมารวมกันเป็นงานใหญ่หนึ่งช้ิน โดยการเร่ิมต้นของ Art director ทุกคน ก็ต้องผ่านงาน เดก็ ART เด็ก prop กนั มาแล้วท้งั นน้ั

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสในการมีงานทำ� กรมการ ัจดหางาน Department of Employment อาร์ตไดเร็คเตอร์ (Art Director) เป็นอาชีพท่ีจัดว่ามีคนอยากเป็นมาก แต่มีต�ำแหน่งว่างค่อนข้างน้อย ไม่ค่อยจะรับเข้าท�ำงานสักเท่าไหร่ เพราะเงินเดือนดี แต่ท�ำงานหนักมาก หรือข้ามคืนก็เคยมี อาร์ตไดเร็คเตอร์จะ ทำ� งานเปน็ คนคดิ โฆษณาทางสงิ่ พมิ พ์ ทำ� บลิ บอรด์ ยกตวั อยา่ งเชน่ เบยี รย์ ห่ี อ้ หนงึ่ ทจี่ ะมลี กู เลน่ ออกมาตลอดเวลา และ ที่เปน็ ไฮไลตค์ อื ตอ้ งคิดหนังโฆษณาทีวี (TVC) ชว่ งเวลาที่คิดหนงั น่ีแหละมันท่ีสุด จะมแี กก๊ ตลก ๆ เจบ็ ๆ ซ้ึง ๆ ออก มาเยอะแยะแล้วแต่โจทย์ท่ีลูกค้าให้มา อาร์ตไดเร็คเตอร์ไม่ได้เป็นคนคิดคนเดียวนะ เค้าจะต้องคิดงานคู่กับกอปปี้ ไรทเ์ ตอร์ (copywriter) ที่จบมาทางสายนิเทศศาสตร์น่ันแหละ ท�ำงานคกู่ นั เสมอ ๆ แยกกันไมอ่ อก อารต์ ไดเรค็ เตอรจ์ ะตอ้ งออกไปกบั กองถา่ ยฯ จะตอ้ งคยุ กบั ผกู้ ำ� กบั เพอ่ื แลกไอเดยี อนั บรรเจดิ และคยุ กบั ชา่ งภาพ มอื ฉกาจเพอ่ื ทำ� ใหง้ านออกมาดี อารต์ ไดเรค็ เตอรจ์ ะตอ้ งควบคมุ ทกุ ๆ อยา่ งเพอ่ื ใหง้ านชน้ิ หนงึ่ ออกมาไดด้ แี ละสมบรู ณ์ ท่สี ดุ เหมอื นกบั ทีไ่ ปโม้ไว้กบั ลูกคา้ ในวันขาย Sketch งานครงั้ แรก ที่ส�ำคัญคืออาร์ตไดเร็คเตอร์ จะมีการอัพค่าตัวข้ึนไปได้อีกจากการหมั่นคิดงานดี ๆ ส่งประกวด ซึ่งเวที ส�ำหรับคนโฆษณาก็มี B.A.D Awards (Bangkok Advertising Association) หรือ Adman หรือเวทีเก่าแบบ TACT Awards และเวทีระดับเอเชียที่มีการจัดกันที่พัทยาทุกปีอย่าง AD FEST Asia หรืองานใหญ่แถบ ภูมิภาคแบบ Media Asian หรืองานระดับโลกอย่าง Cannes Lions หรือฝั่ง U.K คือ D&AD หรือฝั่งอเมริกา แบบ CILO Awards เป็นตน้ คุณสมบัติของผปู้ ระกอบอาชีพ 1. มีความคิดสร้างสรรค์ แปลกใหม่ และขยันในการศึกษาหาความรู้และดูงานท่ีก่อให้เกิดไอเดียใหม่ ๆ อยู่เสมอ 2. มีความรับผิดชอบ เพราะเป็นงานที่ไม่มีข้อจ�ำกัดในเรื่องของเวลาเข้าออกงาน เป็นงานกึ่งอิสระ ทีส่ ามารถก�ำหนดเวลาการทำ� งานได้เอง แตต่ ้องเสรจ็ สิน้ ตามเวลาทไี่ ดก้ ำ� หนดไว้ 187 3. มีความเป็นศิลปินท่ียอมรับฟังความคิดเห็นของคนอื่น ไม่ติสท์จนเกิดไป การท�ำงาน Art director เป็นการท�ำงานท่ีรวมศิลปะและธุรกิจเอาไว้ จึงต้องมีความคิดที่แปลกใหม่ ใช้ความคิดสร้างสรรค์และมีสไตล์งาน เป็นของตัวเองในขณะเดียวกันก็ต้องฟังไอเดียและรูปแบบงานจากลูกค้า และปรับให้งานออกมาสมดุลและ สมบรู ณม์ ากทสี่ ุด 3. เป็นคนท่ีสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างดี เพราะหน้ากองถ่ายนั้นเราไม่รู้ว่าจะเกิดอะไร ขึ้นบ้างการเตรียมพร้อมรับกับสถานการณ์ และหยิบจับสิ่งรอบตัวมาแก้ปัญหาได้เป็นอย่างดีน้ันเป็นสิ่งท่ีส�ำคัญ สำ� หรบั Art director สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบันการศกึ ษา - คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ อาคารธรรมศาสตร์ 60 ปีช้ัน 4 เลขท่ี 2 ถนนพระจนั ทร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2613- 2733, 0-2613-2734 โทรสาร 0-2613-2726 อีเมล [email protected] - คณะสอ่ื สารมวลชน มหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหง 2086 ถนนรามคำ� แหง แขวงหวั หมาก เขตบางกะปิ กรงุ เทพฯ 10240 โทรศัพท์ 0-2310-8000 โทรสาร 0-2310-8022 เวบ็ ไซต์ www.ru.ac.th - คณะวารสารศาสตรแ์ ละส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สติ 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลคลองหน่ึง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121 โทรศัพท์ 0-2696-6215 โทรสาร 0-2696-6218 อีเมล [email protected]

ท20ีต่ 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน - คณะนิเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร์ 96 หมู่ 3 ถนนพุทธมณฑลสาย 5 ตำ� บล Department of Employment ศาลายา อำ� เภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม 73170 โทรศัพท์ 0-2441-6000, 0-2889-4585-7 ตอ่ 2001 โทรสาร 0-2441-6099 - ออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ สาขานิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 31 ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2221-5874 โทรสาร 0-2225-4350 - ออกแบบสื่อสาร คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 114 สุขุมวิท 23 เขตวัฒนา กรงุ เทพฯ 10110 โทรศพั ท์ 0-2649-54696, 0-2649-5497 และ 0-2649-5505 โทรสาร 0-2260-0123 ต่อ 115 - คณะศิลปกรรมศาสตร์ ภาควิชานฤมิตศิลป์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 อีเมล [email protected] ฝ่ายวิชาการ โทรศัพท์ 0-2218-4568 ฝ่าย บริหาร โทรศัพท์ 0-2218-4561 โทรสาร 0-2218-4561 โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี - บริษัทท่ีเป็นเครือหรือแผนกย่อยของบริษัทโฆษณา ในแผนกน้ีจะต้องออกแบบท�ำ web หรือ media ใหม่ ๆ Direct Marketing และจะมีการจดั วางต�ำแหนง่ คลา้ ย ๆ พวก ครีเอทีฟ และมีคนช่วยท�ำงานให้ บริษัทโฆษณาจะให้เงินเดือน ปานกลาง แต่จะได้ความรู้ทางด้านมาร์เกตต้ิงติดตัวไปด้วย เพราะจะค่อนข้างใกล้ชดิ กับพวกมาร์เกตตง้ิ - บริษัทที่ออกแบบพวกมัลติมีเดียและเว็บโดยเฉพาะ บริษัทลักษณะน้ี เราจะต้องมีความสามารถในการออกแบบ 188 และความรู้รอบทางด้านโปรแกรมพอสมควรซ่ึงเวลาจะเข้าไปท�ำควรจะศึกษาว่าลักษณะงานเน้นไปในทางไหน ออกแบบ หรือเนน้ โปรแกรม - บรษิ ัทพัฒนาซอฟต์แวร์ Graphic User Interface (GUI) หรอื ท่ีเค้าเรยี กกันวา่ หน้าตาของตวั โปรแกรม ซง่ึ แนน่ อน เคา้ เนน้ โปรแกรมอยูแ่ ลว้ อาชีพทเ่ี กีย่ วเนอ่ื ง Image Retoucher Photographer (ตกแตง่ ภาพและชา่ งภาพ) Editing Studio (สตดู โิ อตดั ตอ่ ) Animation Studio (สตดู โิ อทำ� แอนเิ มชน่ั ) Computer Artist ทที่ ำ� งานกบั บรษิ ทั รที ชั ภาพ Computer Artist ทท่ี ำ� งานกบั เอเจนซี่ Illustrator Artist อาชพี นกั วาดภาพ ออกแบบภาพประกอบ หรอื เขยี นสตอรร์ บี่ อรด์ ประกอบงานโฆษณา (Story Board) Graphic Designer / Artist ประจ�ำ Graphic House Advertising Graphic Designer Graphic Unit แหล่งขอ้ มูลอื่น ๆ - เวบ็ ไซต์ http://hardsales.exteen.com/20060704/art-director - เวบ็ ไซต์ http://www.oknation.net/blog/print.php?id=830350 - เว็บไซต์ http://pantip.com/topic/30684572


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook