Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore inbound2713248247827670540

inbound2713248247827670540

Published by thianon.maneewan.10, 2021-11-12 08:55:58

Description: inbound2713248247827670540

Search

Read the Text Version

www.doe.go.th/vgnew

200 ข้อมูลอาชพี ทตี่ ลาดแรงงานตอ้ งการ พมิ พ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2558 จ�ำนวนพิมพ์ 2,000 เลม่ กองสง่ เสริมการมีงานทำ� กรมการจดั หางาน กระทรวงแรงงาน ถนนมิตรไมตรี ดนิ แดง กรงุ เทพฯ 10400 โทร. 0-2354-0087-88 โทรสาร 0-2354-0087-88 http://www.doe.go.th/vgnew ข้อมลู ทางบรรณานกุ รมของหอสมุดแห่งชาติ National Library ot Thailand Cataloging in Publication Data กระทรวงแรงงาน. กรมการจดั หางาน. กองส่งเสรมิ การมีงานท�ำ. 200 ขอ้ มูลอาชพี ทตี่ ลาดแรงงานต้องการ.-- กรุงเทพฯ : กองสง่ เสรมิ การมีงานทำ� กรมการจดั หางาน กระทรวงแรงงาน, 2558. 656 หนา้ 1. อาชีพ. 2. การแนะแนวอาชีพ. I. ชอื่ เรอ่ื ง 331.7 ISBN 978-616-555-134-2 พมิ พท์ ่ี ห้างหนุ้ สว่ นจำ� กดั อรณุ การพิมพ์ 457/6-7 ถนนพระสเุ มรุ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทร. 0-2282-6033-4 โทรสาร 0-2280-2187-8 E-mail : [email protected] www.aroonkarnpim.co.th

ค�ำนำ� ภารกิจส�ำคัญประการหนึ่งของกรมการจัดหางานก็คือภารกิจในด้านการส่งเสริมการมี งานท�ำ เพื่อช่วยให้กลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการได้มีงานท�ำท่ีตรงกับความรู้ความสามารถ ความถนัด และทกั ษะของตนเอง ท้งั นี้ เพ่ือเป็นแนวทางในการตดั สนิ ใจเลือกศกึ ษาตอ่ หรือเลือกประกอบอาชพี ข้อมูลอาชีพเป็นส่วนหน่ึงที่จะท�ำให้กลุ่มเป้าหมายได้ทราบถึงนิยามของอาชีพ ลักษณะของ งานทท่ี ำ� สภาพการจา้ งงาน สภาพการทำ� งาน โอกาสในการมงี านทำ� ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน แนวโน้มความต้องการของตลาดแรงงาน คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ สถานฝึกอบรมอาชีพ สถาบันการศกึ ษา โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ อาชพี ทีเ่ กยี่ วเนือ่ ง ตลอดจนขอ้ มลู อ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งท่ีผ่านมา กรมการจัดหางานได้ด�ำเนินการจัดท�ำหนังสือข้อมูลอาชีพจ�ำนวน 3 ครั้ง คร้ังที่ 1 เม่ือปี 2544 แบ่งตามกลุ่มบคุ ลกิ ภาพจ�ำนวน 100 อาชพี ครง้ั ที่ 2 เม่ือปี 2546 จ�ำนวน 50 อาชีพ (ต่อเนอ่ื งจากคร้ังที่ 1) และคร้ังท่ี 3 เมื่อปี 2549 แบ่งตามประเภทอตุ สาหกรรม จำ� นวน 100 อาชีพ สำ� หรบั หนงั สอื ขอ้ มลู อาชพี เลม่ นจ้ี ดั ทำ� ขน้ึ เปน็ ครงั้ ท่ี 4 โดยรวบรวมอาชพี ตามความตอ้ งการของตลาด แรงงานในปจั จบุ นั และในอนาคต จำ� นวน 200 อาชพี เพอ่ื ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื สนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของ เจา้ หนา้ ทใี่ นการแนะแนวและใหค้ ำ� ปรกึ ษาทางอาชพี แกก่ ลมุ่ เปา้ หมายผรู้ บั บรกิ าร สำ� หรบั เปน็ แนวทาง ในการเลือกศึกษาต่อหรือเลือกประกอบอาชีพให้เหมาะสมกับความรู้ความสามารถ ความถนัดและ ทักษะของตนเอง รวมถึงเผยแพร่ให้กับสถานศึกษาและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือน�ำไปใช้ประโยชน์ กรมการจดั หางานหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ หนงั สอื ขอ้ มลู อาชพี เลม่ นจี้ ะเปน็ ประโยชนแ์ กเ่ จ้าหนา้ ที่ ผปู้ ฏบิ ัติงาน ผสู้ นใจ สถานศึกษา และหน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้องตามสมควร กรมการจดั หางาน มนี าคม 2559



สารบัญ Content 1 แธลุระกบิจรดิกา้ านรคทวาางมกสารวแยพคทวยา์ มงาม จำ� นวน 20 อาชีพ กุมารแพทย์ หน้า หนา้ จกั ษุแพทย ์ 2 ผู้จดั การสปา 33 จติ แพทย์ 5 ผ้ตู รวจวัดสายตา; ผู้เช่ียวชาญการตรวจวัดสายตา 36 เจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสขุ 8 พยาบาล 39 ชา่ งสรา้ งแบบสำ� เรจ็ (เครอ่ื งแต่งกาย) 11 แพทย์ 42 ทันตแพทยท์ ัว่ ไป 15 แพทยแ์ ผนโบราณ 45 นกั กายอุปกรณ์ 19 เภสัชกร 48 นักเทคนิคการแพทย ์ 22 วสิ ัญญแี พทย์ 51 นักรงั สีเทคนิค 24 ศลั ยแพทย์ 54 นกั โสตสัมผัสวทิ ยา 27 สัตวแพทย ์ 57 30 แพทย์แผนจีน (ฝงั เข็ม) 60

สารบญั Content 63 ธุรกิจดา้ นเทคโนโแลลยะีสกาารรสสนอ่ื สเทาศร จ�ำนวน 42 อาชีพ หนา้ หนา้ 122 กราฟกิ ดไี ซเนอร ์ 64 ผู้เขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 125 เจ้าหนา้ ท่ีประชาสัมพันธ;์ นกั ประชาสมั พันธ์ 67 ผจู้ ดั การด้านไอที (IT) 128 เจ้าหนา้ ที่ฝกึ อบรมคอมพิวเตอร ์ 69 ผจู้ ดั การฝ่ายโฆษณา 130 เจา้ หนา้ ทโ่ี สตทัศนูปกรณ์ 72 ผเู้ ชี่ยวชาญด้านความปลอดภยั ของไอที (IT) 133 ชา่ งเขยี นภาพการต์ ูน 74 ผเู้ ชย่ี วชาญด้านแคดแคม 136 ชา่ งภาพ 76 ผู้เชี่ยวชาญดา้ นซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ 139 นกั เขยี นประกาศโฆษณา 78 ผบู้ รหิ ารระบบเครอื ขา่ ย 142 นกั จดั รายการวทิ ย;ุ ผดู้ ำ� เนนิ รายการวทิ ยกุ ระจายเสยี ง (DJ) 82 ผบู้ ริหารระบบขา่ วสาร 144 นักดนตร ี 84 ผผู้ ลติ รายการโทรทัศน์ 147 นกั ทดสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร ์ 89 ผู้พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 150 นกั พัฒนาซอฟต์แวร ์ 92 ผู้สื่อข่าวโทรทัศน ์ 154 นกั พัฒนาภาษาจาวา 95 ผู้สือ่ ขา่ ว 157 นักพัฒนาเวบ็ ไซต ์ 98 ผู้สือ่ ข่าวหนงั สอื พิมพ์ 162 นักพาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส ์ 101 พนกั งานเคร่ืองประมวลผลอัตโนมตั ิ 166 นกั วเิ คราะหร์ ะบบงานคอมพวิ เตอร์ 104 พนกั งานพิมพ์ดีดคอมพิวเตอร์ 169 นกั แสดง 106 พนักงานพสิ ูจนอ์ กั ษร (ผู้ตรวจปรู๊ฟ) 173 นักหนงั สอื พิมพ ์ 109 พธิ กี รรายการโทรทัศน ์ 176 นักออกแบบและสรา้ งภาพการต์ นู เคล่ือนไหว 112 พธิ ีกรรายการเพลงทางโทรทัศน์ (VJ) 179 นักออกแบบเวบ็ ไซต ์ 115 วศิ วกรสื่อสารโทรคมนาคม 182 บรรณาธิการนิตยสาร 117 วิศวกรฮาร์ดแวร ์ 185 ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ 120 อารต์ ไดเรก็ เตอร ์

สารบญั Content 189 ธแลรุ ะกกจิ าดรา้ทน่อกงาเรทศย่ี ึกวษา หนา้ หน้า 190 นักวิทยาศาสตร์การอาหาร 234 จ�ำนวน 26 อาชีพ 194 นกั วิทยาศาสตรน์ าโนเทคโนโลยี 237 198 นกั เศรษฐศาสตร์ 240 ครู / อาจารย์ 203 นักสงั คมสงเคราะห ์ 244 ครูสอนการแสดง 206 นกั สัตวบาล 247 นักเคม ี 210 นกั สัตววทิ ยา (วจิ ยั ) 250 นักชีววิทยา 214 นักสัตววิทยา 253 นกั จิตวิทยาทว่ั ไป 218 ผู้จัดการงานแมบ่ ้าน 256 นกั ดาราศาสตร ์ 221 ผู้จดั การทั่วไปของโรงแรม 259 นกั แนะแนว 223 ผ้ใู ห้ค�ำปรกึ ษา / แนะน�ำการทอ่ งเที่ยว 262 นักเทคโนโลยที างการศึกษา 225 พนกั งานต้อนรบั 265 นักโบราณคด ี 227 มคั คุเทศก์ 268 นกั ประวัติศาสตร ์ 230 ล่ามแปลภาษา 272 นักฟสิ กิ ส ์ นักวจิ ัย นักวทิ ยาศาสตร์

สารบญั Content 275 การธเรุ ขกา้ สิจดู่ส้าังนคกมาผรรู้สอูงงอราบัยุ จำ� นวน 7 อาชพี นกั กายภาพบำ� บดั หนา้ หน้า นกั กิจกรรมบำ� บัด 276 นกั อรรถบำ� บัด 290 นกั เทคโนโลยกี ารอาหาร 280 ผู้ดูแลผปู้ ่วย คนชรา (ตามบา้ น) 292 นักโภชนาการ 283 พนักงานนวดบ�ำบดั 295 286

สารบญั Content 297 แธลุระกกจิ าดร้ากน่ออสสรงั า้ หงาริมทรัพย์ จ�ำนวน 14 อาชพี ชา่ งเขียนแบบทั่วไป หนา้ หนา้ ชา่ งเขยี นแบบสถาปตั ยกรรม 298 ผชู้ ว่ ยนกั วจิ ัยตลาด 321 ชา่ งเทคนคิ การสำ� รวจ 301 พนกั งานประเมินราคา 324 นกั วิเคราะหก์ ารตลาด 304 ภูมสิ ถาปนิก 327 นักออกแบบซอฟต์แวรเ์ ชงิ พาณิชย์ 308 มณั ฑนากร 330 นกั ออกแบบเฟอรน์ เิ จอร ์ 312 วศิ วกรไฟฟ้าท่ัวไป 332 ผู้จัดการฝา่ ยการตลาด 315 วศิ วกรโยธาทัว่ ไป 336 318 สถาปนิกอาคาร 340

สารบญั Content 343 ธเรุคกริจอื่ ดงก้านลรถแลยะนเคตร์ จื่อักงรมยือาเนกยษนตตร์ จำ� นวน 35 อาชพี หนา้ หนา้ เจ้าหน้าท่เี ทคนคิ ดา้ นการเกษตรกรรม 344 นกั รงั สีประยุกต์ (ดา้ นการเกษตร) 404 ชา่ งเช่ือมและช่างตดั โลหะ 347 นกั โลหะกรรม 407 ช่างเชื่อมโลหะด้วยก๊าซ 351 นักวิจัยยานยนต์ 410 ช่างซอ่ มตัวถงั รถยนต์ 354 ผ้คู วบคุมคณุ ภาพวัตถดุ บิ และผลติ ภัณฑอ์ าหาร 413 ช่างซอ่ มไฟฟ้า 357 ผจู้ ัดการฝ่ายวจิ ัยและพฒั นาผลิตภณั ฑ์ (อาหาร) 416 ชา่ งซ่อมรถยนต ์ 360 ผจู้ ัดการส่วนการจัดวางตู้สินคา้ 419 ชา่ งซ่อมและตดิ ตั้งวางสายไฟฟ้า 364 ผู้ตกแต่งสวน; ผอู้ อกแบบจดั สวน 422 ช่างท�ำซลิ ด์สกรนี 367 ผตู้ รวจสอบคุณภาพของผลิตภณั ฑส์ ินค้า 425 ช่างเทคนิคเคร่อื งกล 370 (ไฟฟา้ อเิ ลก็ ทรอนิกส์) 428 ช่างเทคนิควิศวกรรมเครือ่ งยนต์ 374 ผตู้ รวจสอบดา้ นความปลอดภยั และสขุ อนามัย 431 ชา่ งเทคนคิ อากาศยานและเครอ่ื งยนต์ 377 (ดา้ นมลภาวะสงิ่ แวดล้อม) 434 ชา่ งแท่นพิมพอ์ อฟเซต 381 พนกั งานประจำ� ห้องจัดดอกไม้; พนักงานจัดดอกไม ้ 437 ช่างประกอบยานยนต ์ 384 วศิ วกรเคมสี ิ่งทอ 441 ช่างปรับไฟฟ้า (ยานยนต)์ 387 วิศวกรเครอ่ื งกล (ยานยนต)์ 445 ชา่ งปรบั อิเล็กทรอนกิ ส์ (เครอ่ื งจักรกลส�ำนักงาน) 389 วิศวกรเครอื่ งกล (ระบบปรบั อากาศ) 448 ชา่ งฟอกหนังสตั ว์ 392 วศิ วกรยอ้ มพิมพ์ 451 นกั ขยายพันธพ์ุ ชื 395 วิศวกรส่งิ แวดลอ้ ม นกั เคมเี ส้นใย - สงิ่ ทอ 398 วิศวกรอุตสาหการ นักปัญญาประดษิ ฐ์ 401

สารบัญ Content 455 แธลรุ ะกโลิจดจิสา้ นตกกิ าสร์บิน หนา้ หนา้ 456 ผ้จู ดั การฝ่ายโลจสิ ตกิ ส์ 485 จ�ำนวน 17 อาชีพ 459 ผู้ดูแลคลงั สนิ คา้ 488 462 ผนู้ �ำของเขา้ หรือสง่ ออกสนิ คา้ 492 กปั ตนั เดินเรือ 466 เจ้าหน้าทส่ี ่งออกสินคา้ 495 เจา้ หนา้ ทข่ี นสง่ ทางน�้ำทั่วไป 470 ผู้บงั คบั การเรือ / นายเรือเดนิ ทะเล 498 เจา้ หนา้ ท่คี วบคุมคณุ ภาพ 473 ผวู้ างแผนการผลิต 501 เจา้ หนา้ ท่ีควบคมุ จราจรทางอากาศ 476 พนักงานตอ้ นรบั บนเครอ่ื งบนิ 505 เจ้าหนา้ ท่จี ัดระวางบรรทุกบนเคร่ืองบิน 479 วศิ วกรการบิน 508 ตวั แทนจดั ซือ้ 482 นกั บิน นายประจ�ำเรอื ฝา่ ยเดนิ เรอื ผ้จู ัดการฝา่ ยอุตสาหกรรมสมั พันธ์

สารบญั Content 511 ธรุ กิจด้านอน่ื ๆ จ�ำนวน 39 อาชีพ จิตรกร, ศิลปินภาพวาด หน้า หน้า เจ้าหน้าท่ีความปลอดภยั ในการท�ำงาน 512 นกั วิเคราะห์ส่งิ แวดล้อม 572 เจ้าหน้าท่ีคำ� นวณตน้ ทุนการผลติ 516 นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา 575 เจ้าหน้าทบี่ รหิ ารจัดการความเส่ยี ง 520 นกั วิทยาศาสตร์ธรณี 579 เจา้ หน้าที่ฝ่ายบคุ คล 523 นักสถติ ิ 583 เจา้ หน้าทร่ี ักษาความปลอดภยั 526 นักออกแบบฉากละคร 588 ชา่ งแกะสลัก 529 นกั ออกแบบบรรจุภณั ฑ์ 591 ช่างเงิน / ชา่ งทอง 532 นกั ออกแบบผลิตภัณฑ์ส่งิ ทอ 594 ช่างเจียระไน 535 นกั ออกแบบเสื้อผา้ 597 ช่างตกแตง่ ตวั เรอื น 538 นักอาชญาวทิ ยา 602 ชา่ งตัดเย็บเสื้อผ้า (สำ� เรจ็ รปู ) 541 บรรณารักษ์ 605 ช่างฝงั เครื่องประดบั อญั มณี 544 ผู้จดั การฝา่ ยทรัพยากรบุคคล 609 ชา่ งออกแบบเคร่อื งประดับ 547 ผจู้ ัดการฝา่ ยฝึกอบรม 613 ต�ำรวจ 550 ผพู้ ิพากษา 616 ทนายความ 553 ผสู้ อบบัญชี; ผูต้ รวจสอบบัญชี 620 ทหาร 556 พนกั งานคมุ เครือ่ งซกั ล้างสิ่งทอส่ิงถัก 624 ทป่ี รกึ ษากฎหมาย, เจา้ หน้าทีฝ่ า่ ยกฎหมาย 559 พนกั งานคุมเคร่อื งตกแต่งผืนผา้ สิง่ ทอส่งิ ถกั 626 นักกฬี า 561 พอ่ ครวั / ผ้ปู รุงอาหาร 628 นักนิเวศวิทยา 564 เมคอพั อารต์ สิ ต์ 632 นักบัญช ี 567 เลขานกุ าร 635 569

ธรุ กจิ ด้านความสวย ความงาม และบริการทางการแพทย์

กรมการ ัจดหางาน ท20ีต่ 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 กมุ ารแพทย์ Medical doctor, pediatricis; Pediatrician นิยามอาชพี ตรวจ วินิจฉัย และดูแลรักษาผู้ป่วยเด็ก ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมทง้ั สามารถใหบ้ รกิ าร สขุ ภาพแก่เด็กแบบองคร์ วม ซง่ึ ไดแ้ ก่ การตรวจ วินิจฉัย บ�ำบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ การ ส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันการเจ็บป่วยทั้ง ทางดา้ นรา่ งกาย และจิต - สังคมในสภาพที่เด็ก เป็นปัจเจกบุคคลและในบริบทท่ีเป็นส่วนหน่ึง ของครอบครวั และสังคม ลักษณะของงานทีท่ ำ� ลักษณะงานคือ ดแู ลผปู้ ว่ ย ตรวจร่างกาย วินจิ ฉยั โรค รักษา ส่งั ยา และตดิ ตามดแู ลอาการ ฯลฯ ก่อน สง่ ต่อใหก้ บั แผนกอายรุ กรรมตอ่ ไป ในเด็กแรกเกิดถึง 18 ปี (แพทย์ PED) โดยตรวจทั้งคนไข้ในและคนไข้นอก 2 และอาจถูกเรยี กตวั ได้ทุกเวลา เพอ่ื รกั ษาได้ทันท่วงที สภาพการจ้างงาน เงินเดือนโรงพยาบาลรัฐบาลตามวุฒิการศึกษา ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ส่วน รฐั วสิ าหกจิ หรอื เอกชน แลว้ แตส่ ถานประกอบการนนั้ ๆ ตามคณุ วฒุ แิ ละประสบการณ์ คา่ ขนึ้ เวร คา่ ตรวจคนไข้ สภาพการท�ำงาน ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาล โดยตรวจคนไข้ในที่อยู่ในความรับผิดชอบทุกวันและ ต้องตรวจคนไข้นอกท่ีเข้ามารับการรักษา ผู้ที่เป็นแพทย์อาจถูกเรียกตัวได้ทุกเวลา เพื่อท�ำการรักษาคนไข้ให้ ทนั ทว่ งที ผู้ท่เี ป็นแพทย์ตอ้ งพรอ้ มเสมอที่จะสละเวลาเพื่อรักษาคนไข้ ในสถานทีท่ ำ� งานจะตอ้ งพบเห็น คนเจบ็ คนปว่ ย และคนตาย จึงต้องมีจติ ใจที่เข้มแข็ง เพราะหากมี จิตใจท่อี ่อนไหวต่อสิ่งทไ่ี ดพ้ บเหน็ จะมีผลกระทบตอ่ การปฏบิ ัตงิ านได้ โอกาสในการมีงานท�ำ สามารถรับราชการโดยท�ำงานในโรงพยาบาล สถานพยาบาล สถานีอนามัยหรือหน่วยงานการแพทย์ของ กระทรวง ทบวง กรม ทจ่ี ัดข้นึ เพื่อบรกิ ารประชาชนและเจ้าหนา้ ที่ หรอื ท�ำงานในโรงพยาบาลเอกชน นอกจากน้ี ยงั สามารถทำ� รายไดพ้ เิ ศษด้วยการเปิดคลนิ ิกส่วนตัวเพื่อรบั รักษาคนไข้นอกเวลาทำ� งานประจำ� ได้อกี

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 คุณสมบัติของผปู้ ระกอบอาชพี กรมการ ัจดหางาน เป็นคนรักเข้าใจธรรมชาติของเด็ก ใจเย็น และมีความละเอียดรอบคอบ เพราะเด็กมักจะอยู่เหนือ Department of Employment ความคาดหมาย เด็กบางคนหวาดกลัว ร้องไห้งอแง บางคนอารมณ์ดี ซน ไม่อยู่น่ิง หมอจึงต้องใช้จิตวิทยา และเรยี นรวู้ ธิ ที จ่ี ะทำ� อยา่ งไรทจ่ี ะใหเ้ ดก็ รว่ มมอื ในการตรวจรกั ษาเปน็ อยา่ งดี ซง่ึ เดก็ แตล่ ะคนอาจใชว้ ธิ ที เี่ หมอื น หรอื แตกต่างกัน สถานฝึกอบรมอาชพี / สถาบันการศกึ ษา 3 กุมารแพทย์ ต้องส�ำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต และแพทย์ประจ�ำบ้านด้านกุมารเวชศาสตร์ แลว้ ไดผ้ า่ นการสอบเพอ่ื วฒุ บิ ตั รและหนงั สอื อนมุ ตั เิ ปน็ ผมู้ คี วามรู้ ความชำ� นาญในการประกอบวชิ าชพี เวชกรรม สาขากมุ ารเวชศาสตร์ ซึง่ ในประเทศไทยออกใหโ้ ดยแพทยสภา เรียนแพทยศาสตรบัณฑติ 6 ปี ผทู้ ีร่ บั ทนุ ตั้งแตเ่ ขา้ เรยี น ต้องท�ำสัญญา ที่จะต้องปฏิบัติงานตามความต้องการ ของรัฐบาล โดยการเป็นแพทย์เพิ่มพูน ทักษะก่อน 3 ปี (ยกเว้นสถาบันของ เอกชน) แล้วกลับมาเรียนต่อวุฒิบัตร กุมารเวชศาสตร์อีก 3 ปี ก่อนจบเป็น หมอเด็กทั่วไป แล้วจึงกลับมาเรียนต่อ เปน็ หมอเดก็ เฉพาะสาขาอกี 2 ปี เช่น หมอเด็กโรคหวั ใจหรือหมอเดก็ โรคทาง เดินหายใจ เป็นตน้ สถาบันศึกษาในประเทศไทย อย่างเช่น คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น และมหาวิทยาลัยรังสติ เปน็ ต้น โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี จุดเด่นของหมอเด็กคือ เนื่องจากหมอต้องดูแลเด็กทุกคน ท้ังเด็กท่ีป่วยและไม่ป่วยอย่างต่อเนื่อง เพราะโดยมากผู้ปกครองมกั นยิ มพาเดก็ มาตดิ ตามอาการ การเจรญิ เตบิ โต พัฒนาการ และฉดี วคั ซีนตามชว่ ง วยั ดังนนั้ หมอเดก็ ต้องเป็นหมอทีม่ คี วามละเอยี ดและใจเยน็ ดูแลเดก็ ทุกคนแบบองค์รวม เช่น เด็กปว่ ยเปน็ ไข้ หวัด นอกจากหมอจะรักษาไข้หวัดแล้ว ยังต้องประเมินสุขภาพและปัญหาอ่ืน ๆ ด้วยทุกครั้ง เช่น น�้ำหนัก ส่วนสูงและมีพัฒนาการสมวัยหรือไม่ ภาวะโภชนาการเป็นอย่างไรได้รับวัคซีนครบถ้วนตามเกณฑ์หรือไม่ นอกจากนั้นยังต้องให้ค�ำแนะน�ำผู้ปกครอง ในการเล้ียงลูกแต่ละวัย คัดกรองปัญหาพฤติกรรมตามช่วงวัย และให้ค�ำแนะน�ำในการจัดการกับปัญหาพฤติกรรมนั้น ๆ อย่างถูกต้องเหมาะสม ซึ่งมีโอกาสก้าวไปสู่ การเป็นผเู้ ชยี่ วชาญทางการแพทย์เฉพาะทาง หรอื อาจารย์ทางการแพทย์ได้ อาชพี ท่ีเกย่ี วเนอื่ ง ศัลยแพทย,์ อายุรแพทย์, นกั พยาธวิ ทิ ยา, สูตนิ รีแพทย์

ท20ตี่ 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน แหลง่ ขอ้ มลู อืน่ ๆ Department of Employment - ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1873 ถนนพระราม 4 เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2256-4951 โทรสาร 0-2256-4911 เว็บไซต์ http://ped.md.chula. ac.th - ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121 โทรศัพท์ 0-2926-9514, 0-2926-9506 อีเมล [email protected] เวบ็ ไซต์ www.tu.ac.th/ - ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 อีเมล [email protected] โทรศัพท์ 0-5394-5412-15 เวบ็ ไซต์ [email protected]. ac.th - ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โทรศัพท์ 0-4334-8382 โทรสาร 043-348382 เว็บไซต์ http://forum.khonkaenlink.info/index.php?topic=17087840.0 เฟซบุ๊ก https://th-th.facebook.com/ภาควชิ ากุมารเวชศาสตร์-มข-254703434540503/timeline/ อเี มล mdcli01@ kku.ac.th 4 - ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 270 ถนนพระราม 6 แขวงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2201-1488, 0-2201-1814 โทรสาร 0-2201-1850 เว็บไซต์ http://med.mahidol.ac.th/ped/

ทีต่ ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment จกั ษุแพทย์ Medical doctor, ophthalmology; Ophthalmologist นยิ ามอาชีพ 5 ตรวจสายตาและให้การรักษาด้วยวิธีการ ให้ยา ผ่าตัด หรือสั่งประกอบแว่นตาแก่ผู้ป่วย : ตรวจตาและวัดสายตาเพ่ือหาข้อบกพร่องและ ความผดิ ปกตขิ องตาและสายตาดว้ ยเครอื่ งมอื หรอื วิธีการทดสอบต่าง ๆ เช่น วัดความดันตา ดูกระจกตา ความลึกของช่องหน้าลูกตาลักษณะ ม่านตา บ�ำรุงรักษาท่อแสงสว่างและดูจอ ประสาทตา; ท�ำการรักษาโดยการหยอดตา สงั่ ยาหรอื ศลั ยกรรม; ใหค้ ำ� แนะนำ� ในการดแู ลรกั ษา และฝึกสายตา วัดสายตา และส่ังขนาดของเลนส์ เพ่ือประกอบแวน่ ตา; ตดิ ตามผลการบันทกึ การสง่ั ยาและรกั ษาเปน็ ระยะ ๆ อาจมคี วามช�ำนาญในการรักษา โรคตาแต่ละชนดิ ลกั ษณะของงานทีท่ ำ� 1. ตรวจวินิจฉัย แก้ไขรักษาให้ยา ผ่าตัด และอื่น ๆ ตามความผิดปกติ และอาการของโรคท่ีเก่ียวกับตา ประสาทตา เปน็ ตน้ 2. อธบิ ายใหผ้ ปู้ ว่ ย หรอื คนใกลช้ ดิ ไดเ้ ขา้ ใจถงึ ลกั ษณะของโรคตา การกำ� เนดิ โรค แนวทางเลอื กในการรกั ษา 3. สำ� หรบั ผปู้ ว่ ยทต่ี อ้ งรบั การผา่ ตดั ตอ้ งอธบิ ายการดำ� เนนิ การรกั ษา ขอ้ ดขี อ้ เสยี จากการผา่ ตดั และผลหลงั การผ่าตัด วธิ ีการปฏิบัติตวั กอ่ นและหลงั การผา่ ตัด ภาวะแทรกซอ้ น 4. ตดิ ตามผลแทรกซอ้ นจากการใหย้ า เช่น กลมุ่ สเตียรอยด์ กลุ่มยาท่ีมีผลตอ่ ไตบางตัว 5. บันทึกเกย่ี วกบั ผ้ปู ่วยโรค การตรวจรกั ษา และการตดิ ตามผล 6. ตรวจตา วดั สายตา วดั ความดนั ตา ตรวจดกู ระจกตา ความลกึ ของชอ่ งหนา้ ลกู ตาลกั ษณะมา่ นตาปฏกิ ริ ยิ า ต่อแสงสวา่ ง ตรวจดูจอประสาทตา ให้ทราบขอ้ บกพรอ่ งโดยใช้เครอ่ื งมือ และวธิ ีการทดสอบตา่ ง ๆ 7. สัง่ ขนาดของเลนสส์ ำ� หรบั ประกอบแวน่ ตา 8. ใหค้ �ำแนะนำ� ในการฝึกสายตาตามความจ�ำเปน็ และความถูกตอ้ งเพื่อรักษาสายตาใหด้ ีขึ้น สภาพการจา้ งงาน ผปู้ ระกอบอาชีพน้ีไดร้ บั ค่าตอบแทนเป็นเงนิ เดือนตามวฒุ ิการศกึ ษา ผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาวิชาการแพทย์ ซง่ึ ไม่มปี ระสบการณ์ในการท�ำงาน ไดร้ บั เงินเดือนตามระดับวฒุ ิการศึกษา

2ท0ตี่ 0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน Department of Employment ทำ� งานสัปดาหล์ ะ 40 ช่วั โมง อาจต้องมาท�ำงานวันเสาร์ วันอาทติ ย์ และวันหยุด อาจจะตอ้ งมีการจดั เวรอยู่ ประจำ� โรงพยาบาล นอกจากผลตอบแทนในรปู เงนิ เดอื นแล้วในภาครัฐและภาคเอกชนอาจได้รับผลประโยชน์พิเศษ อยา่ งอื่น เช่น คา่ รักษาพยาบาล เงนิ สะสม เงินชว่ ยเหลือสวัสดิการ ในรปู ตา่ ง ๆ เงนิ โบนัส เป็นตน้ ส�ำหรบั ผู้ทส่ี �ำเร็จ 6 การศกึ ษาวิชาแพทยส์ ามารถประกอบธุรกจิ ส่วนตวั โดยรายได้ทีไ่ ดร้ บั ข้นึ อยูก่ ับความสามารถและความอุตสาหะ สภาพการทำ� งาน ปฏบิ ตั งิ านในโรงพยาบาล หรอื สถานพยาบาล โดยตรวจคนไขใ้ นทอี่ ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบทกุ วนั และตอ้ งตรวจ คนไข้นอกทเ่ี ขา้ มารับการรกั ษา ผู้ทเี่ ปน็ แพทยอ์ าจถูกเรยี กตวั ได้ทุกเวลา เพอื่ ท�ำการรักษาคนไข้ให้ทนั ท่วงที ผทู้ เ่ี ปน็ แพทยต์ อ้ งพรอ้ มเสมอทจี่ ะสละเวลาเพอ่ื รกั ษาคนไข้ ในสถานทท่ี ำ� งานจะตอ้ งพบเหน็ คนเจบ็ คนปว่ ย และคนตาย จงึ ตอ้ งมีจิตใจท่ีเขม้ แขง็ เพราะหากมจี ติ ใจทอี่ อ่ นไหวต่อสิ่งที่ไดพ้ บเหน็ จะมีผลกระทบตอ่ การปฏบิ ตั งิ านได้ โอกาสในการมีงานทำ� จกั ษแุ พทย์ สามารถรบั ราชการโดยทำ� งานในโรงพยาบาลภาครฐั และเอกชน สถานพยาบาล คลนิ กิ นอกเวลา หรอื หนว่ ยงานการแพทยข์ องกระทรวง ทบวง กรมทจ่ี ดั ขน้ึ เพอ่ื ใหบ้ รกิ าร ประเทศไทยยงั ขาดแคลนจกั ษแุ พทยอ์ ยเู่ ปน็ จำ� นวนมาก โดยเฉพาะในตา่ งจงั หวัดและชนบทท่หี า่ งไกลจากความเจรญิ คณุ สมบตั ิของผ้ปู ระกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศึกษาทางวชิ าแพทย์ และมคี วามรู้ทางจกั ษเุ ป็นการเฉพาะ 2. มีสุขภาพสมบรู ณ์ท้ังร่างกาย และจติ ใจไมพ่ ิการหรือทพุ พลภาพ ปราศจากโรค 3. มคี วามซื่อสัตย์ในวชิ าชพี มีคณุ ธรรมและจริยธรรมทางการแพทย์

ที่ตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศึกษา กรมการ ัจดหางาน Department of Employment - ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมอื งขอนแกน่ จงั หวดั ขอนแก่น 40002 โทรศัพท์ เว็บไซต์ http://eye1.md.kku.ac.th/?database=1 - ภาควชิ าจกั ษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ต�ำบลทา่ โพธิ์ อ�ำเภอเมือง จงั หวัดพษิ ณโุ ลก 65000 โทรศัพท์ 0-5596-5666-7 ต่อ 5056 โทรสาร 0-5596-5666-7 ต่อ 5005 เว็บไซต์ www.med.nu. ac.th/2008/department/Index-main.php?depart=4 อีเมล [email protected] - ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 270 ถนน พระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2201-2729 โทรสาร 0-2201-1516 เวบ็ ไซต์ eye.mahidol.ac.th/ - ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตึกจุมภฎพงษ์บริพัตร 1873 ถนน พระราม 4 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2256-4420, 0-2256-4142 เว็บไซต์ www.chulaophthalmology.org/ - ภาควิชาจกั ษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยใหม่ โทรศัพท์ 0-5394-5512 โทรสาร 0-5394-6121 อีเมล [email protected] เวบ็ ไซต์ www.med.cmu.ac.th/ - ภาควิชาจกั ษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 12 ถนนท่าพระจันทร์ แขวงพระบรม มหาราชวงั เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2613-3333 เว็บไซต์ www.tec.in.th/ - ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธิน ตำ� บลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวดั ปทมุ ธานี 12121 โทรศพั ท์ 0-2926-9473 เว็บไซต์ www.tec.in.th/ โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชพี 7 จักษุแพทย์ที่มีความช�ำนาญและประสบการณ์ จะได้เล่ือนต�ำแหน่งจนถึงระดับผู้บริหาร จักษุแพทย์ที่มี ความช�ำนาญเฉพาะทาง อาจไดร้ ับการวา่ จา้ งให้ไปทำ� งานในโรงพยาบาล หรอื สถานพยาบาลหลายแหง่ เปดิ คลินกิ ส่วนตัว เป็นต้น หรือท�ำงานพิเศษนอกจากงานประจ�ำ ท�ำให้ได้รับรายได้พิเศษ ส�ำหรับผู้ที่มีความช�ำนาญและ มที มี งานทมี่ คี วามสามารถ รวมทงั้ มเี งนิ ทุนจำ� นวนมากก็สามารถเปิดโรงพยาบาลได้ ทำ� ใหไ้ ด้รับรายไดม้ ากขนึ้ อาชพี ท่เี ก่ียวเนือ่ ง อายุรแพทย์ ศัลยแพทย์ ทัศนมาตรศาสตร์ ผูต้ รวจวดั สายตา และผเู้ ตรยี มเลนส์ประกอบแว่นตา แหล่งข้อมูลอื่น ๆ - ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย โทรศัพท์ 0-2718-0715-6 โทรสาร 0-2718-0717 เว็บไซต์ www.rcopt.org/ - แพทยสภา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข โทรศัพท์ 0-2590-1886 โทรสาร 0-2591-8614-5 เวบ็ ไซต์ www.dms.moph.go.th - กระทรวงสาธารณสขุ โทรศัพท์ 0-2590-100 เว็บไซต์ www.moph.go.th - มหาวทิ ยาลยั มหิดล เว็บไซต์ www.mahidol.ac.th - ศูนย์เลสิคธรรมศาสตร์ (หน่วยตรวจตา) โทรศัพท์ 0-2926-9957 โทรสาร 0-2986-9212 เว็บไซต์ www.tec.in.th/

กรมการ ัจดหางาน ท20่ตี 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 จติ แพทย์ Medical doctor, psychiatry; Psychiatrist นยิ ามอาชพี ตรวจและวินิจฉัยอาการทางจิตและรักษาอาการผิดปกติของ ผู้ป่วย : ตรวจค้นโรคและความผิดปกตติ า่ ง ๆ ของผ้ปู ว่ ยเพอ่ื ให้ทราบ ถึงสาเหตุ อาการผลของโรคและความผิดปกติ; โดยใช้เครื่องมือ ทดสอบร่วมกับการสังเกตพฤติกรรม การสัมภาษณ์ วิเคราะห์และ แปลผลทดสอบ; ทำ� งานร่วมกับแพทยเ์ ฉพาะทางอน่ื ๆ เพ่อื ก�ำหนดวิธี การรักษาและสั่งยา; แนะน�ำผู้ป่วยและญาติในการปฏิบัติงาน เพื่อชว่ ยการรกั ษา; บันทึกประวตั กิ ารรักษาผปู้ ่วย ลักษณะของงานทีท่ �ำ 1. ตรวจร่างกาย วินิจฉัย สั่งยา รักษาอาการผิดปกติของผู้ป่วย หรือโดยการใช้เครื่องมือทดสอบ ทเี่ ป็นมาตรฐาน ร่วมกับการสังเกตพฤติกรรม การสัมภาษณ์ วิเคราะห์ และแปรผลการทดสอบ 2. สงั่ ตรวจทางเอกซเรย์ หรอื การทดสอบพเิ ศษ ถา้ ต้องการรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ 8 3. พจิ ารณาผลการตรวจและผลการทดสอบ วินิจฉัยความผิดปกติ ปรึกษาแพทย์เฉพาะทางหรือแพทยอ์ ืน่ ตามความจำ� เปน็ 4. บ�ำบัดรักษาอาการความผิดปกติทางจิต โดยให้ค�ำแนะน�ำ ให้ค�ำปรึกษา หรือการรักษาอย่างอ่ืน เช่น การรบั ประทานยา และแนะน�ำผู้ปว่ ยและญาติ ในเรือ่ งการปฏิบตั ติ นทจ่ี �ำเป็นการบ�ำบัดสำ� หรบั รักษา 5. เกบ็ รักษาบันทกึ เก่ยี วกบั ผู้ปว่ ย และการรกั ษาพรอ้ มติดตามผล 6. อาจประสานงานกบั แพทยใ์ นโรงพยาบาลหรือสถาบันอ่นื ๆ สภาพการจ้างงาน ผู้ประกอบจิตแพทย์ ได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา ซ่ึงไม่มีประสบการณ์ในการท�ำงาน ตามอตั ราเงนิ เดือน ท�ำงานสปั ดาห์ละ 40 ชัว่ โมง ตามการจัดเวร วนั เสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุดนกั ขตั ฤกษ์ นอกจาก ผลตอบแทนในรูปเงินเดือนแล้ว รวมทั้งผลต้องอาจได้รับผลประโยชน์พิเศษอย่างอื่น เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินชว่ ยเหลอื สวัสดกิ ารในรูปต่าง ๆ เชน่ เงินฌาปนกิจ เงินโบนัส เป็นตน้ สภาพการทำ� งาน ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาล ตามเวลาปฏิบัติงาน ตรวจรักษาท้ังคนไข้ในและคนไข้นอก และอาจถกู เรียกตัวไดท้ ุกเวลาเพื่อทำ� การรกั ษาคนไข้ให้ทันท่วงที โดยจะต้องมคี วามพร้อมเสมอ อาชพี จติ แพทย์ สว่ นใหญจ่ ะปฏบิ ตั งิ านประจำ� ในโรงพยาบาล หรอื ในสถานบำ� บดั รกั ษาผปู้ ว่ ยทางจติ สำ� หรบั

ท่ีตลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 ในชนบททห่ี ่างไกลความเจรญิ หากมผี ูป้ ว่ ยทางจติ ทม่ี ีอาการรุนแรง มักถกู ส่งมารับการรกั ษาในสถานบ�ำบดั ผปู้ ว่ ย กรมการ ัจดหางาน ทางจติ หรอื ในโรงพยาบาลดงั กลา่ ว รวมทงั้ การตดิ ตงั้ โทรศพั ทส์ ายดว่ น สขุ ภาพจติ ตลอดจนจดั ตงั้ เวบ็ ไซต์ เพอ่ื บรกิ าร Department of Employment ให้ความรูข้ อ้ มลู ข่าวสารท่ีเปน็ ประโยชนใ์ นการดำ� เนนิ ชวี ติ ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ และให้แนวทางแกป้ ัญหาสุขภาพจิต ที่ถูกต้อง โอกาสในการมงี านท�ำ อาชีพจิตแพทยส์ ามารถรับราชการโดยทำ� งานในโรงพยาบาล สถานพยาบาล สถานีอนามัย หรือหนว่ ยงาน การแพทยข์ องกระทรวง ทบวง กรม ทจ่ี ดั ขนึ้ เพอื่ ใหบ้ รกิ าร นอกจากนี้ ยงั สามารถเปดิ คลนิ กิ สว่ นตวั เพอ่ื รบั รกั ษาคนไข้ นอกเวลาท�ำงานประจำ� ไดอ้ ีก คุณสมบตั ิของผปู้ ระกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศกึ ษาทางวชิ าจติ แพทย์ คณะแพทยศาสตร์ 2. มสี ขุ ภาพสมบูรณท์ ้งั ร่างกายและจติ ใจ ไมพ่ กิ ารหรือทุพพลภาพ ปราศจากโรค 3. มคี วามเข้าใจ อดทน อดกลน้ั ทจ่ี ะยอมรับฟงั ปัญหา หรอื อาการของผปู้ ่วยที่อาจผิดปกตทิ างด้านจติ ใจ ในลกั ษณะสาเหตแุ ละอาการที่แตกตา่ งกัน 4. มีความซื่อสัตย์ในวิชาชีพของตนมีคุณธรรมและจริยธรรมทางการแพทย์ ไม่ใช้ความรู้ทางจิตวิทยา ไปหลอกลวงหรือทำ� ลายผ้อู นื่ สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศึกษา 9 - ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น 123 1057 40002 ซอยมติ รภาพ 18 ตำ� บลในเมอื ง อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแก่น 40000 โทรศพั ท์ 0-4334-2585 เวบ็ ไซต์ www.kku.ac.th/ - ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 110 ถนนอินทวโรรส ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดเชยี งใหม่ 50200 โทรศัพท์ 0-5394-5422 โทรสาร 0-5394-5426 เว็บไซต์ www.med.cmu. ac.th/dept/psychiatry/ - ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ตึกธนาคารกรุงเทพฯ โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์ 1873 ถนนพระราม 4 ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0-2256-4298, 0-2256-4346 เวบ็ ไซต์ psychiatry.md.chula.ac.th/ - ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 15 ถนนกาญจนวณิชย์ ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 โทรศัพท์ 0-7445-5000 โทรสาร 0-7421-2900, 0-7421-2903 เว็บไซต์ http://medinfo.psu.ac.th/ - ภาควชิ าจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ชั้น 7 ศนู ยก์ ารแพทยส์ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 62 หมู่ 7 ถนนรังสิต-นครนายก ต�ำบลองครักษ์ อ�ำเภอองครักษ์ จงั หวดั นครนายก 26120 โทรศัพท์ 0-3739-5085-6 เวบ็ ไซต์ www.med.swu.ac.th/psychiatry/ - ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล 270 โรงพยาบาล รามาธบิ ดี เขตทุ่งพญาไท กรงุ เทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2644-9042 เวบ็ ไซต์ med.mahidol.ac.th/psych/

กรมการ ัจดหางาน 2ท0่ีต0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี จิตแพทย์ที่มีความช�ำนาญ และประสบการณ์ จะได้เลื่อนต�ำแหน่งจนถึงระดับผู้บริหาร เปิดคลินิกรับ ให้ค�ำปรึกษาต่อผู้ท่ีมีปัญหาทางจิตท่ัวไป หรือสถานพักฟื้นในการบ�ำบัดรักษาผู้ป่วยทางจิตได้ หรืออาจจะเป็น อาจารย์ในสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนทางจิตวิทยาหรอื ทางจติ แพทย์กไ็ ด้ อาชีพทเี่ กยี่ วเน่ือง ศัลยแพทย์ อายุรแพทย์ นักพยาธิวิทยา แพทย์ด้านนิติเวช สูตินรีแพทย์ แพทย์จิตวิทยาเวชศาสตร์เด็ก และวยั ร่นุ นักจติ วิทยา แหล่งขอ้ มูลอน่ื ๆ - แพทยสภา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข โทรศัพท์ 0-2590-1886 โทรสาร 0-2591-8614-5 เวบ็ ไซต์ www.dms.moph.go.th - สมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย โทรศัพท์ 0-2640-4488, 08-1923-0162 โทรสาร 0-2640-4488 เวบ็ ไซต์ www.psychiatry.or.th/ - ศูนย์สุขวิทยาจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (Child Mental Health Center) เว็บไซต์ www.dmh.moph.go.th/ 10

ท่ีตลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment เจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสุข Public Health Ofiffifi cials นิยามอาชพี ผู้ปฏิบัติงานอาชีพในกลุ่มนี้ รวมถึง ผู้ประกอบวิชาชีพ เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย (ยกเว้นการพยาบาล) ซ่ึงมิได้จัดประเภท ไว้ในที่อ่ืนด�ำเนินงานด้านวิชาการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ให้บริการ ดา้ นวชิ าชพี การพยาบาล สขุ อนามยั ใหค้ ำ� ปรกึ ษาและขอ้ เสนอแนะ แก่ผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บผู้พิการทางกายและจิตใจ เช่น นักวิชาการ สาธารณสุข ลักษณะของงานทีท่ ำ� ม่งุ ศกึ ษา คน้ ควา้ วจิ ยั การบริการด้านสาธารณสุข โดยศกึ ษาทางดา้ นการปอ้ งกนั โรค การควบคมุ โรค และ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพใหก้ บั ประชาชนทวั่ ไป บณั ฑติ ทจี่ บการศกึ ษาทางดา้ นนจี้ ะมคี วามรคู้ วามสามารถในการปฏบิ ตั งิ าน ทางด้านสาธารณสุข สามารถประยุกต์ความรู้เพ่ือพัฒนางานสาธารณสุข ให้เกิดการป้องกัน การสร้างเสริมสุขภาพ และความปลอดภัยแกป่ ระชาชนและสงั คม สภาพการจ้างงาน 11 1. ต�ำแหนง่ ประเภทบรหิ าร แบ่งออกเป็น 2 ระดับย่อยภายใน โดยข้ันสงู ได้รับเงินเดือน 61,860-63,920 บาท เงินประจ�ำตำ� แหน่ง 21,000 บาท ข้ันต่�ำได้รับเงินเดือน 46,820-51,620 บาท เงินประจ�ำตำ� แหน่ง 14,500 บาท 2. ต�ำแหน่งประเภทอำ� นวยการ แบง่ ออกเป็น 2 ระดับยอ่ ย โดยข้ันสูงไดร้ บั เงินเดอื น 48,600-57,470 บาท เงนิ ประจำ� ตำ� แหนง่ 10,000 บาท ขน้ั ต่ำ� ได้รับเงินเดือน 22,330-27,450 บาท เงนิ ประจ�ำตำ� แหน่ง 5,600 บาท 3. ต�ำแหน่งประเภทวิชาการ แบง่ ออกเปน็ 5 ระดบั ยอ่ ย ไดแ้ ก่ 3.1 ระดับปฏบิ ตั กิ ารข้นั สงู ไดร้ บั เงนิ เดือน 21,360 บาท ข้นั ตำ่� ได้รบั เงินเดือน 9,320 บาท 3.2 ระดับชำ� นาญการขัน้ สูงไดร้ บั เงนิ เดือน 34,630 บาท ขนั้ ต่�ำไดร้ ับเงินเดือน 13,770 บาท พรอ้ มเงิน ประจำ� ต�ำแหน่ง 3,500 บาท 3.3 ระดบั ชำ� นาญการพเิ ศษขน้ั สงู ไดร้ บั เงนิ เดอื น 47,100 บาท ขนั้ ตำ่� ไดร้ บั เงนิ เดอื น 20,260 บาท พรอ้ ม เงนิ ประจ�ำตำ� แหนง่ 5,600 บาท 3.4 ระดบั เช่ียวชาญขั้นสูงได้รบั เงนิ เดือน 57,470 บาท ขัน้ ต่�ำไดร้ บั เงนิ เดอื น 24,860 บาท พรอ้ มเงนิ ประจำ� ต�ำแหน่ง 9,900 บาท 3.5 ระดับทรงคุณวฒุ ไิ ดร้ ับเงนิ เดอื น 61,860 บาท และเงนิ ประจำ� ต�ำแหนง่ 13,000 บาท ข้นั ต่�ำไดร้ ับ เงนิ เดอื น 28,980 บาท และเงินประจ�ำต�ำแหนง่ 15,600 บาท 4. ต�ำแหน่งประเภทท่วั ไป แบง่ ออกเป็น 4 ระดบั ย่อย ได้แก่ 4.1 ระดบั ปฏบิ ตั ิการข้ันสูงไดร้ บั เงินเดือน 17,490 บาท ขนั้ ตำ�่ ได้รับเงนิ เดอื น 5,460 บาท

ท20่ตี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน Department of Employment 4.2 ระดบั ชำ� นาญการขั้นสูงไดร้ บั เงนิ เดอื น 26,440 บาท ข้ันตำ่� ได้รับเงินเดอื น 8,000 บาท 4.3 ระดบั อาวุโสขั้นสูงได้รับเงนิ เดือน 39,640 บาท ขนั้ ตำ�่ ได้รบั เงนิ เดอื น 12,730 บาท 4.4 ระดบั ทกั ษะพเิ ศษข้ันสงู ได้รบั เงนิ เดือน 57,470 บาท ข้ันตำ�่ ได้รับเงนิ เดอื น 16,490 บาท คณะสาธารณสุขศาสตร์ มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คู่คุณธรรม เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ท่ีแข็งแกร่ง 12 เปน็ ศนู ยก์ ลางวชิ าการ วจิ ยั บรกิ ารวชิ าการ บรหิ ารทรพั ยากร และพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นสาธารณสขุ แนวใหม่อยา่ งมีคณุ ภาพ รวมทั้งสง่ เสริมประยกุ ตศ์ ิลปวัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทยมาใช้ในการด�ำเนินชวี ติ สภาพการทำ� งาน ปฏิบัติงานได้ในกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน ภาคเอกชน ในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ โอกาสในการมงี านทำ� บัณฑิตที่จบการศึกษาทางด้านสาธารณสุขศาสตร์สามารถปฏิบัติงานได้ท้ังในหน่วยงานของรัฐและเอกชน เป็นนักวิชาการทางด้านส่ิงแวดล้อม นักวิชาการสุขาภิบาล นักวิชาการสาธารณสุข ควบคุมโรคต่าง ๆ นักวิชาการ อาชวี อนามยั และความปลอดภยั นกั วชิ าการสขุ ศกึ ษา นอกจากนย้ี งั สามารถปฏบิ ตั งิ านในลกั ษณะเดยี วกนั นใี้ นบรษิ ทั เอกชนตา่ ง ๆ ในฐานะนกั วชิ าการส่ิงแวดลอ้ ม นักสขุ าภิบาล หรือปฏบิ ัตงิ านในศูนยค์ น้ ควา้ วิจยั ทางการแพทย์ เปน็ อาจารย์ หรือครสู อนในสถาบนั การศึกษาตา่ ง ๆ และยังสามารถศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปริญญาโทและปริญญาเอกทงั้ ใน และต่างประเทศได้อกี ด้วย คุณสมบตั ิของผปู้ ระกอบอาชีพ 1. มีความรู้ในงานสาธารณสขุ ชมุ ชนอยา่ งเหมาะสมแก่การปฏบิ ัติงานในหน้าท่ี 2. มีความรู้ความเข้าใจในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหาร

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตูลอ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 ราชการแผ่นดิน และกฎหมาย กฎ ระเบยี บ และข้อบงั คบั อ่นื ทใ่ี ชใ้ นการปฏิบัติงานในหนา้ ท่ี กรมการ ัจดหางาน 3. มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานธุรการ และงานสารบรรณอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานใน Department of Employment หนา้ ที่ 4. มีความรคู้ วามสามารถในการใช้ภาษาอย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัตงิ านในหน้าท่ี 5. มคี วามสามารถในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ดี ้วยความละเอียดแมน่ ยำ� 6. มคี วามสามารถในการให้คำ� แนะนำ� เกยี่ วกบั ระเบยี บและวธิ กี ารปฏบิ ัตงิ านทอี่ ยใู่ นความรับผิดชอบ สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศึกษา - ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 420/1 ถนนราชวิถี เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400 โทรศพั ท์ 0-2354-8543 - สาขาวชิ าสาธารณสุขศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น 123 หมู่ 16 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลในเมือง อำ� เภอเมือง จงั หวดั ขอนแก่น 40002 โทรศัพท์ 04-300-9700 (ส่วนกลาง) เว็บไซต์ http://ph.kku. ac.th โทรศัพท์ 0-4334-7057 โทรสาร 0-4334-7058 - สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 99 หมู่ 9 ต�ำบลท่าโพธิ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ 0-5596-1000 โทรสาร 0-5596-1103 อีเมล naresuan_ [email protected] - วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 254 ถนน พญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทมุ วนั กรุงเทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 0-2215-0871-3 โทรสาร 0-2215-4804 ติดต่อคณะ โทรศพั ท์ 0-2218- 8193 อีเมล [email protected] - คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต อาคารปิยชาติ ชั้น 10 ต�ำบลคลองหน่ึง อ�ำเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12121 โทรศัพท์ 0-2986-9213-9 ต่อ 7410-11 โทรสาร 0-2516-2708 13 - คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ อาคารเรียน 2 ช้ัน 4 ห้อง 2-401, 2-406 เลขท่ี 18/18 ถนนบางนา-ตราด กิโลเมตรท่ี 18 ต�ำบลบางโฉลง อ�ำเภอบางพลี จังหวัด สมทุ รปราการ 10540 โทรศัพท์ 0-2312-6415, 0-2312-6300-79 ตอ่ 1211, 1533 โทรสาร 0-2312-6415 อเี มล [email protected] เว็บไซต์ www.hcu-pb.com - สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเนชั่น ล�ำปาง 444 ถนนวชิราวุธ ดำ� เนนิ ตำ� บลพระบาท อำ� เภอเมือง จงั หวัดล�ำปาง 52000 โทรศัพท์ 0-5426-5170 ต่อ 112, 135, 209 ฝ่ายรับสมคั ร โทรศัพท์ 0-5482-0099 - มหาวิทยาลัยเนช่ัน ศูนย์เนชั่นทาวเวอร์ 1854 ถนนบางนา-ตราด กิโลเมตรที่ 4.5 แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศพั ท์ 0-2338-3950 ฝา่ ยรับสมคั ร 0-2338-3777 โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี ปฏิบัติงานได้ในกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวง ทบวง กรมอ่ืน ๆ รวมทงั้ ภาคเอกชน ในสถานบรกิ ารสาธารณสุข โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ นอกจากน้ี ในสายงานสาธารณสุขยังสามารถประกอบอาชีพตามสถานท่ีหรือองค์กรต่าง ๆ ได้อีก เช่น ท�ำงานในโรงงานอุตสาหกรรม เปน็ ตน้ และศกึ ษาต่อระดบั ปริญญาโท-เอก ในมหาวิทยาลัยช้นั น�ำของรฐั และเอกชน ได้อกี ด้วย

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ต่ี 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 อาชพี ที่เกีย่ วเนอ่ื ง นักสุขาภิบาล เจ้าหน้าที่สุขศึกษาสาธารณสุข เจ้าหน้าท่ีโภชนาการสาธารณสุข นักวิทยาศาสตร์อาชีว อนามยั แหลง่ ขอ้ มูลอน่ื ๆ - ประกาศจากกระทรวงสาธารณสขุ เวบ็ ไซต์ www.moph.go.th/index.php?page=Whatnews - เวบ็ ไซต์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ทุกมหาวิทยาลัย - สมาคมสาธารณสขุ แห่งประเทศไทย เวบ็ ไซต์ http://thaiphc.org/index002.php 14

ทต่ี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาีพร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ชา่ งสรา้ งแบบสำ� เรจ็ (เครอื่ งแตง่ กาย) Pattern-maker นิยามอาชพี วาดและตัดชิ้นส่วนต่าง ๆ ของแบบ ส�ำเร็จเสื้อผ้าขนสัตว์ และเครื่องใช้อื่น ๆ ท่ีท�ำมาจากขนสัตว์ : ออกแบบเสื้อผ้าหรือ ช้ินงานอื่น ๆ ขึ้นมาใหม่หรืออาจดัดแปลง แ ก ้ ไ ข แ บ บ ที่ มี อ ยู ่ แ ล ้ ว ใ ห ้ ส ม บู ร ณ ์ ต า ม จินตนาการ ตามขนาดหรือตามสัดส่วน ของลูกค้าแต่ละคน; สร้างแบบส�ำเร็จขึ้น ตามแบบท่ีวาดไว้; ตรวจสอบแบบส�ำเร็จ เพื่อความถูกต้องแม่นย�ำและอาจดัดแปลง แก้ไขตามความจ�ำเป็น; ตัด ช้ินส่วนต่าง ๆ ของแบบส�ำเร็จ และตรวจสอบความถูกต้อง ของชนิ้ งานเพ่ือปอ้ งกนั ความผดิ พลาดก่อนสง่ ให้ชา่ งตัดเย็บผา้ ขนสัตวต์ ่อไป ลกั ษณะของงานท่ีทำ� 15 1. ศึกษาภาพสเกตช์ หุ่น และวดั เครอ่ื งแตง่ กายท่ตี ้องการสรา้ งแบบ 2. วาดรปู รา่ งชิน้ ส่วนท่ีต้องการของเสือ้ ผา้ ลงบนกระดาษหรอื สง่ิ ท่คี ลา้ ยคลงึ กัน 3. อธิบายประกอบการวาดด้วยเลขรหัส รหัสอักษร และเครื่องหมายเพื่อเป็นแนวทางส�ำหรับช่างตัด และช่างเย็บ 4. ตดั ออกเปน็ รปู รา่ งตา่ ง ๆ หรือทำ� รอยปรุตามเสน้ ขอบดว้ ยลูกกล้งิ เพอื่ ให้ไดแ้ บบเส้ือผ้าทต่ี ้องการ 5. ตัดช้ินส่วนของเสื้อผ้าออกทีละช้ิน โดยใช้แบบส�ำเร็จเป็นแนวทางในการตัดและอ�ำนวยการสร้าง เส้อื ผา้ ตวั อย่าง 6. ตรวจสอบเส้อื ผา้ ตัวอย่างและแก้ไขดดั แปลงลงบนแบบสำ� เร็จเทา่ ทจี่ ำ� เปน็ 7. อาจให้ค�ำแนะน�ำการสร้างแบบสำ� เร็จอย่างประหยัด 8. ดดั แปลงแกไ้ ขแบบสำ� เรจ็ เดมิ ให้เป็นไปตามแบบทแ่ี ก้ไขปรับปรงุ แลว้ และออกแบบเสอ้ื ผ้าใหม่ ๆ 9. อาจออกแบบวาด ตัดชิ้นส่วนต่าง ๆ ของแบบส�ำเร็จชุดผู้ชาย เส้ือเช้ิต เส้ือชุดสตรี ชุดช้ันในสตรี และเคร่อื งแตง่ กายอื่น ๆ ตามความต้องการของลกู คา้ หรือบริษทั ห้างร้าน สภาพการจ้างงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพน้ี ส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า สาขา เทคโนโลยีและเครื่องแต่งกาย สามารถท�ำงานในสถานประกอบการ หรือโรงงานอุตสาหกรรมส่ิงทอ อุตสาหกรรม

2ท0ี่ต0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน Department of Employment เสอื้ ผา้ ส�ำเร็จรูป และอาชีพอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการตดั เยบ็ เสอ้ื ผา้ วาดและตดั ชิ้นสว่ นต่าง ๆ ของแบบสำ� เร็จ เสือ้ ชดุ เส้ือเชิต้ เสื้อชุดสตรี ชดุ ชน้ั ในสตรี และเคร่ืองแต่งกายอนื่ ๆ ยกเวน้ เสอ้ื ผ้าขนสัตว์ เพอ่ื เป็นแนวทางในการท�ำเสอ้ื ผ้า ส�ำเร็จรูป ณ ศนู ย์การค้าต่าง ๆ จะได้รบั คา่ ตอบแทนเปน็ เงินเดอื นทีร่ ะดบั เริ่มต้นการทำ� งาน วุฒิการศึกษา สวัสดกิ าร 16 ตา่ ง ๆ คำ� รกั ษาพยาบาล และโบนัสเปน็ ไปตามเงือ่ นไขขอ้ ตกลงกับผูว้ า่ จ้างทำ� งานวันละ 8 - 9 ชวั่ โมง อาจทำ� งาน ล่วงเวลาวนั เสาร์ วนั อาทิตย์ และวันหยุดตามความจ�ำเปน็ สามารถประกอบอาชีพนี้ เป็นอาชพี อิสระ หรอื เปดิ สอน วชิ าการตดั เย็บเสื้อผา้ สตรี–บุรุษ เปน็ ตน้ สภาพการทำ� งาน ปฏิบัติงานทั้งในและนอกสถานที่ เช่น โรงงานอุตสาหกรรมเส้ือผ้าส�ำเร็จรูป ท�ำงานในร้าน ตัดเย็บเส้ือผ้า สตรี - บุรุษ ประกอบธุรกจิ สว่ นตัวเก่ียวกบั การด�ำเนนิ ธุรกจิ ตดั เยบ็ เสือ้ ผา้ สภาพการท�ำงานหนกั ปานกลาง ต้องใช้ ความอดทนในการทำ� งาน บางโอกาสตอ้ งทำ� งานตามลำ� พงั ต้องใชค้ วามระมัดระวงั และความรอบคอบสงู บางครง้ั อาจตอ้ งท�ำงานล่วงเวลา ต้องใช้ความอดทนต่อสภาพความร้อน กลน่ิ ของสารเคมี หรือถา้ เป็นธรุ กิจสว่ นตวั อาจไม่มี วนั หยดุ พักผอ่ น โอกาสในการมงี านทำ� เทคโนโลยีการตัดเย็บเส้ือผ้าสตรี – บุรุษ ธุรกิจเสื้อผ้า และเครื่องแต่งกาย กลายเป็นสิ่งจ�ำเป็นในชีวิต ประจ�ำวันและในปัจจุบันคนส่วนใหญ่หันมาให้ความส�ำคัญกับธุรกิจเส้ือผ้ากันมากข้ึน และในขณะนี้รัฐบาลได้หันมา ส่งเสริมการสร้างแบรนด์ที่เป็นของประเทศเอง จัดท�ำโครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น และอื่น ๆ อีกมากมาย เกย่ี วกบั ธรุ กจิ เสอื้ ผา้ และเครอ่ื งแตง่ กาย ดงั นนั้ การประกอบอาชพี นจี้ งึ เปน็ สว่ นสำ� คญั ในการพฒั นาและนำ� เทคโนโลยี ใหม่ ๆ มาใช้นอกจากน้ี ตลาดแรงงานยังมีความต้องการค่อนข้างสูง และเปิดกว้างอีกมาก จึงเป็นโอกาส ในการสร้างงานใหก้ ับผูท้ ี่ตอ้ งการจะประกอบอาชพี น้ี

ทีต่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู อ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ กรมการ ัจดหางาน Department of Employment 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า สาขาเทคโนโลยีและ เครอื่ งแต่งกาย หรือสาขาอ่นื ๆ ท่ีเก่ียวข้อง 2. ส�ำเร็จการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาเส้ือผ้าและเคร่ืองแตง่ กาย 3. สามารถสรา้ งแบบเส้อื ผ้าในคอมพิวเตอร์ได้ 4. ร่างกายแข็งแรง หูรับฟังได้ดี ตาไม่บอดสี มือและสมองสามารถท�ำงานสัมพันธ์กันได้ตลอดเวลา และไม่เปน็ โรคท่ีเป็นอปุ สรรคตอ่ งานอาชพี 5. ละเอยี ด รอบคอบ ช่างสงั เกต 6. อดทน ขยันหมน่ั เพียร มคี วามคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ 7. ม่นั ใจในตนเอง สามารถแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ ได้ 8. มเี จตคตทิ ่ดี ตี ่องานอาชีพ ซอื่ สัตย์สุจริต มีระเบยี บวินยั สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา วิทยาลัยเทคนิค และวิทยาลัยการอาชีพ สังกัด สถาบันการอาชีวศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษา อาทิ - วิทยาลัยอาชวี ศึกษาพิษณโุ ลก เวบ็ ไซต์ www. plvc.ac.th โทรศพั ท์ 0-5525-8570 - วิทยาลัยอาชีวศึกษาเลย เว็บไซต์ www. lvc.ac.th โทรศพั ท์ 0-4281-1284 - วทิ ยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี เวบ็ ไซต์ www. 17 kicec.ac.th โทรศพั ท์ 0-3461-1792 - วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น เว็บไซต์ www. kknic.ac.th โทรศพั ท์ 0-4328-6218 สถาบันการตัดเย็บและออกแบบเคร่ืองแต่งกาย อาทิ - โรงเรียนตัดเสื้ออัมรินทร์ เว็บไซต์ www. amarinschool.com โทรศพั ท์ 0-2434-3825-6 สถานศึกษาอื่น ๆ ในสังกัดส�ำนักงานคณะ กรรมการการอดุ มศกึ ษา อาทิ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล คณะคหกรรมศาสตร์ สาขาผ้าและเคร่ืองแต่งกาย เว็บไซต์ www.rmut.ac.th โทรศพั ท์ 0-2549-4990-2 โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชพี เมื่อมีความสามารถ ความช�ำนาญ ก็จะได้เล่ือนต�ำแหน่งและเงินเดือนสูงขึ้น อาทิ การเล่ือนต�ำแหน่งข้ึนสู่ ระดบั หวั หนา้ ฝา่ ยดา้ นการออกแบบเสอื้ ผา้ หรอื สามารถประกอบอาชพี อสิ ระ เชน่ เปดิ กจิ การรา้ นสอนการสรา้ งแบบ ส�ำเร็จเสอื้ ผา้ สตรี-บุรุษ หรอื การออกแบบเส้อื ผา้ ใหม่ ๆ

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ต่ี 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 อาชพี ท่ีเกีย่ วเน่ือง พนกั งานขาย พนกั งานสาธติ และจำ� หนา่ ยผลติ ภณั ฑท์ เี่ กย่ี วเนอ่ื งกบั เทคโนโลยผี า้ และเครอื่ งแตง่ กาย พนกั งาน ซอ่ มแซม ดแู ลรักษาเสอื้ ผา้ และเคร่อื งแตง่ กาย แหล่งขอ้ มูลอื่น ๆ - สมาคมอตุ สาหกรรมเครอื่ งนุ่งห่มไทยและมลู นธิ พิ ัฒนาอุตสาหกรรมเครือ่ งนุ่งหม่ เว็บไซต์ www.thaigar- ment.org โทรศัพท์ 0-2681-2222 - สถาบนั พฒั นาอุตสาหกรรมสงิ่ ทอ เวบ็ ไซต์ www.thaitextile.org โทรศพั ท์ 0-2712-4501 - ศูนยส์ ร้างสรรค์งานออกแบบ เวบ็ ไซต์ www.tcds.or.th โทรศพั ท์ 0-2664-8488 - โรงเรียนสอนตัดเสื้อเอื้องดอยดีไซน์ เว็บไซต์ www.uangdoidessign.com โทรศัพท์ 0-5327-8349, 0-5320-6373 - โรงเรียนสอนตัดเสื้อ เสริมสวยดีไซน์นิรันดร์รัตน์ เว็บไซต์ www.weddingsquare.com โทรศัพท์ 0-2438-8302, 0-2437-1835 18

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู ้อองากชาพี รกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ทนั ตแพทย์ทว่ั ไป General dentist นิยามอาชพี ตรวจ วินิจฉัย บ�ำบัดหรือป้องกันโรคฟัน โรคอวัยวะที่ เกย่ี วกบั ฟนั โรคอวยั วะในชอ่ งปาก โรคขากรรไกร และกระดกู ใบหนา้ ท่ีเก่ียวเนื่องกับขากรรไกร รวมทั้งการกระท�ำทางศัลยกรรมและการ กระท�ำใด ๆ ในการบ�ำบดั : บูรณะและฟ้ืนฟสู ภาพอวยั วะในชอ่ งปาก กระดกู ใบหนา้ ทเ่ี กยี่ วเนื่องกบั ขากรรไกร และการท�ำฟนั ในชอ่ งปาก ลักษณะของงานท่ีทำ� ตรวจสขุ ภาพชอ่ งปาก เหงอื กและฟนั รกั ษาตามอาการของโรค และความผดิ ปกตขิ องเหงอื กฟนั และชอ่ งปาก ดว้ ยการศลั ยกรรม ใหย้ า และวธิ กี ารอน่ื ๆ ใชเ้ ครอื่ งเอกซเรยแ์ ละทดสอบตามความจำ� เปน็ พจิ ารณาผลของการตรวจ และการทดสอบ และเลือกวธิ ีการรักษาทีต่ รงจดุ และถกู ตอ้ ง การประดิษฐ์ฟันปลอม และใสฟ่ ันปลอม รวมท้งั การจดั ฟันทม่ี ลี ักษณะผดิ ปกติ ให้อยใู่ นตำ� แหน่งทถี่ ูกต้อง สภาพการจ้างงาน ทันตแพทย์สามารถท�ำงานในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชน หรือเปิดคลินิกส่วนตัว ตามสถานบริการ 19 ทันตกรรม สงั กดั กระทรวงสาธารณสุข ทันตแพทย์ จะได้รับเงินเดือนเทียบเท่าวุฒิปริญญาตรีท่ัวไป อัตราค่าจ้างเป็นรายเดือนแตกต่างกันไป ตามความรู้ และความช�ำนาญ ส�ำหรับผู้ส�ำเร็จการศึกษาใหม่ ไม่มีประสบการณ์จะมีรายได้ตามฐานเงินเดือน ท�ำงานสัปดาห์ละ 40 ช่ัวโมง ตามการจัดเวร รวมท้ังท�ำงานวันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ นอกจากผลตอบแทนในรูปเงินเดือนแล้ว ส�ำหรับภาครัฐจะได้รับสวัสดิการตามระเบียบของทางราชการ ส่วนใน ภาครัฐวิสาหกิจและเอกชนอาจได้รับผลประโยชน์ เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือ สวัสดิการ ในรปู ต่าง ๆ เงินประกันสังคม เงนิ โบนัส เปน็ ต้น สภาพการทำ� งาน ทันตแพทย์จะปฏิบัติงานโรงพยาบาลรัฐและตามสาธารณสุขประจ�ำเขตพ้ืนท่ีต่าง ๆ ข้ึนตรงกับกระทรวง สาธารณสขุ โรงพยาบาลเอกชน และคลนิ กิ รักษาโรคฟนั โดยเฉพาะ ซึ่งมอี ปุ กรณใ์ นการตรวจและรกั ษาฟนั เหงอื ก และภายในชอ่ งปาก เชน่ เครื่องมือตา่ ง ๆ เพ่ือการขูดหินปูน ถอนฟัน รักษารากฟัน ฉดี ยาชา และเกา้ อส้ี �ำหรับผปู้ ่วย โดยจะต้องมีไฟส่องสว่างเพื่อช่วยในการตรวจสภาพภายในช่องปาก โดยจะต้องมีผู้ช่วยอย่างน้อย 1 - 2 คน ในการตรวจรักษาฟัน ในบางคร้ังอาจจะมีผู้ป่วยที่เป็นเด็ก ซ่ึงการตรวจรักษาอาจจะยุ่งยากกว่าผู้ใหญ่เน่ืองจากเด็ก จะมคี วามกลัวและไม่ให้ความรว่ มมอื ในการตรวจฟนั ทนั ตแพทยต์ ้องมีจิตวทิ ยาในการหลอกลอ่ เดก็ ให้ความร่วมมือ โดยการอ้าปาก เพื่อท�ำการตรวจรักษา รวมทั้งต้องระวังการถูกกัดนิ้วมือขณะท�ำการตรวจรักษาให้เด็กท่ีก�ำลังกลัว และโกรธ

ท20ี่ต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน โอกาสในการมีงานทำ� Department of Employment นอกเหนือจากการปฏิบัติงานในโรงพยาบาลของรัฐบาลหรือเอกชนแล้ว ยังสามารถเปิดคลินิกในการรักษา แบบครบวงจรไดอ้ ีกดว้ ย คณุ สมบตั ขิ องผปู้ ระกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศกึ ษาระดับปริญญาตรีทางทันตแพทย์ 2. มีความรู้ในการประดษิ ฐง์ านวิจยั และทดลอง 3. มีสุขภาพแขง็ แรง รู้หลกั จติ วทิ ยา อดทนต่อแรงกดดัน ม่ันใจในตนเอง 4. มีความซอื่ สัตย์ รักและศรัทธาในวชิ าชีพ มคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม 5. รกั งานบรกิ าร ไม่รังเกียจผปู้ ่วย สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา - คณะทนั ตแพทย์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล เลขที่ 6 ถนนโยธี เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2200- 7777 เว็บไซต์ www.dt.mahidol.ac.th/th/ - คณะทันตแพทย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธิน อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัด ปทมุ ธานี 12121 โทรศพั ท์ 0-2986-9213-9 โทรสาร 0-2986-9205 เว็บไซต์ www.dentistry.tu.ac.th/th/ - คณะทันตแพทย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขท่ี 114 สุขุมวิท 23 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2649-5000 ตอ่ 15237 เวบ็ ไซต์ dent.swu.ac.th/ - คณะทนั ตแพทย์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 34 ถนนอังรีดนู งั ต์ แขวงวังใหม่ เขตปทุมวนั กรงุ เทพฯ 10330 โทรศพั ท์ 0-2218-8705 เว็บไซต์ http://www.dent.chula.ac.th/ 20 - คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90112 โทรศัพท์ 0-7421-2922 โทรสาร 0-7421-2922 เว็บไซต์ http://www.dent.psu.ac.th - คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลในเมือง อ�ำเมือง จังหวัด ขอนแก่น 40002 โทรศพั ท์ 0-4320-2405 โทรสาร 0-4320-2862 เวบ็ ไซต์ www.dentistry.kku.ac.th/ - คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถนนสุเทพ ต�ำบลสุเทพ อ�ำเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์ 0-2053-9444-40 โทรสาร 0-2053-2228-44 เว็บไซต์ www.dent.cmu.ac.th/ - คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 หมู่บ้านเมืองเอก ถนนพหลโยธิน อ�ำเภอหลักหก จังหวดั ปทุมธานี 12000 โทรศพั ท์ 0-2997-2200-30 ต่อ 4242 โทรสาร 0-2997-2200 ต่อ 4251 อเี มล info@rsu. ac.th เว็บไซต์ www.rsu.ac.th/dental/ - คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั พะเยา 19 หมู่ 2 ต�ำบลแมก่ า อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดพะเยา 56000 โทรศัพท์ 0-5446-6666 ตอ่ 3420-3432 เวบ็ ไซต์ www.dentistry.up.ac.th/# โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ ผ้สู ำ� เรจ็ การศกึ ษา เมอ่ื ใช้ทุนเป็นเวลา 2 ปีแลว้ ตอ้ งการท�ำงานประจำ� ตอ่ ในหนว่ ยงานของรฐั หรืออาจจะไป ศกึ ษาต่อในระดับปรญิ ญาโทและปริญญาเอก หรอื เปน็ อาจารยส์ อนในมหาวทิ ยาลัย หรอื เปิดคลินิกส่วนตัวได้

ท่ีตลาด20แร0งงขาอ้ นมตูลอ้ องากชาีพรกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment อาชีพท่เี ก่ียวเน่อื ง ผู้ช�ำนาญพิเศษทางทันตกรรม ทันตแพทย์ฝ่ายป้องกัน และสาธารณสุข ช่างเทคนิคการแพทย์ อาจารย์ทางวชิ าทนั ตแพทย์ศาสตร์ แหล่งขอ้ มูลอ่ืน ๆ - ทนั ตแพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ โทรศพั ท์ 0-2539-4748 โทรสาร 0-2514-1100 เวบ็ ไซต์ www.thaidental.net/ - ทันตแพทยสภา โทรศัพท์ 0-2951-0420, 0-2951-0421 โทรสาร 0-2951-0422 เว็บไซต์ www.thaidental.org, http://www.thaitist.org 21

กรมการ ัจดหางาน 2ท0่ีต0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นักกายอปุ กรณ์ Prosthetist นิยามอาชพี ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการประเมินอุปกรณ์ที่จ�ำเป็นต้องใช้ ผลติ ซอ่ มแซม ดดั แปลง แก้ไข กายอปุ กรณ์ แก่ผูพ้ กิ ารทม่ี ีความจ�ำเป็น ในการใช้กายอุปกรณ์ดังกล่าว เพอื่ การฟื้นฟสู มรรถภาพของรา่ งกาย ลักษณะของงานทีท่ �ำ งานกายอุปกรณ์ประกอบด้วยการตรวจวัดขนาด ออกแบบ ประดิษฐ์ ผลิต ดัดแปลง แก้ไข ซ่อมแซมให้เหมาะสมกับผู้ป่วย และผู้พิการแต่ละราย เพ่ือช่วยให้การเคลื่อนไหวสะดวกข้ึนเท่าน้ัน งานกายอปุ กรณต์ อ้ งอาศยั ทกั ษะฝมี อื และความเชย่ี วชาญชำ� นาญเฉพาะ บุคคลค่อนข้างสูง (ร่วมกับความรู้ความเข้าใจในเร่ืองวัสดุศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ ศลิ ปะ วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยด์ า้ นกายวภิ าคประยกุ ต์ 22 ดา้ นชวี กลศาสตร์ และการเคลอ่ื นไหวประยุกต์) บคุ ลากรทที่ ำ� หนา้ ดงั กลา่ วขา้ งตน้ มชี อ่ื เรยี กตามท่ี ก.พ.ระบุ ซงึ่ เรียกชื่อต�ำแหน่งบรรจุตามวุฒิการศึกษาคือ หากส�ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรจากโรงพยาบาลเลิดสิน หรือส�ำเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรชั้นสูงจากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (พ.ศ. 2536-2542) เรียกว่า ช่างกายอุปกรณ์ (PO technician) แต่หากส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญา จะเรียกว่า นักกายอุปกรณ์ (Prosthetist/Orthotist) สภาพการจ้างงาน ระดับการศึกษาปริญญาตรี หรือเทียบเทา่ อัตราเงนิ เดอื นตามวุฒกิ ารศกึ ษา ซงึ่ ข้นึ อยกู่ ับประสบการณด์ ว้ ย สภาพการทำ� งาน - สามารถปฏิบตั งิ านดา้ นกายอปุ กรณ์ตามโรงพยาบาลและบรษิ ทั เอกชนได้ - สามารถศึกษาต่อได้ในระดับที่สงู ขึ้น โอกาสในการมีงานทำ� ทํางานด้านกายอุปกรณ์ตามโรงพยาบาล หรือสถานบริการสาธารณสุขที่จัดให้บริการ หรือบริษัทเอกชนท่ี เกี่ยวขอ้ ง และเมื่อศึกษาตอ่ ในระดบั ท่สี งู ขนึ้ สามารถปฏิบัตงิ านในองค์กรอิสระที่ทำ� งานด้านผู้พกิ ารท่ีเกย่ี วข้องทั้งใน ระดับชาตแิ ละนานาชาติ หรอื เปดิ เป็นธรุ กิจคลนิ ิกกายอุปกรณ์สว่ นตัว สาขาการแพทยก์ ไ็ ด้ เปน็ ต้น

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 คุณสมบตั ขิ องผู้ประกอบอาชีพ กรมการ ัจดหางาน Department of Employment 1. เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า มีผลการสอบ ONET, GAT, PAT, กล่มุ สาระวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ตามประกาศของ สทศ. และ สอท. และไม่มคี วามบกพรอ่ ง ทางร่างกายหรือจิตใจทจ่ี ะเปน็ อุปสรรคตอ่ การศึกษา 2. มคี วามรู้ ความสามารถในด้านการประดิษฐ์ ดดั แปลง และพฒั นารูปแบบใหม่ ๆ ของกายอุปกรณใ์ ห้มี ความเหมาะสมกับสภาพดา้ นกายภาพของผ้ใู ช้ และสภาพแวดลอ้ ม 3. พฒั นาตนเอง ใฝ่หาความรูใ้ หม่ ๆ อยเู่ สมอ และติดตามความก้าวหน้าของวิชาชีพ 4. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสาธารณสุข และสามารถเสนอแนวทางการป้องกัน และแก้ไขที่ เหมาะสม 5. เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมอันดีงาม รักษาจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพอย่างเคร่งครัด รวมทั้งเคารพและ ปกปอ้ งสิทธขิ องผ้รู บั บริการ 6. มมี นุษยสมั พันธ์กับผูป้ ว่ ย ผูร้ ่วมงาน ตลอดจนบคุ ลากรทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศกึ ษา - โรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธร คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เลขท่ี 14 ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท์ 0-2419-9815 โทรสาร 0-2419-8929 เวบ็ ไซต์ www.sspo.ac.th โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี เป็นผู้เชี่ยวชาญหรือเป็นนักประดิษฐ์อวัยวะเทียมและกายอุปกรณ์ เป็นอาจารย์ในสถาบันที่เปิดสอน ได้แก่ โรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เป็นนักวิชาการในกระทรวง 23 สาธารณสขุ เป็นต้น อาชพี ท่ีเก่ียวเน่ือง แพทย์ พยาบาล นกั กายภาพบ�ำบดั นกั กจิ กรรมบ�ำบัด นกั อรรถบำ� บัด นักจติ วิทยา นกั สังคมสงเคราะห์ แหล่งข้อมลู อน่ื ๆ - ศนู ยส์ ริ นิ ธรเพอื่ การฟน้ื ฟสู มรรถภาพทางการแพทยแ์ หง่ ชาติ เวบ็ ไซต์ www.snmrc.go.th/index.php/th/ - กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ เวบ็ ไซต์ www.dms.moph.go.th/ - โรงเรียนกายอปุ กรณส์ ริ ินธร คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล โทรศัพท์ 0-2419- 9815 โทรสาร 0-2419-8929 เว็บไซต์ www.sspo.ac.th

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ี่ต0ลาดขอ้แรมงูลงอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นกั เทคนคิ การแพทย์ Medical Technologist นิยามอาชพี ตรวจ ทดสอบ วิเคราะห์ วจิ ยั สงิ่ ส่งตรวจทไ่ี ดม้ าจาก ร่างกายมนุษย์ โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีทางห้องปฏิบัติการท่ีครอบคลุมด้านเคมีคลินิก จุลทรรศนศาสตร์คลินิก จุลชีววิทยาคลินิก โลหิตวิทยา คลังเลอื ด ภมู ิค้มุ กนั วทิ ยาคลนิ ิก พษิ วิทยาคลนิ ิก ฯลฯ เพือ่ นำ� ผลมาใชใ้ นการวนิ จิ ฉยั คน้ หาสาเหตุ วเิ คราะหค์ วามรนุ แรง และติดตามการรักษาโรค การประเมินสภาวะสุขภาพ การปอ้ งกนั โรคการสง่ เสรมิ สขุ ภาพรวมถงึ การควบคมุ คณุ ภาพ การก�ำหนดคุณลักษณะ และการควบคุมการใช้เคร่ืองมือรวมทั้งน้�ำยาต่าง ๆ ทางห้องปฏิบัติการทางเทคนิค การแพทย์การให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำและฝึกอบรมเก่ียวกับวิทยาการทางเทคนิคการแพทย์ และปฏิบัติหน้าที่อ่ืน ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ ง 24 ลกั ษณะของงานท่ที ำ� 1. ทำ� การวเิ คราะหท์ างเคมที ง้ั ดา้ นคณุ ภาพ และปรมิ าณเกยี่ วกบั ของเหลวและการไหลซมึ ในรา่ งกายมนษุ ย์ เพอื่ หาขอ้ มูลสำ� หรบั ใชใ้ นการวินจิ ฉยั และการรกั ษาโรค 2. ทดสอบตวั อยา่ งทไี่ ดจ้ ากรา่ งกายมนษุ ย์ เชน่ ปสั สาวะ เลอื ด ของเหลวจากไขสนั หลงั นำ�้ ยอ่ ยในกระเพาะ อาหาร เป็นต้น เพื่อให้ทราบถึงสารท่ีเกิดขึ้นและปริมาณของสารซึ่งอาจเปล่ียนแปลงได้ภายในร่างกายมนุษย์ และสตั ว์ ตลอดจนสงิ่ พลอยไดอ้ ื่น ๆ เช่น น�้ำตาล ธาตไุ ข่ขาว และอะซิโทน เปน็ ตน้ 3. ทดสอบสารเคมี ยารักษาโรค และยาพษิ ใส่ตวั กระทำ� ลงในสง่ิ ทีจ่ ะทดสอบ ใหค้ วามร้อน กรองหรอื เขย่า สารละลายตามวิธีการ และบันทึกลักษณะการเปล่ียนแปลงของสี หรือการตกตะกอนผสมสิ่งท่ีจะทดสอบกับ สารมาตรฐาน หรือตรวจสอบสารละลายเคมี โดยใช้ โฟโตมเิ ตอร์ สเปกโตรกราฟ หรือเครื่องวดั สี เพ่อื พจิ ารณาหา ปรมิ าณของสาร 4. ท�ำหน้าท่ีวิเคราะห์ วิจัย โดยใช้เทคโนโลยีทางห้องปฏิบัติการ เพ่ือน�ำผลการวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ ในการประเมนิ สขุ ภาพ การวนิ จิ ฉยั โรค การทำ� นายความรนุ แรงของโรค การตดิ ตามผลการรกั ษาการปอ้ งกนั โรคและ ความพกิ าร การสนับสนุนการรกั ษา การวิเคราะห์สารพษิ สารปนเป้ือนต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ และสิ่งแวดลอ้ ม รวมท้งั การควบคุมคุณภาพการพฒั นาและวเิ คราะห์ลักษณะงานเทคนคิ การแพทยส์ าขาตา่ ง ๆ ได้แก่ - เคมคี ลนิ กิ - จุลชวี วทิ ยาคลนิ กิ - ภมู คิ ุม้ กันวทิ ยาคลินกิ และธนาคารเลอื ด - จลุ ทรรศน์ศาสตรค์ ลินกิ และโลหิตวทิ ยา

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 นักเทคนคิ การแพทยจ์ ะเปน็ ผปู้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทอี่ ยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรอื หลายอยา่ งใน 4 สาขา ดังกลา่ ว ไดแ้ ก่ การ กรมการ ัจดหางาน เก็บส่ิงส่งตรวจที่ได้มาจากร่างกายมนุษย์ เก็บรักษาสิ่งส่งตรวจ จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการตรวจ Department of Employment วิเคราะห์เพื่อทราบชนิดและปริมาณของส่ิงท่ีส่งตรวจ โดยใช้วิธีการท่ีเป็นมาตรฐานในห้องปฏิบัติการทั่วไป เพ่ือน�ำ ผลท่ีไดไ้ ปใชป้ ระโยชน์กบั ผปู้ ว่ ย นอกจากน้ียงั รบั ผิดชอบในการรวบรวมขอ้ มูล จัดท�ำรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ และการทดสอบตา่ ง ๆ ควบคมุ ดแู ลการใชง้ านและการเกบ็ รกั ษาเครอ่ื งมอื ตลอดจนการตรวจสอบการประกนั คณุ ภาพ และสามารถถา่ ยทอด ความรู้ ใหค้ �ำปรึกษาแก่ผูร้ ว่ มงาน บคุ ลากรสาขาอืน่ และประชาชนท่วั ไปได้อยา่ งถกู ต้อง สภาพการจา้ งงาน นักเทคนิคการแพทย์ได้รับค่าตอบแทนเป็นเงินรายเดือน ซ่ึงแตกต่างกันไปตามความรู้และความช�ำนาญ ส�ำหรับผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่ท�ำงานสัปดาห์ละ 40 ช่ัวโมง อาจต้องมาท�ำงานวันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุด หรือท�ำงานล่วงเวลา อาจต้องมีการจัดเวรอยู่ประจ�ำโรงพยาบาล นอกจากผลตอบแทน ในรูปเงินเดือนแล้ว ในภาครัฐวิสาหกิจและเอกชนอาจได้รับผลตอบแทนในรูปอ่ืน เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินสะสม เงินช่วยเหลือสวัสดิการในรูปต่าง ๆ เงินโบนัส เป็นต้น ส�ำหรับผู้ที่ส�ำเร็จเทคนิคการแพทย์ท่ีมีเงินทุน สามารถประกอบธุรกิจส่วนตัวด้วยการเปิดห้องแล็บเพ่ือตรวจ และวิเคราะห์สิ่งส่งตรวจ รายได้ท่ีได้รับข้ึนอยู่กับ ความสามารถ และความอตุ สาหะ สภาพการทำ� งาน นักเทคนคิ การแพทย์ต้องท�ำงานในหอ้ งทดลอง ตอ้ งอย่กู ับสารเคมที ่ีต้องใชใ้ นการทดสอบกับ สง่ิ ส่งตรวจซึง่ อาจจะเป็น ปัสสาวะ อุจจาระ เลือด เป็นต้น ซึ่งผู้ที่จะประกอบนักเทคนิคการแพทย์ ต้องไม่รังเกียจต่อการท่ีต้อง ทดสอบสิ่งส่งตรวจดังกล่าวในข้างต้น นักเทคนิคการแพทย์ต้องระมัดระวัง การติดเช้ือท่ีปนเปื้อนมากับส่ิงส่งตรวจ 25 รวมท้ังสารเคมีในห้องปฏิบัติการทดลองอาจจะมีปฏิกิริยาที่ท�ำให้เป็นอันตรายได้ ดังน้ันจึงต้องท�ำงานตามขั้นตอน และการป้องกันตามระเบยี บทกี่ �ำหนดไว้ โอกาสในการมีงานทำ� ผู้ที่ส�ำเร็จปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการแพทย์) และได้ขอรับใบอนุญาตประกอบ โรคศิลปะ สาขาเทคนิคการแพทย์ สามารถสมัครงานในภาครัฐในต�ำแหน่งนักเทคนิคการแพทย์ โดยปฏิบัติหน้าท่ี ในห้องปฏิบัติการชันสูตรในโรงพยาบาลต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัย กองทัพ องค์การ และสถาบนั วจิ ัยต่าง ๆ สำ� หรับผู้ทีส่ นใจท�ำงานในภาคเอกชนสามารถสมัครงาน ตามโรงพยาบาลเอกชนห้องปฏบิ ัติ การ ศนู ยแ์ ลบ็ ตา่ ง ๆ บรษิ ทั จ�ำหนา่ ยผลติ ภณั ฑแ์ ละเครอ่ื งมอื ทางการแพทย์ ตลอดจนโรงงานอตุ สาหกรรม นกั เทคนคิ การแพทย์ ยงั เป็นทตี่ อ้ งการในตลาดแรงงานเนื่องจากยงั ขาดแคลนบคุ ลากรด้านนี้ โดยเฉพาะในระดบั ภมู ิภาคท่ไี กล ความเจริญ ปัจจุบัน ทบวงมหาวิทยาลัยได้จัดให้สาขาเทคนิคการแพทย์ เป็นสาขาวิชาชีพขาดแคลน ซ่ึงสถาบันต่าง ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชนต้องเพิ่มจ�ำนวนการผลิตนักเทคนิคการแพทย์ และผู้ประกอบวิชาชีพน้ี จะได้รับเงินเพ่ิมพิเศษ นอกเหนือจากเงนิ เดือน

ท20่ีต0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน คณุ สมบัตขิ องผปู้ ระกอบอาชพี Department of Employment 1. ส�ำเรจ็ การศึกษาระดับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาเทคนิคการแพทย์ 2. เปน็ ผ้ใู ฝร่ ู้ ตดิ ตามการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีทีพ่ ฒั นาไปอย่างรวดเรว็ 3. ฝึกฝนตนให้มีความชำ� นาญในการตรวจวนิ ิจฉัยทต่ี วั ผตู้ รวจเองต้องมีความรใู้ นการตดั สนิ ใจ 4. รู้จักเลือกใชเ้ ทคโนโลยีทีท่ นั สมัยและมีความสามารถในการพัฒนาเทคโนโลยที ีจ่ ะน�ำมาใช้ ใหเ้ หมาะสม 5. เป็นผูท้ ่มี คี วามรับผิดชอบในการออกรายงานผลการตรวจ 6. เป็นผู้มมี นษุ ยสัมพนั ธด์ ี ท้งั กับผ้ทู ีม่ ารับการตรวจและผูร้ ่วมงานทงั้ ภายในและภายนอก 7. มีความสามารถในการแกป้ ัญหาในการปฏบิ ัติงานในทกุ กรณดี ว้ ยการใช้ปัญญา 8. มีคุณธรรมและจรยิ ธรรมมจี รรยาบรรณแห่งวชิ าชีพ 9. มคี วามสขุ มุ รอบคอบ อดทน ชอบชว่ ยเหลอื เสยี สละ 10. ทำ� งานมรี ะเบยี บแบบแผนและสามารถพัฒนาความรใู้ นการทำ� งานใหม้ ีความทันสมัยอยเู่ สมอ 11. ไม่มีความพิการหรือโรคท่เี ปน็ อุปสรรคตอ่ การศึกษาและการประกอบวิชาชพี เช่น ตาบอดสี เป็นตน้ 12. มีพ้ืนฐานความรทู้ างวิทยาศาสตร์ในดา้ นเคมี ฟสิ กิ ส์ ชีววทิ ยา รวมทง้ั คณิตศาสตรแ์ ละภาษาองั กฤษเปน็ อย่างดี 13. มีบุคลิกดี มีความเช่ือม่ันในตนเอง สามารถปรับตัวในการท�ำงานและการให้ความร่วมมือกับบุคลากร ทางการแพทยท์ กุ ระดับ สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบันการศึกษา - คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลยั รังสติ มหาวทิ ยาลัยหวั เฉยี วเฉลมิ พระเกยี รติ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล คณะเทคนคิ การแพทย์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ และมหาวิทยาลยั 26 เวสเทิร์น - คณะสหเวชศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั พะเยา มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร มหาวิทยาลยั บูรพา สำ� นักวิชาสหเวชศาสตรแ์ ละสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั วลยั ลกั ษณ์ โอกาสความก้าวหนา้ ในอาชีพ นักเทคนิคการแพทย์ สามารถได้รับการเลื่อนข้ันและเลื่อนต�ำแหน่งได้ตามผลงาน ประสบการณ์และ อายุงานท่ีปฏิบัติ โดยต�ำแหน่งสูงสุดสามารถข้ึนได้ถึงระดับบริหารในหน่วยงานน้ัน นักเทคนิคการแพทย์สามารถ หารายได้พิเศษ โดยปฏิบัติงานในห้องทดลองในศูนย์แล็บต่าง ๆ และสามารถศึกษาต่อระดับปริญญาโทและ ปริญญาเอก ทั้งในและตา่ งประเทศได้หลายสาขา เชน่ สาขาเทคนิคการแพทย์ พยาธิวทิ ยาคลนิ กิ จุลชวี วทิ ยา ชีวเคมี พยาธิชีววิทยา สรีรวิทยา พิษวิทยา นิติวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพ อายุรศาสตร์เขตร้อน วิทยาศาสตร์ ส่ิงแวดล้อม เปน็ ต้น หรอื อาจจะเปล่ียนไปเรียนสาขาอื่น เชน่ ปริญญาโททางธุรกิจ หรือเข้าศึกษาแพทย์ เมือ่ ส�ำเร็จ การศกึ ษาสามารถประกอบอาชพี เปน็ อาจารยส์ อนในสถาบนั ท่ีเปิดสอนหลักสตู รเทคโนโลยีการแพทย์ได้ อาชีพที่เกี่ยวเนอ่ื ง นักเทคโนโลยเี กยี่ วกับเนอ้ื นักวเิ คราะห์เมล็ดพืช นักผสมเทียม แหล่งขอ้ มูลอื่น ๆ - สมาคมเทคนคิ การแพทย์

ทต่ี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาีพรกรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment นักรงั สีเทคนิค Radiological Technologist นยิ ามอาชีพ ให้บริการทางรังสีเทคนิคในการตรวจ วเิ คราะหแ์ ละรกั ษาดว้ ยเครอ่ื งมอื ทางรงั สี รวมทงั้ การป้องกันอันตรายจากรังสีแก่ผู้ป่วย ซึ่งปฏิบัติ งานเก่ียวกับรังสีวินิจฉัย รังสีรักษา เวชศาสตร์ นิวเคลยี ร์ และทางฟิสิกส์การแพทย์ โดยกรรมวธิ ี พิเศษ รับผิดชอบในการถ่ายภาพส่วนต่าง ๆ ของร่างกายผู้ป่วยด้วยรังสีประเภทต่าง ๆ ตาม ค�ำสั่งแพทย์ ใช้อุปกรณ์ถ่ายภาพ เช่น เครอ่ื งเอกซเรย์ เคร่อื งฉายรังสี เครอ่ื งนบั วัดรังสี เคร่ืองอัลตราซาวนด์ เครื่องเอกซเรย์ระบบคอมพิวเตอร์ เคร่ืองตรวจด้วยสนามแม่เหล็กแรงสูง เคร่ืองเร่งอานุภาพ จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในต�ำแหน่งที่เหมาะสมกับเครื่องมือหรืออุปกรณ์ในการฉายรังสี บันทึกผลจากภาพถ่ายรังสี บันทึกจากการฉายรังสีเพ่ือน�ำให้รังสีแพทย์ท�ำการรายงานผลเสนอแพทย์ผู้ท�ำการรักษา จัดเตรียมฟิล์มเอกซเรย์ และน�้ำยาล้างฟิล์ม รวมท้ังดูแลตรวจสอบคุณภาพของภาพรังสี การประกันคุณภาพและการบ�ำรุงรักษาเครื่องมือ 27 และอุปกรณ์ทใี่ ช้ในทางรังสเี ทคนิคให้อยใู่ นสภาพที่ใชง้ านได้ดแี ละปลอดภยั ลกั ษณะของงานที่ทำ� การตรวจทางรังสีทว่ั ไป โดยใช้เครอื่ งฉายเอกซเรย์ เปน็ งานทีเ่ กยี่ วกบั การใช้กรรมวธิ ตี ่าง ๆ ในการถ่ายและ บนั ทึกภาพส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกายผูป้ ่วย รวมทั้งการจดั ท่าผู้ป่วย และการควบคมุ เครื่องเอกซเรย์ ในการให้ปรมิ าณ รงั สเี อกซเรยท์ พ่ี อเหมาะ เพ่ือให้ไดภ้ าพเอกซเรย์ที่มีคณุ ภาพ รวมตลอดไปถึงการจัดเตรยี มฟลิ ม์ เอกซเรย์ และน้�ำยา ล้าง รวมทั้งเก็บภาพ ข้อมูล และสามารถเรียกข้อมูลกลับมาดูได้ใหม่ ควบคุมการใช้งาน เก็บรักษาเครื่องมือ วสั ดอุ ปุ กรณ์ เช่น แผน่ ฟิล์ม นำ�้ ยาล้าง ให้มีประสิทธิภาพดี และพรอ้ มใช้อยูเ่ สมอ การตรวจทางรังสวี ทิ ยาดว้ ยวธิ พี ิเศษดังต่อไปน้ี 1. การตรวจอวยั วะภายในชอ่ งท้อง ดว้ ยภาพโดยอาศยั รงั สีเอกซเรย์ 2. ตรวจการท�ำงานของไต สมอง และระบบหมุนเวียนของโลหติ โดยการฉดี สี เพอ่ื ดูระบบการทำ� งาน ของอวยั วะภายใน 3. การตรวจระบบหลอดเลอื ดดว้ ยเครอ่ื งเอกซเรยร์ ะบบดจิ ติ อล ซงึ่ ใชเ้ ทคโนโลยขี องเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ แปรสญั ญาณมาเปน็ ภาพเอกซเรย์ 4. การตรวจอวัยวะภายในด้วยเคร่ืองเสียงความถ่ีสูง หรืออัลตราซาวด์แทนการใช้รังสีเอกซเรย์ ซ่งึ จะไม่เปน็ อันตรายสำ� หรบั สตรีมีครรภ์ หรอื ผ้ปู ว่ ยทแ่ี พร้ งั สเี อกซเรย์

กรมการ ัจดหางาน 2ท0ตี่ 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตีพ้องการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 5. การตรวจเอกซเรย์เตา้ นม 6. งานป้องกันอันตรายจากรังสี และให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำแก่บุคลากรทางการแพทย์ ผู้ป่วย รวมทั้ง ประเภทเอกซเรย์ ตลอดจนควบคุมดูแลการจัดซ้ือและจัดเตรียมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากรังสีให้เหมาะสม กับการใช้งาน และตรวจสอบวัดปริมาณรังสีของบุคลากรทางรังสี ซึ่งจะต้องได้รับการตรวจสอบรังสีจาก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สภาพการจา้ งงาน สำ� หรบั ผทู้ สี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษา ระดับปริญญาตรี อัตราเงินเดือน จะเปน็ ไปตามวฒุ กิ ารศกึ ษา สำ� หรบั ผู้ปฏิบัติงานรับราชการ อาจได้รับ เงินค่าล่วงเวลาหรือเบี้ยเวรส�ำหรับ การปฏบิ ตั งิ าน และสามารถใชเ้ วลา นอกราชการ วันหยุดเสาร์-อาทิตย์ ท�ำงานในโรงพยาบาลเอกชน หรือ คลนิ กิ ต่าง ๆ ได้ นักรังสีเทคนิค ในสถาน ประกอบการเอกชน ถ้าเป็น โรงพยาบาล ปัจจบุ ันจะไม่คอ่ ยมีคา่ ล่วงเวลา เน่อื งจากสภาพเศรษฐกิจและการจัดระบบบรหิ ารงาน 28 สภาพการทำ� งาน ผู้ปฏิบัติงานนักรังสีเทคนิค ท�ำงานร่วมกับรังสีแพทย์ พยาบาล และนักฟิสิกส์การแพทย์ ซ่ึงมีหน้าท่ีตรวจ Special X-Ray และอา่ นผลวนิ จิ ฉยั การตรวจ จดั หาอปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายจากรงั สี เชน่ เสอื้ ตะกวั่ (Lead Appron) ถุงมอื ตะกั่ว และเครือ่ งปอ้ งกันรงั สีสว่ นบคุ คล โอกาสในการมีงานทำ� เปน็ ทจี่ องตวั ของทั้งโรงพยาบาลภาครฐั และเอกชน และเมอ่ื สอบใบประกอบโรคศิลปะ จากคณะกรรมการ วิชาชีพสาขารังสีเทคนิคผ่านแล้ว จะมีค่าตอบแทนในส่วนของใบประกอบโรคศิลปะน้ีอีกด้วย เป็นตัวแทนขาย เครื่องมือแพทย์ เครื่องมอื รงั สีท่มี ีราคาแพงไดอ้ กี ดว้ ย คณุ สมบัติของผู้ประกอบอาชีพ 1. ส�ำเร็จการศกึ ษาอย่างน้อยอนุปริญญา สาขารังสีเทคนคิ จนถึงปรญิ ญาตรี คณะวิทยาศาสตร์ สาขารังสี การแพทย์ 2. มสี ขุ ภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ไมม่ โี รคตดิ ต่อเรอื้ รัง 3. มคี วามรู้ ความเชี่ยวชาญ และสามารถปฏบิ ัตงิ านได้อยา่ งถกู ตอ้ ง 4. มคี ุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวชิ าชีพ

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบันการศกึ ษา กรมการ ัจดหางาน Department of Employment - คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล เลขท่ี 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท์ 0-2441-4371-5 ตอ่ 2202 โทรสาร 0-2441-4380 อีเมล [email protected] เว็บไซต์ www.mt.mahidol.ac.th - คณะวทิ ยาศาสตร์ สาขารังสีการแพทย์ มหาวิทยาลยั รามค�ำแหง แขวงหวั หมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศพั ท์/โทรสาร 0-2310-8426 อีเมล [email protected] เวบ็ ไซต์ www.rt.sci.ru.ac.th/ - คณะเทคนิคการแพทย์ สาขาวิชารังสีเทคนิค มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ 110 ถนนอนิ ทวโรรส ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดเชยี งใหม่ 50200 โทรศัพท์ 0-5393-5072 โทรสาร 0-5393-6042 เว็บไซต์ www.ams.cmu. ac.th/web/ - คณะเทคนคิ การแพทย์ สาขาวิชารงั สีเทคนคิ มหาวิทยาลัยนเรศวร 99 หมู่ 9 ถนนพษิ ณโุ ลก-นครสวรรค์ ต�ำบลทา่ โพธ์ิ อำ� เภอเมอื งพษิ ณโุ ลก จังหวัดพิษณโุ ลก 65000 เวบ็ ไซต์ www.ahs.nu.ac.th โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี นอกจากเปน็ นกั รงั สเี ทคนคิ แลว้ ยงั สามารถศกึ ษาตอ่ ในหลากหลายสาขาทเี่ กย่ี วขอ้ ง แลว้ ปรบั ระดบั การทำ� งาน เปน็ นกั วชิ าการ นักวจิ ยั ทำ� งานในมหาวิทยาลยั และสถาบันการวิจยั ต่าง ๆ ทัง้ ในและต่างประเทศ เปน็ ตวั แทนขาย ตลอดจนเปน็ นักเทคโนโลยีสารสนเทศทางการแพทย์ อาชพี ทีเ่ ก่ยี วเนือ่ ง 29 อาจารย์พิเศษ พนกั งานขายเครอ่ื งมือแพทย์ (Retailor) นกั ฟิสิกส์ นักรังสเี ฉพาะทาง แหลง่ ขอ้ มลู อ่นื ๆ - สภาเทคนคิ การแพทย์ เวบ็ ไซต์ www.mtc.or.th - เวบ็ ไซต์คณะเทคนิคการแพทยข์ องมหาวทิ ยาลัยตา่ ง ๆ

กรมการ ัจดหางาน ท20ต่ี 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตพี อ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 นกั โสตสัมผัสวิทยา Audiologist นยิ ามอาชพี ผู้มีหน้าท่ีทดสอบการได้ยิน และหาสาเหตุของ ความผิดปกติในการฟัง รับผิดชอบการบริหารจัดการ และการบ�ำบัดการสูญเสีย การได้ยินและความผิดปกติ ในการสือ่ สารอ่ืน ๆ โดยไม่ใช้ยา ลกั ษณะของงานทท่ี �ำ นกั โสตสัมผสั วิทยา เปน็ อาชีพทเ่ี ช่ยี วชาญในการวิจยั , วนิ ิจฉัยและรักษาปญั หาทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั หู โดยเฉพาะ ปัญหาหูและ vestibular ระบบ vestibular ขอบขา่ ยงานวิชาชพี แบ่งเป็น 2 ดา้ น คอื 1. งานด้านโสตสัมผัสวิทยา มีนักแก้ไขการได้ยิน (Audiologist) ปฏิบัติงานเก่ียวกับการตรวจวินิจฉัย หาพยาธิสภาพของระบบการได้ยินท่ีเกิดข้ึนต้ังแต่หูช้ันนอก หูช้ันกลาง หูชั้นใน ก้านสมอง และสมองส่วนท่ี เก่ียวข้องกับการได้ยินด้วยวิธีปกติและวิธีพิเศษ ตลอดจนตรวจวินิจฉัยหาพยาธิสภาพของระบบที่เก่ียวข้องกับ 30 การทรงตัว ตรวจเพื่อค้นหาความผิดปกติทางการได้ยินในทารกแรกเกิด โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงเพื่อติดตามผลและ วางแผนการฟื้นฟูสมรรถภาพการได้ยิน โดยการประเมินผล เพื่อเลือกและใส่เคร่ืองช่วยฟังให้เหมาะสมกับระดับ การสูญเสียการไดย้ ินของผ้ปู ว่ ย 2. งานด้านแก้ไขการพูด มีนักแก้ไขการพูด (Speech & Language Pathologist) ปฏิบัติงานเกี่ยวกับ การวินิจฉัยความผิดปกติทางภาษาและการพูด การคัดกรองหาข้อบ่งชี้ ประเมินสภาพความผิดปกติ ทดสอบ ความสามารถทางภาษาและการพูดรวมถึงการกลืน แยกประเภทความผิดปกติต่าง ๆ บ�ำบัดรักษา แก้ไข และ ฟื้นฟูสมรรถภาพครอบคลุมได้ทุกประเภทของความผิดปกติ เช่น พูดไม่ได้ พูดไม่ชัด เสียงผิดปกติ ปากแหว่ง เพดานโหว่ ประสาทหูพกิ าร สตปิ ญั ญาออ่ น กลนื ลำ� บาก กลืนผดิ วธิ ี ผปู้ ่วยท่ผี ่าตัดกล่องเสยี ง เปน็ ตน้ สภาพการจา้ งงาน สำ� หรบั ผู้ท่สี �ำเร็จการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี อัตราเงนิ เดือนจะเปน็ ไปตามวุฒกิ ารศึกษา สำ� หรบั ผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน รับราชการ อาจได้รับเงินค่าล่วงเวลาหรือเบ้ียเวรส�ำหรับการปฏิบัติงาน และสามารถใช้เวลานอกราชการ วันหยุด เสาร์-อาทติ ย์ ทำ� งานในโรงพยาบาลเอกชน หรอื คลนิ ิกต่าง ๆ ได้ สภาพการทำ� งาน เมื่อส�ำเร็จการศึกษา สามารถน�ำความรู้ไปประกอบอาชีพเป็นนักแก้ไขการพูดและนักแก้ไขการได้ยิน โดยปฏบิ ตั งิ าน

ท่ตี ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 ในโรงพยาบาลท้ังภาครัฐและเอกชน โดย กรมการ ัจดหางาน บัณฑิตท่ีส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตรน้ีมีสิทธ์ิ Department of Employment ข อ ส อ บ ขึ้ น ท ะ เ บี ย น รั บ ใ บ ป ร ะ ก อ บ โรคศิลปะเป็นวิชาชีพอิสระ ได้ท่ีกองการ ประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนงาน บรกิ ารกระทรวงสาธารณสุข ในด้านความก้าวหน้าของวิชาชีพ สามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา ความผดิ ปกตขิ องการสอ่ื ความหมาย เปน็ อาจารย์ นกั วชิ าการ และนกั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ สาขาการสอื่ ความ หมาย หรือศกึ ษาต่อตา่ งประเทศในระดบั สูง โอกาสในการมงี านทำ� จ�ำนวนนักแก้ไขการได้ยินและนักแก้ไขการพูดท่ัวประเทศยังมีไม่เพียงพอต่อการให้บริการแก่ประชาชน ทว่ั ประเทศ เนอ่ื งจากสถาบันมกี ำ� ลังผลิตทีจ่ ำ� กดั ไม่มตี �ำแหนง่ รองรบั บคุ ลากรทช่ี ัดเจน รวมท้ังมกี ารใช้บุคลากรอืน่ มาปฏิบัติหน้าท่ีแทน ท�ำให้การบริการไม่ได้มาตรฐาน ขาดคุณภาพ บุคลากรในวิชาชีพจึงมีความเห็นพ้องกันว่า ควรด�ำเนินการจัดตั้งเป็นสมาคมวิชาชีพฯ เพื่อผลักดันในเร่ืองการก�ำหนดต�ำแหน่งให้ถูกต้องเหมาะสมกับลักษณะ งานทป่ี ฏบิ ัติและด�ำเนินการเพื่อให้วชิ าชีพมีการขึ้นทะเบียนประกอบโรคศิลปะ คุณสมบัตขิ องผ้ปู ระกอบอาชพี 31 1. ส�ำเร็จการศึกษาจากคณะแพทยศาสตร์ หรือสาขาวิชาท่เี ก่ยี วข้อง 2. มีสขุ ภาพสมบรู ณ์ แขง็ แรง ไมม่ โี รคตดิ ตอ่ เรอื้ รงั 3. มคี วามรู้ ความเชย่ี วชาญ และสามารถปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างถูกต้อง 4. มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชพี สถานฝกึ อบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา - เป็นหลักสูตรที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยที่มีการเรียนการสอนเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยที่ภาค วิชาโสต นาสกิ ลารงิ ซว์ ิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหดิ ล - สาขาความผิดปกติของการส่ือความหมาย ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติ ของการสื่อความหมาย คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล อาคาร 4 ชั้น 4 เลขท่ี 270 ถนนพระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2201-2208, 0-2201-2425 โทรสาร 0-2201-2208 อีเมล [email protected] โดยเปิดการเรยี นการสอนเป็น 2 ระดับ คอื - ระดับปริญญาตรี (วท.บ) ความผิดปกติของการสื่อความหมาย วิชาเอกตรวจการได้ยิน และวิชาเอก แกไ้ ขการพูด - ระดับปริญญาโท (วท.ม) ความผิดปกติของการส่ือความหมาย วิชาเอกตรวจการได้ยิน และวิชาเอก แก้ไขการพูด

2ท0ี่ต0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตีพอ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน ทั้ง 2 ระดับการศึกษาจะต้องท�ำการศึกษาหลักสูตรท่ีเป็นทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยภาคปฏิบัติ Department of Employment จะต้องผ่านการฝึกปฏิบัติงานในคลินิกอย่างน้อย 350 ชั่วโมง ในการประเมิน คัดกรอง วินิจฉัย และวางแผน ฟ้ืนฟูคนไขท้ มี่ ีความผดิ ปกตทิ างด้านการได้ยนิ และการพดู เมื่อจบการศึกษานักศึกษาจะต้องสอบใบประกอบโรคศิลปะ และมีเลขวิชาชีพเพื่อประกอบอาชีพทาง ด้านแก้ไขการได้ยินหรือแก้ไขการพูด จากกองประกอบโรคศิลปะ กระทรวงสาธารณสุข จึงถือว่าเป็นผู้ท่ีสามารถ ประกอบอาชพี ได้อยา่ งถกู กฎหมายแหง่ วชิ าชพี ตามพระราชบัญญตั ิ โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ สามารถนำ� ความรไู้ ปประกอบอาชพี เปน็ นกั แกไ้ ขการพดู และนกั แกไ้ ขการไดย้ นิ โดยปฏบิ ตั งิ านในโรงพยาบาล ทงั้ ภาครฐั และเอกชน โดยบณั ฑติ ทสี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษาหลกั สตู รนมี้ สี ทิ ธข์ิ อสอบขนึ้ ทะเบยี นรบั ใบประกอบโรคศลิ ปะเปน็ วชิ าชพี อิสระ ไดท้ ่กี องการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนนุ งานบรกิ ารกระทรวงสาธารณสุข อาชพี ทเ่ี ก่ียวเนอื่ ง สามารถศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาโท หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาความผดิ ปกตขิ องการสอ่ื ความ หมาย เปน็ อาจารย์ นกั วชิ าการ และนกั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ สาขาการสอื่ ความหมาย หรอื ศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศ ในระดับสงู แหลง่ ขอ้ มูลอื่น ๆ - คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล ศนู ยบ์ รกิ ารขอ้ มลู รามาธบิ ดี (Rama Call Center) เว็บไซต์ http://med.mahidol.ac.th/ 32 - สมาคมโสตสมั ผัสวิทยาและการแกไ้ ขการพดู แหง่ ประเทศไทย เว็บไซต์ www.thaisha.org

ท่ตี ลาด20แร0งงขาอ้ นมตูล้อองากชาพี ร กรมการ ัจดหางาน ประจ�ำ ปี 2558/2015 Department of Employment ผจู้ ดั การสปา Spa Manager นยิ ามอาชีพ วางแผน ก�ำกับ ดูแลธุรกิจการบริการส่วนบุคคล ท่ีเป็นกิจการของตนเองหรือของนายจ้าง เช่น การเสริมสวย การบริการซักรีด : ควบคุมการด�ำเนินงานประจ�ำวัน การให้ บริการลูกค้า และการประสานงานด้านต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง ดแู ลควบคมุ คา่ ใชจ้ า่ ยและรบั ผิดชอบงานบุคลากร ลักษณะของงานท่ีทำ� 1. บริหารจัดการ รวมถึงจัดระบบและบริหารงาน สปาดา้ นตา่ ง ๆ ใหส้ ามารถดำ� เนนิ ธรุ กจิ ไดอ้ ยา่ งครบวงจร ตง้ั แต่ วางระบบการให้บริการ การวางแผนกิจกรรมต่าง ๆ การ ประชาสัมพนั ธ์ การพัฒนาอบรมบุคลากร พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ และวางแผนการตลาด 2. วางแผนการโฆษณาประชาสมั พันธใ์ ห้กบั สปา 3. ศึกษาคุณสมบัติของแต่ละผลติ ภัณฑท์ ่จี ะน�ำมาใช้ โดยให้สอดคล้องกับรูปแบบสปา 33 4. พจิ ารณาคดั เลอื กสง่ั พนกั งานเขา้ รบั การฝกึ อบรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การปฏบิ ตั งิ านในแตล่ ะดา้ น เพอื่ เพมิ่ พนู ทกั ษะ และประสทิ ธิภาพในการทำ� งานของพนักงาน 5. กำ� หนดและควบคมุ มาตรฐานการทำ� งาน และการใหบ้ รกิ ารของพนกั งานใหอ้ ยใู่ นระดบั เปน็ ทย่ี อมรบั ของ ผู้ใชบ้ ริการตลอดเวลา 6. ควบคุมบญั ชรี ายรบั รายจ่าย และจัดทำ� สรุปค่าใชจ้ ่ายทงั้ หมดของสปาแตล่ ะเดอื น สภาพการจ้างงาน ผูจ้ ัดการสปา ควรส�ำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี คณะบรหิ ารธุรกจิ สาขาการจัดการทัว่ ไป หรือสาขาอ่ืน ที่เก่ยี วข้อง อาจทำ� งานประจ�ำตามสถานบริการสปา หรือตามโรงแรมต่าง ๆ ซงึ่ อัตราคา่ ตอบแทนการจ้างในแต่ละ แห่งจะแตกต่างกันไปตามแต่ละสถานประกอบการ ผู้ประกอบอาชีพนี้จะได้รับเงินเดือนตามวุฒิการศึกษา และ ขนาดของสถานประกอบการ โดยจะได้รับเงินเดือนที่ระดับเริ่มต้นการท�ำงาน ประมาณ 10,000 บาท ข้ึนไป สวัสดิการต่าง ๆ ค่ารักษาพยาบาล และโบนัสเป็นไปตามเง่ือนไขข้อตกลงกับผู้ว่าจ้าง ท�ำงานวันละ 8 - 9 ชั่วโมง อาจท�ำงานล่วงเวลา ในกรณีที่ยังมีลูกค้าวันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุดตามความจ�ำเป็นเร่งด่วน วางแผน ก�ำกับ ดูแลธรุ กจิ การบริการด้านสปาที่เป็นกิจการของตนเอง หรือของนายจา้ ง ควบคมุ การวางแผนการตลาด การด�ำเนนิ งาน ประจ�ำวัน การให้บริการลูกค้า และการประสานงานด้านต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง ดูแลควบคุมค่าใช้จ่าย และ รับผดิ ชอบงานบคุ ลากร

ท20ตี่ 0ลาดขอ้แรมงลู งอานาชตพี อ้ งการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สภาพการทำ� งาน Department of Employment ปฏิบัติงานในสถานประกอบการหรือสถานท่ีท�ำงาน ที่สามารถมองเห็นการปฏิบัติงานของพนักงานได้ ผู้จดั การสปาอาจจะต้องตรวจดูการปฏบิ ัตงิ านของพนักงานและอุปกรณเ์ คร่อื งมือเครอื่ งใชต้ ่าง ๆ ส�ำหรบั การปฏบิ ัติ งานของพนกั งาน รวมถงึ การคดิ หาวธิ กี ารแกไ้ ข ปรบั ปรงุ หรอื เปลย่ี นแปลงรปู แบบ หรอื วธิ กี ารทำ� งานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ สูงสดุ ขณะเดยี วกันสามารถลดต้นทุนให้ตำ�่ ลง และบางคร้งั อาจจะต้องพบปะลกู ค้าหรือประสานงานกับหน่วยอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้อง โอกาสในการมงี านท�ำ สถานบรกิ ารสปาไดเ้ พม่ิ จำ� นวนมากขนึ้ ในชว่ ง 2-3 ปที ผี่ า่ นมา สว่ นหนงึ่ เปน็ ผลมาจากนโยบายของรฐั ทต่ี อ้ งการ พัฒนาเมืองไทยให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวครบวงจร เพื่อจูงใจให้นักท่องเที่ยวต่างชาติใช้เวลาเที่ยวเมืองไทยให้มีระยะ เวลานานทสี่ ดุ และกระแสการหนั มาใสใ่ จสขุ ภาพมมี ากขนึ้ ทผ่ี า่ นมากจิ การสปาของไทยมจี ดุ แขง็ และมคี วามโดดเดน่ ทง้ั บคุ ลากรทมี่ อี ธั ยาศยั ไมตรดี ี มผี ลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพรทไ่ี ดม้ าตรฐานเทยี บไดก้ บั ตา่ งประเทศ ซง่ึ ไดส้ รา้ งความประทบั ใจ แก่นักท่องเท่ียวต่างชาติได้เป็นอย่างดี และจากการพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเท่ียวไทย โดยให้ประเทศไทยเป็น ศนู ยก์ ลางการทอ่ งเทยี่ วแหง่ เอเชยี ภายในปี 2551 จะมสี ว่ นสำ� คญั ทจี่ ะทำ� ใหอ้ ตุ สาหกรรมสปาจะยงั คงมคี วามตอ้ งการ ผู้ประกอบอาชีพผู้จัดการสปาท้ังในเชิงปริมาณและเชงิ คณุ ภาพเพ่อื การบรหิ ารจัดการ คณุ สมบัติของผู้ประกอบอาชพี 1. ส�ำเร็จการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขาการจดั การท่ัวไป สาขาการบริหารงานบุคคล หรอื สาขาอ่นื ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง 2. มีความรดู้ า้ นการบรหิ ารและการจัดการ 34 3. มีมนุษยสัมพนั ธ์ดี สามารถประสานงานได้กบั พนกั งานทกุ ระดับ 4. เป็นผทู้ ี่มีความอดทน ซ่อื สตั ย์ 5. รักงานบรกิ าร 6. มีปฏิภาณไหวพริบดี สามารถแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้าได้ 7. ติดตามขา่ วสารความเคลอื่ นไหวใหม่ ๆ เก่ียวกบั ตลาดบรกิ ารสปา และภาวะอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว สถานฝึกอบรมอาชีพ / สถาบนั การศึกษา คณะบรหิ ารธรุ กจิ สาขาการจดั การทวั่ ไป หรอื สาขาการบรหิ ารงานบคุ คล สถาบนั การศกึ ษาทส่ี งั กดั สำ� นกั งาน คณะกรรมการการอดุ มศึกษา อาทิ - คณะบรหิ ารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลัยรังสติ ชั้น 2 อาคารประสทิ ธิรตั น์ 52/347 ถนนพหลโยธนิ ต�ำบลหลักหก อ�ำเภอเมือง จงั หวัดปทมุ ธานี 12000 โทรศัพท์ 0-2997-2200 ต่อ 1005, 1045 เวบ็ ไซต์ www.bbarsu.com/ - คณะบริหารธุรกจิ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถนนพหลโยธนิ แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0-2942-8777 โทรสาร 0-2942-8778 เวบ็ ไซต์ http://bus.ku.ac.th/ - มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตพัฒนาการ 1761 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรงุ เทพฯ 10250 โทรศพั ท์ 0-2320-2777 โทรศพั ท์ 0-2321-4444 เวบ็ ไซต์ http://admin.kbu.ac.th/home.php - มหาวิทยาลยั เกษมบัณฑิต วิทยาเขตร่มเกลา้ 60 ถนนร่มเกล้า แขวงมนี บรุ ี เขตมนี บุรี กรุงเทพฯ 10510 โทรศัพท์ 0-2904-2222 โทรสาร 0-2904-2200 เวบ็ ไซต์ http://admin.kbu.ac.th/home.php

ท่ีตลาด20แร0งงขาอ้ นมตลู อ้ องากชาพี ร ประจ�ำ ปี 2558/2015 - คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาคาร กรมการ ัจดหางาน ไชยยศสมบัติ 2 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ กรุงเทพฯ 10330 เว็บไซต์ www.chula.ac.th/chula/th/main.html Department of Employment โทรศพั ท์ 0-2215-0871-3 - คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 123 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น 40002 โทรศพั ท์ 0-4320-2401 โทรศัพท์ 0-4320-2402 อเี มล [email protected] เวบ็ ไซต์ https:// ms.kku.ac.th/Page มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อาทิ - คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา เลขท่ี 96 ถนนปรีดพี นมยงค์ ตำ� บล ประตูชัย อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรอี ยุธยา 13000 โทรศัพท์ 0-3527-6555-9, 0-3532-2085 โทรสาร 0-3532-2085 อีเมล [email protected] เวบ็ ไซต์ http:// management.aru.ac.th/mnge/ - มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม เว็บไซต์ www.npru.ac.th โทรศพั ท์ 0-3426-1021 - มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล เว็บไซต์ www.rmut.ac.th โทรศัพท์ 0-2549-4990-2 โอกาสความก้าวหน้าในอาชพี เมื่อมีประสบการณ์มากขึ้นอาจเล่ือนต�ำแหน่งข้ึนสู่ระดับรองผู้จัดการทั่วไป ผู้จัดการท่ัวไป หรือหากมีเงิน ลงทนุ สามารถประกอบเป็นกจิ การส่วนตวั ได้ 35 อาชีพทเี่ กย่ี วเนอื่ ง ผู้จัดการ หรือท่ีปรึกษาสถานประกอบกิจการรีสอร์ท โรงแรม ร้านอาหาร เจ้าของกิจการบริการด้านการ ทอ่ งเที่ยวครบวงจร ผบู้ ริหารสถานประกอบทใ่ี หบ้ รกิ ารทีพ่ กั พนักงานบริษทั สายการบิน ประชาสัมพนั ธ์ มคั คเุ ทศก์ อาจารย์พิเศษ หรอื วิทยากร เจา้ ของสถานประกอบกิจการภัตตาคาร หรอื ร้านขายของที่ระลกึ แหล่งข้อมูลอนื่ ๆ - สมาคมผู้ประกอบการสปาไทย เว็บไซต์ www.thaispaoperators.com โทรศัพท์ 0-2714-9620-2 - สมาคมสปาไทย เว็บไซต์ www.thaispaassociation.com โทรศัพท์ 0-2653-0644 - สมาคมโรงแรมไทย เวบ็ ไซต์ www.thaihotels.org โทรศพั ท์ 0-2281-9496 - สถาบันพฒั นาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม www.ismed.or.th โทรศพั ท์ 0-2564-4000 - สมาคมการจดั การธรุ กจิ แห่งประเทศไทย เวบ็ ไซต์ www.tma.or.th/ โทรศัพท์ 0-2319-7675-8 - Thai Heritage Spa Co., Ltd. เว็บไซต์ www.sarah-org.com/thaispa/introduction.html โทรศพั ท์ 0-2354-5985

กรมการ ัจดหางาน ท20ตี่ 0ลาดข้อแรมงูลงอานาชตีพอ้ งการ Department of Employment ประจ�ำ ปี 2558/2015 ผู้ตรวจวัดสายตา; ผ้เู ชีย่ วชาญการตรวจวดั สายตา Optometrist นยิ ามอาชพี ตรวจสายตาและสั่งให้ท�ำแว่นตา หรือให้การรักษาตา ด้วยวิธีที่ไม่เกี่ยวกับการให้ยาหรือการผ่าตัด; ตรวจสายตา ใหท้ ราบขอ้ บกพร่องโดยใชเ้ ครอื่ งมอื และวธิ กี ารทดสอบต่าง ๆ; แจ้งให้แพทย์ทราบถึงโรคในตาของคนไข้; ส่ังขนาดของเลนส์ ส�ำหรับประกอบแว่นตา หรือให้ค�ำแนะน�ำในการฝึกสายตา ตามความจ�ำเป็นเพ่ือรักษาสายตาให้ดีข้ึน; ทดสอบเลนส์ท่ีจัด เตรียมไว้เพื่อให้ตรงตามใบส่ัง อาจมีความช�ำนาญ ในเร่ืองการวัดสายตาทางใดทางหนึ่ง เชน่ การสงั่ และประกอบ เลนส์สัมผัส และแว่นดูไกล หรือการตรวจและแก้สายตา ทไ่ี ม่ถกู ลกั ษณะของคนงานในโรงงานอุตสาหกรรมใหด้ ขี น้ึ 36 ลกั ษณะของงานทท่ี ำ� 1. วนิ ิจฉัยปัญหาของสายตาและโรคตา 2. การทดสอบการมองเห็นของผู้ป่วย เช่น ความลึก สี การรับรู้และความสามารถที่จะมุ่งเน้นและ ประสานงานตา 3. เขยี นใบส่ังแวน่ ตาและคอนแทคเลนส์ 4. ใหค้ วามชว่ ยเหลือและคำ� แนะน�ำส�ำหรบั ผปู้ ว่ ยท่ีเลอื กกรอบและเลนส์ 5. ใหก้ ารรกั ษาดว้ ยวิสัยทศั นแ์ ละการฟน้ื ฟูสมรรถภาพวสิ ัยทัศนต์ ำ่� 6. วิเคราะห์ผลการทดสอบและพัฒนาแผนการรกั ษา 7. ประสานงานกบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทางการแพทยอ์ น่ื ๆ และบางครงั้ กร็ ว่ มกนั ดแู ลผปู้ ว่ ยทมี่ อี าการโรคตาเรอื้ รงั 8. ให้การดแู ลผูป้ ่วยทัง้ ก่อนผ่าตดั และหลงั ผ่าตัด 9. วินิจฉัยเง่ือนไขอันเนื่องมาจากโรคทางระบบเช่นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและดูผู้ป่วย เพอ่ื ปฏิบตั ิงานดา้ นสุขภาพอื่น ๆ สภาพการจ้างงาน แนวทางแรกเรยี นจบแลว้ ทำ� งาน และถา้ เกดิ เราเลอื กงานกค็ งยงั มโี อกาสในตลาดอยนู่ อ้ ยเพราะภาวะเศรษฐกจิ ไมค่ อ่ ยดี แตถ่ า้ หากไมเ่ ลอื กมากนกั กจ็ ะมงี านทเ่ี ปน็ รา้ นวดั สายตาประกอบแวน่ รองรบั อยหู่ ลากหลายท่ี โดยสว่ นของ เงินเดือนจะให้ตามวุฒิการศึกษา แต่ถ้าหากอยากจะได้งานราชการ ตรงนี้ยังไม่มีการระบุต�ำแหน่งโดยตรง เพราะ

ทตี่ ลาด20แร0งงขา้อนมตลู ้อองากชาีพร ประจ�ำ ปี 2558/2015 ทัศนมาตรศาสตร์เป็นสาขาใหม่ จึงท�ำให้หลายคนก็เลือก กรมการ ัจดหางาน ที่จะไปเรียนต่อกันมากกว่า ส่วนมหาวิทยาลัยท่ีเรียนต่อ Department of Employment ขณะน้ีก็ยังไม่มีเปิดในประเทศไทยเช่นกัน จะมีก็แต่ ตา่ งประเทศอยา่ งออสเตรเลียหรือฟิลปิ ปนิ ส์ เป็นต้น สภาพการทำ� งาน นกั ทศั นมาตรจะเนน้ การดแู ลทางดา้ นระบบสายตา ไม่เน้นการแก้ไขความผิดปกติทางกายภาพเหมือน จักษุแพทย์ที่ส่วนใหญ่อาศัยการผ่าตัด นักทัศนมาตรจะแก้ไขปัญหาคนสายตาส้ัน ตาเหล่ ตาเข หรือการมองเห็น ท่ผี ิดปกติ รวมถึงดูแลปญั หาท่เี กย่ี วขอ้ งกบั คอนแทกตเ์ ลนส์ ซ่งึ นกั ทัศนมาตร คือผเู้ ช่ียวชาญเฉพาะทางด้านสายตา ไม่เก่ยี วกับการผ่าตดั รักษาโรคที่เก่ียวขอ้ งทางกายภาพของตา นคี่ อื ความแตกตา่ ง โอกาสในการมีงานท�ำ ถือเป็นสาขาที่มีคนเรียนน้อย และแน่นอนก็จบน้อยตามไปด้วย แต่ความต้องการ “มีสูง” และการท่ี นายจรุ ินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ ได้ลงนามในหนังสืออนญุ าตใหผ้ ู้ท่ีสำ� เรจ็ การศกึ ษา ระดับปริญญาตรี ในสาขาทัศนมาตรศาสตร์ (Optometry) ท่ีสอบผ่านมาตรฐานความรู้ท้ังภาคทฤษฎีวิชาชีพ ภาคปฏบิ ัตวิ ิชาชีพ ทฤษฎกี ฎหมายและจรรยาบรรณแห่งวชิ าชพี ตามประกาศคณะกรรมการการประกอบโรคศลิ ปะ จ�ำนวน 13 ราย ให้สามารถข้ึนทะเบียนประกอบโรคศิลปะโดยอาศัยทัศนมาตรศาสตร์เป็นไปตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2546 เรื่องการอนุญาตให้บุคคลท�ำการประกอบโรคศิลปะโดยอาศัย ทัศนมาตรศาสตร์มีก�ำหนดให้ต่ออายุหนังสืออนุญาตทุก 2 ปี นับเป็นครั้งแรกในประเทศไทย และสามารถท�ำงาน ทโ่ี รงพยาบาล รา้ นแวน่ ตา อุตสาหกรรมแว่นและคลินกิ 37 คุณสมบตั ิของผปู้ ระกอบอาชพี นักทัศนมาตรวิชาชีพไม่ใช่จักษุแพทย์ ในความเป็นจริงแล้วนักทัศนมาตรวิชาชีพก็ไม่ได้ท�ำหน้าที่เฉพาะ ท่ีเกี่ยวข้องกับการประกอบแว่นสายตาเพียงอย่างเดียว แม้ว่าการประกอบแว่นสายตาจะเป็นส่วนหน่ึงที่ส�ำคัญ ในการแก้ไขปัญหาสายตา แต่โดยทั่วไปแล้วนักทัศนมาตรวิชาชีพจะฝึกบุคลากรหรือจ้างบุคลากรระดับช่างฝีมือ ในการท�ำงานด้านนี้โดยเฉพาะซ่ึงที่รู้จักกันดี นั่นคือ ช่างประกอบแว่นสายตา (Optician) ทั้งน้ีเพราะช่างประกอบ แว่นสายตาท�ำงานกับแว่นสายตาและธุรกิจการจ�ำหน่ายแว่นสายตาและอุปกรณ์ หลักการปฏิบัติงานตามปกติ ของช่างประกอบแว่นสายตาก็ไม่ได้จัดว่าเป็นการปฏิบัติงานกับมนุษย์โดยตรง อีกท้ังช่างประกอบแว่นสายตา กไ็ มจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งค�ำนงึ ถงึ สขุ ภาพดา้ นอน่ื ๆ ของผมู้ าใชบ้ รกิ ารจงึ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งมใี บประกอบโรคศลิ ปะในการปฏบิ ตั งิ าน ซ่ึงแตกต่างจากนักทัศนมาตรวิชาชีพท่ีมีการปฏิบัติงานโดยตรงกับมนุษย์และยังต้องค�ำนึงถึงความเป็นไป ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายผู้ป่วยด้วย เนื่องจากเหตุผลนี้เอง ลักษณะการปฏิบัติงานของช่างประกอบแว่นสายตา และนักทศั นมาตรวิชาชพี จงึ มีความแตกตา่ งกนั อย่างชัดเจน

ท20่ตี 0ลาดข้อแรมงลู งอานาชตพี ้องการ ประจ�ำ ปี 2558/2015 กรมการ ัจดหางาน สถานฝกึ อบรมอาชพี / สถาบนั การศกึ ษา Department of Employment - คณะทัศนมาตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธนิ 87 ถนนพหลโยธนิ อำ� เภอเมอื ง จงั หวัด ปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 0-2997-2200-30 ต่อ 4420 โทรสาร 0-2997-2200-30 ต่อ 4419 เว็บไซต์ www.ahs.nu.ac.th/od/ - คณะทัศนมาตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย รามค�ำแหง ชั้น 1 และชั้น 2 อาคารสุโขทัย มหาวทิ ยาลัยรามค�ำแหง ศูนย์บริการสุขภาพสายตา โทรศัพท์ 0-2310- 8911 ส�ำนกั งานเลขานุการ โทรศพั ท์ 0-2310- 8906-9 เวบ็ ไซต์ www.opto.ru.ac.th/ - ภาควิชาทัศนมาตรศาสตร์ คณะสห เวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 99 หมู่ 9 ต�ำบลท่าโพธ์ิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทรศพั ท์ 0-0596-6314 เวบ็ ไซต์ www.ahs.nu.ac.th/od/ โอกาสความกา้ วหนา้ ในอาชีพ หนึ่งในอาชีพท่ีก�ำลังเป็นที่ต้องการของตลาดในประเทศไทยในขณะน้ีและก�ำลังจะเป็นที่ต้องการของตลาด แรงงานเพิ่มมากขึ้นไปอีก หากไทยก้าวเข้าสู่สังคมอาเซียนภายใต้เงื่อนไข ASEAN Mutual Recognition Arrangement หรอื MRA ซงึ่ คอื ขอ้ ตกลงยอมรับร่วมคณุ สมบัตนิ ักวชิ าชีพ องค์การอนามัยโลก (WHO) ก�ำหนดว่า ประชากร 6,000 คนจะต้องมีนักทัศนมาตรอย่างน้อย 1 คน 38 ประเทศไทยมีประชากร 65 ล้านคน จึงควรมีนักทัศนมาตรไม่ต่�ำกว่า 10,000 คน แต่ปัจจุบันมีนักทัศนมาตร ที่ได้รับใบประกอบวิชาชีพไม่ถึง 100 คน รวมท้ังพระราชกฤษฎีกาที่ก�ำลังจะออกประกาศให้ร้านท่ีวัดสายตา และประกอบแว่น เลนส์สัมผัส รวมทั้งเครื่องช่วยการมองเห็นต้องมีนักทัศนมาตรประจ�ำ ท�ำให้มีความต้องการ นกั ทศั นมาตรอีกเป็นจ�ำนวนมากทั้งในภาครัฐและเอกชนแบ่งเปน็ 1. นักทศั นมาตรในระบบราชการ ได้แก่ กระทรวงสาธารณสขุ โรงพยาบาลของรัฐ 2. นกั ทัศนมาตรในโรงพยาบาล หรอื คลินิกเอกชน ทเี่ ก่ียวขอ้ งกับสายตา 3. โรงงานอุตสาหกรรมเลนสส์ ายตาและเลนส์สมั ผสั 4. อาจารย์ผ้สู อนในสถานศกึ ษาของรัฐและเอกชน 5. นกั ทศั นมาตรดา้ นแรงงานและการกีฬา อาชีพทเี่ ก่ยี วเน่ือง ผ้เู ช่ียวชาญการตรวจวดั สายตา เจ้าของคลนิ กิ สว่ นตวั นกั ทัศนมาตรวชิ าชพี แหล่งขอ้ มลู อ่นื ๆ - สมาคมนักทศั นมาตรศาสตร์ไทย เวบ็ ไซต์ http://thaioptometrists.com/ - สถาบัน The Act (สถาบันกวดวิชา ดิ แอค็ ) จงั หวดั ขอนแกน่ เวบ็ ไซต์ www.theact.net - ภาควชิ าวทิ ยาศาสตร์ ส่อื ความหมายและความผดิ ปกตขิ องการส่ือความหมาย - คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยั มหิดล โทรศัพท์ 0-2201-2425, 0-2201-2208


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook