10151 ไทยศกึ ษา Page 1 of 85 สรุป 10151 หนว่ ยท่ี 1 : พฒั นาการด้านประวตั ิศาสตรใ์ นดนิ แดนประเทศไทย ตอนที่ 1.1 ข้อพนิ จิ เบ้อื งตน้ เกี่ยวกับปัจจยั ทมี่ อี ิทธิพลต่อพฒั นาการทางประวัตศิ าสตร์ การศึกษาปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ควรจะมีความเข้าใจพ้ืนฐานเก่ียวกับขอบข่ายและ ความหมายของ “สังคม” และ “วฒั นธรรม” ดังนี้ สังคม → กลุ่มบุคคลท่ีอาศัยอยู่ในชุมชนร่วมกันเป็นเวลานาน มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันมีการกาหนดแบบแผน การดาเนนิ ชีวติ ที่ยึดถือร่วมกนั วฒั นธรรม → แบบแผนการดาเนินชีวติ ท่สี ร้างสรรค์ขึน้ ปัจจยั ทมี่ อี ทิ ธิพลต่อพฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์ ปจั จัยทมี่ ิอิทธิพลตอ่ พัฒนาการทางประะวัติศาสตร์ แบง่ เปน็ 3 กลุ่ม ได้แก่ 1. สภาพภมู ศิ าสตร์ 2. ด้านวฒั นธรรม 3. ปัจเจกบคุ คล 1. สภาพภูมิศาสตร์ ท่ีมีผลต่อพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของไทย มี 3 ประการ ดังนี้ การเป็นดินแดนที่อุดม สมบูรณ์เกือบทุกภาค เปิดกว้างต่อการต้ังถิ่นฐาน มีการผสมผสานด้านเผ่าพันธ์ุและวัฒนธรรม จนพัฒนาเป็น วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน การเปิดกว้างต่อการรับวัฒนธรรมอ่ืนจากต่างประเทศ เน่ืองจากทาเลที่ตั้งของประเทศ ไทยติดต่อกับดินแดนอ่ืน ๆ ได้สะดวกทั้งทางบก และทางทะเล รวมทั้งได้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลด้วย การเปน็ ดนิ แดนเปิด ทาใหม้ ีศกั ยภาพในการปรบั ประเทศใหท้ นั ต่อกระแสการเปลยี่ นแปลงที่หลัง่ ไหลเขา้ มา 2. วฒั นธรรม ภาพรวมของวิวัฒนาการทางวัฒนธรรม มีข้อสรปุ ดงั นี้ ลกั ษณะของววิ ฒั นาการทางวฒั นธรรม หาพ้นื ทท่ี ีเ่ หมาะสม → ต้งั ถน่ิ ฐาน → มีภาษา → ขยายชมุ ชนขนาดใหญ่ มีความเชอื่ , การนับถอื ผสี างเทวดา พธิ กี รรมตา่ ง ๆ เทคโนโลยี ใช้ในการแก้ปัญหาการดารงชีวติ หวั หนา้ ชุมชน พัฒนาเป็นเมือง → การจดั ระเบยี บการปกครอง → สรา้ งสรรค์งานศิลปะ มีการจัดระเบียบสังคม งานศิลป์ การจัดระเบียบเศรษฐกิจ วรรณคดี, นาฏศิลป์ ศาสนา พิธีกรรม เพลง, ดนตรี จิตรกรรม, ประติมากรรม สถาปัตยกรรม การละเล่นพน้ื บ้านต่าง ๆ 3. ปัจเจกบุคคล ได้แก่ ความรู้ สติปัญญา ความสามารถ ประสบการณ์ และเหตุผลส่วนตัวท่ี เก่ียวข้องพฤติกรรม และการตัดสินใจของมนุษย์ในสถานภาพต่าง ๆ กนั
10151 ไทยศกึ ษา Page 2 of 85 ตอนที่ 1.2 จากยคุ หินเขา้ สู่สมยั ประวัตศิ าสตร์ 1.2.1 ยคุ หินในดนิ แดนประเทศไทย ยคุ ต่าง ๆ ในดนิ แดนประเทศไทยแบ่งเปน็ ยคุ หินเกา่ ยุคหินกลาง ยุคหินใหม่ ยคุ หินเกา่ มอี ายุระหว่าง 500,000 หรอื 200,000 ปถี งึ 10,000 ปี มนษุ ย์ในยุคนี้รจู้ ักใช้หนิ นามากระเทาะ แบบหยาบหน้าเดียว “แบบสับตัด” มีขนาดใหญ่อาศัยอยู่ตามถ้า เพิงผา เลี้ยงชีพด้วยการล่าสัตว์ เก็บผลไม้ ตามธรรมชาติ มกี ารยา้ ยถ่ินฐานไปตามแหลง่ อาหาร ยคุ หินกลาง อายุ 10,000 – 8,000 ปี มนษุ ยใ์ นยคุ นี้มมี ากกว่ายุคหนิ เกา่ มีการปรับปรงุ เคร่อื งมอื หิน ให้ ประณีตขึ้น นาเปลือกหอยมาทาเคร่ืองมือ เครื่องใช้ ทาเคร่ืองปั้นดินเผา นาพืชมาใช้ประโยชน์ มีพิธีการฝังศพ อาศยั ตามถา้ ย้ายถนิ่ ฐานไปตามแหล่งอาหาร ยุคหินใหม่ มีอายุประมาณ 8,000 – 3,000 ปี มนุษย์ในยุคนี้มีความเจริญพอสมควร มีเทคนิคการทา เครื่องมือหินท่ีก้าวหน้าขึ้น รู้จักทาเครื่องจักสาน ทาเคร่ืองปั้นดินเผา ทาหิน ใช้เปลือกหอยมาทาเคร่ืองประดับ มีพิธีกรรม รู้จักการเพาะปลูก เล้ียงสัตว์ มีการต้ังหลักแหล่งอยู่กับที่ มนุษย์ในยุคนี้จึงมีการพัฒนา สร้างสรรค์ วัฒนธรรมในด้านต่างๆ ท่ีตอ่ เนอื่ งตอ่ มา 1.2.2 ยุคโลหะในดินแดนประเทศไทย มีอายุประมาณ 3,000 ปี หรือ 500 ปีก่อนพุทธศักราช ถึงประมาณ พ.ศ. 1000 เป็นยุคที่มนุษย์รู้จักนาโลหะบางชนิดมาทาเคร่อื งมือเครื่องใชแ้ ทนหิน เร่ิมจากการนาเอาทองแดงกับดีบุกมา หลอมรวมกันเป็น “สาริด” แล้วพัฒนาต่อมาจนมีความรู้เร่ืองถลุงเหล็ก ทาเคร่ืองมือเหล็กใช้ซึ่งแข็งแรงกว่าสาริด มีความรู้ทางด้านการเกษตรและเล้ียงสัตว์ ทอผ้าเป็นเครื่องนุ่งห่ม ทาเครื่องป้ันดินเผา รู้จักทาคูน้า ขุดสระเก็บน้า การเดินทะเล มีพิธกี รรม มศี ิลปะและ ภาพเขยี นต่าง ๆ 1.2.3 การเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ เป็นยุคที่มีการติดต่อค้าขายกับดินแดนที่อยู่ห่างไกลออกไป เช่น อินเดีย จีน โรมัน ได้ผสมผสานกับอารยธรรมต่าง ๆ ที่รับจากอินเดีย เช่น ระบบการปกครอง ศาสนา (พุทธ ฮินดู) วรรณคดี ศิลปกรรม และวิทยาการต่าง ๆ ทาให้ชุมชนเมืองยุคโลหะในดินแดนประเทศไทยได้ปรุงแต่งพัฒนาวัฒนธรรมพ้ืน ถิ่นของตนใหส้ อดคล้องกับวฒั นธรรมอินเดยี ที่รบั เข้ามาแล้วพฒั นาเปน็ แควน้ เลก็ ๆ เข้าสู่สมยั ประวัตศิ าสตร์ เมือ่ ประมาณ พ.ศ. 1000 ตอนที่ 1.3 แคว้นโบราณในประเทศไทย (พุทธศตวรรษที่ 12 – 19) 1.3.1 แคว้นในภาคกลาง อยใู่ นบรเิ วณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่าง รวมไปถึงทางภาคตะวันตกและภาคตะวันออก ของลมุ่ น้า มแี ควน้ สาคญั ดงั นี้ แคว้นทวารวดี ช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 – 16 มีเมืองศูนย์กลาง 2 เมือง คือ เมืองนครไชยศรี (นครปฐม โบราณ) และเมืองละโว้ (ลพบุรี) ได้รับอิทธิพลอารยธรรมอินเดีย เช่น ระบบการปกครอง ศาสนา ศิลปกรรมต่างๆ รับศาสนาพุทธนิกายหินยาน เป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่ไปยังแคว้นอ่ืน ๆ รวมท้ังทาให้เกิดศิลปะแบบทราวดี
10151 ไทยศึกษา Page 3 of 85 เช่น พระพุทธรูปศิลาขนาดใหญ่ พระธรรมจักรศิลากับกวางหมอบ พระพุทธรูปปูนปั้น พระพิมพ์ต่าง ๆ เสมาหิน ภาพปนู ป้นั สตรเี ล่นดนตรี ลูกปดั ทาดว้ ยแกว้ หิน ดนิ เผา แคว้นละโว้ เม่ือแคว้นทราวดีเส่ือมอานาจในพุทธศตวรรษที่ 16 เนื่องจากอาณาจักรกัมพูชา แผ่อานาจ มายังภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางในประเทศไทย ละโว้จึงมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัมพูชา และได้รับ อิทธพิ ลคตคิ วามเชือ่ ศาสนาพราหมณ์ – ฮนิ ดู และพทุ ธมหายาน แคว้นอโยธยา เมืองอโยธยาเป็นเมืองหน่ึงในแคว้นทราวดี ต้ังอยู่บริเวณปากแม่น้าเบี้ย ฝ่ังตะวันออกเมือง อยุธยาปัจจุบัน ประมาณพุทธศตวรรษท่ี 18 มีการติดต่อค้าขายกับจีน อินเดีย เปอร์เซีย และมีความอุดมสมบูรณ์ ทางการเกษตร ทาให้อโยธยามเี ศรษฐกจิ ดี การรับศิลปวัฒนธรรมจากละโว้ทาให้ อโยธยาสามารถสรา้ งพระพุทธรูป “พระไตรรัตนนายก ” ที่วัดพนัญเชิงใต้ ก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 1893 ถึง 26 ปี แคว้นสุพรรณภูมิ มขี อบข่ายพืน้ ที่อยูฟ่ ากตะวันตกของลมุ่ แมน่ ้าเจ้าพระยา เจริญร่งุ เรืองในพทุ ธศตวรรษที่ 18 – 19 เมืองสาคัญในแคว้นได้แก่ เมืองแพรกศรีราชา (ต้ังอยู่ริมแม่น้าน้อยในจังหวัดชัยนาทปัจจุบัน) เมืองราชบุรี สิงห์บรุ ี และเพชรบุรี ซ่ึงเป็นเมืองท่าสาคัญที่คุมเส้นทางการติดต่อค้าขายกับบ้านเมืองทางภาคใต้ เช่น แคว้นนครศรีธรรม ราช ศิลปวัฒนธรรมได้รบั สบื ทอดมาจากนครชัยศรี จงึ นบั ถือพุทธศาสนานิกายหินยานเปน็ หลัก แคว้นสุพรรณภูมิมี ความเข้มแข็งทางการทหาร อาณาจกั รอยธุ ยาทีก่ อ่ เกดิ ขึน้ ใน พ.ศ.1893 ได้รบั การสนับสนุนด้านพ้นื ฐานกาลงั ทหาร จากแคว้นสุพรรณภูมิ ซึ่งมีความโยงใยการเป็นเครือญาติโดยการแต่งงาน และเจ้านายแคว้นสุพรรณภูมิมีส่วนร่วม ในการปกครองอาณาจกั รทก่ี อ่ เกดิ ขึน้ นี้ 1.3.2 แควน้ ในภาคเหนือ ในชว่ งพุทธศตวรรษท่ี 14 – 19 แควน้ ในภาคเหนือมีแควน้ ทสี่ าคญั ดงั น้ี แควน้ หริภุญชยั ช่วงพทุ ธศตวรรษที่ 14 ในบรเิ วณทีร่ าบลมุ่ แมน่ า้ ปงิ ตอนบนและขยายถึงทีร่ าบลุ่มแม่น้าวัง สร้างเมือง เขลางค์นคร หรือลาปาง แคว้นน้ีมีเมืองลาพูนเป็นศูนย์กลาง ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมทราวดี นับถือ ศาสนาพทุ ธหินยาน มีความสัมพันธใ์ กล้ชดิ กับหวั เมืองมอญในพมา่ ท้งั ในดา้ นเศรษฐกิจและวฒั นธรรม แควน้ ลา้ นนา เกิดจากการรวมตัวของชุมชนและเมืองต่าง ๆ บริเวณแม่น้าปิง แม่น้ากก และแม่น้าโขงจาก 2 กลุ่มชน คือ ลัวะ หรือละว้า หรือสางจก และพวกไทยล้ือเป็น “ยวน” ในพุทธศตวรรษท่ี 13 เมืองสาคัญคือ เมืองหิรัญนคร เงินตง หรือเงินยางเชียงแสน ในปี 1839 พญามังราย พ่อขุนรามคาแหงและพญางาเมือง สร้าง “เมืองนพบุรีศรีนครพิงค์ เชียงใหม่” แคว้นล้านนาจึงก่อเกิดข้ึนในปีนี้ มีเมืองเชียงใหม่เป็นราชธานี แต่ได้ส้ินอานาจตกเป็นเมืองขึ้นของ พระเจา้ หงสาวดีบุเรงนองใน พ.ศ. 2101 แคว้นสุโขทัย มีรากฐานของการก่อเกิดเร่ิมเมื่อพุทธศตวรรษท่ี 18 ในบริเวณภาคเหนือตอนล่างแถบลุ่ม แมน่ ้าปิง ยม และน่าน มเี มอื งสาคัญ คอื สุโขทัย ศรสี ชั นาลัย สระหลวง และสองแคว เมื่อแรกเริ่มก่อต้ังราชวงศ์ศรี นาวนาถุมปกครอง ต่อมาขอมสมาดโขลญลาพงยึดอานาจปกครองไป พ่อขุนผาเมืองเจ้าเมืองราดและสหายคือพ่อ ขุนบางกลางหาวเจ้าเมืองบางยาง ช่วยกันยดึ สโุ ขทยั กลับคืนมาไดแ้ ล้วให้พอ่ ขุนบางกลางหาวปกครองสโุ ขทัย มี พระนามว่า “พ่อขุนศรีอินทราทิตย์” ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์พระร่วง ส่วนพ่อขุนผาเมืองเสด็จไปครองเมืองราด เหตุการณ์เกิดข้ึนใน พ.ศ. 1792 สุโขทัยตกเป็นประเทศราชของอยุธยาใน พ.ศ. 1981 แล้วรวมเข้ากับอยุธยา
10151 ไทยศกึ ษา Page 4 of 85 พ.ศ. 2006 โดยได้สืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมแก่อาณาจักรอยุธยา ท่ีสาคัญย่ิงคือ ตัวอักษรไทย (พ.ศ. 1826) ที่ช่วยเสริมความเป็นเอกภาพในกลุ่มชนชาวไทย 1.3.3 แคว้นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงพุทธศตวรรษท่ี 13 – 19 แคว้นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครอบคลมุ ดนิ แดนสองฝงั่ แมน่ า้ โขงตั้งแต่เมืองอดุ ร หนองคาย เวยี งจนั ทร์ นครพนม จรดอบุ ลราชธานี ศนู ยก์ ลางอยู่ ท่เี มืองนครพนม รวมเป็น “แคว้นโคตรบรู ” เดิมกลุ่มชนในพนื้ ทน่ี นี้ ับถือผีสางเทวดา ต่อมา นบั ถอื ศาสนาท่ีแพร่จาก แคว้นทวารวดี ในระยะแรกก่อต้ัง มีความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมกับแว่นแคว้นทางภาคกลาง แล้วเปลี่ยนมาใกลช้ ิด กับวัฒนธรรมกัมพูชาหรือขอม ที่แผ่อานาจเข้าไปภาคอีสานเม่ือราวกลางพุุทธศตวรรษที่ 16 และในสมัยอยุธยา มีข้อมูลกฎมณเฑียรบาลระบุว่า โคตรบูรเป็นประเทศราชของอยุธยา กลุ่มเมืองอื่น ๆ เมื่ออาณาจักรกัมพูชาแผ่ อานาจเข้ามาในภาคอสี านในกลางพุทธศตวรรษที่ 16 ทาใหเ้ กดิ ความเปลย่ี นแปลงดา้ นวถิ ีชวี ิตความเปน็ อยู่ในเมือง แถบน้ี รวมท้ังได้ความเจริญทางเทคโนโลยีเข้ามาด้วย เช่น การวางผังเมือง การชลประทาน อทิ ธพิ ลวฒั นธรรมกัมพูชาเสื่อมไปในพุทธศตวรรษ 19 ในสมยั อยธุ ยา ชุมชนเมอื งในภาคอีสานหลายเมืองถูกทิ้งร้าง มีประชากรไม่มากในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พุทธศตวรรษท่ี 24) กลุ่มเมืองเหล่านี้ได้ฟ้ืนตัวข้ึนใหม่จากการ อพยพเข้ามาของกลุ่มชนลาว – เขมร ในสมัยรัชกาลท่ี 4 มีการจัดตั้งเมืองต่าง ๆ และรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐ ประชาชาติไทยหลังการปฏิรปู การปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 1.3.4 แคว้นในภาคตะวันออก แคว้นในภาคตะวันออกมีขอบเขตพื้นท่ีที่ในปัจจุบันคือ จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง ตราด รวมไปถึงปราจีนบุรี นครนายก เป็นดินแดนเก่าแก่ที่มีพัฒนาการมาต้ังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จนถึงปัจจุบัน ระหว่างพุทธศตวรรษท่ี 16 – 19 บ้านเมืองในภาคนี้มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอาณาจักรกัมพูชา จนกระท่ังอยุธยามีชัยชนะเหนือเขมรอย่างเด็ดขาดใน พ.ศ. 1974 จึงผนวกดินแดนแถบน้ีเข้าเป็นส่วนหน่ึงของ อาณาจักรอยุธยาได้สาเร็จ และมีความสาคัญในฐานะเมืองท่าค้าขายในเส้นทางการขายอยุธยากับจีนและญวน ทั้งบ้านเมืองอ่ืนในภาคตะวันออกด้วย บทบาททางเศรษฐกิจได้สืบเนื่องต่อมาจนถึงสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ ต้ังแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นต้นมา บ้านเมืองในแถบน้ีได้เพ่ิมความสาคัญทางด้านยุทธศาสตร์ในแนว ชายแดนไทย – เขมร และความสัมพันธ์ ไทย – ญวนด้วย ปัจจุบันรัฐบาลได้มีนโยบายพัฒนาเมืองฉะเชิงเทราเปน็ ประตูสู่ภาคอีสาน เพื่อเช่ือมโยงภูมิภาคอีสานและหัวเมืองชายทะเลตะวันออกเพื่อการพัฒนาให้เจริญได้ดีย่ิงๆ ขึน้ ไป 1.3.4 แควน้ ในภาคใต้ ในชว่ งพทุ ธศตวรรษท่ี 13 – 20 ภาคใต้ของไทยมีแคว้นสาคัญคือ “แคว้นตามพรลิงค์” ซ่ึงต้ังขึ้นราวพุทธศตวรรษท่ี 13 และได้พัฒนาต่อมาเป็น “แคว้นนครศรธี รรมราช” เมอื่ ราวพุทธศตวรรษที่ 18 แลว้ ผนวกเขา้ ส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยธุ ยาในพุทธศตวรรษ ท่ี 20 แคว้นตามพรลิงค์ กอ่ เกิดขน้ึ จากพ้ืนฐานการเป็นทางผ่านการเดนิ เรอื เพื่อการคา้ หรือการอื่นจากอนิ เดียไปจีน หรือจากจีนไปอินเดีย จึงได้รับอิทธิพลอารยธรรมอินเดียและจีนโบราณ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 – 19 แคว้น นครศรีธรรมราชเจริญรุ่งเรืองเป็นศูนย์กลางการปกครอง การค้า และศิลปวัฒนธรรมของภาคใต้ รวมทั้งมีอานาจ ทางการเมืองครอบคลุมเมืองต่าง ๆ 12 เมือง เรียกว่า เมือง 12 นักษัตร ในด้านศาสนาและความเชื่อมีทั้งศาสนา
10151 ไทยศึกษา Page 5 of 85 พราหมณ์ – ฮินดู พุทธมหายาน และพุทธหินยาน ในด้านความสัมพันธ์ได้สมาคมติดต่อกับบ้านเมืองในภาคกลาง และภาคเหนือของไทย เช่น ละโว้ สุพรรณภูมิ สุโขทัย หริภุญชัย รวมท้ังกับลังกาด้วย จึงได้รับศาสนาพุทธลัทธิ ลังกาวงศ์เป็นแหง่ แรกในดนิ แดนประเทศไทย แล้วแพรไ่ ปยงั สโุ ขทัย ล้านนา และหวั เมอื งอนื่ ๆ ในพ้ืนที่ภาคใต้ของไทยยังพบหลักฐานทางโบราณคดีสมัยศรีวิชัยเป็นจานวนมาก อาณาจักรศรีวิชัยดารงอยู่ในช่วง พุทธศตวรรษที่ 13 – 18 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภาคพื้นทะเลแถบชวา เกาะสุมาตรา คาบสมุทรมลายู ในช่วง เจริญรุ่งเรืองระหว่างพุทธศตวรรษที่ 13 – 16 น้ันได้แผ่ขยายอาณาเขตมาถึงบางส่วนทางภาคใต้ของไทยด้วย เมอื งไชยา (อาเภอไชยา จ.สุราษฎร์ธานี) เปน็ เมอื งสาคัญ อาณาจกั รศรวี ชิ ยั เสอ่ื มสลายไปในพุทธศตวรรษที่ 18 ตอนที่ 1.4 อยุธยา ธนบุรี และรตั นโกสนิ ทร์ 1.4.1 อยธุ ยา อาณาจกั รอยธุ ยาก่อเกิดข้ึนในปี 1893 จากรากฐานการรวมตวั กนั ของแคว้นละโว้ อโยธยาและสุพรรณภูมิ ท่ีมีความ สัมพันธ์ด้านเครือญาติจากการอภิเษกสมรสระหว่างพระเจ้าอู่ทอง (ละโว้ – อโยธยา) และเจ้าหญิงแห่ง แควน้ สุพรรณภมู ิ พระเจา้ อทู่ องหรอื สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีที่1 ทรงสรา้ งกรุงศรีอยุธยาท่ีตาบลหนองโสน(บงึ พระราม) เป็นราชธานี มีชัยภูมิดีทั้งด้านยุทธศาสตร์การเกษตรและการค้ากับต่างประเทศ เพราะต้ังอยู่ในบริเวณท่ีมีแม่น้า ไหลมาบรรจบกัน 3 สาย คือ แม่น้าลพบุรีทางด้านเหนือ แม่น้าเจ้าพระยาทางด้านตะวันตกและด้านใต้ รวมท้ังแม่ น้าป่าสักทางด้านตะวันออกอยุธยาได้รับมรดกทางวัฒนธรรมจากแว่นแคว้นไทยหลายแคว้นมาสร้างสรรค์ให้แตก แขนงออกไปอีกมากมาย ด้วยการจดั ระบบการเมืองการปกครอง เศรษฐกจิ และสงั คมทมี่ ีประสิทธภิ าพ อาณาจักร อยุธยาจึงดารงความเป็นศูนย์กลางของโลกคนไทยอยู่ยั่งยืนนานถึง 417 ปี (พ.ศ. 1893 – 2310) หลังจากนั้นได้ ล่มสลายไปเนื่องจากเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าใน พ.ศ. 2310 สาเหตุพื้นฐานของการล่มสลายมาจากการแย่งชิง อานาจทางการเมืองในหมู่ชนช้ันปกครองที่เกิดข้ึนบ่อยคร้ังในสมัยอยุธยาตอนปลาย และความระส่าระสายของ ระบบไพร่ และการเกิดสงครามไทย – พม่า(พ.ศ. 2308 – 2310) ซ่ึงเป็นตัวเร่งให้อาณาจักรอยุธยาล่มสลายเร็ว ยง่ิ ข้ึน 1.4.2 สมัยธนบรุ ี ความเส่ือมโทรมของอยุธยาจนนาไปสู่การล่มสลายใน พ.ศ. 2310 ทาให้เกิดความสับสนวุ่นวายและ ชอ่ งว่างอานาจทางการเมอื ง ในสถานการณเ์ ช่นน้ีไดม้ ีคนไทยต้งั ตนเปน็ หัวหนา้ ชุมชน เกดิ กลุ่มชุมชนตา่ ง ๆ ที่ มุ่งหวังจะข้ึนเป็นกษัตริย์พระองค์ใหม่ของอาณาจักรไทย กลุ่มชุมชนที่สาคัญ 5 กลุ่มมีดังนี้ ภาคเหนือ – ชุมนุมเจ้า พระฝาง ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก ภาคใต้ - ชุมนุมเจ้าพระยานครศรีธรรมราช ภาคอีสาน - ชุมนุมกรมหมื่นเทพ พพิ ิธ และภาคตะวนั ออก – ชุมนมุ พระยาวชิรปราการหรอื พระยาตากสิน ต้นเดือนพฤศจิกายน 2310 พระยาตากสินกอบกู้เอกราชกลับคืนมาได้ จึงมีความชอบธรรมที่จะข้ึน ครองราชย์ มีพระราชพิธีในวันท่ี 28 ธันวาคม 2310 และได้ย้ายราชธานีมาอยู่ท่ี “กรุงธนบุรี” สมัยธนบุรีแม้เพียง ช่วงสั้น ๆ 15 ปี (พ.ศ. 2310 – 2315) แต่ก็มีความสาคัญย่ิง และมีการดาเนินการเรื่องต่าง ๆ หลายด้าน ต้ังแต่
10151 ไทยศกึ ษา Page 6 of 85 การรวบรวมบ้านเมืองให้เป็นปึกแผ่นอันหน่ึงอันเดียวกัน (มีการปราบปรามชุมนุมต่าง ๆ ระหว่าง พ.ศ. 2311 – 2313) กับการทาสงครามป้องกันอาณาจักร การฟ้ืนฟูเศรษฐกิจ ศาสนา ศิลปะ วรรณคดีและวัฒนธรรมด้านอื่น ๆ การฟ้นื ฟวู างรากฐานบ้านเมืองให้มั่นคงซ่งึ ไดส้ านต่อมาในสมยั รัตนโกสินทร์ 1.4.3 สมัยรัตนโกสินทร์ เร่ิมตั้งแต่ พ.ศ. 2325 และต่อเน่ืองจนมาถึงปัจจุบัน ช่วง 69 ปีแรกของสมัยน้ี ตรงกับรัชสมัยรัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลท่ี 3 (พ.ศ. 2325 – 2394) เป็นสมัยแห่งการฟ้ืนฟูและวางรากฐานอาณาจักรให้ม่ันคง ทุก ๆ ด้านรวมท้งั ได้ปูพ้ืนฐานให้แก่การรวมประเทศนาไปสู่การสร้างรัฐประชาชาติไทยในสมัยรัชกาลท่ี 5 การเข้าสู่ระบบทุนในสมัย รัชกาลท่ี 4 ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่น ค่านิยมเร่ืองทรัพย์สินเงินทอง การตื่นตัวใฝ่หาความรู้ และ การมีโลกทัศน์ท่ีเน้นความมีเหตุผลมากกว่าสมัยก่อน มีการเผชิญหน้ากับภัยจักรวรรดินิยมที่ต่อเนื่องมาอีกหลาย รัชกาล ด้วยการดาเนินการทางการทูตพร้อม ๆ กับกับการปรับปรุงบ้านเมืองให้ทันสมัย ได้เร่ิมต้นในสมัยรัชกาล ที่ 4 และดาเนินการมากยิ่งข้ึนในสมัยรัชกาลท่ี 5 โดยสืบต่อมาไม่ขาดสาย เป็นการดาเนินการปรับปรุงไปตามแบบ แผนอารยธรรมตะวันตก เพ่ือให้เป็นที่ยอมรับของชาติมหาอานาจในขณะน้ัน นอกจากนี้ยังส่งผลต่อเนื่องให้ ประเทศไทยสามารถรวมอานาจเข้าสู่ศูนย์กลางภายใต้สถาบันพระมหากษัตริย์ อันนาไปสู่การเปล่ียนแปลง การปกครองมาเปน็ ระบอบประชาธิปไตยใน พ.ศ. 2475
10151 ไทยศึกษา Page 7 of 85 คาถามทา้ ยหนว่ ย ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อความเป็นอยู่และพฤติกรรมของมนุษย์แต่ละสมัย และแต่ละสังคมท่ีส่งผลต่อพัฒนา การทางประวัติศาสตรไ์ ด้แกอ่ ะไรบา้ ง ? ตอบ สภาพภมู ิศาสตร์ วัฒนธรรม และปัจเจกบุคคล สภาพทาเลที่ตั้งของประเทศไทย มีผลดีในด้านใดที่ทาให้ประเทศไทยมีบทบาทในด้านใดของภูมิภาคน้ี นับตงั้ แต่สมัยโบราณเปน็ ตน้ มา? ตอบ ชุมทางการคา้ ขาย วฒั นธรรมในดนิ แดนประเทศไทยมีววิ ฒั นาการอย่างไร? ตอบ มีวิวัฒนาการเร่ิมตั้งแต่ การตั้งถ่ินฐาน มีภาษาพูด ความเช่ือ พิธีกรรม ศิลปะ เทคโนโลยี และมีหัวหน้าชุมชน ต่อมาจึงพัฒนามาเป็นเมือง มีการจัดระเบียบทางการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และแบบแผนการดาเนินชีวติ เช่น ศาสนา พิธีกรรม มหรสพ ศิลปกรรม รวมท้ังความรทู้ ่ีส่งั สมเพ่มิ พูน จนเป็นวฒั นธรรมของสงั คมนัน้ ๆ การสรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรมของมนุษยใ์ นยคุ หิน มีความสาคัญกับปจั จัยใด? ตอบ การประดิษฐ์เคร่ืองมือเครื่องใช้จากวัสดุธรรมชาติ การแสวงหาอาหารโดยการล่าสัตว์ ต้ังแหล่งที่อยู่อาศัยใน ธรรมชาติและตามแหล่งอาหาร ทั้งนี้พัฒนามีความเจริญในยุคหินใหม่ท่ีรู้จักเพาะปลูก เล้ียงสัตวแ์ ละต้ังถ่ินฐานเปน็ ชมุ ชน ระบบการปกครองของแควน้ ตา่ งๆในดินแดนประเทศไทย ไดร้ ับอิทธิพลจากชาติใด ? ตอบ อนิ เดยี ซงึ่ บางสว่ นยงั สืบทอดรูปแบบ ความเช่อื และคตนิ ยิ มมาจนถงึ ปจั จุบัน แควน้ โบราณในประเทศไทย มีความสาคัญอยา่ งไร ? ตอบ มีความสาคัญ เพราะได้พัฒนาต่อเน่ืองเป็นอาณาจักรสุโขทัย และอยุธยา แคว้นที่สาคัญ ได้แก่ ในภาคกลาง คือ ทวารวดีละโว้ อโยธยา สุพรรณภูมิ แคว้นในภาคเหนือ ได้แก่ หริภุญชัย ล้านนา สุโขทัย แคว้นในภาคอีสานมี แควน้ โคตรบูร แคว้นในภาคใต้ มีแคว้นตามพรลิงค์ (ต่อมาเปน็ แควน้ นครศรีธรรมราช) อาณาจักรอยุธยา มีพฒั นาการและเกดิ การลม่ สลายในปี 2310 ได้อยา่ งไร ? ตอบ อาณาจกั รอยุธยา เกดิ ข้ึนและพฒั นาจากการรวมแว่นแคว้นต่างๆ โดยเฉพาะแควน้ ละโวแ้ ละสุพรรณภมู ิ สว่ น การล่มสลายของอาณาจักรอยุธยา เกิดจากการแย่งชิงอานาจทางการเมือง การทาสงครามกับพม่า และความ ระสา่ ระสายของระบบไพร่
10151 ไทยศึกษา Page 8 of 85 การสถาปนากรุงธนบรุ ีเกิดข้นึ ได้อย่างไร ? ตอบ จากการกู้บ้านฟ้ืนเมืองของพระเจ้าตากสินมหาราช โดยกอบกู้อิสรภาพและสร้างความเป็นปึกแผ่นของ อาณาจกั รให้มั่นคง ด้วยการปราบชมุ นุมตา่ งๆ พัฒนาการของยคุ สมัยรัตนโกสินทร์ท่ีสาคัญ ได้แก่อะไรบ้าง ? ตอบ 1.การฟ้ืนฟบู า้ นเมืองในสมยั รัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้ 2.การปรบั ตัวใหพ้ ร้อมทจ่ี ะเผชิญกบั จกั รวรรดนิ ยิ มในสมัยรัชกาลที่ 4 3.การปรบั บา้ นเมืองให้ทันสมัยในสมยั รชั กาลท่ี 5 (ด้วยวิธีการทาให้เป็นตะวนั ตกและการสรา้ งรัฐชาตไิ ทย) 4.การพฒั นาการเมือง ระบอบประชาธปิ ไตย เศรษฐกจิ และสงั คมโดยใช้แผนพฒั นาฯ ฉบับตา่ งๆ
10151 ไทยศกึ ษา Page 9 of 85 หน่วยที่ 2 พัฒนาการการปกครองไทย ตอนที่ 2.1 แนวคิดเกีย่ วกบั พัฒนาการการปกครองไทย 2.1.1 ตัวแบบการศกึ ษาพฒั นาการการปกครอง การศึกษาพัฒนาการการปกครองจาเป็นต้องใช้ประวัติศาสตร์การปกครองเป็นต้นแบบ ซ่ึงนักรัฐศาสตร์ เรียกการศึกษาในแนวน้ีว่า “วิธีการทางประวัติศาสตร์” ท้ังน้ีประวัติศาสตร์มีประโยชน์ต่อการศึกษาการเมือง การปกครอง เร่ิมตัง้ แต่เพ่มิ ข้อมูลที่มีคุณคา่ เพื่อใช้ค้นควา้ สอบสวนหาความจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในอดีต แล้วยังชว่ ย อธบิ ายหรือให้รายละเอียดในเหตุการณท์ างการเมืองการปกครองท่ีผ่านมาชว่ ยในการคาดการณ์ในอนาคต อย่างไร ก็ตามกม็ ีข้อควรระวังในการนาวิธกี ารประวัติศาสตร์มาใช้ ดงั นี้ ความคลาดเคลื่อนแตกต่างไปจากความจริงดั้งเดิม เนื่องจากข้อมูลทางประวัติศาสตร์เกิดข้ึนมาเป็น เวลานาน สว่ นหนึง่ เปน็ “การเล่าต่อ ๆ กนั มา” บางครงั้ ก็มีการตกแต่ง เติม ตดั ต่อ หรือสูญหายไปตามกาลเวลา การตีความของนักประวัติศาสตร์แต่ละคน และผู้เขียนประวัติศาสตร์ของแต่ละชาติ เขียนด้วยอุดมการณ์ หรือปรัชญาการเมอื งของตน ๆ ปจั จยั ทางประวัตศิ าสตร์การปกครองท่นี ามาใชเ้ ป็นต้นแบบ มี 2 ปจั จัย ปัจจัยด้านสังคมและการเมืองภายใน ได้แก่ โครงสร้างและสถานการณ์ทางการเมืองและสังคม ภายในประเทศ ปัจจัยด้านสังคมและการเมืองภายนอก คือทาเลที่ต้ังของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่างๆ อิทธิพลทางด้านวัฒนธรรมและการปกครองทมี่ ีระหวา่ งกัน รวมทัง้ เหตกุ ารณ์ทส่ี าคัญทางการเมืองระหวา่ งประเทศ 2.1.2 ปจั จัยดา้ นสังคม และการเมอื งภายใน ปัจจัยด้านสงั คมและการเมืองภายในพิจารณาในด้านตา่ ง ๆ 2 สว่ น คอื 1) โครงสร้างทางสงั คม ประกอบด้วยระบบความเชื่อ ความคิดของผู้คนในสังคมแต่ละยุคได้แก่ ลัทธิความ เช่ือ ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และค่านิยมต่าง ๆ ที่ยึดถือหรือปฏิบัติกันอยู่ในสังคมนั้นๆ กับระบบความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนในสังคม ได้แก่ ชนช้ันทางสังคมครอบครัว และชุมชน ตลอดจนการ เปลย่ี นแปลงในระบบความสมั พนั ธท์ างสงั คมดงั กล่าว 2) โครงสร้างทางการเมืองการปกครอง ประกอบด้วยรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับผู้ใต้ ปกครองในแตล่ ะยุค โดยเน้นท่ี “โครงสร้างอานาจ” กบั สถาบนั และกระบวนการทางการเมืองการปกครองท่ีสาคัญ ทีท่ าใหร้ ะบบการเมืองในแตล่ ะยุคสมยั บา้ งกเ็ ข้มแข็ง บา้ งกอ็ อ่ นแอ หรือเกิดวกิ ฤติต่างๆ 2.1.3 ปจั จยั ดา้ นสงั คม และการเมืองภายนอก ปัจจัยด้านสังคมและการเมืองภายนอกคือ“กระแส”ของความเปล่ียนแปลงที่เข้ามาจากนอกประเทศ หรือความ เปลี่ยนแปลทีเ่ กิดขน้ึ จากการกระทาของชาติอ่นื ประกอบด้วย
10151 ไทยศกึ ษา Page 10 of 85 1) โครงสรา้ งทางความสัมพันธห์ รือการเมืองระหวา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างกัน เช่น ความเป็น “มิตร” หรือ “ศัตรู” ตามเป้าหมายหรือความต้องการท่ีเรียก “ผลประโยชน์แห่งชาติ” ของแต่ละชาติ น้นั 2) กระแสการเมืองและสังคมระหว่างประเทศ ได้แก่ กิจกรรมทางการเมืองระหว่างประเทศ ท่ีสาคัญ คือ อิทธิพลของชาติต่าง ๆ ท่ีเข้ามามีความสัมพันธ์ระหว่างกัน เช่น มหาอานาจกับกระแสความเจริญด้านเทคโนโลยี และการเปลยี่ นแปลงของมนษุ ยชาติทที่ าให้ชาติตา่ ง ๆ ปรบั ตัวตามไปด้วย ตอนที่ 2.2 การปกครองไทยก่อนสมยั ประชาธปิ ไตย 2.2.1 การปกครองของไทยระบบจารีตประเพณี การปกครองของไทยระบบจารตี มีแหล่งที่มาดงั นี้ ศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงกับการปกครองสมัยสุโขทัย ได้แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับสังคมและการเมือง ในสมัยสุโขทัย คือ การปกครองท่ีเรียกว่า การปกครองแบบ “ปิตุราชา” หรือพ่อปกครองลูก การปกครองแบบ “อยู่ร่วมกันอย่างสันติ” เน้นความปรองดองไม่รุกรานซึ่งกันและกัน และเรื่องลัทธิธรรมเนียมกับอุดมการณ์ของ สังคมสโุ ขทยั ท่ีเน้นเสรีภาพและความสงบสุข ศาสนาพุทธกับสังคมสุโขทัย ศาสนาพุทธเป็นรากฐานของกิจกรรมหลักในชีวิตประจาวันของชาวสุโขทัย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นผู้นา ด้วยความเล่ือมใสศรัทธา ได้สืบทอดมาเป็นความเช่ือในเรื่อง “บาป – บุญ” และ “นรก – สวรรค์” เปน็ ตน้ อกี ทงั้ การประดิษฐ์อักษรไทยในสมยั นไี้ ดส้ รา้ งความเปน็ ชาติไทยใหเ้ ข้มแข็งอกี ด้วย ธรรมราชากับเทวราชา ในสมัยอยุธยา กษัตริย์ได้รับเอาวัฒนธรรมการปกครองแบบ “เทวราชา” มาจาก เขมร แต่กน็ ามาผสานกบั คติศาสนาพุทธที่แข็งแกร่งในสังคมไทยกลายเป็นการปกครองที่เน้นทง้ั ความศักดิ์สิทธ์ิและ ความศรัทธาสูงส่ง ยังผลใหพ้ ระมหากษัตริยค์ งความสาคัญตลอดมา ระบบไพร่กับอยุธยา และระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทย ระบบ“จตุสดมภ์”และระบบ “อัครมหาเสนาบดี” ท่ีเป็นโครงสร้างของระบบราชการ กับ “ระบบไพร่” ซ่ึงเป็นการจัดระเบียบสังคมในสมัยอยุธยา ได้ก่อให้เกิด ผลกระทบอย่างยิ่งแก่สังคมไทย 2 ประการคือ อิทธิพล และความย่ิงใหญ่ของระบบราชการไทย กับ “ระบบ อุปถัมภ์” ในความสัมพนั ธ์ระหว่างกันของคนไทย การปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ มีการจัดลาดับความสาคัญของเมืองต่างๆ ข้ึน โดยให้ราชธานีคอื กรงุ ศรอี ยุธยาเปน็ ศูนย์กลาง มีหัวเมอื งลอ้ มรอบสองชัน้ คือ หัวเมอื งช้นั ในกับหวั เมืองชั้นนอก และ แต่งต้ังพระราชโอรสหรือพระบรมวงศานุวงศ์ไปปกครองเรียกว่า เมืองลูกหลวงบ้าง เมืองหลานหลวงบ้าง จนสดุ ทา้ ยคือ เมอื งประเทศราชหรือเมอื งขน้ึ 2.2.2 ความเป็นมาของการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยในแบบตะวนั ตก การปกครองแบบตะวนั ตกเปน็ ผลโดยตรงจากการเข้ามาของชาติตะวันตกนบั ต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยธุ ยาเป็น ต้นมา แม้ว่าชนชาติตะวันตกเหล่านั้นจะเข้ามาด้วยเร่ืองการค้าขายและเผยแพร่ศาสนาคริสต์เป็นหลัก แต่ก็ได้ นาเอาวิทยาการและลัทธิธรรมเนียมทางการปกครองแบบชาติตะวันตกเข้ามาด้วย ต่อมาประเทศเหล่านี้ได้ใช้
10151 ไทยศกึ ษา Page 11 of 85 “ลัทธิจักรวรรดินิยม” หรือการล่าเมืองขึ้น บีบบังคับให้ประเทศที่ชาติตะวันตกเข้าไปติดต่อค้าขายด้วย ต้องยอม ตาม รวมทั้งมีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการปกครองอีกด้วย แต่ประเทศไทยได้ใช้วิธีการปรับตัวจนสามารถเอาตัว รอดมาได้ การปรับตัวของไทยตามกระแสตะวันตกหรือที่เรียกว่า “Westernization” ดาเนินมาต้ังแต่ สมัยรัชกาล ที่ 4 แต่นามาใช้ในการเมืองการปกครองเริ่มในสมัยรัชกาลท่ี5 โดยเฉพาะแนวคิดเรื่องระบบรัฐสภา และ “ประชาธิปไตย” แต่ปรับตัวค่อนข้างช้าจนไม่ทันใจข้าราชการบางกลุ่มซึ่งส่วนใหญ่ได้ไปศึกษาจากประเทศต่างๆ ในยุโรป กระแสความต้องการเปล่ียนแปลงการปกครองได้ดาเนินมาอย่างต่อเนื่องตลอดรัชสมัยรัชกาลที่ 5 ถึง รชั กาลที่ 7 จนทาสาเร็จในเหตกุ ารณว์ ันที่ 24 มิถนุ ายน 2475 ตอนที่ 2.3 การปกครองแบบประชาธปิ ไตยของไทยในยุคเร่ิมแรก (พ.ศ. 2475 – 2516) 2.3.1 ประชาธิปไตยแบบอมาตยาธิปไตย (พ.ศ. 2475 – 2516) คณะราษฎร์ที่เป็นผู้นาในการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันท่ี 24 มิถุนายน 2475 ประกอบด้วย ขา้ ราชการ 2 กลมุ่ คอื ทหารกบั พลเรอื น ผู้นาทงั้ สองกลุ่มได้มอี ทิ ธิพลในการจดั สรรอานาจในช่วงแรก ๆ การสละราช สมบัติของรัชกาลที่7 ในพ.ศ. 2475 ก็เป็นเพราะทรงไม่พอพระราชหฤทัยที่คณะราษฎร์ไม่ได้มอบอานาจให้แก่ ราษฎรตามระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง อย่างไรก็ตามในช่วง พ.ศ.2477 – 2487 กับ พ.ศ. 2490 – 2500 ถือว่าเป็นยุคของ จอมพล ป.พิบูลสงคราม โดยท่ีกลุ่มพลเรือนได้แตกแยกกันระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ กับนาย ควง อภัยวงศ์ แม้จะมีอานาจสลับค่ันอยู่ในช่วงเวลาของการมีอานาจของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็ไม่สามารถ สถาปนาระบอบรฐั สภาท่ีปราศจากการแทรกแซงของทหารได้ ยคุ คณะราษฎร์ครอบงาการเมืองไทยไดส้ น้ิ สุดลงเม่ือ จอมพล ป. พิบูลสงครามหมดอานาจใน พ.ศ. 2500 ด้วยสาเหตุความขัดแย้งในหมู่ทหารด้วยกันเอง มีคาที่เรียก ระบบทขี่ า้ ราชการ(ทหารและพลเรือน)ครอบงาการเมอื งไทย นี้ว่า “อมาตยาธิปไตย” 2.3.2 ประชาธปิ ไตยในยคุ ทหารและนายทุน การเมอื งไทยในช่วง พ.ศ. 2501 – 2516 ถกู ปกครองโดยผู้นาทหาร 2 คน คือ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรชั ตก์ ับ จอมพลถนอม กิตติขจร โดยท่ีจอมพลสฤษดิ์ ได้พยายามสร้างบารมีให้แก่ตนเองด้วยการบริหารด้วยความเด็ดขาด เข้มแข็ง พยายามทาให้ประชาชนรักใคร่ และใช้ระบบอุปถัมภ์ในการปกครองผู้คนจนได้ช่ือว่า “การปกครองแบบ พ่อทุนอุปถัมภ์เผด็จการ” ในขณะที่จอมพลถนอม เป็นผู้นาระบบครอบครัวและการสร้างทายาทสืบทอดอานาจ กลบั คนื มาสกู่ ารปกครองสมัยใหม่ แตส่ ิ่งท่ผี ู้นาทหารทงั้ สองดาเนนิ นโยบายเหมือน ๆ กนั ก็คือ การรว่ มมือกับพ่อค้า นักธุรกิจแสวงหาความม่ังคั่งให้กันและกัน จึงเรียกยุคน้ีว่า “ยุคทหารและนายทุน” ประเทศยุคนี้แม้จะมี ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจมาก แต่การเมืองกลับไม่มีการพัฒนาอะไรเลยจึงเป็นชนวนในการนามาซ่ึงความ ต้องการมีส่วนร่วมในอานาจทางการเมืองจากประชาชนหลายกลุ่มในท่ีสุดก็โคนล้มผู้เผด็จการทหารพ้นไปได้ใน เหตกุ ารณ์ 14 ตุลาคม 2516
10151 ไทยศึกษา Page 12 of 85 ตอนที่ 2.4 การปกครองแบบประชาธปิ ไตยของไทยในยุคใหม่ (พ.ศ. 2516 เปน็ ต้นมา) 2.4.1 ประชาธปิ ไตยยุคหัวเลี้ยวหวั ต่อ (พ.ศ. 2516 – 2535) เหตุการณ์วันท่ี 14 ตุลาคม 2516 ส่งผลกระทบต่อการเมืองไทยอย่างมหาศาล ประการแรก ได้กระตุ้นให้ คนไทยสนใจเขา้ มามสี ่วนร่วมทางการเมืองมากข้นึ เพราะเกดิ ความเช่ือวา่ ประชาธิปไตยต้องอยู่ในมอื ของประชาชน เท่าน้ัน ประการต่อมา ได้ดึงดูดคนรุ่นใหม่เข้ามามีบทบาททางการเมืองมากข้ึน เพราะเป็นยุคที่เวทีทางการเมือง เปิดกว้าง และประการสุดท้าย ทหารต้องปรับเปลี่ยนบทบาทใหม่ เพ่ือให้สอดคล้องกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย อย่างไรก็ตามการเมืองในยุคน้ีก็ไม่ราบรื่น ทหารสามารถคืนสู่อานาจได้อีกในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 และได้ตราธรรมนญู ขึ้นมาเป็น ฉบับ พ.ศ. 2521 พร้อมกับสถาปนาระบอบประชาธิปไตย “ครึ่งใบ” แต่ก็ทา ให้การเมืองไทยมีความตอ่ เน่ืองในระบอบรัฐสภาไดน้ านพอสมควร เพราะได้สร้างความปรองดองระหว่างทหารกับ นักการเมืองได้เป็นอยา่ งดี จนมาสน้ิ สดุ ในการยึดอานาจของ ร.ส.ช. ในวันท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2534 ทง้ั นีเ้ พราะทหาร ได้ไปแทรกแซงผลประโยชน์ของทหารโดยตรง แต่ประชาชนได้รวมกลุ่มทวงอานาจน้ันคืนมาได้ในเหตุการณ์ พฤษภาคม 2535 เป็นยุคที่ประชาธิปไตยได้ก่อตัวข้ึนอย่างหลากหลายจนได้ช่ือว่า “ประชาธิปไตยยุคหัวเลี้ยว หวั ตอ่ ” 2.4.2 ประชาธิปไตยยุคปฏิรูปการเมือง (พ.ศ. 2535 เปน็ ตน้ มา) เหตุการณ์เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2535 ได้ก่อให้เกิดกระแสการปฏิรูปการเมืองตามมา ได้แก่การแก้ไข ปัญหาของการเมืองไทย เช่น การปฏิวัติรัฐประหาร การทุจริตในการเลือกต้ัง การใช้เงินซ้ือตาแหน่งต่าง ๆ ทาง การเมอื ง เปน็ ตน้ จนสาเรจ็ มาเปน็ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2540 ซ่ึงถือวา่ เป็นรปู ธรรมอยา่ ง แรกของความพยายามเพ่ือการปฏิรูปการเมืองรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2540 เป็นความหวังว่าการเมืองการ ปกครองของไทยในระยะต่อไปน้ีและน่าจะพัฒนาก้าวหน้าไปเป็นประชาธิปไตยมากข้ึน ทั้งน้ีก็ขึ้นอยู่กับประชาชน ซง่ึ จะต้องมีความเขา้ ใจในบทบาทและอานาจของประชาชนตามรัฐธรรมนูญฉบบั นี้อย่างถ่องแท้
10151 ไทยศกึ ษา Page 13 of 85 คาถามทา้ ยหนว่ ย ปัจจยั ทางประวตั ศิ าสตรไ์ ทยท่สี าคญั มีอะไร และมีอิทธพิ ลที่สง่ ผลตอ่ การเมืองการปกครองอย่างไร ตอบ 1) ปจั จยั ด้านสังคมและการเมืองภายใน ได้แก่ ความเปน็ อยู่ของบ้านเมือง ชวี ติ ความเป็นอย่ปู ระเพณี และ วฒั นธรรม ฯลฯ มอี ิทธพิ ลต่อการกาหนดโครงสร้างทางสังคม การเมอื งการปกครอง ระบบความสมั พันธ์ระหวา่ งคน ในสังคม (ชนช้ันครอบครัวและชุมชน) รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับผู้ใต้ปกครอง (คือโครงสร้าง อานาจ สถาบันและกระบวนทางการเมอื งการปกครอง) 2) ปัจจัยด้านสังคมและการเมืองภายนอก คือ ทาเลท่ีต้ัง ความสัมพันธ์กับต่างประเทศและอิทธิพลการ ปกครอง มีอิทธิพลที่ยังผลต่อต่อรูปแบบความสัมพันธ์ในลักษณะของผลประโยชน์ของชาติตนนอกจากนี้ยังมี อทิ ธิพลตอ่ การปรับตวั ตามกระแสความเจรญิ ด้านเทคโนโลยีและการเปลยี่ นแปลงของมนุษยชาติ แหล่งการศกึ ษาลกั ษณะการปกครองของไทย ก่อนสมัยประชาธปิ ไตย สามารถศึกษาไดจ้ ากอะไร ตอบ ศลิ าจารกึ พ่อขุนรามคาแหง กบั การปกครองสมยั สุโขทัย มกี ารปกครองแบบพ่อปกครองลกู ศาสนาพทุ ธกบั สงั คมสุโขทยั เกย่ี วกับความเชอื่ เร่อื ง บาป-บุญ และนรก- สวรรค์ ธรรมราชากับเทวราชาในการปกครองสมัยอยุธยา รับจากเขมรนามาผสมกับคติพุทธศาสนาซ่ึงเกิด การเคารพและความศรทั ธา ความศักด์สิ ิทธ์ใิ นสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ ระบบไพร่กับสังคมอยุธยาและระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทย มีระบบจตุสดมภ์และอัครมหาเสนาบดี กบั ระบบไพร่ ซงึ่ มอี ทิ ธิพลเกดิ เป็นระบบอุปถัมภใ์ นเวลาตอ่ มา การปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ มีการจัดลาดับโครงสร้างเมืองเป็นช้ันๆ มีกรุง ศรีอยุธยาเป็นราชธานีที่เป็นศูนย์กลาง ล้อมรอบด้วยหัวเมืองชั้นใน หัวเมืองช้ันนอก(เรียกว่าเมืองลูกหลวง เมอื งหลานหลวง) และรอบนอกสุด คอื เมืองประเทศราช บุคคลใดมีบทบาทในการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในยุคเริ่มแรก และยุคน้ีมีลักษณะการปกครอง อยา่ งไร ตอบ คณะราษฎร ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรือน มีลักษณะการปกครองท่ีมีช่ือเรียกว่า อมาตยาธิปไตย
10151 ไทยศึกษา Page 14 of 85 ใครได้ช่ือว่า “พ่อขุนอุปถัมภ์เผด็จการ” และใครเป็น “ผู้นาการปกครอง”ในยุคที่เรียกว่า “ยุคทหารและ นายทุน” ตอบ จอมพล สฤษด์ิ ธนะรชั ต์ ปกครองด้วยการบริหารอย่างเด็ดขาด เขม้ แข็งและใช้ระบบอปุ ถัมภ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ได้นาระบบครอบครัวและสร้างทายาทสืบทอดอานาจ โดยร่วมมือกับพ่อค้า นักธุรกิจ แสวงหาความ รา่ รวย การปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในยุคใหม่เกิดเหตุการณ์สาคัญอะไรบ้าง และนาไปสู่การปฏิรูปการ เมืองไทยอย่างไร ตอบ เกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ก่อให้เกิดความต่ืนตัวที่จะมีส่วนร่วมทางการเมืองมากข้ึน และคนรุ่นใหม่ พร้อมที่จะเข้ามาแสดงบทบาททางการเมืองมากขึ้น เหตุการณ์วันที่ 6 ตุลาคม 2519 เกิดพัฒนาการท่ีเรียกว่า “ประชาธิปไตยแบบครึง่ ใบ” เหตกุ ารณเ์ ดือนพฤษภาคม 2535 ประชาชนรว่ มกันทวงอานาจจาก ร.ส.ช. นาไปสู่ยุค ประชาธิปไตยยุคหัวเลี้ยวหัวต่อ และพฒั นาการต่อเน่ืองจนมีรัฐธรรมนูญ พทุ ธศกั ราช 2540 ที่เปน็ รูปธรรม นาไปสู่ การปฏริ ปู การเมอื งยุคใหม่ ในปจั จุบนั
10151 ไทยศึกษา Page 15 of 85 หนว่ ยท่ี 3 : พฒั นาการเศรษฐกจิ ไทย ตอนท่ี 3.1 พฒั นาการทางเศรษฐกจิ ไทยก่อนใชแ้ ผนพัฒนาเศรษฐกิจแหง่ ชาติฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ. 2504 – 2509) 3.1.1 พน้ื ฐานเศรษฐกจิ ไทย พ.ศ. 2398 – 2475 เศรษฐกิจไทยก่อนปี 2398 เป็นเศรษฐกิจแบบยังชีพหรือเศรษฐกิจแบบเลี้ยงตนเอง มีการค้าระหว่าง ประเทศในขอบเขตจากัด ในปี 2398 ไทยได้ทาสนธิสัญญาเบาว์ริงกับอังกฤษสนธิสัญญาเบาว์ริง มีผลกระทบต่อ เศรษฐกจิ ไทยคอื เศรษฐกจิ ไทยไดเ้ ปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งเปน็ การผลติ แบบการค้าและใช้เงินตรามากยิ่งข้นึ โดยเปน็ ผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่ของโลก และนารายได้หรือเงินตราจากต่างประเทศมากท่ีสุดเม่ือเทียบกับสินค้าส่งออกอ่ืนๆ เช่น ดีบุก ยางพารา ไม้สัก การผลิตข้าวเพื่อส่งออกในระยะแรกกระจุกตวั อยู่บริเวณที่ราบภาคกลาง หลังจากน้ันมี การขยายตัวไปภมู ภิ าคอนื่ ๆ เพราะมกี ารขดุ คลองและสรา้ งทางรถไฟเชื่อมกบั เมืองทา่ กรงุ เทพฯ สนธสิ ญั ญา เบาว์ ริงยังมีผลต่อการแบ่งงานกันทาระหว่างเชื้อชาติ กล่าวคือ คนไทยได้ประกอบอาชีพภาคการเกษตรในหมู่บ้านโดย “ทานา” ในขณะท่ีในเมืองเช่นกรุงเทพฯ ใช้แรงงานชาวจีนอพยพเป็นแรงงานสาคัญ ทาให้เกิดชนช้ันนายทุนและ กรรมกร ปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการขยายตัวของการผลิตเพ่ือการส่งออกข้าวคือ การพัฒนาระบบพลังงาน ภายในประเทศ เช่นการขุดคลองสุเอช ซึ่งมีผลต่อการพัฒนาเรือกลไฟ อันมีผลต่อการลดต้นทุนการขนส่งสินค้า การเพิ่มขึ้นของประชากรในทวีปยุโรปและเอเชียก็มีผลต่อการขยายตัวของตลาดส่งออกข้าว รวมถึงการยกเลิก ระบบไพ และทาสมีผลตอ่ การปลดปล่อยแรงงานออกมาเพ่อื การผลิตขา้ วเพื่อการสง่ ออกเช่นกนั 3.1.2 เศรษฐกจิ ไทยช่วง พ.ศ. 2475 – 2504 การเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ ท่สี าคญั ของเศรษฐกจิ ไทยในช่วง พ.ศ. 2475 – 2504 คอื การปฏิวตั ิ มกี ารกาเนดิ ทุนนยิ มแหง่ รฐั ผลกระทบของเศรษฐกจิ ตกต่าทมี่ ตี อ่ เศรษฐกจิ ไทย ผลกระทบทางเศรษฐกิจของสงครามโลกคร้ังที่ 2 (2484 – 2488) และหลังจากน้ัน ผลกระทบของ สงครามโลกคร้ังที่ 2 (พ.ศ. 2484 – 2488) และหลังจากนั้น ที่สาคัญ คือ การเพ่ิมข้ึนของระดับราคาสินค้า (เงินเฟอ้ ) การเติบโตของภาคอุตสาหกรรม รัฐบาลไดเ้ ขา้ ไปมบี ทบาทการผลติ มากขน้ึ เน่ืองจากปัญหาการขาดแคลน สินค้า การเข้ามาของทุนไทยเช้ือสายจีนแทนที่นายทุนตะวันตก เพราะสงครามโลกคร้ังที่ 2 มีผลให้ธุรกิจของ ชาวตะวันตกปดิ ตวั ลง ตอนท่ี 3.2 เศรษฐกจิ ไทยตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2504 - 2545) 3.2.1 ธนาคารโลกกบั การวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจไทย ธนาคารโลกมีบทบาทชี้นาการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจของไทย โดยผลักดันให้รัฐบาลไทยจัดต้ังสภา พัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติหรือสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อดาเนินการวางแผนพัฒนา เศรษฐกิจในแนวทางทุนนิยม โดยเน้นให้เอกชนมีบทบาทนาในการพัฒนาประเทศ นอกจากน้ี สหรัฐอเมริกาได้ ชว่ ยเหลอื ประเทศไทยเป็นอันมาก นับแต่ พ.ศ. 2493 เป็นตน้ มา โดยชว่ ยเหลือดา้ นเงินทนุ และผู้เชีย่ วชาญ โดย
10151 ไทยศกึ ษา Page 16 of 85 มุ่งเน้นไปยังภาคการเกษตรกรรม สาธารณสุข และคมนาคมปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อการสนับสนุนการพัฒนา เศรษฐกิจตามแนวทางทุนนิยมท่ีเสนอโดยธนาคารโลกที่ไม่ประสบความสาเร็จคือ ความไร้ประสิทธิภาพของ รฐั วสิ าหกจิ มกี ารฉอ้ ราษฎร์บงั หลวงตลอดจนเป็นแหล่งหาผลประโยชนข์ องคนบางกลุ่ม และรัฐวสิ าหกจิ ประสบกับ ปัญหาการขาดทนุ และลม้ ละลาย 3.2.2 การพฒั นาเศรษฐกจิ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับต่าง ๆ วัตถปุ ระสงคแ์ ละแนวทางแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 – 9 โดยสรปุ มีดังน้ี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 (2504 – 2509) ฉบับที่ 2 (2509 – 2514) มีแนวคิดพัฒนาประเทศโดยเน้นความ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ มีการลงทุนส่ิงก่อสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ โดยรัฐลงทุนก่อสร้างถนน ระบบคมนาคม ขนส่ง เข่อื นพลงั งานไฟฟ้า สาธารณปู โภคอ่นื ๆ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3 (2515 – 2519) เน้นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและปรับโครงสร้างทาง เศรษฐกิจควบคู่กันไป มีวัตถุประสงค์และแนวทางที่สาคัญคือ รักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจของประเทศ เช่น เร่งรัด การส่งออก และสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมแทนการนาเข้า รวมท้ังมุ่งเน้นกระจายรายได้ และบริการทาง สังคมใหม้ ากขนึ้ แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 4 (2520 – 2524) เศรษฐกิจไทยประสบปัญหาระดับราคาสินค้าท่ีเพ่ิมขึ้นอย่าง รวดเร็ว เน่ืองมาจากผลกระทบของการเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันดิบ (OPEC ) ประกอบกับปัญหาความเหลื่อมล้า ในการกระจายรายไดร้ ะหวา่ งกลุ่มบคุ คลในเมืองกับชนบทมมี ากย่งิ ข้ึน ดงั นั้นจึงนาแนวคดิ ต่อเน่ืองไปยังฉบับตอ่ ไป แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 5 (2525 – 2529) มีแนวคิดในการพัฒนาประเทศ เน้นความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจและการกระจายรายได้ควบคู่กันไปด้วย มีวัตถุประสงค์และแนวทางสาคัญ อาทิ ปรับปรุงโครงสร้าง การผลิตให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ แก้ไขปัญหาความยากจนในชนบท โดยกาหนดพ้ืนที่เป้าหมาย กระจาย ความเจริญไปสู่ภมู ิภาคและสง่ เสริมความเสมอภาคทางเศรษฐกจิ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ความเสมอภาคระหว่างพื้นท่ี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 (2530 – 2534) ยังคงมีแนวคิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจควบคู่กับ การกระจายรายได้ มีวัตถุประสงค์และแนวทางสาคัญ ในการพัฒนาประเทศคือปรับปรุงโครงสร้างการผลิตและ การตลาดของประเทศใหก้ ระจายตัวมากยง่ิ ขึ้น พฒั นาเมืองและพน้ื ทเ่ี ฉพาะโดยการกระจายความเจรญิ สภู่ ูมิภาค แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 (2535 – 2539) เน้นการสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กับการกระจาย รายได้ แล้วยังมีแนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม โดยเน้นการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ การศึกษาและสาธารณสุข พัฒนาจิตใจ วัฒนธรรม และสังคม พัฒนาคุณภาพชีวิตสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับ การพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมพร้อมท้ังมรี ะบบบริหารและการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8 (2540 – 2544) เม่ือส้ินสุดแผนพัฒนาฯ 7 ปัญหาจากการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมเพ่ิมมากขึ้นตามลาดับ เช่น ปัญหาความแตกต่างระหว่างรายได้ระหว่างเมืองกับชนบท ความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นอกจากน้ีการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทางกระแสโลกาภิวัตน์ได้ส่งผลต่อ สังคมไทย ในแง่ท่ีผู้คนมีความเป็นวัตถุนิยมมากยิ่งข้ึน มีความฟุ้งเฟ้อและขาดระเบียบวินัย วิถีชีวิตด้ังเดิมในชนบท โดยเฉพาะสถาบันครอบครัว ชุมชน วัฒนธรรม ความร่วมมือ ได้เริ่มจางหายไป ผลของการพัฒนาในระยะ
10151 ไทยศึกษา Page 17 of 85 แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 7 นี้เรียกว่า “เศรษฐกิจดีสังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ย่ังยืน” ด้วยเหตุน้ีใน “แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8” จึงได้เปล่ียนแนวคิดในการพัฒนาประเทศเน้น “คน” เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา โดยการพัฒนา เศรษฐกิจเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคนและเสริมสร้างศักยภาพของคนและสภาพแวดล้อมทางสังคม เพ่ือความอยู่ ดกี นิ ดมี ีสุขของประชาชน ตลอดจนดแู ลผลกระทบท่ีเกิดข้นึ กับคนและสังคมด้วย แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 9 (2544 – 2549) ได้ยึดหลักการพัฒนาท่ีย่ังยืน และความอยู่ดีกินดีมีสุขของคนไทย ให้ความสาคัญกับการแก้ปัญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตโดยยึดหลัก “ทางสายกลาง” เพื่อให้ ประเทศรอดพ้นจากวิกฤต สามารถดารงได้อย่างมั่นคงและนาไปสู่การพัฒนาท่ีสมดุลมีคุณภาพและยั่งยืน เน้นการพ่ึงพาตนเอง ขณะเดียวกันให้ก้าวทันโลกในยุคโลกาภิวัตน์ความพอเพียงท่ีเน้นการผลิตและบริโภคอยู่บน ความพอประมาณ และมีเหตผุ ล 3.2.3 ผลของการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมตามแผนพัฒนาฯ ผลของการพัฒนาประเทศไทยโดยใชแ้ ผนพฒั นาฉบับต่าง ๆ มีดังตอ่ ไปน้ี 1. ผลต่อการเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งการผลติ และการค้าระหวา่ งประเทศ 2. ผลต่อการเปลี่ยนโครงสรา้ งอาชพี และการจา้ งงาน 3. ผลตอ่ การขยายตัวของเมอื งกรงุ เทพฯ และเมอื งรวม ๆ 4. ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงโครงสร้างการกระจายรายได้ 5. ผลต่อทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ มและคณุ ภาพชวี ติ ตอนที่ 3.3 วกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ กบั เศรษฐกจิ ไทยและแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียง 3.3.1 สาเหตุและผลกระทบของวิกฤติการณท์ างเศรษฐกิจ สาเหตุและผลกระทบของวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ คือ ขนาดการพึ่งพาภาคเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ อยู่ในระดับสูง กล่าวคือ เป็นการพัฒนาท่ีเน้นการเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรมใน ระดับสูง ทาให้การส่งออก และนาเข้าขยายตัวอย่างรวดเร็ว การเปิดเสรีทางเศรษฐกิจการเงิน นับตั้งแต่ปี 2536 เป็นต้นมาผลทาให้นักลงทุน ได้ก่อหน้ีต่างประเทศเป็นอันมาก และมิได้ก่อให้เกิดผลผลิตแก่ระบบเศรษฐกิจในระยะยาว สมรรถนะของ อุตสาหกรรมไทย ความสามารถในการแข่งขันเมื่อเทียบกับประเทศส่งออกรายอื่น ๆ ลดต่าลง การขยายตัวทาง เศรษฐกจิ ชะลอตัว และธรุ กจิ ลม้ ละลาย การเพิ่มข้ึนของคนว่างงาน ปัญหาคุณภาพชวี ติ และสงั คม 3.3.2 แนวคิดและทฤษฎีในการพัฒนาทางเลือก : แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง ภาวะวิกฤติเศรษฐกิจในปี 2540 มีผลทาให้เกิดผลลบต่าง ๆ มากมาย จึงได้มีแนวคิดทฤษฎีใหม่และ แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง มีอยู่ 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 ผลติ อาหารเพื่อบรโิ ภคเหลอื นาไปขาย ขั้นท่ี 2 รวมตัวในรูปกลุม่ หรอื สหกรณ์เพือ่ การผลิต การตลาด การศกึ ษา สวสั ดิการสังคม และศาสนา
10151 ไทยศึกษา Page 18 of 85 ขัน้ ท่ี 3 ความรว่ มมือของกล่มุ และสหกรณ์ในชุมนุมกบั องค์กร หรือภาคเอกชน หรือแหล่งเงินเพ่อื ระดมทุน ช่วยสนับสนนุ ในการดาเนินงานให้ก้าวหน้า ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนให้ดีข้ึน ซึ่งส่งผลให้ชุมชนมี ความเข้มแขง็
10151 ไทยศกึ ษา Page 19 of 85 คาถามท้ายหนว่ ย การพฒั นาเศรษฐกจิ ไทยก่อนการใชแ้ ผนพัฒนาเศรษฐกิจเปน็ อยา่ งไร ตอบ เศรษฐกิจแบบยังชีพ หรอื เศรษฐกจิ พอเลย้ี งตวั เอง และมีการคา้ ระหว่างประเทศแต่อยู่ในขอบเขตจากดั สนธิสญั ญาเบาว์รงิ มผี ลกระทบต่อเศรษฐกจิ ไทยที่สาคญั คอื อะไร ตอบ มีการเปล่ียนแปลงโครงสร้างการผลติ และการค้าระหวา่ งประเทศ มีการแบ่งงานทาระหว่างกลุ่มเชื้อชาติและ การเกิดชนช้ันนายทุนและกรรมกร ระบบเศรษฐกิจเป็นเศรษฐกิจแบบเงินตราหรือการค้าและเริ่มมีความเก่ียวพัน กับเศรษฐกจิ โลก การเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจทส่ี าคญั ของไทยในช่วง พ.ศ. 2475 – 2504 เปน็ อยา่ งไร ตอบ เกิดทุนนิยมแห่งรัฐ เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่าอันเน่ืองจากผลกระทบจากเศรษฐกิจโลกและการเกิด สงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมารัฐได้สนับสนุนภาคอุตสาหกรรม มีทุนไทยเชื้อสายจีนเข้ามามีบทบาทในการค้าขาย แทนท่ี นายทุนตะวนั ตก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติฉบับท่ี 1-ฉบบั ท่ี 7 เนน้ แนวคดิ สาคัญโดยสรุปอยา่ งไร และฉบับท่ี 8-9 มแี นวคิดในการพฒั นาประเทศทเ่ี นน้ อะไร ตอบ แผนพัฒนาฯ 1-7 มีแนวคิดการพัฒนาประเทศโดยสรุป คือ เน้นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ มีการลงทุน สิ่งก่อสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มีการพัฒนาอุตสาหกรรม และการกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 8-9 ได้เปล่ียนแนวคิดเป็นการพัฒนาคนเป็นศูนย์กลาง ให้มีศักยภาพ มีสภาพแวดล้อมทางสังคมท่ีดี ยกระดับคณุ ภาพชวี ิต โดยเฉพาะฉบบั ที่ 9 ยดึ หลกั ทางสายกลางใหม้ คี ุณภาพชีวิตท่ยี ั่งยนื พึ่งตนเอง มี ความพอเพียงและก้าวทนั โลกในยคุ โลกาภิวตั น์
10151 ไทยศกึ ษา Page 20 of 85 หนว่ ยที่ 4 : พัฒนาการสังคมไทย ตอนท่ี 4.1 สังคมไทยในสมัยจารีต 4.1.1 กลุ่มคนในสังคม ตง้ั แต่สมยั อยธุ ยาแบ่งกลมุ่ คนในสังคมอยา่ งกว้าง ๆ เปน็ 2 ชนช้นั คือ ชนชน้ั ปกครอง ประกอบดว้ ย พระมหากษัตรยิ ์ แนวคดิ ท่ีใช้เน้นหลักในการกาหนดฐานะ อานาจและหนา้ ทม่ี วี วิ ัฒนาการดังนี้ สมยั สโุ ขทัย พ่อขุน - ธรรมราชา →สมัยอยุธยา- เทวราชา → สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น-เทวราชาที่มีสาระการปฏิบัติเป็น ธรรมราชามากกวา่ เจ้านาย คือญาติ พระราชโอรสและพระราชธิดาของพระเจ้าแผ่นดิน เป็นชนช้ันท่ีมีการสืบสายเลือด ในเรือ่ งยศนั้นแบ่งเป็น “สกุลยศ” ไดร้ ับมาต้งั แตก่ าเนดิ เป็นระดับชน้ั จาก เจ้า → เจา้ ฟา้ → พระองคเ์ จ้า หมอ่ ม เจ้า ส่วนอีกประเภทหน่ึงคือ “อิสริยยศ” ได้รับพระราชทาน เป็นระดับจาก พระ เป็นพระบรมราชา เป็นต้น และ การทรงกรม เป็นกรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง เป็นต้น ในด้านอานาจ เจ้านายแต่ละองค์มีไม่เท่ากันข้ึนอยู่กับ ตาแหน่งหน้าท่ีทางราชการ กาลังคนในการควบคุม(ไพร่หลวง) และความโปรดปรานที่พระมหากษัตริย์ทรงมีต่อ เจ้านายพระองค์นัน้ ขุนนาง เป็นคนกลุ่มน้อยในสังคม ท่ีมีทั้งอานาจ อภิสิทธ์ิ และเกียรติยศ ทังนี้สังคมของพวกขุนนางเป็น สงั คมค่อนข้างปิด เพราะมักวนเวียนกนั อย่ใู นกลุม่ ของตน พระสงฆ์ ประกอบดว้ ยสมาชกิ 2 พวก พวกที่บวชตลอดชีวติ นับเปน็ แกนหลัก มจี านวนไม่มาก และพวกที่ บวชชั่วคราว คณะสงฆ์เป็นกลุ่มคนท่ีรวมชนช้ันต่าง ๆ ในสังคมเข้าไว้ด้วยกันเพราะไม่มีการกีดกันว่า ชนชั้นไหนที่ จะบวชเป็นพระได้ ชนชัน้ ถูกปกครอง ได้แก่ ไพร่ ทาส โดยมีพระเป็นคนกลางในการเช่ือมโยงกลุ่มต่างๆ ในสงั คม นอกจากนั้น ยงั มีชนกลุ่มนอ้ ยอกี หลายชาติ ทส่ี าคญั ยิ่งคอื พวกชาวจนี 4.1.2 ระบบไพร่ ประเภทของไพร่ แบง่ เป็นไพร่สม และ ไพร่หลวง ไพรส่ ม เปน็ ไพร่สว่ นตัวของมูลนายท่ีไดร้ ับพระราชทานจากพระมหากษัตริยต์ ามศักดินาของมลู นายแต่ละ คน เพื่อรับใช้ทางานส่วนตัว ไม่ต้องเกณฑ์มาทางานโยธาให้รัฐ และเป็นมรดกสืบทอดให้ลูกหลานได้ รวมทั้ง แลกเปล่ียนกับไพร่สมของมูลนายอ่ืนได้ด้วย ไพร่ที่สังกัดกับ “กรม” ของเจ้านายท่ีทรงกรมหรือท่ีมักเรียกว่า “กรมเจา้ ” ถือเปน็ พวกไพร่สมด้วย ไพร่หลวง เป็นไพร่ของพระมหากษัตริย์และเป็นไพร่ส่วนใหญ่ของราชอาณาจักร ไพร่หลวงเร่ิมถูกเกณฑ์ เม่ืออายุ 18 หรือ 20 ปี และปลดเม่ืออายุ 60 หรือ 70 ปี ระยะเวลาถูกเกณฑ์ในสมัยอยุธยาตอนปลายอยู่ใน ลักษณะ 1 เดอื น เวน้ 1 เดอื น เรียกวา่ “เข้าเดือนออกเดือน” รวม 1 ปี ถูกเกณฑ์ 6 เดือน นอกจากนั้นรัฐยังอนุญาตให้ไพร่ในบางพ้ืนที่ส่งส่ิงของหรือ “เงิน” แทนการถูกเกณฑ์แรงงานเรียกว่า “ไพรส่ ่วย”
10151 ไทยศึกษา Page 21 of 85 วิธีการควบคุมไพร่ ควบคุมตามลาดับจาก เจ้าหมู่ → มูลนายท่ีสูงขึ้นมา → ขุนนาง ผู้บริหารกรม → พระมหากษตั รยิ ์ 4.1.3 ระบบศกั ดนิ า มบี ทบาทในสงั คมไทยจารีต ดังน้ี การเป็นกลไกควบคุมการแจกจ่ายแรงงานหรือกาลังไพร่พล มูลนายที่ถือศักดินาสูงจะคุมไพร่จานวนมาก ตามไปด้วย และมีสิทธิต้ังไพร่เป็นเสมียนทนาย เพื่อรับใช้ในงานต่าง ๆ เป็นเคร่ืองแสดงเกียรติยศและสถานะทาง สังคมของมลู นาย การเป็นโครงสร้างการจัดระเบียบชนช้นั แบ่งคนในสังคมเป็น 4 กลุ่ม คือ เจ้านาย ขุนนาง ไพร่ ทาส และ กลุ่มคนนอกระบบไพร่คือ พระสงฆ์ และคนจีนอพยพ โดยกาหนดศักดินาลดหล่ันกัน แสดงถึงความรับผิดชอบ ควบคุมไพร่ตามจานวนที่ถือศักดินา มูลนายระดับล่าง ถ้าทาความดีความชอบก็ได้เล่ือนเป็นมูลนายระดับสูงได้ ส่วนไพร่ (ศักดินา 10 – 25) ถูกเกณฑ์แรงงาน ก็ต้องจงรักภักดี ให้แรงงานและของกานัลแก่มูลนาย เพื่อตอบแทน ความคมุ้ ครองช่วยเหลอื ท่ไี ด้รบั จากมูลนาย การเป็นสิทธิในการถือครองท่ีดินแต่ไม่มีกรรมสิทธิ์ในท่ีดิน เพราะระบบศักดินาเป็นเพียงให้สิทธิในการถือ ครองทีด่ ินเพอื่ บกุ เบิกเพาะปลูกหาผลประโยชน์ (การมีกรรมสิทธ์ใิ นท่ีดนิ เพ่ิงมใี นรัชกาลที่ 5) ตอนท่ี 4.2 การเข้าสสู่ ังคมสมัยใหม่ 4.2.1 ปจั จยั ทท่ี าใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงเขา้ สู่สงั คมสมยั ใหม่ การปฏิรูปบ้านเมืองในทุก ๆ ด้าน ในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นเหตุการณ์ที่สาคัญยิ่งในประวัติศาสตร์และเป็น พ้นื ฐานในการเปลี่ยนแปลงเข้าสสู่ งั คมสมัยใหม่ มปี ัจจยั 3 ประการ การแผ่อานาจหรือการคุกคามของจักรวรรดินิยมตะวันตก ซึ่งเข้ามาหาแหล่งวัตถุดิบ ตลาดการค้า และ การขยายการลงทุน เพ่อื ตอบสนองการขยายตวั ของกิจการด้านอุตสาหกรรม ประกอบกบั แนวคิดของพลังชาตินิยม ของชาตติ ะวนั ตก ทาใหแ้ ผอ่ านาจเขา้ ยึดครองบา้ นเมอื งต่าง ๆ เปน็ อาณานคิ มของตน การขาดประสิทธภิ าพของระบบไพรแ่ ละหน่วยงานราชการ ความหละหลวมจากการผ่อนคลายการควบคุม และการปลดปล่อยแรงงานไพร่อันเน่ืองจากความเจริญทางการค้าสาเภา และอุตสาหกรรมน้าตาลทราย เรอื สาเภา และดีบุก เพื่อส่งตลาดต่างประเทศ และการหลั่งไหลของชาวจีนอพยพที่เข้ามามีบทบาทในเศรษฐกิจไทย ราชการ ไทยมีภาระหน้าที่ บทบาทซ้าซ้อน ก้าวก่ายกัน แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว โดยท่ีส่วนกลางไม่สามารถดูแลได้ ทวั่ ถงึ ดว้ ยเหตทุ ่อี ยู่ห่างไกลและการคมนาคมไมส่ ะดวกรวดเร็ว การที่กลุ่มคนรุ่นใหม่ได้เรียนรู้วิทยาการตะวันตกกว้างขวางกว่าในสมัยรัชกาลท่ี3 และรัชกาลที่ 4 มีการเสนอความเห็นเพ่ือเปล่ียนแปลงระเบียบบริหารแผน่ ดิน การปรับปรุงประเทศใหท้ นั สมัย และเปลี่ยนจาก “สยามเกา่ ” มาสู่ “สยามใหม่” 4.2.2 ผลของการเปลีย่ นแปลเข้าสูส่ งั คมสมยั ใหม่ การปฏิรูปบา้ นเมืองในรัชกาลท่ี 5 ทาให้เกดิ ผลการเปลยี่ นแปลงทางสงั คมท่ีสาคัญ 4 ประการ ดังนี้
10151 ไทยศกึ ษา Page 22 of 85 การยกเลิกระบบไพร่ ใช้วิธีการค่อยเป็นค่อยไป เริ่มจากให้ไพร่สมเป็นไพร่หลวง เร่งเก็บเงินส่วยหรือเงิน ราชการ ใช้แรงงานชาวจีน จัดการทหารแบบตะวันตก มกี ารประกาศใช้พระราชบญั ญัตลิ ักษณะการเกณฑ์ทหาร ร.ศ.124 (พ.ศ. 2448) จดั ทาสามะโนครวั แทนการสักไพร่ การเลิกทาส มีการใช้กฎหมาย 5 ฉบับ เพ่ือเลิกทาสอย่างเป็นขั้นตอน ตั้งแต่ พ.ศ.2417 จนสาเร็จใน พ.ศ. 2448 ใช้เวลา 31 ปี การเคลอ่ื นท่ที างสงั คมท่ีเปดิ กวา้ งข้นึ เป็นการเล่ือนฐานะทางสงั คม โดยทเ่ี มอ่ื เลิกระบบไพรแ่ ล้ว ประชาชน มีโอกาสศึกษาเล่าเรียน และทางานอย่างอิสระ การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจเป็นทุนนิยม ก็เป็นแรงกระตุ้นให้ ทางานในลกั ษณะต่าง ๆ ที่ยกฐานะของตนใหด้ ขี น้ึ การรับวัฒนธรรมตะวันตก ได้รับอิทธิพลจากตะวันตก เร่ิมจากชนชั้นผู้นาก่อน แล้วขยายผ่านการศึกษา แบบใหม่ และระบบเศรฐกิจแบบใหม่ ตอนที่ 4.3 ภาพรวมของสังคมไทยร่วมสมยั 4.3.1 โครงสร้างชนช้นั โครงสร้างชนช้นั ในสังคมไทยแบ่งออกเป็นชนชน้ั สงู ชนชั้นกลาง และชนชั้นล่าง ส่วนปัจจัยที่ใช้กาหนดชน ชน้ั ทางสงั คม ได้แก่ ชาตติ ระกูล การศึกษา ตาแหน่งหน้าท่ี การงานอาชีพ ฐานะทางเศรษฐกจิ ไปจนถึงคา่ นิยมทาง สังคม ส่วนการเลื่อนฐานะทางสังคมในสมัยร่วมสมัยมีปัจจัย 2 ประการ ได้แก่ การศึกษาซ่ึงต่อเน่ืองมาถึงการงาน อาชีพ การมีฐานะที่ร่ารวยมีเงินทองมาก นอกจากน้ันมีความเหลอื่ มลา้ ไม่เท่าเทียมกันในดา้ นโอกาส ระหว่างสังคม เมอื งและสังคมชนบทในการเล่อื นฐานะทางสังคม 4.3.2 สงั คมเมอื ง สังคมชนบท ในสังคมในสมัยจารีตบ้านหรือหมู่บ้าน มีขนาดไม่ใหญ่มากนัก ผู้คนในหมู่บ้านดารงวิถีชีวิตในวิธีธรรมชาติ ทาเกษตรแบบพอยังชีพ มีความเพียงพอในตนเองสูงพอสมควร สามารถพึ่งตนเองได้ในเกือบทุกด้าน รวมท้ังมีการ เกาะเกีย่ วกันหรอื ความเป็นชุมชนสงู เม่ือจานวนคนในหมู่บ้านเพิ่มมากขึ้น ก็มีการขยายตัวไปต้ังหมู่บ้านแห่งใหม่ในละแวกใกล้เคียง และมีความสัมพนั ธ์ กนั ของหมบู่ ้านทอี่ ยูใ่ กล้กนั มีวดั เปน็ ศูนยก์ ลางของชมุ ชน รวมทง้ั รว่ มสรา้ งวฒั นธรรมชุมชนในทอ้ งถนิ่ ตน ความเป็นมาและความเป็นไปของสงั คมเมือง - สงั คมชนบทในเมอื งไทย สังคมเมือง มีลักษณะเด่นท่ีการกระจุกตัวของประชากรในพ้ืนท่ีแคบ ผู้คนท่ีอยู่ในชุมชนเมืองส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม การบริหารและการบริการ (เช่น การท่องเท่ียว การศึกษา การขนส่ง การคมนาคม งานซ่อมบารงุ ) ใช้เครอื่ งมอื และอุปกรณต์ ่าง ๆ ที่มีเทคโนโลยรี ะดบั กา้ วหน้า ในดา้ นวัฒนธรรม คนใน สังคมเมืองต่างคนต่างอยู่ (ยกเว้นในชุมชนแออัด ซึ่งมีลักษณะวัฒนธรรมก่ึงเมืองกึ่งชนบท) มีความสนใจด้ินรน รับผิดชอบเฉพาะตนและครอบครัว ดาเนินวิถีชีวิตในความทันสมัย รวมทั้งอยู่ในสภาพแวดล้อมซ่ึงมีปัญหาเร่ือง
10151 ไทยศึกษา Page 23 of 85 มลพิษ การว่างงาน อาชญากรรม ความไมเ่ พียงพอของสาธารณูปโภคสาธารณปู การต่าง ๆ ปญั หาเหล่าน้จี ะเกิดข้ึน ในเมอื งใหญล่ ดน้อยลง ในเมอื งขนาดกลาง และอาจไมพ่ บในเมืองเลก็ ทมี่ ีการบริหารจัดการท่ีดี สังคมชนบท ผูอ้ ยอู่ าศยั ทามาหากินเลี้ยงชีพจากทรัพยากรพ้นื ฐานทางธรรมชาติ มกั ใช้เทคโนโลยแี ละเคร่ืองมือท่ีไม่ ยุ่งยากซับซ้อน การลงทุนต่าและอาศัยการสนับสนุนจากธรรมชาติ เช่นความอุดมสมบูรณ์ของดิน น้า พืช สัตว์ สว่ นความหนาแน่นและรายได้เฉลย่ี ของประชากรนนั้ ตา่ กว่าชุมชนเมือง ในดา้ นวัฒนธรรม มีความผกู พันทางเครือ ญาติและความสามัคคีในกลุ่มญาติมิตรสูง ให้ความสนใจร่วมใจทากิจกรรมต่าง ๆในชุมชน เช่น พิธีกรรม งานบุญ ต่าง ๆ ตลอดจนงานต่างเพ่ือประโยชน์ของชุมชน สังคมชนบทในประเทศด้อยพัฒนาหรือกาลังพัฒนามักมีปัญหา ความยากจน การวา่ งงาน การอ่านไมอ่ อกเขยี นไมไ่ ด้ สุขภาพอนามยั ไม่ดแี ละปัญหาอนื่ ๆ อีกหลายดา้ น สาเหตุท่ีทาให้หมู่บ้านในสังคมร่วมสมัยช่วง พ.ศ. 2504 – 2544 เกิดสภาพล่มสลาย กระแสทุนนิยมท่ีแผ่ เข้ายังหมู่บ้านหรือสังคมชนบทภายใต้แผนพัฒนาฯ ฉบับต่างๆ น้ันทาให้หมู่บ้านล่มสลาย อยู่ในความครอบงาและ พ่ึงพาสังคมเมืองทุกด้าน ทั้งนี้เพราะรัฐไม่มีแนวทางการรองรับท่ีเหมาะสม เม่ือหมู่บ้านต้องแปรเปล่ียนไปตามพลัง ผลักดันของทุนนิยม อีกทั้งยุทธศาสตร์การพัฒนากระแสหลักของไทยเน้นการพัฒนาแบบไม่สมดุล มุ่งสู่ภายนอก และเป็นตลาดเสรี กอ่ ให้เกดิ ความเหลอื่ มลา้ อยา่ งมาก จงึ เกิดการลม่ สลายทางวัฒนธรรม
10151 ไทยศกึ ษา Page 24 of 85 คาถามท้ายหน่วย คนกลุม่ ใดในสงั คมไทยทมี่ ักเป็นกล่มุ ทต่ี ้องการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาของสังคมตลอดจนการทดลองส่ิงใหม่ๆ ตอบ ชนช้ันกลาง เพราะเป็นชนชน้ั ปฏบิ ตั กิ ารที่มีความรู้ ความสามารถ กลมุ่ คนในสมตั จารีตจนถงึ ช่วงก่อนการปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 มกี ลุ่มชนช้นั ใดบ้าง ตอบ แบ่งได้กว้างๆ เป็น 3 กลุ่ม คือ ชนชั้นปกครอง ชนชั้นที่ถูกปกครอง และชนกลุ่มน้อยนอกระบบศักดินา ชนชั้นปกครอง มี กษัตริย์ เจ้านาย และขุนนาง หรือมูลนาย ชนช้ันถูกปกครอง ได้แก่ ไพร่และทาส ชนกลุ่มน้อย นอกระบบศกั ดินา มพี ระสงฆ์และชาวตา่ งชาติ การจดั ระเบียบทางสงั คมเป็นสงิ่ ตอ้ งมใี นสังคมการปกครอง คาวา่ ระเบียบสังคม หมายถึงอะไร ตอบ กฎเกณฑ์ หรือระเบียบที่แต่ละสังคมกาหนดข้ึนเพื่อกากับให้การอยู่ร่วมกันของกลุ่มคนต่างๆดาเนินไปด้วยดี และการกาหนดกฎเกณฑท์ ีต่ ้ังขึ้นน้ี สมาชิกในสังคมต้องยอมรบั รว่ มกัน ไพรใ่ นสังคมจารีตมกี ี่ประเภท อะไรบ้าง ตอบ มี 2 ประเภท คอื 1) ไพร่สม เป็นไพร่ที่เป็นสมบัติส่วนตัวของเจ้าขุนมูลนาย โดยได้รับพระราชทานจากกษัตริย์ ตามศักดินาของ มูลนาย 2) ไพร่หลวง เป็นไพร่ที่ทางานหลวงใช้แรงงานให้แก่กษัตริย์ ไพร่อาจจะส่งส่ิงของหรือจ่ายเป็นเงินแทนการถูก เกณฑ์แทนใชแ้ รงงานก็ได้ เรียกว่า ไพร่สว่ ย มีปจั จยั สาคัญทเี่ ป็นพน้ื ฐานในการเปลย่ี นแปลงสังคมใหเ้ ป็นสมัยใหม่ ไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง ตอบ การแผ่อานาจของจักวรรดิ์นิยมตะวันตก การขาดประสิทธิภาพของระบบไพร่และหน่วยงานราชการ และ การทกี่ ลมุ่ คนรนุ่ ใหมไ่ ดเ้ รียนรวู้ ิทยาการตะวนั ตกมากขึ้น ภาพรวมของสังคมไทยร่วมสมยั เป็นอย่างไร ตอบ สงั คมไทยได้เปลี่ยนแปลงเป็นสงั คมสมัยใหม่โดยไดร้ บั อทิ ธิพลจากตะวันตก มีการพัฒนาตอ่ เน่ืองจนถงึ ปัจจุบัน โครงสร้างชนชั้นในสังคมเปล่ียนเป็นชนชั้นสูง ชนชั้นกลาง และชนช้ันล่าง ท้ังนี้มีเง่ือนไขท่ีเป็นปัจจัยสาคัญ คือ ระบบการศกึ ษา ทท่ี าใหม้ ีการเลื่อนฐานะทางชนช้ัน
10151 ไทยศกึ ษา Page 25 of 85 หน่วยที่ 5 : เทคโนโลยไี ทย ตอนที่ 5.1 ความรู้ท่วั ไปเกี่ยวกับวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5.1.1 ความรทู้ ่วั ไปเกย่ี วกับวทิ ยาศาสตร์ นบั ตง้ั แต่ยุคก่อนประวตั ิศาสตร์ มนุษยร์ ูจ้ กั การสรา้ งสรรค์ความรู้จากการสงั เกตและพฒั นาทางความคิดจน สามารถ อธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ท่ีเรียกว่า “ธรรมชาติวิทยา” เง่ือนไขการดารงชีวิตและสภาพแวดล้อมทาให้ การพฒั นา ความรู้ทางธรรมชาตวิ ิทยาเป็น “ภมู ิปญั ญา” ในแตล่ ะสังคมมคี วามแตกต่างกัน ต่อมาเม่ือความรู้และสามารถเรียนรู้เพ่ิมขึ้นอย่างเป็นระบบจนเข้าสู่ยุควิทยาศาสตร์ซ่ึงเริ่มต้นในประเทศ ตะวันตก วิทยาศาสตร์จงึ เข้าแทนท่ีธรรมชาตวิ ิทยาและมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของมนุษย์ต้ังแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถงึ ทุกวันน้ี ธรรมชาติวิทยา หมายถึง รูปแบบของความคิดที่พัฒนามาจากการสังเกตธรรมชาติจนสามารถอธิบาย ปรากฏการณ์ ต่าง ๆ วิทยาศาสตร์ หมายถึง รูปแบบของแนวความคิดท่ีนาไปสู่ความสามารถในการอธิบายโครงสร้างและ พฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ทน่ี อกเหนอื จากปรากฏการณท์ างธรรมชาตไิ ดด้ ้วย 5.1.2 ความรทู้ ่ัวไปเก่ียวกบั เทคโนโลยี เทคโนโลยีหรือเทคนิควิทยา หรือประยุกตวิทยา คือ การนาความรู้ทางธรรมชาติท่ีต่อเน่ืองมาคือ วทิ ยาศาสตร์ มาเปน็ วิธีการปฏิบตั ิและประยุกตใ์ ชใ้ นการปรับสภาพธรรมชาติทเี่ ปน็ อยู่ เพอ่ื ใหก้ ารดารงชวี ิตง่ายและ สะดวกย่ิงขึ้น มนุษย์ต้ังแต่ก่อนยุคประวัติศาสตร์ ดารงชีวิตเพ่ือให้อยู่รอดด้วยการพ่ึงพาธรรมชาติ มีข้อจากัดและ อุปสรรคต่าง ๆ เป็นแรงกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้และสร้างสรรค์เทคโนโลยี เมื่อมนุษย์พัฒนาความรู้มากข้ึน ก็ สามารถปรับเปล่ียน การใช้งานเทคโนโลยีก้าวหน้าตามไปด้วย เพื่อแก้ไขปัญหาปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิต มนุษย์ได้สร้างสรรค์เทคโนโลยีระดับพ้ืนฐานหรือเทคโนโลยีเหมาะสม (Appropriate Technology) เพ่ือยกระดับ คุณภาพชีวิตจึงก้าวสู่ระดับของเทคโนโลยีก้าวหน้า (Advanced Technology) ที่พัฒนาต่อไปอีกในระดับสูง ด้วย ความรวู้ ทิ ยาศาสตร์สมยั ใหม่ ในสมัยอดีต ความรู้ด้านเทคโนโลยีอยู่ในระดับท่ีไม่ซับซ้อนซ่ึงสอดคล้องและเพียงพอต่อการดารง ชีวติ ประจาวัน ในสังคมปัจจุบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ้าวหนา้ อยา่ งรวดเรว็ มากขน้ึ ผลิตผลส่วนใหญ่เปน็ สินค้า เพ่ืออุปโภคบริโภค ผู้ใช้เทคโนโลยีอยู่ในฐานะผู้บริโภคเรียนรู้เพียงวิธีการใช้การบริโภคเท่าน้ัน นับเป็นอีกโฉมหน้า หนึง่ ของการพฒั นาเทคโนโลยที ี่เปล่ยี นแปลงจากอดีตอย่างสิน้ เชิง ตอนท่ี 5.2 บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีในสังคมไทย 5.1.1 เทคโนโลยีในสมัยสงั คมจารีตของไทย ช่วงระยะเวลาประมาณ 500 ปีจากสมัยอยุธยา ต่อมาสมัยธนบุรีจนถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นยุค “ยุคสมัยสังคมจารีต” รากฐานสาคัญด้านวัฒนธรรมไทยมาจากศาสนา มีพ้ืนฐานของเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ เทคโนโลยใี นสมัยสงั คมจารีตมี 2 ระดับคือ
10151 ไทยศึกษา Page 26 of 85 เทคโนโลยีพ้ืนฐาน ช่วยแก้ไขปัญหาความต้องการปัจจัยพ้ืนฐานก่อให้เกิดประโยชน์สุขในการดารงชีวิต เทคโนโลยี ก้าวหน้า ช่วยยกระดบั คุณภาพชวี ิต และสร้างสรรคผ์ ลงานตา่ ง ๆ ด้านวิทยาการและเทคโนโลยที ี่ทันสมัยในยุคปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ ทาให้ตะวันตกประสบความสาเรจ็ ใน การประดษิ ฐ์คิดค้นและการผลิตสินคา้ ส่งออกไปทวั่ โลก ดว้ ยความต้องการวตั ถุดิบและตลาดระบายสินค้า ประเทศ ตะวันตกใช้นโยบายจักรวรรดินิยมแสวงอาณานิคม แผ่ขยายอานาจครอบคลุมพื้นท่ีรวมทั้งทวีปเอเชียต้ังแต่พุทธ ศตวรรษท่ี 25 เป็นต้นมา 5.2.2 การรับเทคโนโลยีตะวนั ตก ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในประเทศตะวันตกก้าวหน้าอย่างต่อเน่ือง มีการค้นคว้าทดลอง การค้นพบความรู้ใหม่ ๆ ทาให้ยุโรปและอเมริกาพัฒนาด้านอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว สินค้า ผลิตได้มาก ทาให้ต้องแสวงหาตลาดระบายสินค้าและแหล่งวัตถุดิบพัฒนาโรงงาน เป็นเหตุผลสาคัญของการแผ่ อิทธพิ ลของตะวันตกครอบงาประเทศตา่ ง ๆ ทั่วโลกรวมท้ังประเทศไทยด้วย การเข้ามาของตะวันตกในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นทาให้สังคมไทยเรียนรู้วิทยาการและเทคโนโลยี สมัยใหม่ ได้แก่ การแพทย์ตะวันตก และเทคโนโลยกี ารพมิ พ์ ภายหลังการทาสนธิสัญญาเบาว์ริงในพ.ศ. 2398 การลงทุนด้านการค้าในสังคมไทยทั้งการผลิต และ การสง่ ออกขยายตวั อย่างรวดเรว็ สังคมไทยเปิดรับเทคโนโลยีตะวันตกเพื่อประโยชน์ด้านการค้า การสาธารณูปโภค การคมนาคม การผลิตบุคลากรที่มีความรู้สนองต่อความต้องการของประเทศ นอกจากนี้สินค้าอุปโภคบริโภค จากโรงงานต่างประเทศที่หลั่งไหลเข้าสู่สังคมไทย มีคุณลักษณะการใช้งานหลากหลาย มีคุณภาพและราคาถูก ทาให้ตลาดสินค้าพื้นเมืองของไทยซบเซาลงเน่ืองจากตามไม่ทันความรู้และการปรัปปรุงประยุกต์เพ่ือพัฒนาด้วย เทคโนโลยสี มัยใหม่ ในท่สี ดุ เทคโนโลยีด้ังเดมิ ของไทยในสมัยสังคมจารีตถูกทอดทง้ิ ไป ทาใหก้ ารสบื ทอดและพัฒนา หยุดชะงัก ภูมิปัญญาไทยถูกละเลยอย่างน่าเสียดาย และเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีทาให้ไทยต้องเสียเงินจานวนมากใน การซอ้ื และการพงึ่ พาเทคโนโลยีจากต่างประเทศสบื เน่ืองจนถงึ ปจั จบุ ัน 5.2.3 เทคโนโลยีสมยั ใหมใ่ นสังคมไทย วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ก่อเกิดความรู้ในระดับลึกหลากหลายด้าน ความรู้เหล่าน้ีได้นาไปประยุกต์ใช้ใน การประดษิ ฐ์เครอ่ื งมือ เครอ่ื งจกั รกล และสรา้ งสรรค์การใชเ้ ทคโนโลยตี ่าง ๆ เปน็ จดุ เดน่ ของความเจรญิ ก้าวหน้าใน สงั คมปจั จุบนั เทคโนโลยีสมัยใหม่สะท้อนให้เห็นแนวโน้มของสังคม แต่ในปัจจุบันสังคมไทยโดยเฉพาะสังคมเมืองใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่โดยไม่ได้อยู่ในฐานะเจ้าของเทคโนโลยี แม้จะพยายามส่งเสริมการเรียนรู้และการค้นคว้าวิจัย เพอื่ รองรับการพัฒนาดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี แต่กย็ งั ตอ้ งใช้เงินจานวนมากซ้ือเทคโนโลยีจากต่างประเทศ และพ่งึ พาเทคโนโลยีจากต่างประเทศในระดบั ท่ีสงู มาก ซ่ึงเปน็ ปัจจยั สาคญั ประการหนง่ึ ทท่ี าใหก้ ารพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศไมเ่ จรญิ กา้ วหน้าอย่างความมน่ั คง
10151 ไทยศกึ ษา Page 27 of 85 นอกจากนี้ผลจากการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีมีท้ังด้านสร้างสรรค์และการทาลายด้วย ความร้เู ทา่ ไม่ถึงการณ์ กอ่ เกดิ ปัญหาทย่ี ากจะแก้ไขตามมา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยจี ึงเปรียบเสมือนดาบสองคม ทีต่ ้องเลอื กใชอ้ ย่างระมดั ระวงั ด้วยเหตนุ จ้ี งึ ต้องมกี ารศึกษาเทคโนโลยีพ้ืนบ้านเดน่ ๆของไทยเพื่อพฒั นาให้เป็นเทคโนโลยเี หมาะสม จะทา ใหเ้ ราพ่ึงตนเองในดา้ นเทคโนโลยมี ากขน้ึ และทาใหเ้ กดิ การพัฒนาอยา่ งยงั่ ยืน ตอนท่ี 5.3 เทคโนโลยีเด่นในวิถีชวี ติ ไทย 5.3.1 เทคโนโลยกี ารเกษตร เกษตรกรรมเป็นพื้นฐานหลักทางเศรษฐกิจของสังคมไทยมาเน่ินนาน คนไทยนาประสบการณ์และ ภูมิปัญญา พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมนามาใช้อย่างสอดคล้องกับสภาพภูมิประเทศและแรงงานท่ีมีอยู่ ทาให้ พ่ึงตนเองได้และผลิตตามความต้องการภายในครัวเรือนหรือชุมชน เทคโนโลยีการเกษตรท่ีสาคัญในสังคมไทย ได้แก่ เทคโนโลยีการทานา เทคโนโลยีการประมง การทานาในยุคสมัยก่อนเทคโนโลยีเครื่องจักรกลอาศัยความรู้ ภูมิปัญญาไทยสร้างสรรค์เทคโนโลยีที่เหมาะสม จากพลังงานธรรมชาติ มีการคิดค้นเครื่องมือเคร่ืองใช้ต่างๆ เป็นหลักการตั้งถ่ินฐานบริเวณใกล้แหลง่ น้าก่อเกิดความเข้าใจในสภาพพื้นท่ี และธรรมชาติของสตั ว์นา้ คนไทยปรับ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการประมงอยา่ งหลากหลาย เช่น การวางโป๊ะ โพงพาง การใช้ลอบ ไซ ยอ การวางเบ็ด ฯลฯ และรู้จักการปรบั สภาพพืน้ ทเี่ พือ่ เป็นแหลง่ อาศัยของสัตว์น้า หลงั สงครามโลกคร้งั ที่ 2 (พ.ศ. 2488) เป็นตน้ มา วทิ ยาการตา่ ง ๆ กา้ วหน้าอยา่ งรวดเร็วมากจนถงึ ปัจจบุ ัน มีการพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืน พร้อมกับการรักษาทรัพยากรธรรมชาติด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพ่ือสร้าง ความมน่ั คงใหแ้ กร่ ะบบนเิ วศเพ่ือเป็นแนวทางการพฒั นาท่ียงั ประโยชนต์ ่อประเทศและผูค้ นในสังคมโดยรวมได้ 5.3.2 เทคโนโลยีเภสชั กรรม ความรู้ดา้ นเภสัชกรรมในสงั คมไทย เป็นภูมปิ ญั ญาท่ีสัง่ สมและสบื ทอดกนั มาเนนิ่ นาน มีสาระสงั เขป ดังนี้ ความรู้และทฤษฎีเภสัชกรรมไทย เป็นความรู้จากการสังเกตสรรพคุณและเลือกใช้สมุนไพรปรุงยา มีหลัก สาคญั ประกอบดว้ ย เภสัชวัตถุ สรรพคุณวตั ถุ คณะเภสัช และเภสัชกรรม ความรเู้ กีย่ วกบั ชนิด และลกั ษณะของสมุนไพร ทั้งจากพืช สตั ว์ แร่ธาตุ ความรู้เกี่ยวกับข้ันตอนการปรุงยา เริ่มจากการเลือกยา ขนาด ปริมาณ การแปรสภาพ การผสมยา และ จดั เกบ็ เมอ่ื ปรุงแล้วเสร็จ เมื่อการแพทย์ตะวันตกเข้ามามีบทบาทในสังคมไทย การประยุกต์พัฒนาภูมิปัญญาไทย ด้านเภสัชกรรม หยุดชะงักในช่วงเวลาหนึ่ง การรักษาพยาบาลและการซ้ือยาจากต่างประเทศทาให้เราต้องเสียเงินจานวนมากและ ต้องพง่ึ พาต่างชาตเิ พ่ือแก้ปัญหาดังกลา่ ว ปจั จุบันจงึ มกี ารประยุกต์ประโยชนจ์ ากสมุนไพรไทยทาให้ภมู ปิ ัญญาทีส่ ัง่ สมมามพี ลังตอ่ การใช้ประโยชน์ใน กระแสแหง่ ความเปล่ยี นแปลงทางวทิ ยาการทีด่ าเนนิ ไปอย่างรวดเรว็ ในปจั จบุ ัน
10151 ไทยศกึ ษา Page 28 of 85 5.3.3 เทคโนโลยีชลประทาน ในพ้ืนที่ที่มีปัญหาเร่ืองน้า คนไทยอาศัยความรู้เกี่ยวกับภูมิศาสตร์และลักษณะการไหล การระบายน้า สามารถวางแผนจดั ระบบชลประทาน นับเป็นเทคโนโลยีในวถิ ชี วี ติ ทโ่ี ดดเดน่ มายาวนาน ระบบชลทานยุคแรกของไทย พบในบริเวณเมืองโบราณหลายแห่ง ทั้งกาแพงคันดินเพื่อกาหนดทิศทาง ของน้า การทา “เหมืองฝาย” สาหรับเก็บกักน้า อาศัยความรู้และเทคโนโลยีชลประทานท่ีสะท้อนถึงการสั่งสมภมู ิ ปญั ญาไทย ฝายหรือเหมอื งเปน็ การก่อสรา้ งทานบขวางทางน้าเพ่ือก้ันน้าให้มีระดับสงู พอทีจ่ ะไหลเข้าทาเหมืองหรือ คลอง สง่ น้าไปยังพืน้ ที่ที่ต้องการให้น้า ที่เหลือลน้ ขา้ มสนั ฝายตอ่ ไปในลาน้าเดมิ ได้ การทาเหมืองฝายยังเป็นการระบบดูแลการใช้ทรัพยากรน้าร่วมกันท้ังในชุมชนและระหว่างชุมชนที่อยู่ เส้นทางน้าเดียวกัน ชาวบ้านจะเลอื กผู้นาในท้องถิ่นทาหนา้ ที่ “แก่เหมือง” และ “แก่ฝาย” ดูแลลาเหมืองและฝาย ควบคมุ การจดั สรรปนั นา้ และแก้ปญั หากรณมี ีข้อพิพาทเรอ่ื งน้า เขื่อนระบายน้า เป็นเทคโนโลยีชลประทานสมัยใหม่ มีลักษณะคงทนถาวร ลงทุนจัดการโดยรัฐพัฒนา การใช้เคร่อื งมือมาเป็นลาดบั 5.3.4 เทคโนโลยดี า้ นการหลอ่ โลหะ การทาเครื่องมือโลหะเป็นพัฒนาก้าวสาคัญ โดยเริ่มจากการใช้ทองแดง ต่อเนื่องมาเป็นการใช้โลหะผสม ระหว่างทองแดงกับดีบกุ คือสาริด แลว้ รู้จกั ใชเ้ หล็กคดิ ค้นส่ิงประดิษฐท์ ี่ชว่ ยเกดิ การพฒั นาเทคโนโลยแี ละสร้างสรรค์ กิจกรรมต่าง ๆ ทง้ั ด้านเศรษฐกจิ วฒั นธรรม ศลิ ปกรรม ศาสนา ทโี่ ดดเด่นของไทยคือ การหลอ่ ประติมากรรมโลหะ ที่นับเป็นการพัฒนาเทคโนโลยีโลหะวิทยาในระดับสูงด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น เม่ือมาถึงสมัยสุโขทัยจึงปรากฏงาน หล่อโลหะเปน็ พระพทุ ธรปู ขนาดใหญ่ จดั เปน็ ยคุ ทองของการหลอ่ ประตมิ ากรรม ความรู้ในการหล่อประติมากรรมในปัจจุบันได้มีการปรับประยุกต์ความรู้เทคโนโลยีสมัยใหม่เข้าด้วยกัน อย่างกลมกลืน เทคโนโลยีการหล่อโลหะ จึงเป็นภูมิปัญญาที่ได้สืบทอดให้เห็นประจักษ์และเป็นท่ียอมรับทั่วกันมา จนถงึ ปจั จบุ ัน
10151 ไทยศึกษา Page 29 of 85 คาถามทา้ ยหนว่ ย ธรรมชาติวิทยา วิทยาศาสตร์ มคี วามหมายอยา่ งไร ตอบ ธรรมชาตวิ ทิ ยา คือ ความร้เู กี่ยวกับสภาพแวดล้อมหรือปรากฏการณ์ธรรมชาติที่พัฒนาเปน็ ภูมิปัญญาของคน ในชุมชนน้ันๆ วิทยาศาสตร์ คือ ความรู้ซึ่งวิวัฒนาการมาจากธรรมชาติวิทยา เป็นรูปแบบความคิดท่ีนาไปสู่ความรู้ เก่ียวกับโครงสรา้ งหรอื พฤติกรรมนษุ ยท์ ่นี อกเหนือไปจากปรากฎการณ์ธรรมชาติ สงั คมสมยั จารตี มีเทคโนโลยกี ่ีระดับ อะไรบ้าง ตอบ มี 2 ระดับ คือ เทคโนโลยีระดับพื้นฐาน นามาใช้แก้ไขปัญหาความต้องการพ้ืนฐาน เพื่อให้เกิดประโยชน์ใน การดารงชีวิตให้มีความสุข เช่น เทคโนโลยีท่ีนามาทาเป็นเคร่ืองมือการเกษตรเทคโนโลยีก้าวหน้า เป็นความรู้ท่ีได้ ในยุคปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ นามาใช้ยกระดับชีวิต และประดิษฐ์คิดค้นผลงานด้านต่างๆ เช่น การก่อสร้าง การแพทย์ ประเทศไทยได้รับเทคโนโลยตี ะวนั ตกด้านใด ท่ีเขา้ มาเป็นครัง้ แรกในสมัยรัตโกสินทร์ตอนตน้ ตอบ การแพทย์ตะวันตก และเทคโนโลยีการพมิ พ์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ มคี วามสาคญั ต่อสังคมไทยอยา่ งไร และมขี ้อควรคานึงอยา่ งไร ตอบ มีความสาคัญท่ีก่อให้เกิดความรู้ในระดับลึก มีความหลากหลาย นาไปประยุกต์ใช้หรือใช้ประดิษฐ์เคร่ืองมือ เคร่ืองจักรกล และสร้างสรรค์เทคโนโลยีต่างๆ ที่ทาให้สังคมเจริญก้าวหน้าข้อควรคานึง คือ ควรนามาใช้อย่างรเู้ ทา่ ถึงการณ์ ถ้าไม่รู้จักเลือกใช้ให้เหมาะสม จะเกิดปัญหาท่ียากจะแก้ไข หรือเสียค่าใช้จ่ายสูง จึงต้องเลือกใช้อย่าง ระมัดระวัง นอกจากนี้ควรพัฒนา เทคโนโลยีไทยพื้นบ้าน เพ่ือจะได้พึ่งตนเองโดยไม่ต้องซ้ือหรือพึ่งพาเทคโนโลยี จากตา่ งประเทศมากเกินไป เทคโนโลยีทีส่ าคัญในวถิ ีชีวิตไทย มีอะไรบา้ ง ตอบ ได้แก่ เทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีเภสัชกรรม เทคโนโลยีชลประทาน และเทคโนโลยีโลหะ
10151 ไทยศึกษา Page 30 of 85 หน่วยที่ 6 : ความเชือ่ และศาสนากบั สังคมไทย ตอนที่ 6.1 ข้อพินิจเบอื้ งต้นเรอื่ งความเช่ือและศาสนา 6.1.1 ความเชอ่ื และศาสนาในแงว่ ัฒนธรรม ในสงั คม ความเชอื่ เป็นส่วนรวมเกิดเป็นระบบขึ้นในสังคมซึง่ โดยมากเรียกว่า “ศาสนา” เปน็ เร่ืองทางสงั คม โดยตรง เปน็ ปจั จยั เชอื่ มโยงสถาบันต่าง ๆ ในสงั คม ท้งั ดา้ นการเมอื ง การปกครอง เศรษฐกจิ ศาสนสถาน ในแง่การสร้างสรรค์ การยกระดับวัฒนธรรมและความสืบเนื่องทางวัฒนธรรมจนกลายเป็นอารยธรรม ศาสนา และความเช่อื เป็นท้ังเหตุโดยตรง เปน็ ปจั จยั โดยตรงและโดยอ้อมท่จี ะทาใหเ้ กดิ อารยธรรมในสังคมหรือของ ชนชาติใดชนชาตหิ นึง่ จากจุดศูนย์กลางอารยธรรม เชน่ พุทธ ศาสนา ครสิ ต์ศาสนา ศาสนาอิสลาม เป็นศาสนาหลัก ท่ีสร้างอารยธรรมหรือมีส่วนสร้างอารยธรรมของหลายชาติ หลายภาษา และยังเป็นจักรกลสาคัญในการ เปล่ยี นแปลงและในความเปน็ ไปของอารยธรรมโลกปัจจุบนั 6.1.2 ความเชือ่ ศาสนา ลทั ธิ ปรชั ญา 1. ความเชื่อ ข้อสาคัญในเรื่องของความเชื่อหรือการเชื่อ คือการประกาศว่าตนเชื่ออะไร โดยเฉพาะอย่างย่ิงในทาง ศาสนา ความเช่ือท่ีเกิดจากรากฐานของศาสนาน้ีเป็นเรื่องสาคัญเพราะแสดงว่าเมื่อต้องประกาศว่า เชื่อส่ิงไร ส่ิง หนง่ึ เชน่ เชื่อพระเจ้าองค์เดยี ว ผูท้ รงมหธิ านุภาพ กห็ มายความว่า มีผไู้ มเ่ ช่อื สงิ่ นัน้ อยดู่ ว้ ย เมอ่ื กลา่ วถึงความเชื่อท่ี เปน็ ระบบ ย่อมหมายถึง เรื่องของชนหมู่มาก เปน็ เร่อื งทางสงั คม มีผลกระทบกว้างขวางมากขน้ึ 2. ศาสนา ลัทธิ ปรัชญา ศาสนา มักกล่าวว่าคือ ระบบความเชื่ออย่างใดอย่างหน่ึง ศาสนามีใช้มานานในทางพุทธศาสนา แปล โดยตรงตามศัพท์ว่า คาสอน การสอนศาสนา หมายถึง คาสอนเท่านั้นไม่พอ เพราะศาสนามีฐานะเป็นสถาบันหน่ึง ในสงั คม คาสอน เป็นเพียงส่วนหน่งึ ของศาสนาเทา่ นั้น ความเชอ่ื และศาสนาอนื่ ๆ มกั เรียกว่า “ลัทธิ” ลทั ธิ หมายถึง สงิ่ ท่ไี ด้รับเอามานับถือ ความหมายใกล้เคยี งหรือเป็นส่วนหนง่ึ ของคาวา่ “ศาสนา” ปรัชญา ในทางตะวันออกนี้โดยเฉพาะในอารยธรรมอินเดีย – จีน แล้ว ศาสนาและปรัชญาไม่ได้แยกออกจากกันเด่นชัด ในทางพุทธศาสนาและทางพราหมณ์ย่อมเป็นไปเพื่อความหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด ปรัชญาความคิดจึง แยกจากศาสนาไมไ่ ด้ เพราะเป็นเครอ่ื งมอื หรอื ความเห็นที่ถูกต้องเปน็ “ปัญญา” 6.1.3 ทฤษฎีเกย่ี วกบั กาเนดิ ศาสนา พวกหนึ่งคิดว่า เร่ืองความเช่ือหรือศาสนาน้ันเป็นธรรมชาติของมนุษย์ เป็นเร่ืองที่เกิดมาพร้อมมนุษย์ มนุษย์ต้องมีความเชื่อหรือระบบความเชื่ออย่างใดอย่างหนึ่งพวกหน่ึงคิดว่า ศาสนาเกิดขึ้นเพราะความกลัว มักคิด ว่าสิ่งศักดิ์สิทธ์ิทรงอานาจอาจบันดาลให้ดีให้ร้ายได้ จึงเกิดพิธีกรรมเพื่อทาให้สิ่งเหล่านั้นพอใจ บางพวกไม่ได้สนใจ เรื่องกาเนิดเท่าใดนัก เห็นว่าน่าจะศึกษาในฐานะเป็นปรากฏการณ์ในสังคม ยอมรับว่าศาสนาเกิดข้ึนมาแล้ว ควร พิจารณาเพียงวา่ ทาหน้าที่อะไรในสงั คม สังคมใชศ้ าสนาอย่างไร ศาสนากากบั สงั คมอย่างไร
10151 ไทยศกึ ษา Page 31 of 85 6.1.4 ระบบสาคัญตา่ ง ๆ ของศาสนา ความเช่ือต่าง ๆ ในสังคมหนึ่ง ๆ เมื่อรวมกันเป็นระบบมีส่วนกากับแนวทาง แนวคิดของคนในสังคมเกิด เปน็ กฎเกณฑ์หรอื ระบบทางจารีตประเพณี ขนบธรรมเนียม พธิ กี รรม ศีลธรรม จริยธรรม ศิลปวัฒนธรรมแขนงต่าง ๆ ระบบความเชื่อโดยรวมเช่นนี้เราเรียกกันว่า ศาสนา ความเช่ือหรือระบบความเชื่อส่วนแรกนั่นเป็นเรื่องทาง “ปรัมปราคต”ิ ซ่ึงมนุษยใ์ ชอ้ ธิบายหรอื บนั ทึกเร่อื งราวทางความเช่อื ระบบความคิดทเ่ี กีย่ วข้องกับ “ปรมั ปราคติ” โดยตรง คือ ความคิดเรอื่ ง “จกั รวาลวิทยา” อนั แสดงให้เห็น ว่า คนในสังคมน้ันเห็นว่าระบบจักรวาลเป็นอย่างไร แบ่งเป็นก่ีส่วน มีอะไรเป็นส่วนผลักดันให้เป็นไปหรือสร้าง ข้ึนมาอย่างไร จะสิ้นสุดลงอย่างไร ศาสนาทุกศาสนา โดยเฉพาะศาสนาสาคัญของโลกต่างก็มี “ระบบศีลธรรม จริยธรรม” อาจแตกต่างกันด้วยข้อบงั คบั หรอื การบังคับกวดขัน ระบบเรื่องการบรรลุถึงจุดมุ่งหมายสูงสุดในศาสนา ก็เป็นเรื่องสาคัญเพราะจะเป็นส่วนกาหนดแนวทาง ปฏิบัติหรือ “มรรค” ท่ีจะทาให้บรรลุจุดมุ่งหมายน้ัน ๆ ความประพฤติทางศีลธรรมจรรยาอย่างเดียวย่อมไม่พอ ต้องมีการตระเตรียมตัวในดา้ นต่าง ๆ ในสว่ นนมี้ กั ผกู อยกู่ บั “ระบบของพธิ ีกรรม” อนั เป็นพื้นฐานเดมิ เมื่อพิจารณาระบบต่าง ๆ ในศาสนาที่กล่าวมานี้จะเห็นว่า ศาสนาผูกพันหรืออาจเรียกได้ว่าเกิดในสังคม เปล่ียนแปลงไปในสังคม ทาให้สังคมเปลี่ยนแปลง เป็นเคร่ืองกากับความคิดความอ่าน เป็นเครื่องบังคับพฤติกรรม ของมนษุ ย์ เป็นเครือ่ งสรา้ งศลิ ปวฒั นธรรมแขนงต่าง ๆ 6.1.5 ศาสนากับสังคม ศาสนากับสังคมตั้งแต่หน่วยแรก คอื ครอบครวั ศาสนายอ่ มมสี ่วนในเรื่องกฎเกณฑ์ ข้อบงั คับทางเพศ การ แต่งงาน พฤตกิ รรมความคิดความเหน็ ของบุคคลในสังคมตอ่ เรื่องตา่ งๆท้ังเร่ืองท่ีเกิดขึน้ ในประวัติศาสตร์ ในปัจจบุ นั และในอนาคต นนั้ ศาสนามีส่วนกากับแนวคิดทัง้ สิน้ ถ้าพิจารณาอีกแง่หนึ่ง ศาสนามีส่วนกาหนดหรือทาให้เกิดชนช้ันทางสังคมด้วยการที่บุคลเกิดมาไม่เท่า เทียมกัน ศาสนาเปน็ สถาบันเดยี วท่ีตอบคาถามนี้ได้ ไม่ว่าจะกล่าววา่ เป็นเรื่องของพระผู้เป็นเจ้า เรือ่ งกรรม อาจจะ ใช้ศาสนาอา้ งในเรอื่ งชนช้นั สงู หรอื พระ มีสทิ ธพิ ิเศษมากกวา่ คนธรรมดา นอกจากนี้ศาสนายังเกย่ี วแก่เรื่องเศรษฐกิจ ด้วยเปน็ แหลง่ รวมของศรัทธา มีเรือ่ งของเศรษฐกจิ การเงินเข้า ไปเกี่ยวมาก ศาสนายังมีส่วนกาหนดทิศทางการเมืองอีกด้วย การอ้างสิทธิหรือความชอบธรรมในทางการเมืองการ ต่อสู้ทางการเมือง มักใช้หรืออิงศาสนาหรือความเช่ือของคนในชุมชนนั้น เน่ืองจากศาสนากับสังคมนับเน่ือง เก่ียวพนั กันหลายดา้ น จงึ มี “การศกึ ษาศาสนา” ทางวิชาการในแงต่ า่ ง ๆ การศึกษาศาสนาท่ีเป็นวิชาการโดยตรง ไม่คานึงถึงเร่ืองความเช่ือส่วนตัว เกิดในราวสองร้อยปีมานี้ เร่ิม ดว้ ยการศึกษาประวัตศิ าสนาต่าง ๆ และในทส่ี ดุ ก็ศกึ ษาเปน็ วิชาศาสนา เรียกวา่ RELIGIOUS STUDIES หรอื แปลวา่ ศาสนศกึ ษา ศาสนศึกษา ศึกษาทั้งแง่คาสอน ด้านศีลธรรม จริยธรรม โลกทัศน์ จักรวาล วิทยา เร่ืองความหลุดพ้น ปรัชญาความคิด เร่ืองทางเทววิทยา พิธีกรรม ตลอดจนประวัติศาสนา พัฒนาการของศาสนา ความสัมพันธ์ของ ศาสนากบั สถาบนั อ่นื ๆ ในสังคม
10151 ไทยศึกษา Page 32 of 85 ตอนที่ 6.2 ลกั ษณะความเช่ือและศาสนาในสงั คมไทย 6.2.1 ความเช่ือดง้ั เดิม 1. ความเชือ่ เรื่องผีสางเทวดา ความเชือ่ เรื่องผีสางเทวดาเป็นปรากฏการณ์ทั่วไปทางศาสนาในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในสังคมไทย ยงั มคี วามเชอ่ื เช่นนีอ้ ยา่ งมั่นคง ปรากฏการณแ์ ทรกซึมอยู่ในเร่ืองต่าง ๆ ความเชือ่ ด้ังเดิมยังเขา้ ไปอยู่ในเร่ืองกฎหมาย กระบวนการทางกฎหมายอีกด้วย 2. การนับถอื บรรพบุรษุ การนับถือบรรพบุรุษนี้เกี่ยวข้องโดยตรงกับระเบียบประเพณีของครอบครัวโดยเฉพาะเร่ืองการแต่งงาน จะตอ้ งมีเร่อื งบชู าบรรพบุรุษเปน็ อันดบั แรก ระเบียบระบบต่าง ๆ ท่ีเกิดจากการนับถือผีสางเทวดา บรรพบุรุษนี้เป็นพื้นฐานโดยตรงของส่ิงท่ีเรียกว่า “จารีต” หรือ “จารีตประเพณีในสังคม” ซ่ึงเป็นพื้นฐานของกฎหมายดั้งเดิมของไทย เช่น กฎหมายมังรายศาสตร์ กฎหมาย ตา่ ง ๆ ในประชมุ กฎหมายตราสามดวง 3. ความเชอ่ื เกีย่ วกับเรือ่ งขา้ ว สงั คมไทยเปน็ สังคมเกษตร มเี ร่อื งการเพาะปลกู โดยเฉพาะเร่ืองการปลูกขา้ วเป็นเร่ืองสาคญั ประเพณีที่เนื่องด้วยข้าว มีตั้งแต่การเร่ิมไถนา มีพิธีของหลวงเป็นปฐม เรียกว่า “พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนา ขวัญ” เม่ือขา้ วตัง้ ท้องมีพธิ ที าขวญั ขา้ ว มกี ารบูชาแม่โพสพ ซ่ึงเปน็ เทพีแห่งข้าว ประเพณีสบื เนื่องดว้ ยขา้ ว เชน่ การ รวมกันทาฝายทานบ การลงแขก คือ การรวมแรงกันไปช่วยเก่ียวข้าว การละเล่นต่าง ๆ อันเนื่องด้วยข้าว เช่น เพลงเก่ยี วขา้ ว การทาบุญเมือ่ เกบ็ เก่ยี วผลผลติ ได้ เช่น บุญข้าวกระยาสารท 4. ความเชื่อเร่อื งโลกจักรวาลและกาเนดิ คน สตั ว์ คนไทยมีตานานเล่าเรื่องกาเนิดโลกจักรวาล และการสร้างคน สัตว์ อยู่หลายสานวน สรุปเป็นสาคัญ 3 อย่าง ตานานกลุ่มแรก มีจุดสาคัญอยู่ที่แถนหรือ ผีฟ้า กล่าวว่า แถน เป็นผู้สร้างทุกส่ิงทุกอย่าง เป็นผู้วาง กฎระเบยี บ และควบคุมดูแลใหม้ นษุ ยอ์ ย่ใู นระเบียบ และลงโทษเมอื่ มนษุ ยป์ ระพฤตผิ ิด ตานานกลุ่มที่สอง กล่าวคือ ชนชาติต่าง ๆ เกิดมาจากน้าเต้าใบใหญ่ มีเทวดาหรืแถนมาเจาะน้าเต้า มีชน ชาติต่าง ๆ ออกมาจากน้าเต้าตามลาดบั สืบเปน็ เผ่าพันธ์ขุ องชนเผ่าตา่ ง ๆ ตานานกลุ่มที่สาม กล่าวถึง มนุษย์คู่แรก เช่น ปู่สังกะสาย่าสังกะสี หรือยักษ์ปฐมกัปคู่แรก เป็นต้นกาเนิด ของมนุษย์ทง้ั ปวง และเปน็ ผู้สรา้ งสิ่งตา่ ง ๆ 6.2.2 ศาสนาทีม่ าจากอินเดียและศาสนาอื่น ๆ การรับนับถือ “ศาสนาจากอินเดีย” คือ ศาสนาพราหมณ์ และพุทธศาสนา เป็นไปตามธรรมชาติแห่งการ รับวัฒนธรรมอารยธรรม ศาสนาจากอินเดียเข้ามาพร้อมวัฒนธรรมแขนงอ่ืน ๆ มีเรื่องทางอักษรศาสตร์ การเมือง การปกครอง เป็นตน้
10151 ไทยศกึ ษา Page 33 of 85 ในด้านศาสนาอ่ืน ๆ นั้น ศาสนาท่ีมีศาสนิกมากอีกศาสนาหน่ึงคือ “ศาสนาอิสลาม” ซ่ึงมีหลักปฏิบัติ โดยรวมของสงั คมเทา่ เทยี มกนั ศาสนาสาคัญอีกศาสนาหน่งึ ซึ่งเข้ามาในประเทศไทยมานานแล้วคือ “ครสิ ต์ศาสนา” มีกล่มุ โรมันคาทอลิก ต่อมามี กลมุ่ โปรแตสเตนท์ ทง้ั สองกลุ่มน้พี ยายามเขา้ มาเผยแพร่ศาสนาพรอ้ ม ๆ กบั นาความเจริญทางวิทยาการดา้ นต่าง ๆ ศาสนาจากอนิ เดยี ทเี่ ปน็ กระแสใหม่ เชน่ ศาสนาสิกข์ เข้ามาพร้อมกับชาวอินเดยี ทเ่ี ป็นพ่อค้าในรุ่นหลัง ปจั จุบันมีแขนงหรือสาขาความคดิ ของศาสนาพราหมณ์หรือจะเรียกว่าศาสนาฮนิ ดูกไ็ ด้ เข้ามาเผยแพร่อยู่มาก โดยเฉพาะกลุ่มทีย่ ึดถือและตีความใช้คัมภรี ภ์ ควัทคีตาเป็นหลกั 6.2.3 ลกั ษณะการนบั ถอื ศาสนาในสังคมไทย โดยรวมแล้ว คนไทยมีความเช่ือหรือนับถือศาสนาเป็นเคร่ืองยึดเหนี่ยว อาจกล่าวได้ว่าคนไทย “ใช้ ศาสนา” มากกว่าศาสนาบังคับให้เป็นไปในทุกเร่ือง ดังน้ันเม่ือจะรับนับถืออะไร จึงเกิดการ “เลือก” มาเท่าที่จะ เหมาะแกเ่ ร่อื งหรือแก่สังคมไทย ความเชื่อและศาสนาที่ได้กล่าวมาแล้วในเรื่องความเชื่อด้ังเดิมกับความเชื่อศาสนาที่มาจากอินเดียรุ่นแรก คือ พุทธศาสนา และศาสนาพราหมณ์น้ัน อยู่ร่วมกันจนแยกไม่ออก ต่างก็มีหน้าที่ของตนในสังคมอย่างสมดุล พอควรทั้งในทางปฏบิ ัติและในชีวติ ประจาวัน 6.2.4 สังคมไทยในฐานะเปน็ สังคมพทุ ธศาสนา การที่กล่าวว่าสังคมไทยเป็นสังคมพุทธนั้น คงจะหมายได้เพียงว่า พุทธศาสนาเป็นศาสนาหลักท่ีคนไทย โดยมากและคนไทยทุกระดบั ยอมรับนับถอื เม่ือพิจารณาดูตามหลักฐานต่าง ๆ เชน่ ตานาน กจ็ ะเห็นการปรบั เปล่ียนทางความเชื่อจากความเชื่อดั้งเดิม ท้ังการปรับโดยสันติหรือปรับโดยขัดแย้งในส่วนที่เพ่ือรับพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์เข้ามาจนกลายเป็นหลกั ของความเช่อื แล้ว เมอ่ื มศี าสนาอืน่ 1. แนวคิดสาคัญในพุทธศาสนาแบบไทย - แนวคดิ สาคัญในพุทธศาสนาในสังคมไทย คือ “เร่ืองการเวียนวา่ ยตายเกิด” และเรอื่ ง “เวรกรรม” - การรับแนวคดิ เรื่องกรรมเขา้ มาในสังคมไทยนัน้ มผี ลหลายด้านคือ การเปน็ ข้อกาหนดทางจรยิ ธรรมศลี ธรรม การเป็นแนวคดิ ทีใ่ ชอ้ ธบิ ายความหลายหลากของสงั คม การเปน็ เครื่องชว่ ยเล่อื นชัน้ ทางสงั คม การทคี่ ิดว่าการทาบุญคือการบรจิ าคส่ิงของ การมโี ลกทศั น์ทีเ่ ปิดกวา้ งพอควร
10151 ไทยศึกษา Page 34 of 85 2. การใช้พุทธศาสนาในชวี ติ ประจาวัน - ความจริงแล้วการใช้ศาสนาในชีวิตประจาวันของคนไทยในท่ีนี้อาจจะไม่จากัดเฉพาะพุทธศาสนา จะเรียกว่าเป็น การใช้ความเช่ือ – ศาสนาของสังคมไทย โดยรวมก็ได้ พุทธศาสนาในท่ีนี้จึงหมายรวมไปถึงความเชื่อด้ังเดิม และ อาจครอบคลุมไปยงั ศาสนาอ่ืน ๆ ที่คนไทยนับถือด้วยบางส่วน - ความเชือ่ และศาสนาสนองความต้องการพืน้ ฐานของคนในสงั คมในแบบอืน่ ๆดว้ ย ศาสนาความเช่อื เป็นระบบการประกันภัย ศาสนาความเช่อื เปน็ ระบบการส่ังสม ศาสนาความเชื่อเปน็ เหมอื นระบบการส่งหรือการนาบญุ กุศลไปส่ผู ู้อน่ื หรือภพอน่ื 3. วัดกับสถาบันอน่ื ๆ ในสงั คมไทย ในแง่ของสังคม พุทธศาสนาเป็นสถาบันหลักสถาบันหนึ่ง สังคมไทยมีสถาบันหลักที่เรียกได้ง่าย ๆ ว่า “บ้าน วัง และวัด” สถานที่ท่ีสาคัญที่สุดคือ “วัด” ในชุมชนหนึ่ง ๆ จะมีวัดอย่างน้อยวัดหนึ่ง เป็นศูนย์กลางของ ชีวิต เพราะวัดมีความสาคัญในแง่ศาสนาความเช่ือ วัดทาหน้าท่ีหลายอย่างในสังคม “หน้าท่ีสาคัญที่สุดคือเป็น โรงเรียนสอนวิชาหนังสือ สอนเดก็ ใหอ้ า่ นออกเขียนได้ “เปน็ การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน” ตอนที่ 6.3 ความเชอ่ื และศาสนาในวฒั นธรรมไทยแขนงตา่ ง ๆ 6.3.1 การปกครองและกฎหมาย อารยธรรมการปกครองของไทยมีหลกั อยู่ที่พระเจ้าแผ่นดนิ ผทู้ รงเปน็ ศนู ยก์ ลางของอานาจทั้งทางโลกและ ทางธรรม แนวคิดสาคญั ท่ีสุดในเร่ืองพระมหากษัตริยข์ องไทยทเี่ กี่ยวข้องกับพุทธศาสนา คือพระมหากษัตริย์ทรงเป็น บุคคลที่เป็นแบบอย่างทางศีลธรรม มีการอ้างถึงหลักธรรมทางพุทธศาสนา โดยตรงคือ ผู้ปกครองจะต้องมี ทศพิธราชธรรม 10 ประการ จักรวรรดิวัตร 12 ประการ ราชสังควัตถุ 4 ประการ เม่ือปกครองโดยธรรม เช่นนี้จะ ไดช้ ือ่ ว่า “ธรรมราชา” ดา้ น “กฎหมาย” เมือ่ ผูป้ กครองตอ้ งมคี ุณสมบัตติ ามหลกั การทางศาสนา กฎหมายทอี่ อกมาบงั คบั ควบคุม เร่ืองต่าง ๆ ก็ต้องอ้างศาสนาเช่นกัน ตัวบทกฎหมายจึงเรียกว่า “ธรรมศาสตร์” หรือ ธรรมนูญ เพ่ือให้กฎหมาย ศักดิ์สทิ ธิ์และมคี วามชอบธรรมในการบงั คับใช้ 6.3.1 การศึกษา วัดเป็นโรงเรียนสอนวิชาหนังสือ วิชาการช่าง อันรวมวิชาวิศวกรรมการก่อสร้างการออกแบบ ศิลปหตั ถกรรมแขนงต่าง ๆ ไว้พร้อมมลู เร่อื งทใ่ี ชเ้ รียนทั้งหมดเป็นเรื่องเกย่ี วแกศ่ าสนาการทีว่ ดั เป็นสถานศึกษาโดย ทั่วถึงและกว้างขวางเช่นน้ี ทาให้พุทธศาสนาหย่ังรากม่ันคง พระภิกษุมีฐานะเป็นครูบาอาจารย์ของคนทั่วท้ังชุมชน น้ัน ๆ จึงเปน็ หัวหน้ากากับการต่าง ๆ ในชุมชนไปด้วยโดยปรยิ าย 6.3.2 ภาษา วรรณคดี และศิลปะแขนงต่าง ๆ
10151 ไทยศึกษา Page 35 of 85 ทางพุทธศาสนา ศัพท์ท่ีใช้กันอยู่ในภาษาทางศาสนาก็เข้ามาอยู่ใน “ภาษาไทย” ศัพท์ท่ีใช้ในภาษาไทยมี รูปภาษาสันสกฤตมากกว่าภาษาบาลี ศัพท์ทางวิชาการโดยมากก็พยายามผูกศัพท์จากภาษาบาลี – สันสกฤต เช่น “การปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2547 สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช” ท้ัง ข้อความมีคาไทยอยู่ 2 คน (ไม่นบั ตัวเลข) คอื ใหม่ และ ปี นอกน้ันเป็นคาบาลี – สันสกฤต ทั้งส้ิน ทางดา้ น“วรรณคด”ี เร่ืองราวท่ีนามาแต่งเปน็ วรรณคดีกม็ าจากพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์ คติความเชื่อตา่ ง ๆ ทีป่ รากฏในวรรณคดีก็มาจากทางพุทธศาสนา เชน่ เรื่อง ลิลติ พระลอ แม้วา่ จะเปน็ เรื่องตานานที่มีเน้ือหาเกย่ี วกับ ความรัก ก็มีโครงหลายบทที่แสดงแนวคดิ ทางพทุ ธศาสนา ความเชื่อและศาสนายังเป็นบ่อเกิดของศิลปะแขนงอ่ืน ๆ เช่นประติมากรรม มีท้ังรูปสลัก ลายเส้น รูปปัน้ เร่ืองราวทางพุทธศาสนา มักปรากฏเป็นจิตรกรรมฝาผนังอันเป็นเสมือนบทเรียนทางศาสนาในลักษณะภาพวาดท่ี สอนคตธิ รรมทางพุทธศาสนาโดยตรง ตอนที่ 6.4 สภาพความคิด ความเชื่อ และศาสนาในปัจจบุ ัน 6.4.1 ศาสนากับการเมืองการปกครอง ความเชื่อดั้งเดิม ศาสนาพราหมณ์และพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อการปกครอง ลักษณะคุณธรรมของชนชั้น ปกครอง รวมทั้งการอ้างสิทธิความชอบธรรมในการปกครอง การดึงเอาความคิดความเช่ือทางศาสนาท่ีแปลก แยกกันมาใช้เพ่ือผลประโยชน์ทางการเมือง ทาให้ผลลบขยายไปใหญ่โตเพราะศาสนาเป็นเร่ืองสาคัญในสังคมที่รับ นบั ถอื ศาสนาอันมพี ระผู้สรา้ งผ้ทู รงมหิทธานภุ าพเหนือทุกส่ิง ปัญหาทางการเมืองก่อให้เกิดปัญหาทางการปกครองไปด้วย การไม่ยอมรับผู้ปกครองหรือการปกครอง ท่ีมาจากผนู้ บั ถือศาสนาอื่น เกดิ ตามมา ข้อนแ้ี ตเ่ ดมิ กไ็ ม่เคยมปี ัญหาเจ้าเมืองของไทย คอื กรุงเทพฯ ในปัจจบุ นั 6.4.2 ศาสนากบั ความคดิ เรื่องมนษุ ยธรรม สังคมไทยในปัจจุบันอยู่ระหว่างการเปล่ียนแปลงจากสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรม ชีวิต แบบเดิมเปลยี่ นแปลงไป ระบบเศรษฐกิจเปล่ยี นไป ผูค้ นต้องหาทางปรับตวั หรือดิ้นรนให้ดาเนินชวี ิตไดใ้ นสงั คมแบบ ใหม่ เร่ืองการสงเคราะห์สังคมด้านต่าง ๆ ท่ีเห็นชัด คือการท่ีศาสนาต่าง ๆ ตั้งโรงเรียน สถานศึกษา หรือ สนับสนุนการศึกษา ซ่ึงอาจเรียกได้ว่าเป็นการแก้ปัญหาสังคมโดยตรง การสร้างสถานพยาบาล การตั้งสถานดูแล บาบัดผู้ติดยาเสพย์ติด รวมไปถึงการพยายามรักษาป่าไม้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การห่มผ้าเหลืองใต้ต้นไม้เพ่ือ ปอ้ งกนั ไม่ให้มีผู้มาตัด สง่ิ เหลา่ น้แี สดงวา่ ศาสนามีบทบาททางด้านมนุษยธรรมโดยตรงมาตลอด 6.4.3 พทุ ธศาสนาในปัจจบุ ัน ปจั จบุ ันพทุ ธศาสนาถกู มองว่าไมส่ นองเร่ืองราวทางสังคม พระภกิ ษปุ ระพฤตยิ ่อหย่อน ศาสนกิ กง็ มงายหลง วัตถุ โดยมากปัญหาเหล่าน้ีเกิดเพราะพุทธศาสนาหมดบทบาททางการศึกษาไปอย่างมาก เพราะมีผู้รับผิดชอบ
10151 ไทยศกึ ษา Page 36 of 85 การศึกษาโดยตรง การเสาะหาคาตอบจากพุทธศาสนาแสดงให้เหน็ ว่า พุทธศาสนายงั “มีชวี ิต” อยู่ และยังเปน็ สว่ น หนง่ึ ของสงั คมไทยมบี ทบาทในสงั คมตลอดมา บทบาทของพุทธศาสนาในสงั คมไทยโดยรวมพอสังเขป ดงั น้ี การผสมผสานความเช่ือและศาสนามีการผสมผสานความเช่อื ดั้งเดิมและพุทธศาสนาที่รับเข้ามาใหม่ได้ลง ตัวดี ดงั จะเหน็ ตวั อย่างไดจ้ าก “ฮติ สบิ สอง” หรอื พิธีกรรม 12 เดอื น ทางอีสาน การสร้างโลกทศั นแ์ ละกรอบความคิดเกยี่ วกับคนและสังคม ความเชื่อหลักธรรมทางพุทธศาสนาเร่ืองกรรม กฎแห่งกรรม กฎแหง่ ไตรลกั ษณ์ เปน็ คาอธบิ ายหลกั ทส่ี รา้ งกรอบความคดิ และวธิ กี ารมองโลกใหค้ นในสงั คม พุทธศาสนากับชุมชน พุทธศาสนาเข้ามาพร้อมกับการจัดต้ังระเบียบทางสังคม มีวัดเป็นศูนย์กลาง วัดจึงเป็นศูนย์ รวมของผู้คนในชุมชน พุทธศาสนากับการปกครอง เมื่อพระมหากษัตริย์ไทยในอดีตรับพุทธศาสนาเข้ามา พุทธศาสนาก็เป็น สัญลักษณ์ท่ีสาคัญของอาณาจักรไทยหรือรัฐไทย ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปฏิรูปการปกครองคณะสงฆ์ เพ่ือให้เกิด ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของศาสนจักรและอาณาจักร ความเป็น “เมืองพุทธ” เป็นสัญลักษณ์ของ ราชอาณาจักรไทยและเป็นศาสนาประจาชาติ พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน โลกปัจจุบันเป็นโลกของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โลกของทุนนิยมท่ี ส่งเสริมให้คนหลงใหลในวัตถุและเงินตราเป็นอุดมการณ์ที่สวนทางกับอุดมการณ์พุทธศาสนาที่สอนให้คนลดความ โลภโกรธ หลง น่าสังเกตว่าในสังคมไทยปัจจุบัน คนไทยยังมีความไม่ม่ันคงทางจิตใจและชีวิตไม่ต่างจากคนไทยทุกสมัยท่ี ผ่านมา คนไทยในสังคมปัจจุบันยังต้องการ “ศาสนา” เป็นที่พ่ึงอยู่มาก “ศาสนา” ก็ยังมีบทบาทสนองความ ต้องการทางจิตใจของคนในสงั คมไดเ้ สมอ 6.4.4 ศาสนาใหม่ในสังคมไทย ความจริงแลว้ คาว่า “ศาสนาใหม่” น้ีอาจไม่เหมาะสม เพราะบางครั้งศาสนาเหลา่ นเี้ ป็นเพียงกระแสใหม่ๆ ของศาสนาหลักแต่เดิม แนวคิดต่างๆก็ยังคงเดิมโดยมากเพราะบุคคลต่าง ๆพยายามแสวงหาที่พึ่งทางกายทางใจ เป็นสาคัญ มากกวา่ ทีพ่ งึ ทางปัญญา ศาสนาทาให้พฤติกรรมของคนเปลี่ยนแปลงไปได้ง่ายที่สุดและจะทาให้สังคมเกิดแตกแยกได้ง่ายด้วย การศึกษาศาสนาให้รู้แนวคิดโดยรวมว่ามีความเป็นมาอย่างไร อยู่ในฐานะไรในสังคม จึงเป็นเรื่องจาเป็นต่อความ มนั่ คงสถาพรของสงั คมนนั้ ๆ
10151 ไทยศึกษา Page 37 of 85 คาถามท้ายหนว่ ย ความเชื่อไดพ้ ัฒนามาถึงจุดสูงสุดจนเป็นระบบใดท่ีมีความสาคญั ต่ออารยธรรมของมนุษยชาติ ตอบ ระบบความเชื่อ ที่เรียกว่าศาสนา มีคาสอน บุคลากร พิธีกรรม ศาสนสถาน และศาสนิกผู้นับถือเป็น องคป์ ระกอบ เพราะเหตใุ ด ความเชื่อและศาสนาจงึ เปน็ สถาบันหลักทางวฒั นธรรมในแตล่ ะสงั คม ตอบ เพราะความเชอื่ และศาสนากาหนดโครงสรา้ งความสมั พันธแ์ ละกาหนดพฤติกรรมของคนในสังคม ให้ทุกสงั คม อยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข ในขณะเดียวกันกม็ ีสว่ นสรา้ งสรรคส์ ถาบนั อ่ืน ๆในสงั คมด้วย ความเช่อื ดง้ั เดิมในสงั คมไทยมอี ะไรบ้าง ตอบ มีความเช่ือผีสาง เทวดา ว่าศักดิ์สิทธ์ิ สามารถบันดาลดี ร้าย เชื่อถือบรรพบุรุษว่าสามารถคุ้มครองครอบครัว บา้ นเมือง ใหอ้ ยู่เย็นเปน็ สุข และความเชือ่ เรอ่ื งโลก จกั รวาล ศาสนามบี ทบาทใดบา้ งในด้านมนุษยธรรม ตอบ ศาสนาเป็นตัวจักรสาคัญในการช่วยเหลือผู้ตกยาก ประสบภัย รวมทั้งรักษาสภาพแวดล้อมเพราะสามารถใช้ ความเชื่อทาให้เกิดความศรัทธา และความไว้วางใจในการดาเนินการว่า ไม่มีอคติ และไม่นาทรัพย์สิน ที่จะไป ช่วยเหลือไปใชจ้ ่ายอย่างไม่ถูกต้อง
10151 ไทยศกึ ษา Page 38 of 85 หน่วยท่ี 7 : ภาษาในวิถีชีวิตและสงั คมไทย ตอนที่ 7.1 ความรูท้ ั่วไปเรื่องภาษา 7.1.1 ความหมายของคาว่า ภาษา ภาษานั้นคือระบบการส่ือสารอย่างมีความหมายของมนุษย์ อาจสื่อสารด้วยท่าทาง เครื่องหมาย เสียงพูด งานเขียน หรือด้วยตัวกลางอ่ืน ๆ ก็ได้ เสียงทุกเสียงที่มนุษย์ทาไม่เป็นภาษาท้ังหมด มีเสียงชุดหน่ึงเท่านั้นท่ีจะมี ความหมาย ในภาษาหนึ่ง ๆ เสียงที่มีความหมายในภาษาน้ี เรียกว่า ระบบเสียง การออกเสียงแต่ละครั้ง เรียกว่า “พยางค์” ถ้าหากการออกเสียงน้ันมีความหมายก็จะเรียกพยางค์น้ันว่า “ คา” คาอาจมีพยางค์เดียวหรือหลาย พยางค์ก็ได้ เมื่อนาคามาเรียงกันตามหลักการท่ีตกลงหรือเข้าใจกันในภาษาใดภาษาหน่ึงก็จะเกิดเป็นกลุ่มคา เป็น ประโยค ซงึ่ ยดื ยาวซบั ซอ้ นขึน้ เพื่อใช้สื่อสารสาระท่กี ว้างขวางลึกซง้ึ หรือแสดงความรู้สึกไดด้ ีทส่ี ุดเท่าทจ่ี ะทาได้ 7.1.2 ความสาคัญของภาษา - ภาษาเป็นส่ิงทีเ่ กดิ ขึน้ ใช้ระหวา่ งกัน และเปลยี่ นแปลงในสงั คมหน่ึง ๆ เปน็ ข้อตกลงของสังคมนัน้ ๆ ภาษา จึงสาคัญในแง่ที่จะศึกษาสังคมได้โดยตรง เมื่อสังคมมีภาษาท่ีส่ือสารได้ดี ก็ย่อมเกิดความเจริญได้ เพราะเกิดความ สืบเนื่องของสติปัญญาความคิด ดังจะเห็นได้ว่า การสั่งสมความคิด การถ่ายทอดความคิด การโต้แย้ง การถกเถียง ภาษาจึงสาคัญในแง่การเป็นเคร่ืองมือวินิจฉัยแจกแจงให้เกิดความรู้ วิทยาการใหม่ๆ การตัดสินในกระแสความ เป็นไปในสงั คม รวมท้ังการถ่ายทอดไปสู่คนอืน่ ในเวลาเดียวกนั - เม่ือพิจารณาในประเด็นการถ่ายทอด ภาษามีสาคัญในแง่ประวัติวัฒนธรรม อารยธรรมของมนุษยชาติ ดว้ ย หากไม่มภี าษาก็ไม่มสี ิง่ ที่เรียกว่าประวัติ แม้ภาษาพดู ก็บนั ทึกประวัตไิ ด้ - ภาษาเป็นระบบการส่ือสารที่เปน็ หลักในสงั คม วฒั นธรรม อารยธรรม วทิ ยาการ ความงามทม่ี นุษย์จะพึง รู้สึกได้ ในทางประวตั ิศาสตรจ์ ึงถอื ว่าวัฒนธรรมใดท่ีมลี ายลักษณ์อักษรบันทึกภาษา วฒั นธรรมนัน้ ถือเป็นวฒั นธรรม ยคุ ประวตั ศิ าสตร์ หลักการน้กี เ็ กิดบนพน้ื ฐานของภาษาเช่นกัน 7.1.3 การศึกษาภาษาในแนวตา่ ง ๆ - ภาษาเกิดในสังคมและเปลี่ยนแปลงไปตามสังคมก็จริง แต่มิได้เปลี่ยนแปลงไปในทุกเรื่อง เพราะภาษามี ระบบระเบียบที่ค่อนข้างแน่นอน เพ่ือให้ทุกคนเข้าใจได้เหมือนหรือใกล้เคียงกัน การเรียนรู้ภาษาหลายภาษาย่อม สาคัญต่อความสัมพันธ์การเจรจาท้ังด้านการเมือง ธุรกิจ และสังคม การที่ภาษาสามารถใช้ส่ือสารให้เกิดส่ิงต่าง ๆ ในสงั คมได้ มนุษยจ์ ึงเห็นวา่ ภาษามอี านาจ คาพดู ที่เปล่งออกมาในบางสังคมถือเปน็ สิ่งศกั ดส์ิ ิทธิ์ - การศึกษาเชิงเปรียบเทียบน้ีอาจเปรียบเทียบความเหมือนหรือความต่างก็ได้ กรณีหลังบางทีเรียกว่า “เปรียบต่าง” อาจเปรียบเทียบกันภายในภาษาตระกูลเดียวกันหรือต่างตระกูลกันก็ได้ การเปรียบเทียบภาษาต่าง ตระกูลกัน จะทาให้เห็นการสื่อด้วยระบบท่ีต่างกัน เป็นประโยชน์แก่การเรียนภาษาต่างประเทศ ทาให้แก้ไข ขอ้ ผดิ พลาดเม่อื พดู หรือเขียนภาษาตา่ งประเทศได้
10151 ไทยศกึ ษา Page 39 of 85 - การศึกษาภาษาในฐานะเป็นวัฒนธรรมและเป็นส่วนหนึ่งของสังคมก็ทาให้เห็นวิวัฒนาการประวัติของ ระบบและสถาบันต่าง ๆ ในสังคมได้ ความรู้เก่ียวแก่ธรรมชาติของภาษาตามลักษณะอันเป็นวิทยาศาสตร์นี้เรียก รวมว่า “วิชาภาษาศาสตร์” ซึ่งแยกเป็นหลายแขนง วชิ าภาษาศาสตร์เป็นประโยชน์แก่การเรียนภาษา การวจิ ยั ทาง ภาษา รวมไปถงึ การใชภ้ าษาในระบบเทคโนโลยสี อื่ สารทางคอมพวิ เตอร์ด้วย ตอนที่ 7.2 ข้อพินิจเกีย่ วแก่ภาษาไทย 7.2.1 ลกั ษณะสาคญั ของภาษาไทย - ภาษาทุกภาษามีลักษณะท่ีร่วมกันและลักษณะท่ีต่างกัน โดยระบบความคิดภาษาทุกภาษาใช้ระบบต่าง ๆ เพ่ือสื่อความหมาย เสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทยมาตรฐานต่างจากภาษาไทยถ่ินในประเทศและนอกประเทศไทย และต่างจากระบบเสียงวรรณยกุ ตข์ องจีน ของเวียดนาม ถา้ จะจดั ภาษาในโลกเป็นกลุ่ม ๆ ตามระบบที่มอี ย่ใู นภาษา น้ัน ๆ จะแบ่งภาษาในโลกออกเป็นอย่างคร่าว ๆ ท่ีสุดได้เป็นสามสี่กลุ่ม คือ กลุ่มที่ใช้วิภัติปัจจัย กลุ่มภาษาคาโดด คือ ภาษาไทย จีน เวียดนาม ฯลฯ และที่เรียกว่าภาษาไทยมีลักษณะเป็นภาษาคาโดด เพราะส่วนมากภาษาไทยใช้ คาเรยี งกันเป็นประโยคโดยตรง 7.2.2 ภาษาไทยในแงม่ มุ ตา่ ง ๆ เม่ือมองภาพของภาษาในสังคมก็จะพบว่า มีภาษาท่ีไม่ใช่ภาษาไทย แต่มีอยู่ในประเทศไทยด้วย ภาษากลาง ภาษาราชการ และภาษามาตรฐาน ภาษากลาง เป็นภาษาที่ใช้ในการปกครอง ใช้ในเอกสารท่ีเป็น หลักฐานบ้านเมือง กฎหมายต่าง ๆ ประกาศต่าง ๆ และภาษาที่ใช้ในส่ือสารมวลชน ภาษาราชการ จาเป็นต้องมี มาตรฐานเพื่อกากับภาษาไม่ให้กลายหรือเปล่ยี นแปลงรวดเรว็ จนเกินไป หรือเมื่อมีเหตุจาเป็นก็จะต้องบญั ญัติศพั ท์ u3648 _พ่ิมเติม เพราะวิทยาการก้าวหน้าไปมากภาษามาตรฐาน ก็คือ ภาษาราชการเป็นปัจจัยหลัก ท่ีทาให้ ภาษาไทยกลางเปน็ ภาษากลางของประเทศ รชั กาลท่ี 6 ทรงส่งเสริมการใช้ภาษาไทยท่ีถกู ตอ้ ง ภาษากลางกับภาษาถ่ิน ภาษากลางของไทยก็เป็นภาษาถ่ินเช่นกัน หรืออาจกล่าวได้ว่าคือ ภาษาไทยภาค กลาง หรือจะกล่าวอย่างแคบท่ีสุด คือ ภาษาไทยกรุงเทพ อันเป็นสาเนียงท่ีถือเป็นมาตรฐาน ภาษาถิ่นอ่ืน ๆ ก็มี อิทธิพลเปลี่ยนแปลงภาษากรุงเทพ ซ่ึงอยู่ในฐานะภาษากลางด้วย เพราะมีผู้คนจากถ่ินอื่น ๆ อพยพมารวมอยู่ที่ ศูนย์กลางความเจรญิ คอื เมอื งหลวง ภาษา กับการเมืองและการศึกษา ภาษา เป็นเครื่องมือสาคัญท้ังในการสร้างชาติและสร้างชาตินิยม เม่ือ พิจารณาดูประเทศหรือชาติอ่ืน ๆ จะเห็นว่าภาษามีบทบาทสาคัญทางการเมืองการปกครอง และการศึกษาอย่าง มาก เมื่อกล่าวโดยรวม ภาษาทุกภาษาย่อมมีระบบส่ือสารเป็นอย่างเดียวกัน แต่รายละเอียดภายในระบบ อาจจะต่างกัน ดงั จะได้พจิ ารณาโดยรวมต่อไป ระบบเสยี ง ทุกภาษามรี ะบบเสียง คือ เสียงทีน่ ามาใชใ้ นภาษา เสียงพยัญชนะ น้ันเปล่ียนแปรไปตามฐานกรณ์ ลักษณะการประชิดของฐานกรณ์และการปล่อยเสียง จึงเรียกว่า “เสียงแปร”
10151 ไทยศกึ ษา Page 40 of 85 ระบบคา การออกเสียงแต่ละคร้ังในภาษา เรียกว่า “พยางค์” เมื่อใดก็ตามที่เกิดมีความหมายขึ้นมา เรียกว่า “ คา” คาซ้า คือ การนาคาคาเดียวกันมาเรียงตอ่ กัน เช่น ขาวขาว คาซอ้ น คอื การนาคาท่ีความหมายคลา้ ยกนั มาเรียงต่อกัน อาจซ้อนเพียงคาเดยี วหรือมากกว่านน้ั ก็ได้ คาประสม คือ การนาคาสองคาขน้ึ ไปมารวมกนั แลว้ ได้ความหมายถึงบางส่งิ บางอยา่ งเพียงอย่างเดยี ว เช่น คาว่า แมท่ พั ชนดิ ของคาและหน้าท่ขี องคา ตามหลักภาษา มีคาหลักอยู่ประมาณ 4 ชนิด คือ คาเรียกช่ือ ได้แก่ คานาม คาแทนช่ือ คือ คาสรรพนาม คาจานวนนับ คาลักษณนาม คาแสดงอาการและลักษณะ คือ คากริยา คาขยายนาม – กริยา คือ คาคุณศัพท์ คาเช่ือมแบบต่าง ๆ เช่น คาสันธาน คาบพุ บท วากยสมั พันธ์ เปน็ ระบบของการนาคามาเรียงรอ้ ยไว้ดว้ ยกนั ใหไ้ ด้ความตามท่ตี ้องการจะสอ่ื สาร ในมิติประวัติศาสตร์ จะเห็นได้ว่า ดินแดนแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้มีกลุ่มภาษาสาคัญคือมอญ เขมร พม่า และไท ที่มีวัฒนธรรมความเจริญจนมีอานาจทางการเมืองอย่างเด่นชัด มีแนวโน้มว่าภาษากลาง - ภาษา ราชการ จะใช้กันมากขึน้ ในท้องถ่ิน ท้ังนี้เพราะการศกึ ษาซงึ่ มแี ผนการศึกษาแห่งชาตริ ่วมกนั เป็นปจั จยั สาคญั ปจั จุบันภาษากลาง (ภาษากรุงเทพ) เปน็ ภาษาท้ังราชการและภาษามาตรฐานในขณะเดียวกนั ตอนที่ 7.3 ภาษากบั สังคม 7.3.1 สงั คมภาษา สังคมจะเป็นสังคมข้ึนมาได้ก็เพราะภาษา หรือมีภาษาเช่ือมโยงกันให้สังคมน้ันส่ือสารสืบทอดคว ามคิด ความรู้ วัฒนธรรม และระเบียบการต่าง ๆ ของสังคมน้ัน ๆ ได้ ภาษานอกจากจะมีความสาคัญในตัวเองในฐานะ เป็นสื่อเนื้อหาสาระความคิดวิทยาการของมนุษย์แล้ว ยังมีความสาคัญด้านการสร้างความงามให้เห็นสุนทรียะอัน เกดิ จากเสียงถอ้ ยคาในภาษา เม่ือกล่าวโดยรวมแลว้ การทพ่ี ูดว่า สังคมมนุษยเ์ ป็นสงั คมภาษา น้ัน เพราะภาษาเป็นปัจจัยใหร้ วมกันอยู่ได้ ส่ือสารกันได้ ถ่ายทอดความรู้กันได้ สร้างวัฒนธรรมอารยธรรม ติดต่อสัมพันธ์กัน กากับคัดสรรวัฒนธรรมระหว่าง สังคม รกั ษาวัฒนธรรม ความรใู้ นสังคม อกี ทงั้ แสดงภูมิปัญญา อารมณศ์ ิลป์ อันละเอียดอ่อนของมนุษยใ์ นสังคมนั้น ๆ ไวไ้ ด้ 7.3.2 ภาษาสงั คม สังคมของมนุษย์เป็นสังคมภาษา สังคมมนุษย์มีโครงสร้างท่ีซับซ้อน ในสังคมหนึ่งอาจแยกเป็นสังคมกลุ่ม ย่อย ๆ ภาษาของกลุ่มท่ีแตกต่างกันนี้ มักจะต่างกันทั้งสองด้านคือ ต่างกันในแง่ของภาษาโดยตรง และต่างกันทาง สังคม ภาษาถ่ิน เป็นเร่ืองสาคญั ทางการเมืองการปกครอง เพราะหากประเทศใดมีภาษาถิ่นท่ีแตกต่างกันมากจน แข่งขันกันเป็นภาษากลางหรือภาษาประจาชาติ ก็จะเกิดความไม่ปรองดองกันขึ้น ท้ังนี้ก็เพราะเป็นภาษาสังคม
10151 ไทยศึกษา Page 41 of 85 นอกจากภาษาจะแตกต่างกันในลักษณะของกลุ่มถิ่น - ชาติแล้ว ในสังคมหน่ึง ๆ ภาษายังแสดงถึงการจัดชนชั้นใน สงั คม การจดั แบ่งกลุ่มในสังคม และแสดงเครอื ข่ายความสมั พนั ธ์กันในระหว่างชนชั้นหรอื กลุ่มในสังคมดว้ ย 7.3.3 ภาษาศาสตร์สังคม ภาษาศาสตรส์ ังคม อาจแบ่งการศกึ ษาภาษาลกั ษณะนี้ได้ 2 แบบ คือ ภาษาศาสตร์สังคมแนวบรรยาย เป็นการศึกษาค้นคว้าหาพฤติกรรมทางสังคมในการใช้ภาษาในชุมชน ภาษาใด (speech community) ชุมชนหนึ่ง ภาษาในชุมชนน้ันหรือภาษาท่ีใช้นั้นมีลักษณะหรือแสดงออกทาง สังคมอยา่ งไร และคนในชมุ ชนน้นั มีพฤติกรรมตอ่ ภาษาอย่างไร ภาษาศาสตร์สังคมเชิงพลวัต เป็นการศึกษาถึงเหตุผลของความแตกต่างและความเปลี่ยนแปลงของ พฤติกรรม ทางภาษาในชมุ ชนภาษาเดียวกนั เมอ่ื สถานการณต์ ่างกัน ตอนท่ี 7.4 ภาษาไทยในสังคมไทย 7.4.1 ระดบั ภาษา - ภาษาไทยมกี ารใชภ้ าษาที่แสดงฐานะของบุคคล ผ้พู ดู ผูฟ้ ัง และผ้พู ดู ถงึ แสดงว่าเป็นสังคมที่มีชนช้นั คาว่า ชนชั้นหรือระดบั ในทน่ี ้ีไมไ่ ด้หมายแต่ชนช้ันสูง ช้ันต่าอย่างเดยี ว แต่หมายถึงฐานะความสัมพันธก์ ันในสังคม - ระดับของภาษาน้ีภาษาไทยค่อนข้างจะมีกฎเกณฑ์แน่นอน เป็นที่รู้กันว่าในสถานะไรควรใช้อย่างไรส่ิงท่ี แสดงระดับของภาษาที่ชัดที่สุด ได้แก่ ราชาศัพท์ แม้ในปัจจุบันระบบการปกครองจะเปล่ียนจ าก สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นประชาธิปไตยแล้วก็ตาม ความนิยมดังกล่าวก็มิได้หมดไป ปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นใน ภาษา กลับเป็นว่าใช้ราชาศัพท์ซับซ้อนยิ่งขึ้น มีการแบ่งชั้นในส่วนของเจ้านาย ละเอียดลออข้ึน ได้ยินได้ฟัง หรือ จาเป็นต้องพูดต้องอ่านภาษาที่มีราชาศัพท์มากข้ึน แบบแผนของการใช้ราชาศัพท์โดยเฉพาะเกี่ยวแก่เจ้านายนั้น เมื่อเร่ิมแรกใช้ตามเขมรโดยมาก ต่อมาก็พัฒนามีลักษณะเป็นของไทยเองมากขึ้น โครงสร้างทางสังคมจะต้อง สอดคล้องกบั การใช้ภาษา เพราะฉะนนั้ เร่อื งลาดับชนชั้นในสงั คมไทยเองก็มสี ่วนท่ีทาให้เกิดระดบั ของภาษา 7.4.2 ภาษาเฉพาะกลุม่ - ภาษาในวงการแพทย์ มักเป็นเร่ืองของการรักษา เทคนิควิธีการต่าง ๆ ของการเยียวยา ชื่อย่อของโรค หรือชือ่ ย่อของเครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ตรวจรักษา - ภาษาโฆษณา มักใช้สานวนทีเ่ ตะหู ชอบใช้คาคลอ้ งจองเพ่ือใหจ้ างา่ ย ปจั จบุ ันภาษาโฆษณามอี ิทธิพลมาก ไมเ่ พยี งแตเ่ รอื่ งคาสานวนแต่มเี รือ่ งสาเนยี งดว้ ย - ภาษาหนังสือพิมพ์ ชอบใช้คาสั้น ๆ เพ่ือประหยัดเนื้อท่ี ชอบใช้คาเปรียบเทียบเพ่ือให้เกิดสีสัน ชวน ตดิ ตาม 7.4.3 การเปล่ยี นแปลงของภาษา
10151 ไทยศกึ ษา Page 42 of 85 - ภาษาท่ีใช้กันในสังคมก็เปรียบเหมือนว่ามีชีวิต มีการเปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะสังคม ค่านิยม ตาม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมนั้น ๆ เมื่อสังคมเปล่ียนแปลงไปภาษาก็มักจะเปลี่ยนตาม ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือการ เปลยี่ นจากสงั คมเกษตรกรรมเปน็ สังคมอุตสาหกรรม - ในสังคมไทยเดิมภาษาตา่ งประเทศที่สาคัญคือ ภาษาเขมร ภาษาบาลี - สันสกฤต เราพบ ภาษาเขมร ใช้ ปนกบั ภาษาไทย ทงั้ ศัพท์สามัญ ศัพทเ์ รือ่ งพระเร่ืองเจา้ นาย ศพั ท์ท่เี ปน็ ช่ือเฉพาะ - ภาษาจีนซึ่งเดิมเป็นภาษาสาคัญที่สุดทางการค้าขายในสังคม ศัพท์จะลดความสาคัญลงด้วยการค้า ขยายตวั ไปทางตะวันตก ใช้ภาษาองั กฤษเป็นสื่อโดยมาก 7.4.4 การอ่านออกเขียนได้ - การอ่านออกเขียนได้ เป็นปรากฏการณ์ที่สาคัญทางภาษาและสังคมอย่างย่ิง เม่ือการอ่านออกเขียนได้ เกิดขึ้นเป็นเร่ืองสามัญในสังคม การเล่าเรียนศึกษาก็กว้างขวางขึ้น มีวิชาเฉพาะมากข้ึน คนอ่านมากกว่าฟัง ทุกคน อ่านเองได้ - การอ่านออกเขียนได้มีขอ้ ดอี ยมู่ ากมายเชน่ กนั การศึกษาเล่าเรยี นทาได้กวา้ งขวางก็เพราะหดั ให้อ่านออก เขียนได้ก่อน วิชาความรู้ม่ันคงขึ้นมีหลากหลายขึ้น ภาษากลางหรือภาษามาตรฐานจะเกิดขึ้นไดก้ ็ด้วยการอ่านออก เขยี นได้เพราะจะต้องอา่ นเขยี นใหเ้ ปน็ ระบบเดียวกนั 7.4.5 ภาษาวิบัติ - ความจริงแลว้ เราไม่อาจหยดุ ภาษาได้ แตก่ ็อาจมีเกณฑ์ตดั สนิ ได้วา่ ภาษาเกิดวบิ ัตคิ อื เสียสมบัติไปในท่ีนี้ อาจหมายถงึ เสียลกั ษณะพิเศษของภาษานั้น ๆ ไป เสยี ถอ้ ยคาสาเนียงที่ดีไป ทาให้ภาษายากจนลง - การใช้คาบุพบทมาก ๆ ก็ไม่ถกู ต้องตามลกั ษณะภาษาไทย เพราะภาษาไทยมีวธิ พี ูดทไ่ี มต่ ้องใชบ้ ุพบทมาก นัก จะใช้เม่อื จาเป็น - การใช้คาผิดมีอยู่โดยทั่วไป ผิดท้ังคาเดี่ยว คาซ้อน ลักษณนาม ตัวอย่างเรื่องคาซ้อนแ ล ะลักษณนาม เช่น การจราจรคบั คง่ั คาวา่ คบั ค่งั เป็นคาดี มากนั ย่งิ มากย่งิ ดี ควรใช้คาวา่ การจราจรติดขดั - ภาษาไทยจะไม่วิบัติ หากเราใส่ใจที่จะรักษาระเบียบภาษาไว้ด้วยความเหมาะสมไม่เคร่งครัดจนเกินไป หากแต่สอดคลอ้ งกับความเปลีย่ นแปลงตามธรรมชาตขิ องภาษา
10151 ไทยศกึ ษา Page 43 of 85 คาถามท้ายหนว่ ย ภาษามคี วามสาคญั ต่อวิถีชวี ิตของสังคมมนุษยชาติอยา่ งไร ตอบ ใช้ส่ือสาร สื่อความคิด ความรู้สึก ความรู้ ทาให้ชีวิตดาเนินไปได้ นอกจากน้ันภาษายังใช้บันทึกความรู้ ความ เจริญ แสดงอารมณ์ ความงามในจิตใจของมนุษย์ออกมาไห้ปรากฏได้ และถา่ ยทอดวฒั นธรรมและประเพณจี ากรุ่น หนงึ่ ไปสู่อกี รนุ่ หนงึ่ คากลา่ วทว่ี ่าภาษาสังคมน้ัน หมายถงึ อะไร ตอบ เปน็ ภาษาท่ีอย่ใู นสงั คมหน่งึ ๆ กากับดว้ ยกลุ่มสงั คมต่าง ๆ การใชภ้ าษาจงึ ตา่ งกนั ด้วยอาชีพ วัยเพศ การศกึ ษา กลุ่มเช้ือชาติ ชนชน้ั และทอ้ งถ่นิ แนวการแบ่งภาษาศาสตร์สังคมมีกแ่ี นว อะไรบ้าง ตอบ ภาษาศาสตร์สงั คมแบง่ เปน็ สาขาใหญ่ได้ 2 สาขา คือ ภาษาศาสตร์สงั คมแนวบรรยาย และภาษาศาสตร์สังคม เชงิ พลวตั
10151 ไทยศกึ ษา Page 44 of 85 หนว่ ยที่ 8 : ประเพณี พิธีกรรมไทย ตอนที่ 8.1 ความเข้าใจเก่ยี วกับประเพณี และพิธกี รรม 8.1.1 ความหมาย ลักษณะ และประเภทของประเพณแี ละพธิ ีกรรม ความหมายของประเพณี และพิธีกรรม ประเพณี คือส่ิงท่ีนิยมถือประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมาจนเป็นแบบ แผน หรือตามแบบอย่างท่ีได้กาหนดขึ้น พิธีกรรม คือวิธีการท่ีกระทาเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ หรือมีผลสาเร็จตาม ความต้องการ เป็นการกระทาของบุคคลประเพณีและพธิ ีกรรมเป็นรูปแบบการประพฤติปฏิบัตหิ รือการกระทาของ บุคคลหรือส่วนรวม มีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิต ความรู้สึกนึกคิดและความเชื่อของคนไทย สะสมเป็นความรู้และ ประพฤติปฏบิ ัติ มกี ารถ่ายทอดสืบตอ่ มาเป็นมรดกของสังคมไทยแก่คนรุ่นต่อ ๆ มา ลักษณะของประเพณีและพิธีกรรม ประกอบด้วย 2.1 แนวคิด คือ หลกั การหรอื ความเชื่อท่แี สดงออกปรากฏเป็นประเพณี 2.2 พธิ ีกรรม คอื วิธกี ารกระทา มขี น้ั ตอน รปู แบบ กรรมวิธีที่กาหนดไว้ 2.3 สมาชิก คือ ผู้เขา้ รว่ มอยใู่ นประเพณี ต้ังแต่ 2 คนขน้ึ ไป 2.4 การเฉลมิ ฉลอง คอื การจดั กิจกรรมการละเล่นทส่ี นกุ สนานรื่นเรงิ ประเภทของประเพณแี ละพิธีกรรม จาแนกได้ 4 ประเภท 3.1 ประเพณีปรมั ปรา เป็นประเพณดี งั เดิมทส่ี บื ต่อมาจนเป็นส่วนหน่งึ ของวถิ ชี วี ิต 3.2 จารตี ประเพณี เปน็ ประเพณีทนี่ ามาจากข้อกาหนดทางศลี ธรรม มีช่ัวหรอื ผดิ ถูก 3.3 ขนบประเพณี เปน็ ประเพณีที่กาหนดวธิ ปี ระพฤตปิ ฏิบตั ติ ามคตคิ วามเชื่อ 3.4 ธรรมเนียมประเพณี เป็นประเพณที ปี่ ระพฤตปิ ฏิบัติตามความนิยมของสังคม พิธีกรรม มีการแบ่งประเภทตามแนวคิดในการกระทา เช่น พิธีกรรมตามปฏิทิน หรือพิธีกรรมในเทศกาล ตา่ ง ๆ ซ่งึ เกิดขน้ึ และหมุนเวยี นกนั เป็นประจา 8.1.2 ประเพณี และพธิ กี รรมกับคติความเชอ่ื ประเพณี พิธกี รรมกบั ความเช่อื ดัง้ เดิม มนุษย์มคี วามเชื่อในพลังอานาจ เหนอื ธรรมชาติวา่ เปน็ สิ่งลกึ ลับ มีอานาจปกป้องคุ้มครองมนุษย์ให้พ้นจาก อนั ตรายหรือสง่ิ ไมด่ ีต่าง ๆ ได้ ประเพณพี ธิ กี รรมกบั ความเชอ่ื ทางศาสนา ศาสนาพทุ ธ มกี ารสมาทานศลี การขอศีล 5 หรือ ศลี 8 ศาสนาคริสต์ มีการนมัสการ เปน็ พธิ ีสวดภาวนาอธิษฐาน ต่อพระเจ้า ศาสนาอสิ ลาม มีหลักปฏบิ ัตบิ ญั ญัตขิ องพระอัลเลาะห์
10151 ไทยศกึ ษา Page 45 of 85 การศกึ ษาประเพณีและพธิ กี รรมกับคติความเช่ือ ประเพณีเกีย่ วกับการทามาหากนิ ได้แก่ ประเพณบี ุญบง้ั ไฟ ประเพณีงานศพ เปน็ ประเพณีเกย่ี วเนอ่ื งกับศาสนา 8.1.3 บทบาทของประเพณีและพิธกี รรม บทบาทของประเพณีและพิธีกรรมต่อบุคคลคนเราทาตามประเพณีและพิธีกรรมเพื่อให้เกิดสิ่งที่ดีงามต่อ ตนเองหรือครอบครัวประเพณี พิธีกรรม เป็นเคร่ืองยึดเหนี่ยวจิตใจ ในการดาเนินชีวิต และในการทางานประเพณี และพิธีกรรมยังมีบทบาทต่อบุคคลในด้านชี้นาให้เข้าใจสาระของชีวิตว่ามีการเปลี่ยนแปลงหรืออาจจะเกิด เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ ที่ไมค่ าดคดิ บทบาทของประเพณีและพิธีกรรมต่อชุมชนและสังคมประเพณีและพิธีกรรมเป็นวัฒนธรรมที่เสริมสร้าง ความผูกพัน ความเป็นพวกเดียวกัน ประพฤติปฏิบัติหรือกระทาในสิ่งท่ีเป็นแบบแผนเดียวกัน ประเพณี พิธีกรรม บางอยา่ งมบี ทบาทเปน็ เคร่ืองมือควบคุมการประพฤตปิ ฏิบัติของคนในสังคมทาให้เกิดความสงบ ความเปน็ ระเบียบ เรียบร้อยไมก่ ระทาผดิ หรือประพฤตติ น “แหวกประเพณ”ี ตอนที่ 8.2 ลักษณะและแนวคดิ ของประเพณี และพธิ ีกรรม 8.2.1 ประเพณี และพธิ ีกรรมเก่ียวเน่ืองกบั ศาสนา ประเพณี และพิธีกรรมในศาสนาพุทธศาสนาพุทธมีประเพณีและพิธีกรรมเพื่อราลึกถึงพระคุณของ พระพุทธเจ้าเป็นประเพณี และพิธีกรรมท่ีแสดงถึงมูลเหตุของการกระทา ซ่ึงสืบต่อมาต้ังแต่คร้ังพุทธกาล และ กาหนดเป็นวันสาคัญทางศาสนา การนับถือศาสนาพุทธแบบชาวบ้าน จะมีพิธีกรรมเพิ่มเติมในวัตรปฏิบัติของชาว พทุ ธ ผสมผสานตามความเช่อื ด้ังเดมิ ดงั ที่พบเห็นในปจั จบุ นั ประเพณีและพิธีกรรมในศาสนาคริสต์ ชาวคริสต์มีพิธีการนมัสการหรือการสวดภาวนาและอธิษฐาน ร่วมกันในครอบครัวก่อนและหลังรับประทานอาหารเช้าและค่า วันคริสต์มาส (25 ธันวาคม) ชาวคริสต์จะทาพิธี มิสซาเป็นพิเศษ โดยการบูชาพระบตุ ร ประเพณีและพิธีกรรมในศาสนาอิสลาม ชาวไทยมุสลิมมีประเพณีและพิธีกรรมที่แสดงความศรัทธาอย่าง แน่นแฟ้น มีความเชื่อม่ันด้วยจิตใจต่อพวกเจ้า(อัลเลาะห์)จะกล่าวเป็นคาพูดและปฏิบัติตามบัญญัติของพระเจ้า (เรียกวา่ อลั อิสลาม) ประเพณีและพิธีกรรมของชาวไทยจีน 1. การบูชา “ เสีวยนเทียนชา่ งต้ี” 2. การบชู าบรรพบุรุษทตี่ ายไปแลว้ และมชี วี ิตในสวรรค์ 3. การบุชาเทพเจ้าอน่ื ๆ 4. การบชู าพระโพธิสัตวก์ วนอมิ
10151 ไทยศกึ ษา Page 46 of 85 8.2.2 ประเพณี และพธิ กี รรมในเทศกาลต่าง ๆ วันตรุษสงกรานต์ เป็นเทศกาลงานทาบุญสิ้นปีเพ่ือส่งท้ายปีเก่า และเฉลิมฉลองรับวันปีใหม่ มีกาหนด 3 วนั คอื “วนั มหาสงกรานต์” วนั เข้าพรรษา เปน็ เทศกาลที่พระสงฆจ์ ะจาพรรษาทว่ี ดั วนั สารท เปน็ เทศกาลงานบญุ กลางปี หรือทาบุญเดอื นสิบ วันออกพรรษา เป็นงานบุญที่เป็นประเพณีสนุกสนานรื่นเริง ท้องถิ่นชาวบางพลีจ.สมุทรปราการ มี ประเพณีรบั บวั ” บางทอ้ งถน่ิ มี “ประเพณตี ักบาตรเทโว” วันลอยกระทง เป็นประเพณีที่มีต้ังแต่สมัยโบราณ สันนิษฐานว่ารับอิทธิพลจากอินเดียซ่ึงมีแนวคิดในการ บูชาพระแมค่ งคาและพระนารายณ์ ประเพณเี ทศน์มหาชาติ เปน็ พธิ ที ีช่ าวพุทธฟงั เทศนเ์ รือ่ งพระเวสสันดร (เรียกว่าเทศนม์ หาชาติ) ให้จบในวนั เดียว สาหรับคนไทยทนี่ บั ถอื ศาสนาอนื่ ๆ มเี ทศกาลงานบุญเช่นกนั วันวาเลนไทน์ (14 กมุ ภาพนั ธ์) วันฮาโลวนี (31 ตลุ าคม) ชาวไทยมุสลมิ มเี ทศกาลสาคัญ คอื วนั อีดิล้ ฟติ ร้ี วนั อดี ล้ิ อฏั ฮา ชาวไทยจนี มีประเพณี พธิ ีกรรมในเทศกาลต่าง ๆ วันตรษุ จนี เปน็ วันสาคญั ท่สี ดุ เป็นวันขนึ้ ปีใหมข่ องจนี วันสารทจนี เปน็ เทศกาลทาบุญคร่งึ ปี วนั สารทอน่ื ๆ ประเพณีและพธิ ีกรรมในเทศกาลต่าง ๆ ของคนไทย มีแบบแผนปฏิบตั ิท่แี ตกตา่ งกนั ไป ตามความเช่ือและ การนับถอื ศาสนา 8.2.3 ประเพณแี ละพิธกี รรมเก่ียวเนือ่ งกับชีวิต ประเพณแี ละพิธีกรรมเกี่ยวกับการเปล่ยี นสภาพแวดลอ้ ม เม่ือเปลี่ยนถิ่นที่อยู่ไปอยู่ที่ใหม่เป็นเขตแดนที่ไม่ได้อยู่ประจา เป็นท่ีท่ีไม่ค่อยเคยอยู่รู้สึกไม่คุ้นเคยแปลกท่ี รู้สกึ ว่าไมม่ ั่นใจ เกรงว่าจะเปน็ อนั ตราย หรอื วิตกกงั วลจะไดร้ บั อนั ตรายจากวิญญาณ จึงทาพิธเี พอ่ื ขอความคุ้มครอง หรือแสดงถึงการผสมผสานกลมกลนื กบั สภาพแวดล้อมใหมน่ ้ัน
10151 ไทยศกึ ษา Page 47 of 85 ประเพณแี ละพิธกี รรมเก่ียวกับการพบปะ และการประชมุ มนษุ ย์จะต้องติดต่อสัมพนั ธ์กนั ในฐานะ และโอกาสตา่ ง ๆ เมื่อพบปะกับบุคคลที่ไม่ไดส้ นิทสนมคนุ้ เคยก็จะ หาวิธีการแสดงมติ รไมตรี สร้างความสัมพันธท์ ี่ดตี อ่ กนั ประเพณแี ละพิธีกรรมเกีย่ วกบั การเกิด – การตาย ประเพณีและพิธีกรรมเก่ียวเน่ืองกับชีวติ ทาตามคติความเช่ือของบุคคล และหมูค่ ณะมีแบบแผนการปฏิบัติ ต้ังแต่การตง้ั ครรภ์ การคลอดบตุ ร วัยทารก และเด็ก การบวช การหม้นั และแต่งงาน และงานศพ ศาสนาคริสต์ ศลี ล้างบาป เปน็ พิธปี ฏบิ ัตกิ บั เด็กเกดิ ใหม่ ศีลกาลัง เปน็ พิธปี ฏิญาณความเชื่อในพระเจ้า ศีลอภัยบาปเป็นพิธีสารภาพบาปกับพระนกั บวช ศีลสมรส หรอื พธิ ีแต่งงาน ศีลบวช เปน็ พธิ ีแต่งตัง้ ครสิ ต์ชนสามญั ศาสนาอิสลาม การทกั ทาย เมือ่ พบปะกัน การแตง่ กาย ศาสนากาหนดใหก้ ารแต่งกายปกปิดอวัยวะมิดชดิ การรบั ประทานอาหาร งดเว้นการบริโภคเน้อื สุกร และสตั ว์ตอ้ งห้าม การแต่งงาน มพี ิธกี รรม 2 ชว่ ง พธิ นี กิ ะห์ และพิธเี ลยี้ งอาหาร การตาย เชื่อว่าการตายคือการกลับไปหาพระเจา้ ผูส้ ร้าง ฝงั ภายใน 24 ช่วั โมง ประเพณี พธิ ีกรรมของชาวไทยจีน พธิ แี ต่งงาน ชาวจนี ถือเปน็ วนั สาคญั ที่เปน็ ความภมู ิใจและความสุขทแ่ี ทจ้ ริงของมนษุ ย์ พิธีศพ ประกอบดว้ ยพิธีกงเต็ก และการฝังศพ 8.2.4 ประเพณแี ละพิธกี รรมเกย่ี วเน่อื งกบั การทามาหากนิ ประเพณีและพิธีกรรมในการทานา สาหรับพิธีราษฎร์ มีกรณีศึกษา คือ ฮตสิบสองเดือนของชาวอีสาน ประเพณแี ละพิธีกรรมที่เก่ียวกบั การทานา ไดแ้ ก่ 1.1 พิธบี ุญคณู ลาน ทาในเดอื นยี่ เป็นพธิ กี รรมทาบุญและทาขวญั ข้าวเปลอื ก 1.2 พิธีบญุ บ้งั ไฟ ทาในเดอื นหก เพ่ือขอฝนจากเทวดา
10151 ไทยศึกษา Page 48 of 85 ประเพณีและพิธกี รรมเกีย่ วกับเครือ่ งมอื ทามาหากิน ในช่วงที่ฤดูกาลใหม่เพื่อเพาะปลูก ชาวนาไม่ได้ใช้เครื่องมือทานา เช่น คาด ไถ เป็นต้น แต่จะใช้สอย เคร่ืองใช้อนื่ ๆ ในชีวติ ประจาวัน เชน่ ครก สาก กระดง้ 8.2.5 ประเพณีและพธิ กี รรมในบางโอกาส 1. การรักษาโรค พิธีกรรมการรักษาโรคเกิดจากความเช่ือว่า การเจ็บป่วยมีสาเหตุมาจากการกระทาของบุคคลหรือสิ่งที่มี อานาจเหนอื ธรรมชาติ 2. การทาบญุ อายุ พิธีทาบุญอายุเป็นการทาบุญเมื่อย่างเข้าสู่อายุท่ีเป็นหัวเล้ียวหัวต่อของชีวิตได้แก่เมื่ออายุเข้าวัยเบญจเพส คือ 25 ปี เม่ืออายุ 50 หรือ 60 ปี การทาบุญอายุมีพิธีกรรมแตกต่างกันไปตามบุคคลและโอกาส บางคนเน้นการ เลีย้ งฉลอง บางคนเน้นการทาบุญ 3. การเสีย่ งเซียมซี คนจีนมีพธีเส่ียงทายเพื่อให้รู้โชคเคราะห์ล่วงหน้า คือ การเสี่ยงเซียมซีตามศาลเจ้า ซึ่งแพร่หลายเป็นที่ ยอมรับของคนไทยด้วย 4. การกนิ เจ พธิ กี จิ เจเป็นประเพณีการทาบญุ กศุ ลทม่ี ีมานานนบั พันปี 5. การสังเวยพระภมู ิ คนไทยมีความเชื่อเก่ียวกับสภาพแวดล้อมและถิ่นที่อยู่อาศัย กล่าวคือ เชื่อว่ามีพระภูมิ หรือผู้เป็นเจ้าของ แผน่ ดนิ เป็นความเชือ่ ท่รี ับคติทางศาสนาพราหม ผสมผสานกับคติความเชอ่ื ของชาวบา้ น ตอนท่ี 8.3 การเปล่ยี นแปลงของประเพณี และพิธกี รรม ปัจจยั ที่มีอิทธพิ ลต่อการเปลี่ยนแปลงประเพณี และพธิ ีกรรมไทย สภาพสังคม ลักษณะของวิถีชีวิตหรือชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยเป็นไปตามลักษณะที่ต้ังทางภูมิศาสตร์ สภาพภูมิอากาศและพ้ืนที่ ปัจจุบันวิถีชีวิตเปลี่ยนไปตามสภาพสังคมสมัยใหม่ท่ีมีการประกอบอาชีพต่าง ๆ หลากหลาย มีการติดตอ่ กบั ตา่ งชาติ และเปิดรบั ความเจรญิ ทางวิทยาการและวัฒนธรรมตะวันตกอยา่ งกวา้ งขวาง ความเช่อื และศาสนา ประเพณแี ละพิธีกรรมหลายอย่างมีท่มี าจากความเช่ือดั้งเดิมของคนไทย ยงั คงมีประเพณแี ละพิธีกรรมบูชา บวงสรวงภูตผวี ญิ ญาณและเทพยดาทปี่ ฏิบตั สิ บื ตอ่ กันมาในหมู่บ้านหรอื ชมุ ชนท้องถน่ิ การรบั อิทธิพลตา่ งชาติ คนไทยรับอารยธรรมจากต่างชาติอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่สมัยอยุธยาและทวีความสาคัญมากขึ้นสมัย รัตนโกสนิ ทรต์ ้ังแต่สมยั รชั กาลท่ี 5 เปน็ ต้นมา การตดิ ตอ่ กับต่างชาตทิ าใหค้ นไทยรบั ประเพณแี ละพิธกี รรมบางอย่าง และนามาผสมผสานกับของไทยไดอ้ ย่างกลมกลืน กลายเปน็ เอกลักษณข์ องชาตไิ ทย
10151 ไทยศกึ ษา Page 49 of 85 ลกั ษณะการเปลี่ยนแปลงของประเพณี พธิ กี รรมไทย ประเพณีและพิธีกรรมไทยเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาด้วยอิทธิพลของปัจจัยต่าง ๆ ดังกล่าว แล้วใน ลักษณะของการลดทอน ดัดแปลงแก้ไข ให้เหมาะสมกับการดาเนินชีวิต สภาพแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ และ การเมือง การเปลี่ยนแปลงประเพณีและพิธีกรรมไทยท้ังของเก่าและการรับมาปฏิบัติใหม่เป็นส่ิงปกติธรรมดา เช่นเดียวกับวฒั นธรรมไทยในด้านอนื่ ๆ กรณศี กึ ษาประเพณี และพิธีกรรมไทยท่เี ปล่ยี นแปลง 1. ประเพณีรดน้าแต่งงาน มคี วามนยิ มทฟี่ ุ่มเฟือยและเปน็ ธรุ กจิ มากขนึ้ 2. ประเพณีบวช เมื่ออายุครบ 20 ปีเต็ม เป็นวัยเข้าสู่การเป็นผู้ใหญ่ที่ต้องรับผิดชอบชีวิตของตน และเป็นหลักฐาน โดยลาพังตนเองได้ จึงควรมีความรู้หลักแห่งความจริงในโลกด้วยการเล่าเรียนพระธรรมในพุทธศาสนา มีพิธีกรรม แบบประหยัด 3. ประเพณีทาบุญบังสกุล ปัจจุบันยังมีประเพณีการบังสุกุลในพิธีงานศพและบังสกุ ุลอัฐิในวนั สงกรานต์การบังสุกุล อฐั ในปัจจบุ ัน มีธรรมเนียมทาพิธีท่วี ัด
Search