Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการเรียนรู้เต็มรูป ภาษาไทย ม.2 วรรณภรณ์

แผนการเรียนรู้เต็มรูป ภาษาไทย ม.2 วรรณภรณ์

Published by wanna7634, 2021-05-10 08:12:32

Description: แผนการเรียนรู้เต็มรูป ภาษาไทย ม.2 วรรณภรณ์

Search

Read the Text Version

แบบสงั เกตพฤติกรรม การทางานกลุ่ม ชอื่ กลุม่ ชั้น คาชแี้ จง : ให้ ผู้สอน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี  ลงในชอ่ ง ทีต่ รงกบั ระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 4321 1 การแบง่ หนา้ ท่ีกนั อย่างเหมาะสม 2 ความร่วมมอื กันทางาน 3 การแสดงความคิดเห็น 4 การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ 5 ความมีนา้ ใจชว่ ยเหลือกนั รวม ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยครงั้ ให้ 2 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบางครงั้ ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยคร้งั 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ตา่ กวา่ 10 ปรับปรงุ

ผงั มโนทัศน์ รายวิชาภาษาไทย ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เร่อื ง การเขยี นเพอ่ื การส่ือสาร การคดั ลายมือ จานวน ๓ ช่วั โมง การเขยี นบรรยายและพรรณนา จานวน ๔ ช่ัวโมง จานวน ๑๕ ชั่วโมง การเขียนเรียงความ จดหมายกิจธุระ จานวน ๔ ช่วั โมง จานวน ๔ ชัว่ โมง

แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๓ เรอื่ งการเขยี นเพือ่ การส่ือสาร แผนการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรือ่ ง การคดั ลายมือ รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ น้าหนักเวลาเรยี น ๖๐ ช่ัวโมง เวลาเรียน ๓ ช่ัวโมง / สปั ดาห์ เวลาที่ใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๓ ชัว่ โมง ๑. สาระสาคญั (ความเข้าใจที่คงทน) การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดต้องรหู้ ลกั ในการคัดและเขียนตวั อกั ษรไทยตามรูปแบบตา่ งๆ ๒. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ัดช้ันปี / ผลการเรยี นรู้ / (เป้าหมายการเรยี นรู)้ มาตรฐานท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี น เขยี นส่อื สาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขียนเรอ่ื งราวในรปู แบบ ต่างๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ตัวชว้ี ัด ม.2/1 คดั ลายมือตวั บรรจงครึ่งบรรทัด ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑เนอื้ หาสาระหลกั : Knowledge (ผู้เรยี นตอ้ งรู้อะไร) - หลักการคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทดั ๓.๒ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รียนสามารถปฏบิ ตั ิอะไรได้) -คัดลายมือตัวบรรจงคร่งึ บรรทดั ๓.๓ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude (ผเู้ รยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบา้ ง) - กระตอื รือรน้ ในการรว่ มกิจกรรม ๔. สมรรถนะสาคญั ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๕. คุณลกั ษณะของวิชา ๑. ความตง้ั ใจ ๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๗. ภาระงาน / ชิน้ งาน ตามตัวช้ีวดั คดั ลายมอื ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๘. ภาระงาน / ช้ินงานรวบยอด คดั ลายมือตัวบรรจงครงึ่ บรรทัด

๙. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๙.๑ ขั้นตัง้ คาถาม ครนู าตวั อย่างประกาศนยี บัตร บัตรอวยพร และบตั รเชิญ ทมี่ ตี ัวอักษรไทยรปู แบบต่างๆ ที่สวยงามมาติด บนป้ายนิเทศ ๙.๒ข้ันการเตรยี มการค้นหาคาตอบ ครใู ห้นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ วา่ ถ้าต้องการให้มลี ายมอื ท่สี วยงาม จะต้องทาอย่างไร ๙.๓ขั้นการดาเนนิ การค้นหาคาตอบและตรวจสอบคาถาม 1.ครแู บง่ นกั เรียนเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ แล้วให้นกั เรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกนั ศึกษาความรเู้ รื่อง หลักการคัดลายมือ จากหนังสือเรียน 2.นกั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั ทาใบงานที่ 3.1 เร่ือง หลกั การคดั ลายมือ โดยใหส้ มาชกิ แต่ละคนในกล่มุ หาคาตอบด้วยตนเองจนครบทกุ ข้อ จากนนั้ จับคกู่ บั เพื่อนในกลุม่ ผลัดกนั อธิบายคาตอบใหค้ ขู่ องตนเองฟัง ๓.นักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายปัญหาในการคัดลายมือ ๔.ครถู ามนักเรยี นว่าความรู้เร่อื ง หลกั การคัดลายมือ จะชว่ ยแก้ไขปัญหาใหน้ ักเรยี นได้อย่างไร ๕.นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ศึกษาความรู้เรื่อง รูปแบบตวั อักษร จากหนังสือเรยี น ๖.นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ทาใบงานที่ 3.2 เร่อื ง รูปแบบตวั อักษร โดยให้สมาชกิ ในแต่ละกลุม่ จบั คู่ กันเป็น 2 คู่ แลว้ ใหแ้ ตล่ ะคู่ปฏิบัตกิ จิ กรรม ดังนี้ -สมาชกิ คนท่ี 1 อา่ นแลว้ เขยี นอธิบายรูปแบบตัวอักษร -สมาชกิ คนท่ี 2 เปน็ ฝา่ ยสังเกต และตรวจสอบคาตอบ ใหส้ มาชิกแต่ละค่เู ปลี่ยนบทบาทกนั ในขอ้ ต่อไปจนครบทุกข้อ ๗.นักเรยี นรวมกลุ่มเดมิ (4 คน) ใหแ้ ตล่ ะคู่นาคาตอบของคู่ตนเองมานาเสนอให้เพ่ือนอีกคูห่ นึง่ ฟัง เพอ่ื ช่วยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง แล้วเขยี นลงในใบงานที่ 3.2 ๘.ครสู ุ่มตวั แทนนกั เรยี น 2 กลุม่ ออกมานาเสนอคาตอบในใบงานท่ี 3.2 หน้าช้ันเรยี น ครตู รวจสอบ ความถกู ต้อง และแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม ๙. ครูให้นักเรียนคดั ตัวอักษรทงั้ 3 แบบ ตามตัวอย่างที่แสดงให้เหน็ ทีละขน้ั ตอน โดยให้คดั ลายมอื ตัว บรรจงเตม็ บรรทดั ๙.๔ ขนั้ การสรุปและนาเสนอผลการคน้ หาคาตอบ ครูและนกั เรยี นช่วยกันสรุปวธิ กี ารคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทดั ๑๐. สื่อ อปุ กรณแ์ ละแหล่งเรียนรู้ รายการส่อื จานวน สภาพการใช้สอ่ื 1)หนงั สอื เรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใช้ภาษา ม. ให้นกั เรยี นศึกษาความรูห้ ลักการคัดลายมือ 2 2)แบบวัดและบันทึกผลการเรยี นรู้ ภาษาไทย ม.2 3)บตั รภาพ 4)รูปแบบตวั อักษร 3 แบบ ให้นกั เรยี นตอบคาถามในใบงาน 5)ตัวอยา่ งลายมือ 6)ใบงานท่ี 3.1 เรือ่ ง หลกั การคดั ลายมอื 7)ใบงานที่ 3.2 เรอ่ื ง รูปแบบตวั อักษร

๑๑. การวัดผลและประเมินผล เปา้ หมาย หลักฐานการเรยี นรู้ วิธีวดั เครอ่ื งมือวัดฯ ประเดน็ / การเรียนรู้ ชนิ้ งาน/ภาระงาน เกณฑก์ ารให้ ตรวจใบงานท่ี ๓.1 ใบงานที่ ๓.1 สาระสาคญั / คัดลายมือตัวบรรจง ตรวจใบงานที่ ๓.2 ใบงานที่ ๓.2 คะแนน ความคดิ รวบยอด ครึ่งบรรทัด การคดั ลายมือตัว ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ บรรจงครึง่ บรรทัด ต้องรหู้ ลักในการคดั และเขียนตวั อักษรไทยตาม รูปแบบตา่ งๆ ๑๒. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผู้เรยี น 1. พอประมาณ ใหน้ ักเรยี นอา่ นหลักการคัดลายมือ นักเรียนอ่านหลกั การคัดลายมือตวั ตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั บรรจงคร่ึงบรรทดั 2. ความมีเหตุผล ใหน้ ักเรยี นอธบิ ายหลักการคดั นักเรียนอธบิ ายหลักการคัดลายมอื ตัว ลายมอื ตัวบรรจงคร่ึงบรรทดั ที่ บรรจงคร่งึ บรรทดั ท่ีถูกต้อง ถกู ต้อง 3. มีภูมคิ มุ้ กนั ทีด่ ใี นตวั ให้นกั เรยี นคัดลายมือตวั บรรจง ให้นกั เรยี นคดั ลายมือตวั บรรจงครึง่ คร่งึ บรรทดั บรรทัด 4. เง่อื นไขความรู้ การคัดลายมือตวั บรรจงคร่ึง การคัดลายมือตวั บรรจงครึ่งบรรทดั บรรทดั ตอ้ งร้หู ลักในการคดั และ ต้องรหู้ ลักในการคดั และเขียนตวั เขียนตัวอกั ษรไทยตามรปู แบบ อักษรไทยตามรปู แบบต่างๆ ต่างๆ 5. เงอ่ื นไขคุณธรรม - - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผู้เรยี น นกั เรียนอ่านชอ่ื พรรณไม้ ใหน้ กั เรียนคัดลายมอื ชื่อพรรณไม้ นักเรียนคดั ลายมือชอ่ื พรรณไม้ใน ในโรงเรียน โรงเรียน สิ่งแวดลอ้ ม ครู ผูเ้ รยี น อ่านออกเสียง ให้นักเรียนคดั ลายมือตวั บรรจัง นักเรยี นคดั ลายมือตวั บรรจงั ครึง่ ครึ่งบรรทัด บรรทดั ลงชอื่ ..................................................ผูส้ อน (นางสาววรรณภรณ์ ทพิ ย์สอน)

ใบงานท่ี 3.1 หลักการคัดลายมอื คาชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. การท่ลี ายมืออา่ นยากเปน็ ผลเสียอยา่ งไร 2. การคดั ลายมือมีความสัมพนั ธก์ ับการมีสมาธอิ ยา่ งไร 3. ขนาดของตัวอักษรมีกีข่ นาด แต่ละขนาดมีความกว้างเทา่ ใด และได้แกต่ ัวอักษรใดบา้ ง 4. การวางตาแหน่งสระมีก่ีตาแหนง่ และต้องให้สัมพันธ์กับสง่ิ ใด

เอกสารประกอบการสอน ตวั อยา่ งลายมอื ท่ีมา : http://www.oknation.net

ใบงานท่ี 3.2 รูปแบบตัวอกั ษร คาชี้แจง ให้นักเรยี นเขียนอธบิ ายรูปแบบตวั อกั ษร 1. ตัวอักษรแบบอาลักษณ์ 2. เอกสารท่ีเขยี นดว้ ยตวั อักษรแบบอาลกั ษณ์ 3. ตัวอกั ษรแบบกระทรวงศึกษาธิการ 4. ตัวอักษรแบบคณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

แบบประเมนิ การคดั ลายมือตวั บรรจงครึง่ บรรทดั ข้อความทีม่ ีคณุ ค่าต่อการดาเนินชีวติ รายการประเมิน คาอธิบายระดับคณุ ภาพ / ระดบั คะแนน ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1) 1. ความถูกต้องตาม เขียนตวั อกั ษรถกู ตอ้ ง เขยี นตัวอักษรถกู ต้อง เขียนตวั อกั ษรถกู ต้อง เขียนตัวอกั ษรไม่ถกู ตอ้ ง รปู แบบของตัวอักษร ตามรปู แบบทเ่ี ลือกใช้ ตามรปู แบบทเี่ ลอื กใช้ ตามรปู แบบทเี่ ลือกใช้ ตามรูปแบบ ที่ เป็นส่วนใหญ่ เป็นบางสว่ น เลือกใช้ 2. มาตรฐานของ ตวั อกั ษรเปน็ มาตรฐาน ตัวอักษร เดยี วกนั ตวั อักษรเปน็ มาตรฐาน ตวั อกั ษรเป็นมาตรฐาน ตวั อกั ษรไมเ่ ป็นมาตรฐาน เดยี วกนั เปน็ ส่วนใหญ่ เดยี วกันเปน็ บางส่วน เดยี วกนั ความกว้างของ ตัวอักษร และหาง 3. การเวน้ ชอ่ งไฟ เวน้ ช่องไฟระหว่าง เวน้ ช่องไฟระหวา่ ง เวน้ ช่องไฟระหว่าง ตวั อักษร แตล่ ะ ตัวอกั ษรเทา่ กันทุกตวั ตวั อกั ษรเทา่ กัน ตัวอักษรเทา่ กนั ตัวไมเ่ ท่ากัน เป็นสว่ นใหญ่ เป็นบางส่วน 4. การวางตาแหน่ง วางสระและวรรณยกุ ต์ เวน้ ชอ่ งไฟระหว่าง วางสระและวรรณยกุ ต์ วางสระและวรรณยุกต์ ตัวอักษรไมเ่ ท่ากัน พยัญชนะ สระ ทกุ ตัวอย่ใู นตาแหน่งท่ี ทกุ ตัวอยูใ่ นตาแหนง่ ที่ ทุกตวั อยูใ่ นตาแหนง่ ท่ี และวรรณยุกต์ สมั พันธก์ บั พยัญชนะ สมั พันธก์ ับพยญั ชนะ สัมพันธ์กับพยัญชนะ วางสระและวรรณยุกต์ เปน็ สว่ นใหญ่ เปน็ บางส่วน ทุกตัวอยู่ในตาแหน่ง ทไ่ี มค่ อ่ ยสมั พนั ธก์ ับ พยัญชนะ ช่วงคะแนน 14 - 16 เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ 8 - 10 ตา่ กวา่ 8 ระดับคุณภาพ ดีมาก พอใช้ ปรบั ปรุง 11 - 13 ดี

แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทางานรายบคุ คล ชอ่ื ช้ัน คาช้แี จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี  ลงในชอ่ ง ท่ีตรงกับระดบั คะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๓๒๑ ๑ การแสดงความคดิ เหน็ ๒ การยอมรบั ฟังความคดิ เห็นของผูอ้ ืน่ รวม ๓ การทางานตามหนา้ ท่ีท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ๔ ความมีน้าใจ ๕ การตรงต่อเวลา ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ ๓ คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๒ คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั ให้ ๑ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครงั้ ๑๒ - ๑๕ ดี ๘ - ๑๑ พอใช้ ต่ำกว่ำ ๘ ปรบั ปรงุ

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๓ เรื่องการเขียนเพอ่ื การสื่อสาร แผนการเรยี นรู้ที่ ๒ เรื่อง การเขยี นบรรยายและพรรณา รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖๔ น้าหนกั เวลาเรียน ๖๐ ช่ัวโมง เวลาเรยี น ๓ ชวั่ โมง / สัปดาห์ เวลาทใ่ี ช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ๓ ชวั่ โมง ๑. สาระสาคัญ (ความเขา้ ใจท่คี งทน) การเขยี นบรรยายและพรรณาต้องมีความร้เู รือ่ งการเขยี น และมีมารยาทในการเขียน ๒. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั ช้ันปี / ผลการเรยี นรู้ / (เปา้ หมายการเรยี นร)ู้ มาตรฐานท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขยี นเรอ่ื งราวในรูปแบบ ตา่ งๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ ตัวชวี้ ัด ม.2/2 เขยี นบรรยายและพรรณนา ม.2/8 มมี ารยาทในการเขยี น ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑เนอ้ื หาสาระหลัก : Knowledge (ผเู้ รียนตอ้ งรู้อะไร) 1)การเขยี นบรรยายและการเขยี นพรรณา 2)มารยาทในการเขยี น ๓.๒ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผ้เู รียนสามารถปฏิบตั ิอะไรได้) 1)เขยี นบรรยายและการเขยี นพรรณา 2)มารยาทในการเขียน ๓.๓ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude (ผู้เรยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรยี นอะไรบ้าง) - ความต้ังใจในการทางาน ๔. สมรรถนะสาคัญ ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๕. คณุ ลักษณะของวิชา ๑. ความตั้งใจ ๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้

๗. ภาระงาน / ชิ้นงาน ตามตัวชีว้ ดั การเขียนบรรยายและการเขียนพรรณา ๘. ภาระงาน / ชน้ิ งานรวบยอด การเขยี นบรรยายและการเขียนพรรณา ๙. กิจกรรมการเรยี นรู้ ๙.๑ ขัน้ ตั้งคาถาม 1.ครูแจกเอกสารประกอบการเรียน เร่อื ง ตวั อย่างการเขยี นบรรยายและการเขียนพรรณนา ให้นักเรียน อ่าน ๒.ครูสนทนากับนกั เรียนถึงวิธกี ารเขียนบรรยายและการเขียนพรรณนาตามตัวอยา่ งทีไ่ ด้อ่าน แล้วซักถาม นกั เรยี นวา่ จากตวั อย่างนีน้ ักเรียนคิดว่า ผู้เขียนมีวธิ กี ารเขยี นอย่างไร ๙.๒ข้ันการเตรยี มการค้นหาคาตอบ ๑.นักเรียนแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 คน แต่ละกล่มุ ร่วมกนั อภปิ ราย การเขียนบรรยายและการเขียนพรรณนา ทถ่ี ูกต้องควรทาอยา่ งไร ๙.๓ข้นั การดาเนนิ การคน้ หาคาตอบและตรวจสอบคาถาม ๑.นกั เรยี น แต่ละกลมุ่ รว่ มกันศกึ ษาความรเู้ ร่ือง การเขยี นบรรยายและการเขียนพรรณนา จากหนังสอื เรียน ๒.ครูและนักเรียนร่วมกนั อภปิ รายวิธกี ารเขยี นบรรยายและการเขยี นพรรณนาเพื่อให้นักเรียนไดเ้ ลอื กใช้ ในการเขียน ๓.นักเรียนแตล่ ะคนทาใบงานท่ี ๓.2 เรอ่ื ง การเขียนบรรยาย ๔.นักเรียนแต่ละคนทาใบงานที่ ๓.3 เรือ่ ง การเขยี นพรรณนา เมื่อทาเสร็จแลว้ ให้นาส่งครูตรวจ ๙.๔ ขนั้ การสรปุ และนาเสนอผลการคน้ หาคาตอบ 1.ครตู รวจประเมินผลการทาใบงานที่ ๓.2,๓.3 ของนกั เรยี นแต่ละคน 2.ครูชมเชยนกั เรยี นคนท่เี ขยี นพรรณนาได้ดี พร้อมกบั นาผลงานมาให้เพ่ือนๆ ดู 3.นักเรยี นตอบคาถามกระตุน้ ความคดิ ๑๐. ส่อื อปุ กรณแ์ ละแหลง่ เรยี นรู้ รายการสื่อ จานวน สภาพการใชส้ ือ่ 1)หนังสอื เรียน ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใช้ภาษา ม. นกั เรยี นศึกษาวิธกี ารเขยี นบรรยายและ 2 พรรณนา และทากจิ กรรมในใบงาน 2)ใบงานท่ี ๓.2 เร่ือง การเขยี นบรรยาย 3)ใบงานที่ ๓.3 เร่อื ง การเขียนพรรณนา ๑๑. การวดั ผลและประเมนิ ผล

เป้าหมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ วธิ วี ดั เครื่องมอื วดั ฯ ประเดน็ / การเรยี นรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑก์ ารให้ ตรวจใบงานที่ ๓.2 ตรวจใบงานที่ ๓.2 สาระสาคญั / การเขยี นบรรยายและ ตรวจใบงานที่ ๓.3 ตรวจใบงานที่ ๓.3 คะแนน ความคดิ รวบยอด การเขียนพรรณา รอ้ ยละ ๖๐ ผ่าน เกณฑ์ การเขียนบรรยาย และพรรณาตอ้ งมี ความรู้เรื่องการเขยี น และมมี ารยาทในการ เขียน ๑๒. การบูรณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรียน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผเู้ รียน 1. พอประมาณ ให้นักเรยี นเขียนบรรยายและการ นักเรยี นเขยี นบรรยายและการเขียน เขยี นพรรณา พรรณา 2. ความมีเหตผุ ล ให้นกั เรียนอธบิ ายวธิ กี ารเขียน ให้นักเรียนอธิบายวธิ กี ารเขยี น บรรยายและการเขียนพรรณาท่ี บรรยายและการเขยี นพรรณาท่ี ถกู ต้อง ถูกต้อง 3. มภี ูมคิ ุม้ กนั ท่ดี ีในตัว ใหน้ ักเรียนอธิบายวธิ ีการเขียน นกั เรยี นอธบิ ายอธบิ ายวิธีการเขยี น บรรยายและการเขยี นพรรณา บรรยายและการเขยี นพรรณา 4. เง่ือนไขความรู้ การเขียนบรรยายและพรรณาตอ้ ง การเขยี นบรรยายและพรรณาตอ้ งมี มคี วามร้เู รือ่ งการเขยี น และมี ความรเู้ รื่องการเขยี น และมีมารยาท มารยาทในการเขียน ในการเขยี น 5. เงอ่ื นไขคุณธรรม - - สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ครู ผู้เรียน นักเรียนอ่านชื่อพรรณไม้ ให้นกั เรียนเขียนบรรยายพรรณไม้ นักเรียนเขยี นบรรยายพรรณไมใ้ น ในโรงเรียน โรงเรยี น สิ่งแวดลอ้ ม ครู ผเู้ รยี น อา่ นออกเสียง ใหน้ ักเรียนเขยี นบรรยายการ นกั เรยี นเขยี นบรรยายการอนุรกั ษ์ อนุรักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม สงิ่ แวดล้อม ลงชือ่ ..................................................ผู้สอน (นางสาววรรณภรณ์ ทิพย์สอน)

เอกสารประกอบการเรียน ตวั อยา่ งการเขียนบรรยาย รจู้ กั เบาหวาน เบาหวานเป็นโรคดงั้ เดมิ ทร่ี จู้ กั กนั มานาน หลายท่านอาจไดย้ นิ มาวา่ ปสั สาวะของคนเป็นเบาหวานมรี สหวาน ซง่ึ กเ็ ป็นเรอ่ื งจรงิ เน่ืองจากคนเป็นเบาหวานอาจมนี ้าตาลปนออกมาในปสั สาวะ จากการทร่ี ่างกายมรี ะดบั น้าตาลในเลอื ดสงู ท่วม ทน้ การกรองของไตนนั้ เอง โรคเบาหวาน คอื ภาวะไม่สมดลุ ของฮอรโ์ มนทม่ี ชี อ่ื ว่า “อนิ ซลู นิ ” ซง่ึ มหี น้าทน่ี าน้าตาลในเลอื ดเขา้ สเู่ ซลลเ์ พ่อื เผาผลาญ ใหเ้ กดิ พลงั งานในการทากจิ กรรมต่างๆ ทว่ี า่ ไมส่ มดุลกค็ อื มนี ้อยไม่พอกบั ความตอ้ งการ หรอื มไี มน่ ้อยแต่ไมส่ ามารถออกฤทธิ์ ต่อผนงั เซลลไ์ ดเ้ ตม็ ท่ี ผลกอ็ อกมาเหมอื นกบั ว่ามอี นิ ซลู นิ น้อย คอื พาน้าตาลเขา้ ไปในเซลลไ์ มไ่ ด้ ทาใหร้ ะดบั น้าตาลในเลอื ดสงู ผดิ ปกติ ซง่ึ เป็นภาวะทเ่ี ป็นพษิ ต่อเน้อื เย่อื ทวั่ ไปในร่างกาย ที่มา : โภชนาการกบั เบาหวาน โดยผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. วนั ทนีย์ เกรยี งสนิ ยศ บทบาทของขตั ติยนารีลา้ นนาในสมยั โบราณ สงั คมลา้ นนาเป็นสงั คมปิตาธปิ ไตย หรอื สงั คมชายเป็นใหญ่เช่นเดยี วกบั หลายสงั คมอน่ื ในโลก สตรมี สี ถานภาพดอ้ ย กว่าบรุ ษุ สตรจี ะมอี านาจตอ้ งผ่านทางบรุ ุษ รฐั ลา้ นนาในสมยั โบราณ กษตั รยิ ม์ อี านาจสงู สดุ ขตั ตยิ นารมี อี านาจไดเ้ พราะ มคี วามสมั พนั ธก์ บั กษตั รยิ ใ์ นทางใดทางหน่งึ ซง่ึ อาจเป็นพระธดิ า พระมเหสี หรอื พระมหาเทวี (พระมารดา) ขตั ตยิ นารี จงึ มอี านาจ โดยผ่านความสมั พนั ธท์ างเครอื ญาติ และอานาจจะมมี ากหรอื น้อยเพราะฐานะความเป็นญาตกิ บั กษตั รยิ ว์ ่าใกลช้ ดิ เพยี งใด ตามประวตั ศิ าสตรล์ า้ นนา มหาเทวหี รอื พระมารดามอี านาจสงู มาก รองลงมาเป็นพระมเหสซี ง่ึ มหี ลายระดบั สว่ น พระธดิ ามอี านาจน้อย ดงั นนั้ หากขตั ตยิ นารใี ดตอ้ งการเพม่ิ พนู อานาจกต็ อ้ งสรา้ งความสมั พนั ธใ์ หใ้ กลช้ ดิ กบั กษตั รยิ ์ ซง่ึ เป็น ศนู ยอ์ านาจและแทท้ จ่ี รงิ แลว้ ทม่ี าแหง่ อานาจของขตั ตยิ นารคี อื การเขา้ มาอภเิ ษกสมรสกบั กษตั รยิ ์ ซง่ึ จะทาใหม้ ฐี านะเป็น มเหสี การจะเป็นมเหสไี ดย้ อ่ มตอ้ งมพี น้ื ฐานทางครอบครวั สงู พอสมควร เชน่ อาจเป็นธดิ าของกษตั รยิ เ์ มอื งใดเมอื งหน่งึ หรอื เป็นธดิ าของขนุ นางระดบั สงู ในเมอื งนนั้ ที่มา : ขตั ตยิ านศี รลี า้ นนา “บทบาทของขตั ตยิ นารลี า้ นนาในสมยั โบราณ” โดยสรสั วดี อ๋องสกุล

ใบงานท่ี 3.2 การเขียนบรรยาย คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นเขยี นบรรยายสภาพความเปน็ อยู่ในชมุ ชนของนักเรยี น

เอกสารประกอบการเรียน ตวั อยา่ งการเขียนพรรณนา ท้องฟ้ า ไม่ว่าจะอย่ทู ไ่ี หน เป็นใคร กอ็ ยใู่ ตฟ้ ้าเดยี วกนั เพยี งแต่แหงนหน้าขน้ึ มองฟ้ากไ็ ดแ้ งค่ ดิ ต่างๆ อย่างเช่น โลกกลมๆ ใบน้อี ย่กู ลางจกั รวาลอนั กวา้ งใหญ่ ซง่ึ เม่อื เทยี บ ขนาดแลว้ โลกกเ็ ป็นเพยี งผงธลุ ี มนุษยต์ วั จอ้ ยน้อยนิดเชน่ เราจงึ สมควรเจยี มตนและเจยี มใจ ไมห่ ลงลมื ไปวา่ ตนเองดอ้ ย น้อย คา่ เพยี งใดในธรรมชาตอิ นั ยง่ิ ใหญ่น้ี ความสขุ อย่างหน่งึ คอื การไดน้ อนมองดฟู ้า ชาวกรงุ เทพฯ หาโอกาสชมฟ้ายากนกั ไมม่ เี วลาคอื อุปสรรคสาคญั เพราะ วนั ทงั้ วนั ตอ้ งทางาน กว่าจะวา่ งกม็ ดื ค่าและลา้ แรงเกนิ กวา่ จะนอนชมฟ้าชมดาวทไ่ี ม่ค่อยจะมใี หเ้ หน็ เพราะมลพษิ เป็นเหตุ หากอยากจะพกั ผอ่ นจรงิ จงั กต็ อ้ งหาวนั หยุดออกไปนอกเมอื ง ไปทไี รกป็ ลอดโปรง่ โล่งใจ นอนชมฟ้ากวา้ งและ บอกตวั เองว่า ชวี ติ ควรเป็นเชน่ น้ี ผนื ฟ้ามลี วดลายไม่ซา้ ตามชว่ งเวลาของวนั และตามฤดกู าล ฟ้าใสไรเ้ มฆกโ็ ล่งโปร่งตา มเี มฆแต่น้อยเกลย่ี กระจาย ไป ทวั่ ดนู วลนุ่ม แมแ้ ต่ยามทม่ี แี ต่เมฆดากด็ คู กึ คกั และเรา้ ใจ ชวนใหล้ นุ้ ว่าฝนจะเทลงมาเมอ่ื ไร และเมอ่ื ฝนขาดเมด็ ทอ้ งฟ้า ก็ กระจา่ งใสราวกบั ไมเ่ คยมเี มฆบดบงั มาก่อน ไดป้ รชั ญาชวี ติ จากการมองฟ้าเช่นน้ีเอง ที่มา : ใสส่ ชี วี ติ โดยงามพรรณ เวชชาชวี ะ

ใบงานที่ 3.3 การเขียนพรรณนา คาช้แี จง ใหน้ ักเรยี นอา่ นเร่ือง ผีเสือ้ กับดอกไม้ แล้วตอบคาถาม ผีเส้ือกับดอกไม้ เสยี งกลอง ปี่ ฉาบ ดังประสานกันมาแต่ไกล ขบวนแหก่ าลังเดินทางมาสู่บริเวณงานแล้ว การถกเถียงจงึ หยุดลงชว่ั คราว ขณะทที่ ุกคนหนั ไปมองที่มาของเสยี งเป็นตาเดยี ว ไมม่ เี สียงพดู คุยอะไรกันอีก นอกจากบางคนท่หี ัวถนน ซึ่งได้เหน็ ขบวน แห่แลว้ พึมพาในความสวยงามของการประดบั ประดา แถวนาขบวนแต่งตวั เต็มยศ พวกผชู้ ายสวมกางเกงขายาว นงุ่ โสรง่ ส้นั แค่เข่าทบั อีกชัน้ หนึ่ง และสวมเสอื้ แขนยาวสีขาว ทุกคน มีโบผูกทค่ี อ สว่ นผหู้ ญิงอกี แถวหนงึ่ นุ่งโสร่งหลากหลายสกี รอมเท้า เสื้อสีเหมอื นกัน สชี มพูออ่ น แขนยาวทรงกระบอก กระดุม โลหะสีทองวาววามลอ้ แสงอาทติ ย์ ทกุ คนแตง่ หนา้ สวยงามยม้ิ แยม้ แจม่ ใส ทม่ี า : ผีเสื้อกับดอกไม้ โดยนพิ พาน 1. นักเรยี นคดิ ว่าข้อความจากเร่ือง ผเี สือ้ กับดอกไม้ เปน็ การเขยี นพรรณนาหรือไม่ เพราะเหตุใด 2. ใหน้ กั เรียนเลอื กเขยี นพรรณนาขบวนแห่ ใหถ้ กู ต้องตามหลักการเขียนพรรณนา

แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทางานรายบคุ คล ชอ่ื ช้ัน คาช้แี จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี  ลงในชอ่ ง ท่ีตรงกับระดบั คะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๓๒๑ ๑ การแสดงความคดิ เหน็ ๒ การยอมรบั ฟังความคดิ เห็นของผูอ้ ืน่ รวม ๓ การทางานตามหนา้ ท่ีท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ๔ ความมีน้าใจ ๕ การตรงต่อเวลา ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ ๓ คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๒ คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั ให้ ๑ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครงั้ ๑๒ - ๑๕ ดี ๘ - ๑๑ พอใช้ ต่ำกว่ำ ๘ ปรบั ปรงุ

แบบสังเกตพฤติกรรม การทางานกลมุ่ ช่ือกลุ่ม ช้นั คาชี้แจง : ให้ ผสู้ อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในชอ่ ง ท่ตี รงกบั ระดับคะแนน ลาดับท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 4321 1 การแบง่ หนา้ ที่กันอย่างเหมาะสม 2 ความรว่ มมอื กันทางาน 3 การแสดงความคดิ เหน็ 4 การรับฟังความคดิ เหน็ 5 ความมีน้าใจชว่ ยเหลอื กัน รวม ลงชอื่ .................................................... ผู้ประเมิน ................ /................ /................ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้ัง 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ากวา่ 10 ปรบั ปรงุ

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คาชีแ้ จง : ให้ ผสู้ อน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี  ลงในช่อง ท่ีตรง กบั ระดับคะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพึงประสงคด์ ้าน ๓๒๑ 1. รกั ชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาตไิ ด้ ๑.๒ เข้าร่วมกิจกรรมทส่ี รา้ งความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ ต่อ กษัตริย์ โรงเรยี น ๒. ซ่ือสตั ย์ สจุ รติ ๑.๓ เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาท่ตี นนบั ถือ ปฏิบตั ิตามหลักศาสนา ๓. มีวนิ ัย รบั ผดิ ชอบ ๑.๔ เข้าร่วมกจิ กรรมท่เี กย่ี วกบั สถาบันพระมหากษตั ริยต์ ามทีโ่ รงเรียนจดั ขึ้น ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๒.๑ ใหข้ ้อมูลที่ถกู ตอ้ ง และเปน็ จรงิ ๒.๒ ปฏิบตั ใิ นส่ิงทถี่ ูกต้อง ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๓.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คบั ของครอบครัว 6. มงุ่ ม่ันในการทางาน มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่างๆ ในชีวติ ประจาวนั ๗. รักความเป็นไทย ๔.๑ รจู้ กั ใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ และนาไปปฏิบัตไิ ด้ ๘. มจี ติ สาธารณะ ๔.๒ รู้จักจดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม ๔.๓ เชอ่ื ฟังคาสั่งสอนของบิดา-มารดา โดยไม่โตแ้ ย้ง ๔.๔ ตัง้ ใจเรยี น ๕.๑ ใชท้ รพั ยส์ ินและสงิ่ ของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั ๕.๒ ใช้อุปกรณก์ ารเรยี นอย่างประหยดั และรู้คณุ คา่ ๕.๓ ใช้จ่ายอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงนิ ๖.๑ มีความตง้ั ใจและพยายามในการททาางงาานนท่ีไดร้ ับมอบหมาย ๖.๒ มคี วามอดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพ่ือให้งานสาเรจ็ ๗.๑ มีจิตสานึกในการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย ๗.๒ เห็นคุณคา่ และปฏบิ ตั ติ นตามวฒั นธรรมไทย ๘.๑ รู้จกั ช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครทู างาน ๘.๒ รูจ้ ักการดแู ล รักษาทรัพย์สมบตั แิ ละส่ิงแวดลอ้ มของห้องเรียน โรงเรยี น ลงชือ่ ...................................................ผู้ประเมนิ ............../.................../................ เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ ๓ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๒ คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้ัง ให้ ๑คะแนน ๔๖ - ๖๐ ดี ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั ๓๐ - ๔๕ พอใช้ ต่ากว่า ๓๐ ปรับปรุง

แบบประเมินการเขียนพรรณนา และการเขียนบรรยาย รายการประเมนิ คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ / ระดับคะแนน 1.การเขยี น ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1) บรรยาย เขยี นบรรยายถกู ต้อง เขียนบรรยายถกู ตอ้ ง เขยี นบรรยายถกู ตอ้ ง เขียนบรรยายถูกต้อง 2. การเขียน พรรณนา ตามหลกั การเขียน ตามหลักการเขียน ตามหลกั การเขยี น ตามหลักการเขียน เลือกใชส้ านวนภาษา เลอื กใชส้ านวนภาษา เลอื กใชส้ านวนภาษา แต่เลอื กใช้สานวน ไดถ้ ูกตอ้ ง เหมาะสม ไดถ้ ูกต้อง เหมาะสม ได้ถูกตอ้ ง เหมาะสม ภาษา ไม่ เป็นส่วนใหญ่ เปน็ บางสว่ น ถูกต้อง และ ไมเ่ หมาะสม เขียนพรรณนาถูกตอ้ ง เขียนพรรณนาถูกตอ้ ง เขียนพรรณนาถกู ตอ้ ง เขียนพรรณนาถูกต้อง ตามหลักการเขยี น ตามหลักการเขยี น ตามหลักการเขยี น ตามหลักการเขียน เลือกใชส้ านวนภาษา เลอื กใช้สานวนภาษา เลอื กใช้สานวนภาษา แต่เลอื กใชส้ านวน ได้ถูกตอ้ ง เหมาะสม ไดถ้ ูกต้อง เหมาะสม ไดถ้ ูกต้อง เหมาะสม ภาษาไม่ถกู ต้อง และ เป็นสว่ นใหญ่ เปน็ บางสว่ น ไม่เหมาะสม

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๓ เรื่องการเขยี นเพอ่ื การส่ือสาร แผนการเรยี นรู้ที่ ๓ เรื่อง การเขยี นเรียงความ รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖๔ น้าหนกั เวลาเรียน ๖๐ ช่ัวโมง เวลาเรียน ๓ ชว่ั โมง / สปั ดาห์ เวลาท่ใี ชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๓ ชวั่ โมง ๑. สาระสาคญั (ความเขา้ ใจท่คี งทน) เขียนเรียงความเกี่ยวกับประสบการณ์ต้องมีความร้เู รือ่ งหลกั การเขียน และมมี ารยาทในการเขยี น ๒. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชี้วดั ชน้ั ปี / ผลการเรยี นรู้ / (เป้าหมายการเรียนรู้) มาตรฐานท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเรือ่ งราวในรูปแบบ ตา่ งๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ตวั ช้วี ดั ม.2/3 เขียนเรยี งความ ม.2/8 มมี ารยาทในการเขยี น ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑เน้ือหาสาระหลกั : Knowledge (ผ้เู รยี นตอ้ งรู้อะไร) - หลักการเขยี นเรียงความ ๓.๒ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รยี นสามารถปฏบิ ตั ิอะไรได้) - เขียนเรยี งความ ๓.๓ คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude (ผ้เู รยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรยี นอะไรบา้ ง) - ความต้ังใจในการทางาน ๔. สมรรถนะสาคัญ ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๕. คุณลักษณะของวิชา ๑. ความต้งั ใจ ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ ๗. ภาระงาน / ชิน้ งาน ตามตวั ชีว้ ัด เขียนเรยี งความ

๘. ภาระงาน / ชนิ้ งานรวบยอด เขียนเรียงความ ๙. กจิ กรรมการเรียนรู้ ๙.๑ ขั้นตั้งคาถาม ๙.๑ ขน้ั ตั้งคาถาม 1.ครูนาตัวอย่างเรียงความท่ไี ดร้ บั รางวัลจากการประกวดทักษะวชิ าการทีโ่ รงเรยี นจดั ขนึ้ มาอา่ นให้ นกั เรยี นฟงั 2.นกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายถึงจดุ เด่นและจดุ ด้อยของเรียงความ ท่ีครอู ่านให้ฟงั 3.ครูสมุ่ เลขที่นกั เรียน 2-3 คน ใหข้ ้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ จุดด้อยของเรยี งความ 4.นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ๙.๒ข้ันการเตรียมการค้นหาคาตอบ 1.นักเรียนแตล่ ะกลุ่ม (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1) ร่วมกันศกึ ษาความร้เู ร่ือง การเขยี น เรยี งความ จากหนงั สือเรยี น และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2.นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิด ๙.๓ขั้นการดาเนนิ การค้นหาคาตอบและตรวจสอบคาถาม 1.นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั สรปุ ประเด็นสาคญั เกี่ยวกบั การเขียนเรยี งความ เพ่ือทาความเข้าใจให้ถูกต้อง 2.นักเรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ทาใบงานที่ 3.4 เร่อื ง หลักการเขียนเรียงความ เมือ่ ทาเสร็จแลว้ ใหน้ าสง่ ครู ตรวจ 3.นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ 4.นักเรียนแตล่ ะคนทาใบงานที่ 3.5 เรือ่ ง การเขียนเรียงความ เมื่อทาเสรจ็ แลว้ ให้ตรวจสอบความ เรียบร้อย ๙.๔ ขน้ั การสรปุ และนาเสนอผลการค้นหาคาตอบ ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกต้อง และแสดงความคดิ เห็นเพ่มิ เติม นักเรยี นและครูร่วมกัน สรปุ หลกั การเขียนเรยี งความ ๑๐. สื่อ อปุ กรณ์และแหล่งเรียนรู้ รายการส่ือ จานวน สภาพการใชส้ ่อื 1)หนงั สือเรยี น ภาษาไทย : หลักภาษาและการใชภ้ าษา ม. ให้นักเรยี นศึกษาหลกั และวธิ กี ารเขียน 2 เรียงความ และทากจิ กรรมในใบงาน 2)ตวั อย่างเรยี งความ 3)ใบงานท่ี 3.4 เรอ่ื ง หลักการเขยี นเรยี งความ 4)ใบงานที่ 3.5 เรอื่ ง การเขียนเรียงความ

๑๑. การวัดผลและประเมินผล เปา้ หมาย หลักฐานการเรยี นรู้ วิธวี ัด เคร่อื งมือวัดฯ ประเด็น/ การเรยี นรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้ ตรวจใบงานที่ ใบงานที่ 3.4 เขียนเรียงความ เขียนเรียงความ 3.4 ใบงานท่ี 3.๕ คะแนน เก่ียวกบั ตรวจใบงานท่ี 3. ประสบการณ์ตอ้ งมี ๕ ร้อยละ 60 ผา่ น ความรเู้ รือ่ งหลกั การ เกณฑ์ เขยี น และมีมารยาท ในการเขียน ๑๒. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผู้เรยี น 1. พอประมาณ ใหน้ ักเรียนศึกษาหลกั การเขยี น นกั เรยี นศึกษาหลกั การเขยี น เรียงความ เรยี งความ 2. ความมเี หตุผล ใหน้ กั เรียนอธิบายหลักการเขียน นกั เรียนอธิบายหลกั การเขยี น เรยี งความ เรียงความ 3. มภี มู ิค้มุ กนั ทดี่ ีในตวั ใหน้ กั เรียนอธบิ ายหลักการเขียน นกั เรยี นอธบิ ายหลักการเขียน เรยี งความได้ เรียงความได้ 4. เงื่อนไขความรู้ เขียนเรยี งความเกีย่ วกับ เขยี นเรียงความเกี่ยวกบั ประสบการณ์ตอ้ งมีความร้เู ร่ือง ประสบการณ์ต้องมคี วามรูเ้ รื่อง หลักการเขียน และมีมารยาทใน หลักการเขยี น และมมี ารยาทในการ การเขยี น เขยี น 5. เงือ่ นไขคุณธรรม - - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผเู้ รียน นักเรียนอ่านชื่อพรรณไม้ ใหน้ ักเรียนเขยี นเรยี งความพรรณ นกั เรียนเขียนเรยี งความพรรณไม้ใน ไมใ้ นโรงเรียน โรงเรยี น สงิ่ แวดลอ้ ม ครู ผูเ้ รยี น อา่ นออกเสียง ใหน้ กั เรยี นเขยี นเรียงความการ นักเรยี นเขยี นเรยี งความการอนุรกั ษ์ อนรุ ักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม ส่งิ แวดล้อม ลงช่ือ..................................................ผู้สอน (นางสาววรรณภรณ์ ทิพย์สอน)

ใบงานท่ี 3.4 หลักการเขยี นเรยี งความ คาช้แี จง ให้นักเรียนอธบิ ายขอ้ ความต่อไปน้ีมาพอสงั เขป 1. ความหมายของเรียงความ 2. การเขยี นคานา 3. การเขยี นเน้ือเร่อื ง 4. การเขียนสรปุ

ใบงานที่ 3.5 การเขยี นเรียงความ คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนเลอื กประสบการณ์ท่นี กั เรยี นมีความประทับใจ 1 เหตกุ ารณ์ มาเขียนให้ถูกตอ้ งตามหลกั การ เขยี นเรยี งความ

แบบประเมิน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คาชแี้ จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี  ลงในช่อง ทต่ี รง กบั ระดบั คะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อนั พึงประสงคด์ ้าน ๓๒๑ 1. รกั ชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยืนตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้ ๑.๒ เขา้ รว่ มกจิ กรรมทส่ี ร้างความสามคั คี ปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ ตอ่ กษตั รยิ ์ โรงเรียน ๒. ซ่ือสัตย์ สจุ ริต ๑.๓ เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาท่ตี นนบั ถอื ปฏิบัตติ ามหลักศาสนา ๓. มีวนิ ยั รบั ผดิ ชอบ ๑.๔ เขา้ ร่วมกิจกรรมทเ่ี กยี่ วกบั สถาบันพระมหากษตั ริยต์ ามทโี่ รงเรยี นจัดข้นึ ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๒.๑ ให้ขอ้ มลู ท่ถี ูกต้อง และเปน็ จริง ๒.๒ ปฏบิ ตั ิในส่ิงทีถ่ ูกต้อง ๕. อยอู่ ย่างพอเพยี ง ๓.๑ ปฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คบั ของครอบครัว 6. มุ่งมั่นในการทางาน มีความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่างๆ ในชวี ติ ประจาวัน ๗. รักความเปน็ ไทย ๔.๑ ร้จู ักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และนาไปปฏบิ ัตไิ ด้ ๘. มจี ิตสาธารณะ ๔.๒ รจู้ ักจดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม ๔.๓ เชือ่ ฟงั คาสงั่ สอนของบิดา-มารดา โดยไมโ่ ต้แยง้ ๔.๔ ต้ังใจเรยี น ๕.๑ ใชท้ รพั ย์สินและส่ิงของของโรงเรียนอย่างประหยดั ๕.๒ ใชอ้ ุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรคู้ ณุ คา่ ๕.๓ ใช้จ่ายอยา่ งประหยดั และมกี ารเกบ็ ออมเงิน ๖.๑ มีความตั้งใจและพยายามในการททาางงาานนทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ๖.๒ มีความอดทนและไมท่ ้อแทต้ อ่ อปุ สรรคเพือ่ ให้งานสาเรจ็ ๗.๑ มีจติ สานึกในการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย ๗.๒ เห็นคุณคา่ และปฏบิ ตั ติ นตามวฒั นธรรมไทย ๘.๑ รูจ้ ักชว่ ยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู างาน ๘.๒ ร้จู ักการดแู ล รักษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดล้อมของห้องเรยี น โรงเรยี น ลงชอ่ื ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ ๓ คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้ัง ให้ ๑คะแนน ๔๖ - ๖๐ ดี ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครง้ั ๓๐ - ๔๕ พอใช้ ต่ากว่า ๓๐ ปรับปรงุ

แบบสงั เกตพฤติกรรม การทางานกลุ่ม ชอื่ กลุม่ ชั้น คาชแี้ จง : ให้ ผู้สอน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี  ลงในชอ่ ง ทีต่ รงกบั ระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 4321 1 การแบง่ หนา้ ท่ีกนั อย่างเหมาะสม 2 ความร่วมมอื กันทางาน 3 การแสดงความคิดเห็น 4 การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ 5 ความมีนา้ ใจชว่ ยเหลือกนั รวม ลงชื่อ .................................................... ผู้ประเมิน ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยครงั้ ให้ 2 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบางครงั้ ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยคร้งั 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ตา่ กวา่ 10 ปรับปรงุ

แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ เรอ่ื งการเขยี นเพ่ือการสอ่ื สาร แผนการเรยี นรทู้ ี่ ๔ เรอื่ ง การเขยี นจดหมายกิจธุระ รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ น้าหนกั เวลาเรียน ๖๐ ช่ัวโมง เวลาเรยี น ๓ ชว่ั โมง / สัปดาห์ เวลาท่ใี ช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ๓ ชัว่ โมง ๑. สาระสาคัญ (ความเข้าใจทค่ี งทน) การเขียนจดหมายกจิ ธุระ ต้องเขียนใหถ้ ูกต้องตามหลักการเขียน และมีมารยาทในการเขียน ๒. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ัดชนั้ ปี / ผลการเรียนรู้ / (เป้าหมายการเรียนรู้) มาตรฐานท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี น เขยี นส่อื สาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรอื่ งราวในรูปแบบ ตา่ งๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ตวั ชี้วัด ม.2/6 เขียนจดหมายกจิ ธุระ ม.2/8 มีมารยาทในการเขียน ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑เนื้อหาสาระหลกั : Knowledge (ผู้เรยี นต้องรู้อะไร) - หลกั การเขียนจดหมายกิจธุระ ๓.๒ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผ้เู รียนสามารถปฏิบัติอะไรได้) - เขยี นจดหมายกิจธรุ ะ ๓.๓ คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ : Attitude (ผ้เู รยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง) - ความตั้งใจในการทางาน ๔. สมรรถนะสาคญั ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๕. คณุ ลกั ษณะของวิชา ๑. ความตั้งใจ ๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๗. ภาระงาน / ช้นิ งาน ตามตัวชว้ี ัด เขียนจดหมายกิจธรุ ะ ๘. ภาระงาน / ชน้ิ งานรวบยอด เขยี นจดหมายกจิ ธุระ

๙. กจิ กรรมการเรียนรู้ ๙.๑ ขัน้ ตง้ั คาถาม 1.ครูสนทนากบั นักเรียนเรื่องความสาคญั และความจาเป็นในการเขยี นจดหมายเพ่ือการสื่อสาร 2.ครกู าหนดใหน้ กั เรียนเขยี นจดหมายกจิ ธุระ คือ จดหมายเชญิ วทิ ยากร และจดหมายขอความ อนุเคราะห์ 3.นกั เรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เห็นวา่ การเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ จะต้องปฏบิ ัติอย่างไร ๙.๒ขัน้ การเตรยี มการค้นหาคาตอบ 1.นักเรียนแต่ละกลมุ่ (กลุ่มเดิมจากแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1) ร่วมกนั วางแผนกาหนดแนวทางค้นหา ความรู้เกย่ี วกับการเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ พร้อมแบ่งหน้าท่ีความรบั ผดิ ชอบใหส้ มาชิกแต่ละคนในกลุ่ม 2.นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ๙.๓ขัน้ การดาเนนิ การค้นหาคาตอบและตรวจสอบคาถาม 1.นกั เรยี นแต่ละกล่มุ รว่ มกันศึกษาความรเู้ รื่อง การเขียนจดหมายกิจธุระ จากหนังสือเรียน ห้องสมุด และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ตามทีไ่ ด้วางแผนร่วมกันไว้ 2.นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ๓.นกั เรยี นแต่ละกลุม่ นาความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการศึกษาค้นคว้ามาทาใบงานที่ 3.6 เรอื่ ง หลักการเขยี น จดหมายกจิ ธรุ ะ ๔.ครูสุ่มตวั แทนนักเรยี น 2-3 กลมุ่ นาเสนอคาตอบในใบงาน ที่ 3.7 ครูและเพ่ือนนักเรียนกลุ่มอ่นื ร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้อง 5.นักเรียนแตล่ ะคนทาใบงานท่ี 4.8 เรอื่ ง การเขียนจดหมายกิจธรุ ะ เมื่อทาเสรจ็ แล้วใหต้ รวจสอบความ เรียบรอ้ ย ๙.๔ ขัน้ การสรปุ และนาเสนอผลการคน้ หาคาตอบ ครูและนกั เรยี นร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้อง และแสดงความคดิ เหน็ เพิม่ เติม นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรุปการเขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะ ๑๐. สอื่ อุปกรณ์และแหลง่ เรียนรู้ รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สือ่ 1)หนังสอื เรียน ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใชภ้ าษา ม. ให้นักเรียนศึกษาหลกั และวิธีการเขียนจดหมาย 2 กิจธรุ ะ และทากจิ กรรมในใบงาน ๒) ใบงานที่ ๓.๖ เร่อื ง หลักการเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ ๓) ใบงานที่ ๓.๗ เรอื่ ง การเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ

๑๑. การวัดผลและประเมินผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ วธิ วี ัด เคร่ืองมอื วัดฯ ประเด็น/ การเรียนรู้ ช้นิ งาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้ ตรวจใบงานที่ 3. ใบงานที่ 3.๖ การเขียนจดหมาย เขยี นจดหมายกิจธรุ ะ ๖ ใบงานท่ี 3.๗ คะแนน กจิ ธรุ ะ ต้องเขยี นให้ ตรวจใบงานท่ี 3. ถกู ต้องตามหลักการ ๗ รอ้ ยละ 60 ผา่ น เขยี น และมีมารยาท เกณฑ์ ในการเขยี น ๑๒. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผู้เรยี น 1. พอประมาณ ให้นักเรยี นศึกษาหลักการเขยี น นกั เรยี นศึกษาหลักการเขียนจดหมาย จดหมายกจิ ธุระ กิจธรุ ะ 2. ความมีเหตผุ ล ใหน้ กั เรยี นอธิบายหลกั การเขียน นักเรยี นอธบิ ายหลักการเขียนจดหมาย จดหมายกิจธรุ ะ กิจธุระ 3. มภี มู คิ ุม้ กันทีด่ ีในตัว ให้นักเรียนอธบิ ายหลกั เขียน นักเรียนอธิบายหลกั การเขียน จดหมายกจิ ธรุ ะได้ จดหมายกจิ ธุระได้ 4. เงื่อนไขความรู้ การเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ ต้อง การเขยี นจดหมายกจิ ธุระ ต้องเขยี น เขยี นใหถ้ ูกต้องตามหลักการเขียน ให้ถกู ต้องตามหลกั การเขียน และมี และมมี ารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขยี น 5. เงื่อนไขคุณธรรม - - สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผูเ้ รียน นักเรยี นอา่ นช่ือพรรณไม้ ส่ิงแวดลอ้ ม ครู ผเู้ รียน อา่ นออกเสยี ง ลงช่อื ..................................................ผสู้ อน (นางสาววรรณภรณ์ ทพิ ย์สอน)

ใบงานท่ี 3.6 หลกั การเขยี นจดหมายกจิ ธุระ คาชแ้ี จง ให้นักเรียนอธบิ ายวธิ กี ารเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ ตามตาแหนง่ ที่กาหนด (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) ( ) (8) (9) (10)

ตาแหนง่ ท่ี (1) คอื มีวิธกี ารเขียน ดงั น้ี ตาแหน่งที่ (2) คอื มวี ธิ กี ารเขยี น ดังนี้ ตาแหน่งท่ี (3) คือ มวี ิธีการเขยี น ดังน้ี ตาแหนง่ ที่ (4) คือ มีวิธกี ารเขยี น ดงั นี้ ตาแหน่งที่ (5) คือ มีวธิ ีการเขียน ดังนี้ ตาแหน่งท่ี (6) คอื มวี ิธีการเขยี น ดงั นี้ ตาแหน่งท่ี (7) คอื มีวิธีการเขยี น ดงั น้ี ตาแหนง่ ท่ี (8) คอื มีวธิ กี ารเขยี น ดังนี้ ตาแหน่งที่ (9) คือ มีวิธีการเขียน ดังนี้ ตาแหน่งท่ี (10) คอื มีวิธีการเขียน ดังนี้

ใบงานท่ี 3.7 การเขียนจดหมายกจิ ธุระ คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนสมมุตสิ ถานการณ์มขี า่ วลือเกยี่ วกับภยั ธรรมชาติขน้ึ มา 1 สถานการณ์ ซงึ่ ทาให้ประชาชนใน ท้องถน่ิ เกิดความต่นื ตระหนกต่อขา่ วลอื ในฐานะท่ีนักเรียนเปน็ ประธานหมู่บ้าน ใหเ้ ขยี นจดหมายเชิญ วทิ ยากรผู้เชี่ยวชาญในด้านนีม้ าใหค้ วามรู้แกป่ ระชาชนในท้องถิ่น โดยเขยี นให้ถูกต้องตามหลกั การเขียน จดหมายเชิญวิทยากร

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คาชีแ้ จง : ให้ ผสู้ อน สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี  ลงในช่อง ท่ีตรง กบั ระดับคะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพึงประสงคด์ ้าน ๓๒๑ 1. รกั ชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาตไิ ด้ ๑.๒ เข้าร่วมกิจกรรมทส่ี รา้ งความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ ต่อ กษัตริย์ โรงเรยี น ๒. ซ่ือสตั ย์ สจุ รติ ๑.๓ เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาท่ตี นนบั ถือ ปฏิบตั ิตามหลักศาสนา ๓. มีวนิ ัย รบั ผดิ ชอบ ๑.๔ เข้าร่วมกจิ กรรมท่เี กย่ี วกบั สถาบันพระมหากษตั ริยต์ ามทีโ่ รงเรียนจดั ขึ้น ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๒.๑ ใหข้ ้อมูลที่ถกู ตอ้ ง และเปน็ จรงิ ๒.๒ ปฏิบตั ใิ นส่ิงทถี่ ูกต้อง ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๓.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คบั ของครอบครัว 6. มงุ่ ม่ันในการทางาน มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่างๆ ในชีวติ ประจาวนั ๗. รักความเป็นไทย ๔.๑ รจู้ กั ใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ และนาไปปฏิบัตไิ ด้ ๘. มจี ติ สาธารณะ ๔.๒ รู้จักจดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม ๔.๓ เชอ่ื ฟังคาสั่งสอนของบิดา-มารดา โดยไม่โตแ้ ย้ง ๔.๔ ตัง้ ใจเรยี น ๕.๑ ใชท้ รพั ยส์ ินและสงิ่ ของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั ๕.๒ ใช้อุปกรณก์ ารเรยี นอย่างประหยดั และรู้คณุ คา่ ๕.๓ ใช้จ่ายอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงนิ ๖.๑ มีความตง้ั ใจและพยายามในการททาางงาานนท่ีไดร้ ับมอบหมาย ๖.๒ มคี วามอดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพ่ือให้งานสาเรจ็ ๗.๑ มีจิตสานึกในการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย ๗.๒ เห็นคุณคา่ และปฏบิ ตั ติ นตามวฒั นธรรมไทย ๘.๑ รู้จกั ช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครทู างาน ๘.๒ รูจ้ ักการดแู ล รักษาทรัพย์สมบตั แิ ละส่ิงแวดลอ้ มของห้องเรียน โรงเรยี น ลงชือ่ ...................................................ผู้ประเมนิ ............../.................../................ เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ ๓ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๒ คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้ัง ให้ ๑คะแนน ๔๖ - ๖๐ ดี ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั ๓๐ - ๔๕ พอใช้ ต่ากว่า ๓๐ ปรับปรุง

แบบสงั เกตพฤติกรรม การทางานกล่มุ ช่อื กลมุ่ ชนั้ คาชี้แจง : ให้ ผสู้ อน สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี  ลงในช่อง ทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 1 การแบง่ หนา้ ท่ีกันอย่างเหมาะสม 2 ความรว่ มมอื กันทางาน 3 การแสดงความคดิ เห็น 4 การรบั ฟังความคิดเหน็ 5 ความมนี ้าใจช่วยเหลอื กนั รวม ลงช่อื ....................................................ผปู้ ระเมนิ ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครั้ง ให้ 2 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ตา่ กว่า 10 ปรับปรุง

ผงั มโนทัศน์ รายวิชาภาษาไทย ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔ เรอ่ื ง เรยี นรู้หลักภาษา การสรา้ งคาในภาษาไทย จานวน ๔ ชั่วโมง ประโยคในภาษาไทย คาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย จานวน ๔ ชวั่ โมง จานวน ๕ ชั่วโมง เรียนรู้หลกั ภาษา จานวน ๒๗ ชั่วโมง ที่มาและประโยชน์ของคาราชาศัพท์ ชนิดของประโยคแบง่ ตามเจตนาแบ่งตาม จานวน ๓ ช่วั โมง โครงสร้าง จานวน ๕ ชวั่ โมง คาราชาศพั ท์ ๖ ชวั่ โมง

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ เรอื่ งเรียนรู้หลกั ภาษาไทย แผนการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง การสร้างคาในภาษาไทย รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ น้าหนักเวลาเรยี น ๖๐ ชัว่ โมง เวลาเรียน ๓ ช่วั โมง / สปั ดาห์ เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๓ ชวั่ โมง ๑. สาระสาคญั (ความเข้าใจทีค่ งทน) การศกึ ษาหลักภาษาไทยตอ้ งมีความร้เู รอ่ื งการสร้างคาโดยวิธตี ่างๆ ๒. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ช้ีวัดช้นั ปี / ผลการเรยี นรู้ / (เป้าหมายการเรยี นรู)้ มาตรฐานท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและ พลงั ของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัตขิ องชาติ ตัวช้ีวดั ม.2/1 สรา้ งคาในภาษาไทย ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑เนอื้ หาสาระหลัก : Knowledge (ผเู้ รยี นต้องรู้อะไร) - หลกั การสร้างคาในภาษาไทย ๓.๒ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผูเ้ รียนสามารถปฏบิ ัติอะไรได้) -สร้างคาในภาษาไทย ๓.๓ คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ : Attitude (ผูเ้ รยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบา้ ง) - กระตอื รือรน้ ในการรว่ มกิจกรรม ๔. สมรรถนะสาคญั ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๕. คณุ ลักษณะของวิชา ๑. ความตงั้ ใจ ๖. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ใฝ่เรยี นรู้ ๗. ภาระงาน / ชิ้นงาน ตามตวั ช้ีวดั สรา้ งคาในภาษาไทย ๘. ภาระงาน / ช้นิ งานรวบยอด สร้างคาในภาษาไทย

๙. กจิ กรรมการเรียนรู้ ๙.๑ ข้นั ตง้ั คาถาม 1.ครแู บ่งนกั เรียนเปน็ กลุ่ม กล่มุ ละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางคอ่ นข้างเกง่ ปาน กลางค่อนขา้ งอ่อน และออ่ น 2.ครูให้สมาชิกแต่ละกลุ่มแบ่งหัวข้อศึกษาเร่ือง การสร้างคา ซ่ึงมี 4 ประเภท คือ คาประสม คาซ้อน คาซา้ และคาสมาส จากหนังสือเรียน ห้องสมุด และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ 3.สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มทาความเข้าใจเก่ียวกับความหมายและวิธีการสร้างคา ๙.๒ขน้ั การเตรียมการค้นหาคาตอบ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม เพ่ือสรุปองค์ความรู้ เก่ียวกับการสร้างคา ๙.๓ข้นั การดาเนนิ การคน้ หาคาตอบและตรวจสอบคาถาม 1.นกั เรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกนั ทาใบงานท่ี 5.1 เร่อื ง การสร้างคาในภาษาไทย โดยให้สมาชิกแตล่ ะคนใน กล่มุ หาคาตอบด้วยตนเองจนครบทุกขอ้ จากนัน้ จบั ค่กู ับเพื่อนในกลมุ่ ผลัดกันอธบิ ายคาตอบใหค้ ู่ของตนเองฟัง (สมาชิกกลุ่มอกี คหู่ น่งึ ก็ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเชน่ เดยี วกัน) 2.นักเรยี นรวมกลุม่ 4 คน ใหแ้ ต่ละคูผ่ ลดั กันอธบิ ายคาตอบใหเ้ พอ่ื นอีกคู่หนงึ่ ในกลุ่มฟงั เพ่อื ช่วยกัน ตรวจสอบความถูกต้อง 3.นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ร่วมกันทาใบงานที่ ๕.2 เรอื่ ง การวิเคราะห์การสรา้ งคาในภาษาไทย โดยให้ สมาชิกแต่ละคนปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ดงั น้ี 1)สมาชกิ คนที่ 1 เขียนคาตอบในขอ้ 1 แลว้ สง่ ให้สมาชิกคนที่ 2 2)สมาชกิ คนท่ี 2 ตรวจสอบคาตอบในขอ้ 1 แลว้ เขยี นคาตอบในข้อ 2 จากนน้ั ส่งให้สมาชิกคนท่ี 3 3)สมาชิกคนท่ี 3 ตรวจสอบคาตอบในข้อ 2 แล้วเขียนคาตอบในขอ้ 3 จากนน้ั ส่งใหส้ มาชิกคนที่ 4 4)สมาชกิ คนที่ 4 ตรวจสอบคาตอบในข้อ 3 แล้วเขยี นคาตอบในข้อ 4 จากนนั้ สง่ ให้สมาชกิ คนท่ี 1 สมาชกิ แต่ละกลุ่มปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเชน่ น้หี มนุ เวียนไปเร่ือยๆ จนครบทกุ ข้อ 4. สมาชิกแต่ละคนท่ีตรวจสอบการเขยี นคาตอบ ถ้าเหน็ ว่ายงั ไม่ถกู ต้องสมบูรณก์ ใ็ ห้เขียนอธบิ าย เพิม่ เติม 5.สมาชิกในแต่ละกลุ่มจะได้มีโอกาสอ่านและเขียนคาตอบหมนุ เวยี นกันไปเรื่อยๆ จนเสร็จกล่าวคอื สามารถเขยี นอธบิ ายได้ชัดเจนครบถว้ นทุกคาตอบ 6.นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ 7.นักเรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเห็นถึงความจาเปน็ ที่จะต้องสรา้ งคาขน้ึ มาใช้ในภาษาไทย ๘.นกั เรยี นแต่ละคนทาใบงานท่ี ๕.3 เร่ือง การสงั เคราะห์ความร้กู ารสรา้ งคาในภาษาไทย และแบบวดั ฯ ตอนท่ี 4 (การสร้างคาและประโยค) กิจกรรมตามตวั ช้วี ัด : กิจกรรม ท่ี 1.2-1.3 เมื่อทาเสร็จแลว้ ให้ ตรวจสอบความเรยี บรอ้ ย ก่อนนาสง่ ครตู รวจ

๙.๔ ข้ันการสรุปและนาเสนอผลการค้นหาคาตอบ ครูและนักเรียนช่วยกันสรปุ วิธกี ารสรา้ งคาในภาษาไทย และนักเรยี นร่วมกันอภิปรายถงึ ความรูท้ ่ไี ดจ้ าก การศึกษาเรื่อง การสร้างคา และการนาความรไู้ ปใช้ให้เปน็ ประโยชนต์ ่อไป ๑๐. ส่ือ อปุ กรณแ์ ละแหลง่ เรียนรู้ รายการสอ่ื จานวน สภาพการใช้ส่ือ 1)หนังสือเรียน ภาษาไทย:หลกั ภาษาและการใชภ้ าษา ม.2 ใหน้ ักเรยี นศึกษาความรู้หลกั การสร้างคาใน 2)ใบงานท่ี 5.1 เรือ่ ง การสรา้ งคาในภาษาไทย ภาษาไทย และทากิจกรรมในใบงาน 3)ใบงานท่ี 5.2 เร่อื ง การวเิ คราะห์การสรา้ งคาใน ภาษาไทย 4)ใบงานที่ 5.3 เรือ่ ง การสังเคราะห์ความรูก้ ารสร้างคาใน ภาษาไทย ๑๑. การวดั ผลและประเมินผล เปา้ หมาย หลักฐานการเรยี นรู้ วิธวี ดั เครอ่ื งมือวดั ฯ ประเด็น/ การเรยี นรู้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน เกณฑก์ ารให้ ตรวจใบงานที่ ๕.1 ใบงานท่ี ๕.1 สาระสาคัญ/ การสรา้ งคาใน ตรวจใบงานท่ี ๕.2 ใบงานท่ี ๕.2 คะแนน ตรวจใบงานที่ ๕.๓ ใบงานท่ี ๕.๓ ความคิดรวบยอด ภาษาไทย ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ การศกึ ษาหลัก ภาษาไทยต้องมี ความร้เู ร่ืองการสรา้ ง คาโดยวธิ ีตา่ งๆ ๑๒. การบรู ณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรยี น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผเู้ รียน นกั เรยี นอา่ นหลกั การการสรา้ งคาใน 1. พอประมาณ ใหน้ กั เรียนอ่านหลักการการสรา้ ง ภาษาไทย นักเรยี นอธบิ ายหลักการการสรา้ งคา คาในภาษาไทย ในภาษาไทยทีถ่ ูกต้อง ใหน้ ักเรยี นสร้างคาในภาษาไทย 2. ความมีเหตผุ ล ให้นกั เรียนอธิบายการสร้างคาใน การศึกษาหลกั ภาษาไทยต้องมคี วามรู้ เร่ืองการสร้างคาโดยวิธตี า่ งๆ ภาษาไทยทถ่ี ูกตอ้ ง - 3. มภี ูมิคุม้ กันทดี่ ใี นตัว ใหน้ ักเรยี นสร้างคาในภาษาไทย 4. เงือ่ นไขความรู้ การศึกษาหลกั ภาษาไทยต้องมี ความร้เู ร่อื งการสรา้ งคาโดยวิธี ต่างๆ 5. เง่ือนไขคุณธรรม -

สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ผูเ้ รียน นกั เรียนอ่านชอ่ื พรรณไม้ ครู ผู้เรยี น ส่ิงแวดล้อม อ่านออกเสียง ลงชื่อ..................................................ผ้สู อน (นางสาววรรณภรณ์ ทพิ ย์สอน)

ใบงานที่ 5.1 การสร้างคาในภาษาไทย คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามต่อไปน้ี 1. เหตใุ ดจึงมีการสร้างคาในภาษาไทย 2. คาประสมมีลกั ษณะอย่างไร มีวธิ ีการสรา้ งอย่างไร 3. คาซ้อนมีลกั ษณะอย่างไร มีวธิ กี ารสรา้ งอยา่ งไร 4. คาซา้ มลี กั ษณะอย่างไร มวี ิธกี ารสรา้ งอยา่ งไร 5. คาสมาสมลี ักษณะอยา่ งไร มีวิธกี ารสร้างอยา่ งไร 6. คาสมาสทมี่ สี นธมิ ลี ักษณะอย่างไร มีวิธีการสร้างอยา่ งไร 7. คาซ้อนเพ่ือเสยี งมลี กั ษณะอย่างไร มีวิธกี ารสร้างอย่างไร 8. จากการศึกษาเร่ืองคาสมาส นักเรียนไดร้ ับความรเู้ รอื่ งใดบา้ งนอกจากเรื่องการสรา้ งคา

ใบงานที่ 5.2 การวิเคราะห์การสร้างคาในภาษาไทย คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นเขียนอธบิ ายการสร้างคาลงในตาราง คา ความหมาย วิธีการสร้างคา โครงสรา้ ง (ตวั อยา่ ง) ตาขาว แสดงอาการขลาดกลวั คาประสม ตา+ขาว 1. สองหัว 2. ดด๊ี ี 3. เกียรตคิ ณุ 4. ขอทาน 5. สีเทาๆ 6. ปฐมวัย 7. ได้เสยี 8. เส้ือผ้า 9. มนุษยธรรม 10.หนา้ ตา 11.กลมๆ 12.คณิตศาสตร์ 13.น้อยหนา้ 14.ตอนเชา้ ๆ 15.หอ่ หมก 16.ถว้ ยชาม

ใบงานที่ 5.3 การสงั เคราะหค์ วามรูก้ ารสรา้ งคาในภาษาไทย คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขยี นบทสนทนาเพื่ออธิบายการสรา้ งคา ตามทก่ี าหนด (ตวั อยา่ ง) บทสนทนาระหว่างนักเรียนกบั ครู นกั เรยี น : ครคู รบั ผมอยากทราบวา่ คาวา่ มดแดง เปน็ คาประสมใช่หรอื เปล่าครับ ครู : ใช่จ๊ะ เพราะเป็นคามูลที่มีความหมายตา่ งกนั มารวมกันเปน็ คาเดยี วและมีความหมายใหม่เกิดขึ้น 1. คาประสม 2. คาซอ้ น 3. คาซ้า 4. คาสมาส

แบบสังเกตพฤตกิ รรม การทางานรายบคุ คล ชอ่ื ช้ัน คาช้แี จง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี  ลงในชอ่ ง ท่ีตรงกับระดบั คะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๓๒๑ ๑ การแสดงความคดิ เหน็ ๒ การยอมรบั ฟังความคดิ เห็นของผูอ้ ืน่ รวม ๓ การทางานตามหนา้ ท่ีท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ๔ ความมีน้าใจ ๕ การตรงต่อเวลา ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ ๓ คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ ๒ คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั ให้ ๑ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครงั้ ๑๒ - ๑๕ ดี ๘ - ๑๑ พอใช้ ต่ำกว่ำ ๘ ปรบั ปรงุ

แบบสงั เกตพฤติกรรม การทางานกลุ่ม คาชี้แจง : ให้ ผ้สู อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี  ลงในชอ่ ง ท่ตี รงกบั ระดับคะแนน ลาดับ ชือ่ -สกุล ความ การแสดง การรบั ฟงั ความตัง้ ใจ การแกไ้ ข รวม ท่ี ของผรู้ บั การประเมิน ร่วมมอื กนั ความคิดเหน็ ความคิดเหน็ ทางาน ปญั หา/หรือ 20 ทากิจกรรม ปรบั ปรงุ คะแนน ผลงานกลุ่ม 4321 4321 432 14321 4321 ลงช่อื .................................................... ผปู้ ระเมิน ................ /................ /................ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครง้ั 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ตา่ กวา่ 10 ปรบั ปรงุ

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คาช้แี จง : ให้ ผ้สู อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด  ลงในช่อง ท่ตี รง กับระดบั คะแนน คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อนั พึงประสงคด์ า้ น ๓๒๑ 1.รกั ชาติ ศาสน์ ๑.๑ ยืนตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้ กษัตริย์ ๑.๒ เขา้ ร่วมกิจกรรมทส่ี ร้างความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ ตอ่ ๒. ซื่อสตั ย์ สุจรติ โรงเรียน ๓. มวี นิ ยั รับผดิ ชอบ ๑.๓ เขา้ รว่ มกิจกรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถอื ปฏบิ ัติตามหลักศาสนา ๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ๑.๔ เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเ่ี กยี่ วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริยต์ ามทีโ่ รงเรยี นจัดขน้ึ ๒.๑ ให้ข้อมูลท่ถี กู ต้อง และเปน็ จริง ๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ๒.๒ ปฏิบตั ิในสง่ิ ทถ่ี ูกตอ้ ง ๓.๑ ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคบั ของครอบครัว 1. มงุ่ มั่นในการ ทางาน มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่างๆ ในชีวติ ประจาวนั ๗. รักความเปน็ ไทย ๔.๑ รู้จักใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนาไปปฏบิ ัตไิ ด้ ๘. มีจติ สาธารณะ ๔.๒ รจู้ ักจดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม ๔.๓ เช่อื ฟงั คาสั่งสอนของบิดา-มารดา โดยไมโ่ ต้แยง้ ๔.๔ ต้ังใจเรยี น ๕.๑ ใชท้ รัพยส์ นิ และสิง่ ของของโรงเรียนอยา่ งประหยดั ๕.๒ ใช้อปุ กรณก์ ารเรยี นอย่างประหยดั และรูค้ ณุ ค่า ๕.๓ ใชจ้ ่ายอยา่ งประหยดั และมกี ารเกบ็ ออมเงนิ ๖.๑ มคี วามตั้งใจและพยายามในการทางานทไ่ี ด้รับมอบหมาย ๖.๒ มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออุปสรรคเพือ่ ให้งานสาเรจ็ ๗.๑ มีจิตสานกึ ในการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย ๗.๒ เหน็ คุณคา่ และปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทย ๘.๑ รจู้ กั ช่วยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง และครทู างาน ๘.๒ รู้จักการดแู ล รักษาทรัพย์สมบัติและสง่ิ แวดลอ้ มของห้องเรียน โรงเรยี น ลงชือ่ ...................................................ผ้ปู ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ ๓ คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยครงั้ ให้ ๑คะแนน ๔๖ - ๖๐ ดี ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ๓๐ - ๔๕ พอใช้ ต่ากวา่ ๓๐ ปรบั ปรุง

แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๔ เรอื่ งเรียนรู้หลักภาษาไทย แผนการเรยี นรูท้ ี่ ๒ เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ น้าหนักเวลาเรยี น ๖๐ ชวั่ โมง เวลาเรยี น ๓ ชั่วโมง / สัปดาห์ เวลาทีใ่ ช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ๓ ชัว่ โมง ๑. สาระสาคัญ (ความเข้าใจท่ีคงทน) การศกึ ษาเร่ืองการใชค้ าภาษาต่างประเทศในภาษาไทย จะต้องอธบิ ายความหมายของคา จาแนกและใชค้ า ภาษาต่างประเทศท่ใี ชใ้ นภาษาไทยให้ถกู ต้อง ๒. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ดั ช้ันปี / ผลการเรยี นรู้ / (เปา้ หมายการเรยี นร)ู้ มาตรฐานท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและ พลังของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ ตัวช้วี ดั ม.2/5 รวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑เน้ือหาสาระหลัก : Knowledge (ผู้เรยี นตอ้ งรู้อะไร) - รวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศทใี่ ชใ้ นภาษาไทย ๓.๒ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รียนสามารถปฏิบัติอะไรได้) -จาแนกและใชค้ าภาษาตา่ งประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย ๓.๓ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude (ผเู้ รียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบา้ ง) - กระตือรือรน้ ในการร่วมกจิ กรรม ๔. สมรรถนะสาคญั ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๕. คุณลกั ษณะของวิชา ๑. ความตั้งใจ ๖. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ใฝเ่ รยี นรู้ ๗. ภาระงาน / ช้ินงาน ตามตวั ช้วี ัด จาแนกและใชค้ าภาษาต่างประเทศทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย ๘. ภาระงาน / ชน้ิ งานรวบยอด จาแนกและใช้คาภาษาต่างประเทศทีใ่ ช้ในภาษาไทย

๙. กจิ กรรมการเรียนรู้ ๙.๑ ขนั้ ตงั้ คาถาม 1.ครูถามนักเรยี นถงึ ชอ่ื จรงิ และช่อื เล่นของนกั เรยี นวา่ เป็นคาทีม่ าจากภาษาใด 2.นกั เรยี นชว่ ยกันสรุปว่าช่ือจริงและชื่อเล่นของนักเรยี นเป็นภาษาใดมากทีส่ ดุ 3.ครูอธิบายเพิ่มเติมถึงความนิยมนาคาภาษาต่างประเทศมาต้ังช่ือ ๙.๒ข้ันการเตรียมการคน้ หาคาตอบ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายร่วมกับครูว่าคาภาษาไทยท่ีมาจากภาษาต่างประเทศน่าจะมาจาก ภาษาใดบ้าง ๙.๓ข้ันการดาเนนิ การค้นหาคาตอบและตรวจสอบคาถาม 1.นักเรยี นกลมุ่ เดิม (จากแผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 1) เรียกวา่ กลุ่มบ้าน แลว้ กาหนดหมายเลขประจาตวั ใหส้ มาชิกแต่ละคนในกลมุ่ เป็นหมายเลข 1-4 จากน้นั ให้นักเรียนทีม่ หี มายเลขเดยี วกนั มานง่ั รวมกนั เรยี กวา่ กลมุ่ ผเู้ ชีย่ วชาญ เพื่อร่วมกนั ศึกษาความรู้เรื่อง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย จากหนังสอื เรยี น ห้องสมุด และ แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ ตามประเดน็ ทค่ี รูกาหนด ดังน้ี -กลมุ่ หมายเลข 1 ศึกษาเรื่อง คาไทยแทแ้ ละคาภาษาบาลี-สนั สกฤต -กลมุ่ หมายเลข 2 ศึกษาเร่ือง คาภาษาจีนและคาภาษาเขมรในภาษาไทย -กลมุ่ หมายเลข 3 ศึกษาเรื่อง คาภาษาองั กฤษและคาภาษาฝร่ังเศสในภาษาไทย -กลมุ่ หมายเลข 4 ศกึ ษาเร่ือง คาภาษาชวาและคาภาษาพม่าในภาษาไทย 2.ครแู จง้ กติกาว่า หา้ มสมาชิกออกจากกลุ่มจนกว่าจะศึกษาความรทู้ ่ไี ด้รบั มอบหมายแล้วเสรจ็ ถา้ คนใด สงสยั หรือไมเ่ ข้าใจจะต้องขอความชว่ ยเหลอื จากเพื่อนในกลุ่ม 3.สมาชกิ ในแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันศกึ ษา อภิปราย และแสดงความคิดเหน็ จนทุกคนมีความรู้ความเขา้ ใจ กระจ่างชดั ในหวั ข้อเร่ือง คาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ได้เป็นอย่างดี จากนัน้ บนั ทึกความรู้ลงในแบบบันทึก การอ่าน 4.สมาชิกกลมุ่ ผ้เู ชี่ยวชาญกลับไปยังกลมุ่ เดิมของตนท่ีเรียกวา่ กลมุ่ บ้าน แลว้ ผลัดกนั อธบิ ายเพอ่ื ถา่ ยทอด ความร้ทู ่ีตนไดไ้ ปศึกษามา โดยเร่มิ จากหมายเลข 1-4 ตามลาดบั หรอื อาจให้ถ่ายทอดความรู้ตามความสมัครใจ โดย ไม่เรียงกไ็ ด้ แต่ทุกคนต้องถ่ายทอดความรู้จนครบ 5.ครูขออาสาสมัครตวั แทนนักเรยี น 1-2 กล่มุ นาเสนอความรู้เรอื่ ง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ครตู รวจสอบความถูกต้อง พร้อมกลา่ วชมเชยนกั เรียนทนี่ าเสนอความรไู้ ด้ถกู ต้อง เพือ่ เสรมิ สรา้ งกาลังใจ 6.นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันทาใบงานท่ี 5.4 เรอื่ ง คาภาษา ต่างประเทศในภาษาไทย เมอ่ื ทาเสรจ็ แล้ว ใหแ้ ลกเปล่ียน ใบงานกนั ตรวจสอบกบั เพื่อนกลุ่มอนื่ ตามท่ไี ด้ร่วมกนั เฉลย กบั ครู 7.นกั เรียนแต่ละคนทาแบบวัดฯ ตอนที่ 4 (การสรา้ งคาและประโยค) กจิ กรรมตามตัวชี้วัด : กิจกรรมท่ี 1.7-1.9 เม่อื ทาเสร็จแลว้ ใหน้ าสง่ ครตู รวจ

๙.๔ ข้นั การสรปุ และนาเสนอผลการคน้ หาคาตอบ ครแู ละนักเรียนชว่ ยกันสรุปคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย นกั เรยี นและครรู ว่ มกันอภิปรายความรู้ เรื่อง คาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย และความจาเป็นในการนาคาภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย ๑๐. สื่อ อุปกรณแ์ ละแหลง่ เรยี นรู้ รายการสือ่ จานวน สภาพการใช้สื่อ 1)หนังสอื เรยี น ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใชภ้ าษา ม. ใหน้ ักเรียนศึกษาความรู้เร่อื งคา 2 ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย และทากิจกรรม 2)ใบงานที่ 5.4 เรือ่ ง คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ในใบงาน ๑๑. การวดั ผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ วธิ วี ดั เครอื่ งมือวดั ฯ ประเดน็ / การเรยี นรู้ ชิน้ งาน/ภาระงาน เกณฑก์ ารให้ ตรวจใบงานท่ี ๕.๔ ใบงานท่ี ๕.๔ สาระสาคญั / จาแนกและใชค้ า คะแนน ความคดิ รวบยอด ภาษาตา่ งประเทศทใ่ี ช้ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ การศกึ ษาเรื่องการใช้ ในภาษาไทย คาภาษาตา่ งประเทศ ในภาษาไทย จะต้อง อธิบายความหมาย ของคา จาแนกและ ใชค้ า ภาษาตา่ งประเทศท่ี ใชใ้ นภาษาไทยให้ ถูกต้อง ๑๒. การบรู ณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ครู ผูเ้ รยี น นกั เรียนรวบรวมคา 1. พอประมาณ ให้นกั เรยี นรวบรวม ภาษาตา่ งประเทศทใี่ ช้ในภาษาไทย ภาษาตา่ งประเทศท่ีใชใ้ น นักเรียนอธบิ ายความหมายของคา ภาษาไทย 2. ความมเี หตุผล ใหน้ ักเรียนอธิบายความหมายของ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook