Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ที่ 1

ใบความรู้ที่ 1

Published by north2530, 2018-05-09 01:07:06

Description: ใบความรู้ที่ 1

Search

Read the Text Version

ใบความรทู ่ี 1 สปั ดาหท ่ี 1 หนว ยท่ี 1รหสั วชิ า 3503-2004 ชื่อวชิ า โภชนศาสตรส ตั วเ บอ้ื งตน เวลา 4 ชม. สอนคร้ังท่ี 1-2ชอ่ื หนว ย ความสาํ คญั และศพั ทเ ทคนคิ ทางโภชนศาสตรส ตั ว เวลา 4 ชม./นาทีชอ่ื เรอ่ื ง ความสาํ คญั และศพั ทเ ทคนคิ ทางโภชนศาสตรจดุ ประสงคก ารเรยี นรู 1. ผเู รยี นบอกความหมายของอาหารและโภชนาการได 2. ผเู รยี นบอกความแตกตา งของประเภทของอาหารได 3. ผเู รยี นอธบิ ายบทบาทของสารอาหารได 4. ผเู รยี นปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บในการเรยี นการสอน 5. ผเู รยี นรว มกจิ กรรมในการเรียนการสอน เชน การถาม-ตอบ 6. ผเู รยี นใหค วามสนใจในการเรยี นการสอน 7. ผเู รยี นมคี วามกระตือรือรน ในการมาเรียน1. ความหมายของอาหารและโภชนาการ อาหาร (Food) หมายถงึ ของกนิ หรอื เครอ่ื งหลอ เล้ียงชีวิต ในทางอาหารสัตวจะใชคําวา Feed ซึ่งจะหมายถงึ สารหรอื สง่ิ ของทีภ่ ายหลงั สตั วก นิ เขาไปแลว สามารถถกู ยอ ย (Digested) ถูกดูดซึม (Absorbed)แลว จะถกู นาํ ไปใชป ระโยชน (Utilized) ตอ รา งกายของสตั วไ ด นอกจากนีอ้ าจมคี วามหมายท่ีหมายถงึ วตั ถุหรือสารใด ๆ ซึ่งโดยปกติจะมาจากพืช หรือสัตวซึ่งมีโภชนะประกอบอยู หรือหมายถึงวัตถุใด ๆ ที่สัตวกินได แลวนํามาผสมเปนสวนหนึ่งในอาหารที่สัตวกินทุก ๆ วัน หรือหมายถึงสารหรือวัตถุที่สัตวกินไดและสามารถนาํ ไปใชเ ปน พลงั งานหรอื เปน โภชนะแกส ตั ว จากความหมายของอาหารสตั วน ้ี จะเหน็ ไดว า สารหรือส่ิงของซ่ึงจะถูกยอยแตสัตวไมสามารถยอยไดท้ังหมด โดยสวนของอาหารท่ีถูกยอยไดและถูกนําไปใชประโยชนไดจะเรียกวาโภชนะหรือสารอาหาร(Nutrients) Nutrients (สารอาหารหรือโภชนะ) หมายถึง สารเคมี หรือกลุมสารเคมีที่มีคุณสมบัติคลายคลึงกันประกอบขน้ึ เปน สวนประกอบของอาหารสัตวใ นธรรมชาตหิ รอื นาํ ไปสงั เคราะหเ ปนอาหารสตั ว เมอ่ื สัตวกินเขาไปแลว ทาํ ใหสตั วม ชี วี ติ ตามปกติ ในทางอาหารสตั วแ บง โภชนะออกเปน 6 อยา ง ตามความใกลเคยี งกันโภชนะแตล ะอยา งมหี นา ทโ่ี ดยเฉพาะเจาะจงในการเสรมิ สรา งชวี ติ สตั วโ ภชนะ 6 อยา งมดี งั ตอ ไปน้ี1. นาํ้ (water)2. คารโ บไฮเดรต (carbohydrate)3. โปรตีน (protein)4. ไขมนั และสารทค่ี ลา ยไขมนั (lipid)5. แรธ าตุ (mineral or ashe)6. วติ ามนิ (vitamin)

2. ความสาํ คญั ของโภชนศาสตรส ตั วต อ การเลย้ี งสตั ว 1. ชว ยใหม คี วามรคู วามเขา ใจถงึ บทบาทหนา ทข่ี องโภชนะทม่ี ผี ลตอ การเจรญิ เตบิ โตและการใหผ ลผลติ ของสตั วต ลอดจนผลเสยี ของการขาดโภชนะ 2. ชว ยใหส ตั วม กี ารเจริญเตบิ โตรวดเรว็ และใหผ ลผลติ สงู เตม็ ประสทิ ธภิ าพตามพนั ธกุ รรมและสง่ิ แวดลอ มของสตั วท พ่ี งึ แสดงออกได (ประหยดั ตน ทนุ และเวลา) 3. ชว ยปรบั ปรงุ คณุ ภาพของผลผลติ ใหม คี ณุ ภาพดไี ดม าตรฐาน เชน คุณภาพซากเปอรเซ็นตเนอ้ื แดง สีของไขแ ดง ความนมุ ของเนอ้ื ความหนาของไขมนั สนั หลงั สกุ ร เปอรเ ซน็ ตไ ขมนั ในนม ฯลฯ 4. ชวยใหสามารถใชวัตถุดิบอาหารสัตวตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม ประหยัด และมีคุณภาพ(ใชว ตั ถดุ บิ ใหม ๆ มาใชท ดแทนวตั ถดุ บิ เกา ทม่ี รี าคาแพงหรอื ขาดแคลน) 5. ชว ยเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใชอ าหารของสตั วใ หส งู ขน้ึ อาหารท่ีมโี ภชนะครบถว นตามทส่ี ตั วตอ งการจะชว ยลดการสน้ิ เปลอื งอาหารสตั วล งได 6. ชวยใหสามารถวิเคราะหและตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบและอาหารสัตวได ทําใหสามารถผลติ อาหารสตั วท ม่ี คี ณุ ภาพไดม าตรฐานและปองกันความเสียหาย จากการใชวตั ถดุ ิบและอาหารท่ีมีคณุ ภาพตาํ่ ไดล ว งหนา 7. ชว ยใหค ดิ คาํ นวณ ประกอบสตู รอาหารสตั ว ใชเ องภายในฟารม ไดซ ง่ึ จะชว ยใหป ระหยดัตน ทนุ การผลติ กวา การใชอ าหารสาํ เรจ็ รปู 8. ชว ยแกป ญ หาการใชส ารเคมเี สรมิ อาหารทเ่ี ปน อนั ตรายในอาหารสตั ว ซง่ึ ทาํ ใหเ กดิ ปญ หาสารตกคา งในผลติ ภณั ฑจ ากสตั วซ ง่ึ เปน อนั ตรายจากผบู รโิ ภคและเปน อปุ สรรคทส่ี าํ คญั ในการสง ออกได3. ประเภทของอาหาร อาหารสตั วถ า แบง ตามปริมาณเยอ่ื ใยและปรมิ าณยอดโภชนะยอยไดท ้ังหมดแลวสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ 1. อาหารขน (Concentrate) เปน อาหารท่ีมีความเขม ขน ของโภชนะสูงและมีระดบั เย่ือใยตํ่ากวา 18 เปอรเ ซน็ ต แตม โี ภชนะยอ ยไดท ง้ั หมด (TDN) สงู อาหารประเภทนไ้ี ดแ กเ มลด็ ธญั พชื ตา ง ๆ 2. อาหารหยาบ (Roughage) เปน อาหารทม่ี โี ภชนะยอ ยไดท ้ังหมดตํ่า และมีปริมาณเย่ือใยสูงกวา 18 เปอรเ ซน็ ต อาหารประเภทนไ้ี ดแ ก หญา สด หญาแหง ถว่ั ฟางขา ว เปน ตน

ภาพที่ 1 แผนผงั สว นประกอบของอาหาร4. ศพั ทเ ทคนคิ ทางโภชนศาสตรสตั ว 4.1 ประสทิ ธภิ าพในการใชอ าหารของสตั ว (Feed efficiency) คอื ความสามารถทส่ี ตั วม เี พอ่ื เปล่ียนอาหารทกี่ นิ เขาไปหนงึ่ หนวย ไปทําใหน้ําหนักตัวเพ่มิ ขึ้น สัตวแตละชนิด แตละวัยมีประสิทธิภาพ การใชอ าหารไมเ ทา กนั เชน ประสิทธภิ าพการใชอ าหารของสตั วจ ะลดตาํ่ ลงเมอ่ื สตั วม อี ายมุ ากขน้ึ ฯลฯ 4.2 อัตราการเปล่ียนอาหารเปนเนื้อ (Feed conversion rate) คือ คาท่ีแสดงถึงสัดสวนระหวา งปรมิ าณอาหารทง้ั หมดทส่ี ตั วก นิ เขา ไปตอ นาํ้ หนกั ของสตั วเ พม่ิ ขน้ึ 1 หนว ย เปน อตั ราสวนอยา งตาํ่ เสมอ ไมแ สดงหนวย ขน้ั แปลความหมายจึงคอ ยเตมิ หนวยเขา ไปเพ่ือประกอบการอธิบาย ท้ังสองคาน้ียง่ิ ตา งกนั นอ ยย่ิงดี ในการเขียนแสดงคา สัดสว นน้ีใหแ สดงสัดสว นอาหารท่ีกนิ ไวห นา เสมอ และปจ จบุ นั ไมน ยิ มเขยี นเลข 1 ทแ่ี สดงถงึ คา นาํ้ หนกั ตวั ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ แลว จะละไวใ นฐานทเ่ี ขา ใจ 4.3 Complete feed (อาหารสาํ เรจ็ รปู ) หมายถึง อาหารท่ีมีสารอาหารครบถวนตามความตอ งการของสตั ว เมอ่ื สตั วไ ดร บั ในปรมิ าณทเ่ี พยี งพอแลว สามารถเจริญเตบิ โตและใหผลผลิตไดโ ดยไมตอ งใหอาหารอน่ื นอกจากนาํ้ เทา นน้ั 4.4 Concentrates diet (หัวอาหาร) หมายถึง อาหารท่ีประกอบดวยวัตถุดิบชนิดเดียวหรอื หลายชนดิ รวมกนั มคี ณุ คา ทางอาหารสงู ซง่ึ สว นมากมักจะประกอบไปดว ยโปรตนี แรธาตแุ ละวติ ามินรวมกนั อยู เมอ่ื นาํ ไปผสมกบั อาหารชนดิ อน่ื ซง่ึ มกั ไดแ ก อาหารประเภทคารโ บไฮเดรต ตามสดั สว นทก่ี าํ หนดแลว จะมคี ณุ คา ครบถว นตามความตอ งการของ 4.5 Diet หมายถึง อาหารที่เตรียมหรือผสมเสร็จแลว เพื่อไวใชเลี้ยงสัตวเฉพาะอยาง ๆ

4.6 Dry Matter (วัตถุแหง) หมายถึง วัตถุแหงในอาหาร วัตถุแหงเปนสารที่เหลือหลังจากทําการไลน า้ํ ออกไปจนหมดส้ินแลว วัตถุแหงบางทีก็เรียกวา dry substance หรือ total solids วัตถุแหงประกอบดว ยโปรตนี (crude protein) ไขมัน (crude fat) เยอ่ื ใย (crude fiber) ไนโตรเจนฟรีเอกซแทรกหรอื เอน็ เอฟอี (nitrogen free extract, NFE) และ เถา (ash) 4.7 Feed Additives (สารเสรมิ ) หมายถงึ สารทใ่ี ชเ ตมิ ลงไปในอาหารเพ่ือจุดประสงคต างๆ กนั เชน เพอื่ ใหส ตั วมีการเจริญเติบโตดีขึ้น เพ่ือใหสัตวสรางผลผลิตเพิ่มขึ้น หรือเพ่ือปองกันรักษาโรคสารเสริมท่ีใชกันมาก ไดแก ปฏิชีวนะสาร (antibiotics) ฮอรโมน (hormones) น้ํายอย (enzymes)(เชน Beta-glucanase และ PhytaseX) ยาถายพยาธิ (wormers) และสารกระตุนการเจริญเตบิ โต(growth-stimulating substances) หรือสารแตงกลิ่นแตงรสตางๆ (Flavors) 4.8 Feed Supplement (อาหารเสริม) หมายถึง วัตถุดิบอาหารสัตวชนิดเด่ียวหรือหลายชนดิ ผสมกนั มคี วามเขม ขน ของโภชนะชนดิ ใดชนดิ หนง่ึ อยูส งู ใชเตมิ ลงในการผสมอาหาร เพ่ือใหเกิดความสมดุลของโภชนะในอาหารผสมนน้ั สว นใหญหมายถงึ การเพ่ิมโปรตีนหรือกรดอะมิโน รวมไปถงึ การเพ่ิมแรธาตแุ ละวติ ามนิ ดว ย อาหารเสรมิ มดี งั ตอ ไปน้ี 4.8.1 อาหารเสริมโปรตีน (protein supplement) หมายถึง วัตถุดิบอาหารท่ีมีโปรตีนสูงกวา 20% มีกากหรือเย่ือใยนอยกวา 18% เชน ปลาปน หางนมผง กากถ่ัวเหลือง และใบกระถนิ 4.8.2 อาหารเสริมกรดอะมิโน (amino acid supplement) หมายถึง กรดอะมิโนสงั เคราะห ตาง ๆ เชน ไลซีน เมทไทโอนีน ใชเติมลงในอาหารผสมเพื่อใหมีปริมาณกรดอะมิโนครบตามปริมาณทร่ี า งกายสตั วต อ งการ 4.8.3 อาหารเสริมแรธาตุ (mineral supplement) หมายถึง วัตถุดิบอาหารท่ีใหแรธาตุในปริมาณสูง เชน เกลือ กระดูกปน ไดแคลเซียมฟอสเฟต และเปลือกหอย 4.8.4 อาหารเสริมวิตามิน (vitamin supplement) หมายถึง วัตถุดิบอาหารท่ีใหวติ ามนิ สงู เชน นาํ้ มนั ตบั ปลา วติ ามนิ สงั เคราะหต า ง ๆ 4.8.5 สารเสริมชีวนะ (Probiotics) หมายถึงสารเสริมอาหารซ่ึงเปนจุลินทรียท่ีมีชีวิตสามารถกอ ประโยชนต อ รา งกายของสง่ิ มชี วี ติ ทม่ี นั อาศยั อยโู ดยการปรับสมดลุ ของจุลินทรียในทางเดนิ อาหารเปนสารที่ไดจากจุลินทรียมักเปนเชื้อแบคทีเรีย รา หรือยีตสที่ไมกอโรค เปนสายพันธุมีความคงตัว ทนตอการเปลย่ี นแปลงสภาวะกรด เบส ในทางเดนิ อาหาร และสามารถถกู สนั ดาปหรอื ยอ ยสลายไดแ ละไมตกคางในซากสัตว นอกจากน้ีสามารถผลิตไดจํานวนมากในระดับอุตสาหกรรม โดยมีพันธุกรรมท่ีคงท่ี ไมมีการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม และควรมีชีวิตไดนานพอในสภาพการเก็บรักษาที่เหมาะสม อาจชวยใหมีภูมิตา นทานตอ โรคไดม ากขน้ึ ใหส ตั วแ ขง็ แรง เจรญิ เตบิ โตดี ลดอาการทอ งเสยี ลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจจลุ นิ ทรยี ท น่ี าํ มาใชเ พอ่ื เปน สารเสรมิ ชวี นะมหี ลายชนดิ กลุมแบคทีเรีย เชน Lactobacillus acidophilus,Streptococcus thermophilus, Bacillus subtilis, Bifidobacterium longum กลุมเชื้อราและยีสตเชน Aspergillus oryzae , Aspergillus niger, Saccharomyces cerevisiae, , PediococcusPentosaceus Pediocuceus spp.ทง้ั นส้ี ารเสรมิ ชวี นะทผ่ี สมในอาหารสัตวม ีท้ังชนิดท่ีมีจุลินทรียชนิดเดยี วและชนิดท่ีมจี ลุ นิ ทรียต้ังแต 2 ชนิดขน้ึ ไป เชน Lactobacillus spp. กบั Steptococcus spp.

4.8.6 Prebiotics คอื สารหรอื องคป ระกอบทไ่ี มถ กู ยอ ยหรอื ถกู ดดู ซมึ ในทางเดนิ อาหารชว ยกระตนุ การเจริญเตบิ โตอยา งจําเพาะตอ จลุ นิ ทรยี ท ม่ี ปี ระโยชนใ นระบบทางเดนิ อาหาร prebiotics บางชนิดมีตําแหนงจับจําเพาะสําหรับจุลินทรียท่ีกอใหเกิดโรค (pathogenic bacteria) เชน Salmonellaและ E.coli ซง่ึ ตอ มาจะถกู กาํ จดั ออกจากระบบทางเดนิ อาหารไปกับอุจจาระ ในขณะท่ี prebiotics ชนิดอน่ื ๆ กก็ ระตนุ การเจรญิ ของแบคทเี รยี ทเ่ี ปน ประโยชน เชน Bifidobacteria และ Lactobacilli โดยการเปน แหลง อาหารใหก บั แบคทีเรีย ทาํ ใหล าํ ไสเ กิดความสมดลุ และยงั ชว ยเพม่ิ การนาํ สารอาหารไปใชด ว ย 4.9 Feeding Stuffs (วตั ถดุ บิ อาหารสตั ว) หมายถงึ อะไรกต็ ามทม่ี ีคณุ คา ทางอาหาร ทส่ี ัตวก นิเขาไปทําใหเจริญเติบโต อาจเปนส่งิ ท่ีเกิดเองตามธรรมชาติ อาจไดจากทางพืชและทางสัตว นอกจากนี้Feeding stuffs ยงั หมายรวมไปถงึ อาหารทไ่ี ดจ ากการสงั เคราะหท างเคมี 4.10 Forage Crops (พชื อาหารสตั ว) หมายถงึ พชื อาหารสตั วซ ง่ึ อาจไดม าจากพชื ตระกลู หญาหรอื พชื ตระกลู ถว่ั หรอื พชื ตระกลู อน่ื ๆ พชื อาหารสตั วท ไ่ี ดจ ากพชื ตระกลู หญา เชน หญา ขน หญาเนเปยรหญากินนี ขาวโพด ขาวฟาง ฯลฯ จากพืชตระกูลถั่ว เชน ถั่วลาย (Centrosema) ถั่วแลบแลบ(Lablab) ถั่วแระหรือถ่ัวมะแฮะ กระถิน และแค ฯลฯ จากพืชตระกูลอ่ืน ๆ เชน สาหราย ผักตบชวากลว ย จอก และ แหน ฯลฯ 4.11 Premix (อาหารผสมลวงหนา) หมายถึง สวนผสมของแหลงอาหารปลีกยอยหลายชนิดซึ่งจะผสมกับตัวเจือจางไวลวงหนา กอนนํามาผสมกับวัตถุดิบอาหารอื่น ๆ เพื่อใหอาหารปลีกยอยเหลานั้นคลกุ เคลา ปนกบั อาหารอน่ื ๆ ไดง า ยขน้ึ เชน วติ ามนิ พรมี กิ ซ แรธ าตพุ รมี กิ ซ5. บทบาทของสารอาหาร การเจริญเติบโตของรางกายสัตว ไดมาจากการท่ีสัตวกินพืชท่ีมีพลังงานสะสมอยูและสามารถเปลี่ยนแปลงสถานะพลงั งานจากรูปหนงึ่ ไปอีกรูปหนึ่งไดด วยการเปลีย่ นแปลงผา นระบบตา ง ๆ เชน การเปล่ียนพลังงานจากเซลลพืช เพ่ือใหเกิดพลังงานกลในการเคลื่อนไหวกลามเน้ือ (ภาพที่ 2) เปนตน เม่ือสัตวไดรับอาหารและเปล่ียนเปนพลังงานในเซลล พลังงานท่ีเซลลไดรับมาจะทําปฏิกิริยาเพ่ือทํากิจกรรมตางๆประกอบดว ย กจิ กรรมทางเคมี กจิ กรรมขนสง และกจิ กรรมการทาํ งานดว ยกลไกโดยมเี อนไซม (enzyme) ชนิดตา ง ๆ เรงปฏบิ ตั แิ ละชว ยทาํ งานของปฏกิ ริ ยิ าเคมแี ละนาํ ไปใชใ นกระบวนการตา ง ๆ ของรา งกาย ดงั น้ี 5.1 เพอ่ื การดาํ รงชพี อาหารสัตวท ่ีสัตวก ินเขาไปจะทําใหรางกายทํากระบวนการตาง ๆ ในรางกายท่ีจําเปนตอการมีชีวิต ไดแก การใหพลังงานในการทํางานของอวัยวะตาง ๆ เพ่ือการหายใจ การเคลอ่ื นไหวการขบั ถา ย การสบู ฉดี โลหติ การกนิ และการยอ ย นอกจากนอ้ี าหารยังใหสารอาหารเพ่ือซอมแซมสว นทส่ี กึ หรอของรางกาย เพอ่ื ใหก ารทํางานของระบบตา ง ๆ ในรา งกาย ใหเ ปน ปกติ 5.2 เพอ่ื การเจรญิ เตบิ โต อาหารสตั วถ กู ใชใ นการสรา งเนอ้ื เยอ่ื ของรา งกาย หนงั โครงกระดกูและอวัยวะภายใน เมอื่ สัตวอายุยังนอยสัตวแตละวัยมีการสะสมชนิดของเน้ือเย่ือ แตกตางกัน ระยะตอมาเปน การเจรญิ เตบิ โตของกลา มเนอ้ื และเมอ่ื สตั วเ ตบิ โตเตม็ ทจ่ี ะมแี นวโนมสะสมไขมัน ดงั น้ันการทราบความตอ งการอาหารในแตล ะวยั กส็ ามารถจดั หาอาหารใหถ กู ตอ งและประหยดั คา อาหาร 5.3 เพื่อการสืบพันธุ เมื่อสัตวเขาสูวัยเจริญพันธุ สัตวตองการอาหารเพื่อใหกระบวนการของอวัยวะสืบพันธุทํางานไดเปนปกติ เชน การผสมพันธุเปนปกติ การผสมติด การเปนสัดตาม

เวลา ความสามารถในการอุมทองจนครบกําหนดคลอด การตกไขหรือความสมบูรณพันธุ ของสัตวเพศผู เปน ตน 5.4 เพ่ือการใหผลผลิต อาหารที่สัตวนําเขาสูรางกายท่ีเหลือจากการนําไปใชประโยชนในกระบวนการตา ง ๆ ของรา งกายแลว จะถกู นาํ มาสรา งเปน ผลผลติ ตา ง ๆ เชน การสรา งเนอ้ื การใหน ม การใหไข การสรา งขน การเพิ่มความอวน ตลอดจนใหก าํ ลงั งานเพอ่ื การทาํ งาน ของสัตว เปน ตน ภาพที่ 2 การเปลย่ี นแปลงรปู พลงั งานผา นระบบทาํ งานของเซลลพ ชื เพอ่ื นาํ ไปใชป ระโยชน6. ความกา วหนาทางวิชาการโภชนศาสตรสตั ว ในปจ จบุ นั นกั วชิ าการใหค วามสนใจดา นชวี วทิ ยาระดบั เซลล (cell biology) พนั ธศุ าสตรโ มเลกลุ(molecular genetics) พันธุวิศวกรรมศาสตร (genetic engineering) และเทคโนโลยีชีวภาพ(biotechnology) มากข้ึนทําใหเขาใจโภชนศาสตรไดอยางลึกซ้ึงและนําไปประยุกตใชใหเปนประโยชนมากมาย เชน 6.1 ผลติ เอนไซมไ ฟเตส (phytase) เพื่อยอยกรดไฟติค (phytic acid หรือ phytate) ทําใหการใชป ระโยชนใ นอาหารดขี น้ึ ลดการเสริมฟอสฟอรัสในอาหารลงทําใหสัตวขับฟอสฟอรัสออกมานอยลง ชว ยลดปญ หาดา นมลภาวะได 6.2 ผลิตเอนไซมโพลีแซคคาไรดอ่ืน ๆ ท่ีไมใชแปง (non starch polysaccharide, NSP) ทาํ ใหส ตั วก ระเพาะเดย่ี วสามารถใชป ระโยชนจ ากสารเหลา น้ี ซง่ึ มมี ากในเมลด็ ธญั พชื บางชนดิ ไดด ขี น้ึ 6.3 ผลติ เอนไซมเ พอ่ื ชว ยการยอ ยอาหารในลกู สกุ รเลก็ ระยะหยา นม เพราะมันยังไมสามารถ ผลติ นาํ้ ยอ ยไดส มบรู ณน กั

6.4 ผลิตฮอรโมนเรงการเจริญเติบโตในสุกร (porcine somatotropin , pST) เพื่อชวยเรงอตั ราการเจรญิ เตบิ โตและปรบั ปรุงคณุ ภาพซากทาํ ใหมีการสะสมเน้ือแดงมากขน้ึ และมีไขมันนอยลง bovinesomatotropin (bST) ทาํ ใหผ ลติ นาํ้ นมดขี น้ึ 6.5 ผลติ สารโปรไบโอตคิ (probiotic) เชน แบคทเี รยี กรดแลคตกิ , ยสี ต(yeast) เพอ่ื ชว ยตอ ตา นแบคทเี รยี ทเ่ี ปน โทษในรา งกายทาํ ใหส ตั วม สี ขุ ภาพดขี น้ึ มปี ระสทิ ธภิ าพการเปลย่ี นอาหารและการใหผ ลผลิตเพิ่มขึ้น 5.6 คัดเลือกและปรับปรุงพันธุกรรมของจุลินทรียเพ่ือใหไดสายพันธุใหมซ่ึงใชปรับปรุงคณุ ภาพของพชื หมกั และพชื อาหารหยาบคณุ ภาพเลวใหด ขี น้ึ หรอื ชว ยในการยอ ยเย่ือใยในกระเพาะสวนหนาของสตั วเ คย้ี วเอือ้ งลดการสญู เสยี พลงั งานในรปู คารบ อนไดออกไซดแ ละมเี ทนทาํ ใหส ตั วม ปี ระสทิ ธภิ าพการผลติเพม่ิ ขน้ึสรุป อาหาร (Food) หมายถึง ของกินหรือเคร่ืองหลอเลี้ยงชีวิต ในทางอาหารสัตวจะใชคําวา Feedซ่ึงจะหมายถึง สารหรือส่ิงของท่ีภายหลังสัตวกินเขาไปแลวสามารถถูกยอย (Digested) ถูกดูดซึม(Absorbed) แลว จะถกู นาํ ไปใชป ระโยชน (Utilized) ตอ รา งกายของสตั วไ ด ผูที่เริ่มตนหรือผูที่ปฏิบัติงานเกี่ยวของกับดานนี้จะตองทําความเขาใจในความรูพื้นฐานเกี่ยวกับที่มาของสารตงั้ ตนของสารอาหาร วิธีการยอยอาหาร การดูดซึมตลอดจนกระบวนการเปล่ียนแปลงสารอาหารหลกั กอ น จงึ จะสามารถนาํ ไปใชใ นการพจิ ารณาเลอื ก หรอื ดดั แปลงการใชว ตั ถดุ บิ อาหารสตั ว ตลอดจนใชใ นการแกไขปญหาหรือหลีกเลี่ยงปญหาที่อาจเกิดขึ้น ความเขา ใจในความหมายของคาํ ตา ง ๆ ทม่ี คี วามเกย่ี วขอ งกบั อาหารสัตว เปน สง่ิ จาํ เปน ในการนํามาปฏบิ ตั เิ พอ่ื ใหก ารใชอ าหารสัตวไ ดอ ยา งถกู ตอ งและเหมาะสมเอกสารอา งองิ / เอกสารคน ควา เพม่ิ เตมิบุญลอม ชีวอิสระกุล. 2541. โภชนศาสตรสัตว. เชียงใหม. ภาควิชาสัตวศาสตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชยี งใหม.พนั ทพิ า พงษเ พยี จนั ทร. 2539. การผลติ อาหารสตั ว. กรงุ เทพฯ. สาํ นกั พมิ พโ อเดยี นสโตร.สายณั ห ทดั ศรี. 2540. พชื อาหารสตั วเ ขตรอ น : การผลติ และการจดั การ. กรุงเทพฯ. ภาควิชาพืชไรนา คณะ เกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook