Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 องค์การธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม CSR

หน่วยที่ 2 องค์การธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม CSR

Published by ps_1394, 2020-09-26 03:02:58

Description: หน่วยที่ 2 องค์การธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม CSR

Search

Read the Text Version

ธรรมาภิบาลและความรับผดิ ชอบต่อสังคม อ.สุทธิมา จินดา

สาระการเรยี นรู้ 1. ความหมายของ CSR 2. ธรรมาภิบาลและความรับผดิ ชอบต่อสังคม 3. กจิ กรรม CSR ขององค์กรธุรกจิ 4. วเิ คราะห์กรณีศึกษาและนาเสนอ

ที่มา... ปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาแรงงาน ปัญหาสารเคมี

CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY (CSR) ก า ร ด า เ นิ น กิ จ ก ร ร ม ภ า ย ใ น แ ล ะ ภ า ย น อ ก อ ง ค์ ก ร ท่ี คานึงถึงผลกระทบต่อสังคมท้ังในระดับใกล้และไกลด้วยการ ใช้ ทรั พยากรท่ีมีอยู่ในองค์ กรหรื อทรั พยากรจากภายนอก องค์กรในอนั ทจี่ ะทาให้อยู่ร่วมกนั ในสังคมได้อย่างปกตสิ ุข

ความหมายของความรับผดิ ชอบของธุรกจิ ต่อสังคม • European Commission Green Paper “CSR เป็ นแนวคดิ ทบี่ ริษัทจะบูรณาการ งาน ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมเข้าไปในกิจการของประเทศ และการปฏิสัมพันธ์ ของ ผู้เกย่ี วข้อง ( Stakeholder) โดยสมคั รใจ” • UNCTAD “CSR คือการท่ีบริษัทเข้าไปเกย่ี วข้องและมผี ลกระทบเชิงบวกต่อความ ต้องการและเป้าหมายของสังคม” • World Business Council on Sustainable Development “CSR คือคาม่ันของบริษัทท่ีจะส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกจิ อย่างย่ังยืนโดยทางาน ร่วมกับลูกจ้างและครอบครัวของพวกเขา ชุมชน และสังคมโดยกว้าง เพื่อจะพัฒนา คุณภาพชีวติ ทด่ี ขี ึน้ ของสังคมโดยรวม”

Corporate มุ่งหมายถึง กิจการที่ดาเนินไปเพือ่ แสวงหาผลกาไร Social มุ่งหมายถึง กลุ่มคนท่ีมีความสมั พนั ธ์กนั หรือมีวถิ ีร่วมกนั ท้งั โดยธรรมชาติหรือโดยเจตนา รวมถึงส่ิงมีชีวติ อื่นและ สิ่งแวดลอ้ มท่ีอยรู่ ายรอบประกอบ  Responsibility มุ่งหมายถึง การยอมรับท้งั ผลท่ีไม่ดีและผลที่ดี ในกิจกรรมท่ีไดท้ าลงไปหรือที่อยใู่ นความดูแลของกิจการน้นั ๆ ตลอดจนการรับภาระหรือเป็นธุระดาเนินการป้องกนั และ ปรับปรุงแกไ้ ขผลที่ไม่ดี รวมถึงการสร้างสรรคแ์ ละบารุงรักษาผล ที่ดีซ่ึงส่งกระทบไปยงั ผมู้ ีส่วนไดเ้ สียกลุ่มต่างๆ

CSR (ต่อ) กิจกรรม หมายรวมถึง การคิด การพดู และการกระทา ซ่ึงครอบคลุมต้งั แต่ การ วางแผน การตดั สินใจ การส่ือสารประชาสมั พนั ธ์ การบริหารจดั การ และการ ดาเนินงานขององคก์ ร สงั คม ในความหมายของความรับผดิ ชอบต่อสงั คมของกิจการ จะมุ่งไปท่ีผมู้ ีส่วน ไดเ้ สียนอกองคก์ ร ซ่ึงสามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ระดบั ไดแ้ ก่ สงั คมใกล้ และ สงั คมไกล สงั คมใกล้ คือ ผทู้ ่ีมีส่วนเก่ียวขอ้ งใกลช้ ิดกบั องคก์ รโดยตรง ไดแ้ ก่ ลูกคา้ คูค่ า้ ครอบครัวของพนกั งาน ชุมชนท่ีองคก์ รต้งั อยู่ ซ่ึงรวมถึงส่ิงแวดลอ้ มหรือระบบ นิเวศ สงั คมไกล คือ ผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ งกบั องคก์ รโดยออ้ ม ไดแ้ ก่ คูแ่ ขง่ ขนั ทางธุรกิจ ประชาชนทวั่ ไป เป็นตน้

ในระดบั ของลกู คา้ สงั คมใกล้  การสร้างผลิตภณั ฑท์ ี่เนน้ คุณค่ามากกวา่ มูลค่า  ความรับผดิ ชอบในผลิตภณั ฑต์ ่อผบู้ ริโภค  การใหข้ อ้ มูลขององคก์ รและตวั ผลิตภณั ฑอ์ ยา่ งเพียงพอและอยา่ งถูกตอ้ งเท่ียงตรง  มีการใหบ้ ริการลูกคา้ อยา่ งตรงไปตรงมา ในระดบั ของคู่คา้  การแบ่งปันหรือการใชท้ รัพยากรร่วมกนั หรือการรวมกลุ่มในแนวด่ิงตามสาย อปุ ทาน  ความรอบคอบระมดั ระวงั ในการผสานประโยชนอ์ ยา่ งเป็นธรรม ไม่เอารัดเอา เปรียบต่อคู่คา้ เป็นตน้

สงั คมใกล้ ในระดบั ของชุมชนและสภาพแวดลอ้ ม  สงเคราะห์เก้ือกลู ชุมชนท่ีองคก์ รต้งั อยู่  การส่งเสริมแรงงานทอ้ งถิ่นใหม้ ีโอกาสในตาแหน่งงานต่างๆ ในองคก์ ร  การระแวดระวงั ในการดาเนินงานท่ีอาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ ม  การเปิ ดเผยขอ้ มูลการดาเนินงานที่อาจส่งผลกระทบต่อชุมชนที่องคก์ ร ต้งั อยู่  การเรียนรู้วฒั นธรรมทอ้ งถ่ินเพ่ือการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งปกติสุข เป็นตน้

สงั คมไกล ในระดบั ของประชาสงั คม  การสร้างความร่วมมือระหวา่ งกลุ่มหรือเครือข่ายอื่นๆ ในการพฒั นา สงั คม  การตรวจตราดูแลมิใหก้ ิจการเขา้ ไปมีส่วนเก่ียวขอ้ งกบั การล่วงละเมิด สิทธิมนุษยชน  การรับฟังขอ้ มูลหรือทาประชาพิจารณ์ต่อการดาเนินกิจการท่ีส่งผล กระทบต่อสงั คมโดยรวม  การทาหนา้ ที่ในการเสียภาษีอากรใหร้ ัฐอยา่ งตรงไปตรงมา ในระดบั ของคู่แข่งขนั ทางธุรกิจ  การดูแลกิจการมิใหม้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งกบั การแข่งขนั ดว้ ยวธิ ีการทุ่มตลาด  การดาเนินงานในทางต่อตา้ นการทุจริต รวมท้งั การกรรโชก และการให้ สินบนในทุกรูปแบบ

สถานการณ์ CSR ในประเทศไทย แนวคิดและทฤษฎีทางธุรกิจที่ไดร้ ับการปลูกฝังและถ่ายทอดสู่องคก์ รโดย ส่วนใหญ่ ลว้ นมุ่งไปท่ีการพฒั นาใหเ้ ป็นองคก์ รที่ “เก่ง” แนวคิดในเร่ือง CSR จะมุ่งไปที่การสร้างใหอ้ งคก์ รมีความ “ดี” ท่ีก่อใหเ้ กิด ความยงั่ ยนื ของกิจการ เป็นแนวคิดท่ีมีรากฐานมาจากหลกั คุณธรรม แนวคิด CSR เกิดข้ึนพร้อมกบั ธุรกิจในสงั คมไทยมาเป็นเวลายาวนานแลว้ เพียงแต่คนไทยยงั มิไดเ้ รียกกิจกรรมเหล่าน้ีดว้ ยคาวา่ CSR กิจการหลายแห่งดาเนินการ CSR ไปแลว้ ในขณะท่ีกิจการอีกเป็นจานวน มากสนใจแต่ยงั ขาดความรู้ความเขา้ ใจ กิจการหลายแห่ง หลายขนาด ทา CSR อยแู่ ต่สงั คมไม่ทราบ หรือบางคร้ัง กิจการเองกไ็ ม่ทราบวา่ ทา CSR มานานแลว้ กิจการบางแห่งทา CSR เพื่อกลบเกลื่อนความไม่ดีของตนเอง เรียกวา่ CSR เทียม และมีอีกมากที่ทากิจกรรมเพ่ือประโยชน์สงั คมโดยไม่หวงั ผลประโยชน์ เรียกวา่ CSR แท้

แนวทางการขบั เคล่ือน CSR ในประเทศไทย  กลุ่มกิจการท่ีเป็นผนู้ าในการดาเนินการ CSR ตอ้ งส่งเสริมใหม้ ีการพฒั นากิจกรรม การ ติดตามและการรายงานผล  กลุ่มกิจการท่ีมีการทา CSR ควบคูไ่ ปกบั การดาเนินธุรกิจ มีการลองผดิ ลองถูก แตย่ งั ขาด ทิศทางที่แน่ชดั วา่ กิจกรรม CSR หลกั ๆ ท่ีองคก์ รควรทาคืออะไร กิจการในกลุม่ น้ี จะตอ้ ง สร้างศกั ยภาพใหส้ ามารถวเิ คราะห์จุดแขง็ จุดออ่ น สามารถจดั ทาแผนที่กลยทุ ธ์ดา้ น CSR  กลุม่ กิจการที่สนใจและกาลงั ศึกษาทาความรู้ความเขา้ ใจเรื่อง CSR จะตอ้ งใหห้ ลกั การ แนวทาง หรือคูม่ ือในการดาเนินกิจกรรม CSR อยา่ งถูกตอ้ งและอยา่ งมีกลยทุ ธ์ เพ่ือจะได้ สามารถริเริ่มพฒั นากิจกรรม CSR แท้ ควบคู่ไปกบั การดาเนินธุรกิจ สร้างใหเ้ กิดเป็น ภูมิคุม้ กนั ทางธุรกิจ ไม่หลงไปกบั การพฒั นากิจกรรม CSR เทียมเพยี งเพือ่ หวงั ภาพลกั ษณ์ ทางธุรกิจ

ประโยชน์ของ CSR ราคาหุน้ ขององคก์ รมีเสถียรภาพและเป็นท่ีตอ้ งการของนกั ลงทุน เป็นโอกาสท่ีองคก์ รสามารถเขา้ ถึงแหล่งทุนไดเ้ พิ่มมากข้ึน พนกั งาน เกิดความภาคภูมิใจในการทางานร่วมกบั องคก์ ร สร้างรายไดแ้ ละส่วนแบ่งตลาดเพมิ่ ข้ึน ลดรายจ่ายของกิจการ การวางตาแหน่งตราผลิตภณั ฑ์ (Brand Positioning) ใหอ้ ยใู่ นใจ ของลูกคา้ เป็นอนั ดบั ตน้ ๆ เสริมภาพลกั ษณ์องคก์ ร

ความหมายของธรรมาภบิ าล (GOOD GOVERNANCE) ระบบ โครงสร้าง กระบวนการต่าง ๆ ที่ไดว้ างแนวปฏิบตั ิหรือ วางกฎเกณฑ์ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจการเมืองและสังคม เพื่อให้ส่วนต่าง ๆของสัมคมมีการพฒั นาและอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันติสุข และเป็ นธรรม

แนวคดิ ของความรับผดิ ชอบของธุรกจิ ต่อสังคม (CSR : CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY)

ประโยชน์ของธรรมาภบิ าลและความรับผดิ ชอบต่อสังคม เพม่ิ คุณค่าใหแ้ ก่องคก์ รในสายตาของบุคคลต่างๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง เพ่ิมมูลคา่ ของค่าหุน้ ใหส้ ูงข้ึน ลดปัญหาต่างๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนจากการดาเนินงาน เพ่ิมศกั ยภาพในการแขง่ ขนั ป้องกนั การทุจริต รักษาสิทธิและผลประโยชนข์ องผลู้ งทุน สร้างความมน่ั ใจวา่ บริษทั ไดด้ าเนินงานถูกตอ้ งตามหลกั เกณฑ์ ขอ้ บงั คบั ท่ีกาหนดไว้ มีภาพลกั ษณ์ท่ีดีและแสดงความเป็นมืออาชีพในการบริหาร จดั การท่ีมีประสิทธิภาพ

หลกั พืน้ ฐานของธรรมาภบิ าล หลกั นิติธรรม หลกั คุณธรรม หลกั ความโปร่งใส หลกั ความมีส่วนร่วม หลกั ความรับผดิ ชอบ หลกั ความคุ้มค่า

การสร้างธรรมาภบิ าลในองค์กร (บันใด 3 ข้นั ของนายอานันท์ ปันยารชุน) • ตอ้ งเริ่มจากขา้ งใน \"บนั ไดข้นั แรก\" ธุรกิจตอ้ งพฒั นาตนเองเพ่อื ดาเนินธุรกิจอยา่ งยง่ั ยนื • เช่ือมโยงสู่สงั คม บนั ไดข้นั ท่ีสอง ธุรกิจตอ้ งสร้างชุมชนน่าอยู่ และสงั คมเขม้ แขง็ \" • ใชส้ ่ืออยา่ งสร้างสรรค์ \"บนั ไดข้นั ท่ี 3\" คือการใชส้ ่ือสร้างสรรคเ์ พ่อื สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม

ธรรมาภบิ าล - หลกั พทุ ธธรรม ธรรมมาภิบาลถูกใชก้ บั สังคมไทยมายาวนานแลว้ เพยี งแตไ่ ม่ไดใ้ ชว้ า่ ธรรมาภิบาลเท่าน้นั เอง หลกั ธรรมาภิบาลมีลกั ษณะคลา้ ยกบั หลกั ธรรมใน พระพทุ ธศาสนาอนั ไดแ้ ก่ หลกั ทศพิธราชธรรม ซ่ึงเป็นหลกั สาหรับผปู้ กครอง รวมถึง จกั รวรรดิวตั ร 12 ราชสังคหวตั ถุ 4 และอคติ 4

รปู แบบความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม การส่งเสริมการรับรู้ประเดน็ ปัญหาทางสังคม การตลาดท่เี กยี่ วโยงกบั ประเดน็ ทางสังคม การตลาดเพ่ือมุ่งแก้ไขปัญหาสังคม การบริจาคเพื่อการกศุ ล การอาสาช่วยเหลือชุมชน การประกอบธุรกจิ อย่างรับผดิ ชอบสังคม









กลุ่มกจิ กรรมของ CSR มกั ใชค้ าในภาษาไทยวา่ \"กจิ กรรมเพ่ือสังคม\" คือ การดาเนิน กิจกรรม ขององคก์ รธุรกิจท่ีแสวงหากาไร เพ่อื สร้างใหเ้ กิดประโยชน์ แก่สงั คมในดา้ นต่างๆ โดยกิจกรรมท่ีดาเนินการน้นั มกั แยกต่างหากจาก การดาเนินธุรกิจหรือกิจกรรมหลกั ของกิจการและเกิดข้ึนภายหลงั เช่น การแกไ้ ขเยยี วยาชุมชนที่ไดร้ ับผลกระทบทางมลพษิ จากการ ประกอบการ การแจกจ่ายสิ่งของช่วยบรรเทา สาธารณภยั การเป็นอาสาสมคั รช่วยบาเพญ็ สาธารณประโยชน์ ซ่ึงกิจกรรมเพื่อสงั คม เหล่าน้ีมกั เป็นกิจกรรมที่อยนู่ อกเหนือเวลา ทางานตามปกติ

กจิ กรรม CSR ขององค์กรธุรกจิ

กจิ กรรม CSR ขององค์กรธุรกจิ

กจิ กรรม CSR ขององค์กรธุรกจิ

CSR : คือ \"การลงทุน\" หรือ \"การทาบุญ\"  การ “ทาบุญ” มีความหมายกวา้ งกวา่ ทาน  การทาบุญ หมายรวมถึง การทาความดี การช่วยเหลือเก้ือกลู ผทู้ ่ีดอ้ ยกวา่ โดยไม่จาเป็นตอ้ งเป็นการใหเ้ งินหรืออามิสเท่าน้นั  การกระทาโดยไม่คิดหวงั สิ่งใดตอบแทน เป็นการเสียสละหรือจาคะ โดยไม่มีนยั ของการทวง “บุญ” คืน  การ “ลงทุน” มีความหมายส่ือไปในทางที่คาดหวงั จะไดผ้ ลตอบแทน อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงกลบั คืนมา เช่น กาไรจากการลงทุน

ข้นั ตอนการดาเนินกจิ กรรมความรับผดิ ชอบต่อสังคม ทบทวนองคก์ ร วางกลยทุ ธค์ วามรับผดิ ชอบต่อสงั คม มองความตอ้ งการ เลือกรูปแบบกิจกรรมความรับผดิ ชอบ ต่อสงั คมท่ีเหมาะกบั องคก์ ร มีโครงสร้างองคก์ รรองรับการ ขบั เคลื่อน ดาเนินการตามแผนท่ีวางแผน ประเมินผลการดาเนินกิจกรรม

IDEA, LEARNING, QUESTION


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook