Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่3 การบันทึกผลการปฏิบัติงานและการทำบัญชี รายรับ-รายจ่าย

บทที่3 การบันทึกผลการปฏิบัติงานและการทำบัญชี รายรับ-รายจ่าย

Published by beelovemom.56, 2021-10-14 12:26:47

Description: บทที่3 การบันทึกผลการปฏิบัติงานและการทำบัญชี รายรับ-รายจ่าย

Search

Read the Text Version

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่3 เ รื่ อ ง ก า ร บั น ทึ ก ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ก า ร ทำ บั ญ ชี ร า ย รั บ - ร า ย จ่ า ย วิชางานถนอมอาหาร (ง 21204 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางปรียา หนูเอียด โรงเรียนหารเทารังสีประชาสรรค์ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง สำนักงานเขตพื้ นที่การศึกษามัธยมศึกษาพัทลุง

คำ นำ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การถนอมอาหาร เป็นชุดกิจกรรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งเป็นชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง ตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจและตามโอกาส ทำให้เกิดการเรียนรู้มี ประสบการณ์ในการทำงานตามขั้นตอนและกระบวนการ ทำงานด้วย ความมีประสิทธิภาพประกอบด้วยทั้งหมด 4 ชุด ดังนี้ ชุดที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นของการถนอมอาหาร ชุดที่ 2 เรื่อง อุปกรณ์เครื่องใช้ในการถนอมอาหารได้ ชุดที่ 3 เรื่อง การบันทึกผลการปฏิบัติงานและการทำบัญชี รายรับ-รายจ่าย ชุดที่ 4 เรื่อง การถนอมอาหารในท้องถิ่น ชุดการสอนที่ 4.1 เรื่อง การทำกล้วยตาก ชุดการสอนที่ 4.2 เรื่อง การทำไข่เค็มสมุนไพร ชุดการสอนที่ 4.3 เรื่อง การทำกล้วยเชื่อม ชุดการสอนที่ 4.4 เรื่อง การทำสับปะรดกวน ชุดการสอนที่ 4.5 เรื่อง การทำมะม่วงแช่อิ่ม ชุดการสอนที่ 4.6 เรื่อง การทำมันฉาบ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การ ถนอมอาหาร เล่มนี้คงเอื้อประโยชน์ แก่นักเรียนและผู้ที่สนใจเป็น อย่างดี ปรียา หนูเอียด

ส า ร บั ญ คำ นำ ก ส า ร บั ญ ข คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ส า ห รั บ ค รู ค คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ สำ ห รั บ นั ก เ รี ย น จ ขั้ น ต อ น ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ฉ แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รี ย น 1 1 ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ รี ย น รู้ / ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู้ / ส ม ร ร ถ น ะ 3 4 ส า ร ะ สำ คั ญ 5 ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ 10 แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รี ย น 15 เ ฉ ล ย แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รี ย น แ ล ะ ห ลั ง เ รี ย น 19 บ ร ร ณ า นุ ก ร ม 20

คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ สำ ห รั บ ค รู 1. ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ จ า ก ชุ ด กิ จ ก ร ร ม จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ ขั้ น ต อ น ก า ร ดำ เ นิ น ก า ร ใ น แ ต่ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ใ ห้ ล ะ เ อี ย ด 2. จัดชั้นเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 4 – 5 คน นักเรียนในแต่ละกลุ่ม มีการคละกัน ทั้งเก่ง ปานกลาง และ อ่อน เพื่ อให้นักเรียนได้ช่วยเหลือกันและมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน โดยมีการผลัดเปลี่ยนกันเป็นหัวหน้ากลุ่ม เพื่ อฝึกการทำงานร่วมกันเป็นทีม 3. เตรียมเอกสาร สื่อ/อุปกรณ์ประกอบการจัดการเรียนรู้ใน แต่ละกิจกรรมให้ครบถ้วนและเพี ยงพอต่อจำนวนของ นั ก เ รี ย น 4. ศึกษาเอกสาร วิธีการใช้สื่อ/อุปกรณ์ประกอบการจัดการ เรียนรู้ รวมทั้งเกณฑ์การวัดและ การประเมินผล ให้มีความ เ ข้ า ใ จ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง ก่ อ น นำ ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ 5. ทดลองอุปกรณ์ทุกชนิดก่อนการจัดกิจกรรมการเรียน รู้ ใ ห้ แ ก่ นั ก เ รี ย น 6. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เป็นไปตามลำดับขั้นตอนที่ กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้เพื่ อให้นักเรียนเกิดการ เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง 7. อธิบายหรือชี้แจงวิธีการปฏิบัติกิจกรรมให้ชัดเจน เพื่ อ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ท ร า บ บ ท บ า ท ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ มี ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ต ร ง กันในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่ อดำเนินการจัด กิจกรรมการเรียนรู้บรรลุเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ โดย เน้นให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ ไม่คัดลอกเพื่ อน หรือให้ เพื่ อนทำให้หรือดูคำตอบก่อนในการทำชุดกิจกรรมการ เ รี ย น รู้

คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ สำ ห รั บ ค รู 8. กระตุ้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม การเรียนรู้ตามกระบวนการเรียนรู้ ทั้งในการปฏิบัติงานกลุ่ม และงานรายบุคคล และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของ นั ก เ รี ย น เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ห รื อ เ ป็ น ร า ย ก ลุ่ ม อ ยู่ กั บ กิ จ ก ร ร ม ที่ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ป ฏิ บั ติ ใ น บ า ง กิ จ ก ร ร ม อ า จ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ไ ป ศึ ก ษ า ห รื อ ป ฏิ บั ติ ด้ ว ย ต น เ อ ง น อ ก เ ว ล า เ รี ย น ไ ด้ 9. ครูคอยดูแล ชี้แนะ และให้คำปรึกษาแนะนำแก่นักเรียนใน ขณะที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมทั้งคอยสังเกตการณ์ ทำงานนของนักเรียนอย่างใกล้ชิด หากนักเรียนคนใดมี ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ไม่เข้าใจเนื้อหา ครูควรเข้าไปช่วย เ ห ลื อ ทั น ที 10. เวลาที่ใช้ในการเรียนหรือทำกิจกรรมจากชุดกิจกรรมการ เรียนรู้ของแต่ละคน อาจไม่เท่ากัน ครูผู้ควบคุมควรยืดหยุ่น ไ ด้ ต า ม ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม 11. นักเรียนและครูร่วมอภิปราย เฉลย และตรวจคาตอบ ในแต่ละกิจกรรมหรือแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับ นักเรียน เพื่ อให้นักเรียนได้ข้อสรุปและคาตอบที่ถูกต้อง ชัดเจนยิ่งขึ้นตามกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งได้ทราบ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ข อ ง ต น เ อ ง 12. ถ้านักเรียนคนใดไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ70 ของคะแนนในแต่ละชุดกิจกรรม การเรียนรู้ ให้นักเรียน ซ่ อ ม เ ส ริ ม น อ ก เ ว ล า เ รี ย น จ า ก ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ นั้ น จ น ก ว่ า จ ะ ผ่ า น เ ก ณ ฑ์ 13. ประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนทั้งราย ก ลุ่ ม ห รื อ ร า ย บุ ค ค ล ใ น ทุ ก กิ จ ก ร ร ม 14. ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นรายบุคคล โดยการทำแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หลัง จ า ก ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ เ ส ร็ จ สิ้ น ทั้ ง ห ม ด

คำแนะนำการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับนักเรียน คำ ชี้ แ จ ง 1 . ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รีย น รู้ เ รื่ อ ง ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร ชั้น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 1 ชุ ด ที่ 1 เ รื่ อ ง ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น ข อ ง ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร มี ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ดั ง นี้ 1 . 1 แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รีย น 1 . 2 จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รีย น รู้ 1 . 3 กิ จ ก ร ร ม เ รื่ อ ง ค ว า ม รู้เ บื้ อ ง ต้ น ข อ ง ก า ร ถนอมอาหาร 1 . 4 แ บ บ ฝึ ก ทั ก ษ ะ 1 . 5 แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รีย น 1 . 6 เ ฉ ล ย แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รีย น ห ลั ง เ รีย น 2 . ก่ อ น ศึ ก ษ า ทำ แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รีย น เ พื่ อ วั ด ค ว า ม รู้ พื้ น ฐ า น 3 . ศึ ก ษ า จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ส า ร ะ สำ คั ญ เ นื้ อ ห า ใ น ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รีย น รู้ ชุ ด ที่ 1 เ รื่ อ ง ค ว า ม รู้เ บื้ อ ง ต้ น ข อ ง ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร เ รีย น จ บ แ ล้ ว ใ ห้ทำ แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รีย น 4 . ต ร ว จ คำ ต อ บ จ า ก เ ฉ ล ย เ พื่ อ เ ป รีย บ เ ที ย บ พั ฒ น า ก า ร ท า ง ก า ร เ รีย น ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ จ ะ ไ ด้ ท ร า บ ถึ ง พั ฒ น า ก า ร ท า ง ด้ า น ค ว า ม คิ ด ค ว า ม รู้ค ว า ม เ ข้ า ใ จ จ า ก เ รื่ อ ง ที่ ศึ ก ษ า

ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรม การเรียนรู้ 18. ชี้แจงชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 19. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน 20. นำเข้าสู่บทเรียน 21. กิจกรรมการเรียนรู้ 22. สรุป 23. ทำแบบทดสอบหลังเรียน 24. ผ่านเกณฑ์ ศึกษาชุดกิจกรรม การเรียนรู้ชุดต่อไป 25. ไม่ผ่านเกณฑ์ ซ่อม

แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รี ย น ชุ ด ที่ 3 เ รื่ อ ง ก า ร บั น ทึ ก ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ก า ร ทำ บั ญ ชี ร า ย รั บ - ร า ย จ่ า ย คำ ชี้ แ จ ง ใ ห้ นั ก เ รี ย น เ ลื อ ก ข้ อ ที่ ถู ก ที่ สุ ด เ พี ย ง ข้ อ เ ดี ย ว แ ล้ ว ทำ เ ค รื่ อ ง ห ม า ย ( X ) ล ง ใ น ก ร ะ ด า ษ คำ ต อ บ ( ใ ช้ เ ว ล า 1 0 น า ที ค ะ แ น น เ ต็ ม 1 0 ค ะ แ น น ) 1 . ข้ อ ใ ด ไ ม่ ใ ช่ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ก า ร บั น ทึ ก 2 . ร า ย ก า ร ใ ด ไ ม่ ป ร า ก ฏ อ ยู่ ใ น แ บ บ ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น บั น ทึ ก ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก. ช่วยบันทึกความทรงจำ ก. วัน เดือน ปีที่บันทึก ข. สามารถใช้จ่ายเงินได้ตามความต้องการ ข. งานที่ปฏิบัติ ค. เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการปฏิบัติงาน ค. ผลการปฏิบัติงาน ง. เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประเมินผลการดำเนินงาน ง. ข้อเสนอแนะ 3 . ข้ อ ใ ด คื อ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร จั ด 4 . ข้ อ ใ ด ก ล่ า ว ถู ก ต้ อ ง ข อ ง ค ว า ม ทำ บั ญ ชี ห ม า ย ท า ง บั ญ ชี ก. ใช้เป็นหลักฐานในการอ้างอิง ก. การบันทึกเรื่องราวต่างๆที่เกี่ยวกับการเงิน ข. เพื่อให้ทราบฐานะทางการเงินของกิจการ ข. การสรุปข้อมูลทางสังคมเป็นลายลักษณ์อักษร ค. เป็นเครื่องมือในการควบคุมและตรวจสอบ ค. การเขียนบันทึกเกี่ยวกับการเงินของธนาคาร ง. ถูกทั้งข้อ แห่งประเทศไทย ง. การสรุปข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ ทาง เศรษฐกิจในรูปตัวเงิน

แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รี ย น ชุ ด ที่ 3 เ รื่ อ ง ก า ร บั น ทึ ก ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ก า ร ทำ บั ญ ชี ร า ย รั บ - ร า ย จ่ า ย 5 . ข้ อ ใ ด เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ สำ คั ญ ที่ 6 . ข้ อ ใ ด ไ ม่ ใ ช่ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น จั ด ทำ บั ญ ชี ข อ ง กิ จ ก า ร ก. เพื่อตรวจสอบการทำงาน ก. แรงงาน ข. ใช้เป็นหลักฐานอ้างอิง ข. ทรัพยากร ค. เพื่อให้ทราบฐานะทางการเงินของกิจการ ค. การเงิน ง. เพื่อเป็นเครื่องมือควบคุมและตรวจสอบ ง. เจ้าของกิจการ 7 . ข้ อ ใ ด ไ ม่ ใ ช่ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ก า ร บั น ทึ ก 8 . ก า ร บั น ทึ ก ร า ย รั บ – ร า ย จ่ า ย ร า ย รั บ - ร า ย จ่ า ย ป ลู ก ฝั ง นิ สั ย ข อ ง เ ร า ดั ง นี้ ย ก เ ว้ น ข้ อ ใด ก. มีรายรับเพิ่มมากขึ้น ข. รู้จักวางแผนการใช้เงิน ก. มีความละเอียดรอบคอบ ค. ควบคุมการใช้จ่ายได้ ข. รู้จักวางแผนการใช้เงิน ง. ทราบจำนวนรายรับ – รายจ่าย ค. มีความตรงต่อเวลา ง. ควบคุมการใช้จ่ายของตนเองได้

แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รี ย น ชุ ด ที่ 3 เ รื่ อ ง ก า ร บั น ทึ ก ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ก า ร ทำ บั ญ ชี ร า ย รั บ - ร า ย จ่ า ย 9 . ข้ อ ใ ด ไ ม่ ป ร า ก ฏ อ ยู่ ใ น ต า ร า ง บั น ทึ ก 1 0 . ข้ อ ใ ด ไ ม่ ค ว ร ทำ ถ้ า ร า ย จ่ า ย เ กิ น ร า ย รั บ - ร า ย จ่ า ย ร า ย รั บ ก. รายรับ ก. หารายได้เสริม ข. รายจ่าย ข. ยืมเงินมาลงทุนใหม่ ค. คงเหลือ ค. ใช้จ่ายอย่างประหยัดมากขึ้น ง. ผลการปฏิบัติงาน ง. ตัดรายจ่ายที่ไม่จำเป็นออก

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่3 เ รื่ อ ง ก า ร บั น ทึ ก ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ก า ร ทำ บั ญ ชี ร า ย รั บ - ร า ย จ่ า ย 1. ผลการเ รียนรู้ นั ก เ รีย น ส า ม า ร ถ บ อ ก วิธี ก า ร บั น ทึ ก ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ก า ร ทำบัญชีรายรั บ-รายจ่ายได้ 2. จุ ดประสงค์ การเ รียนรู้ 2.1 ด้านความรู้ (Knowledge) - บอกวิธีการและประโยชน์ของการบันทึกผลการปฏิบัติ ง า น ไ ด้ - บอกหลักวิธีการจัดทำบัญชีรายรั บ-รายจ่ายได้ - บอกประโยชน์ของการจัดทำบัญชีรายรั บ-รายจ่ายได้ - บอกวิธีการบันทึกผลการปฏิบัติงานและจัดทำบัญชีราบ รั บ-รายจ่ายได้ 2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (Proces ) - มีทักษะ กระบวนการแก้ปั ญหาในการทำงาน - มีทักษะในการแสวงหาความรู้ เรื่ องความรู้ เบื้องต้นของ การถนอมอาหาร 2.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attitude) - มีทัศนคติที่ดีในการเตรียมตัวประกอบอาชีพ - มีวินัย - ใฝ่ เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทำงาน - ซื่อสัตย์สุจริต 3.สมรรถนะ 3.1 ความสามารถในการสื่อสาร 3.2 ความสามารถในการคิด 3.3 ความสามารถในการแก้ปั ญหา

ส า ร ะ สำ คั ญ ก า ร บั น ทึ ก ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ก า ร ทำ บั ญ ชี ร า ย รั บ - ร า ย จ่ า ย ตอนที่ 1. การบันทึกการปฏิบัติงาน 1. การบันทึกการปฏิบัติงาน หมายถึง การบันทึกรายละเอียด ต่างๆ เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ปัญหาที่พบและวิธีแก้ปัญหา อาจ บันทึกเป็นรายวัน หรือรายสัปดาห์ก็ได้ เพื่อนำเป็นหลักฐานไป ประเมินผลงานและปรับปรุงแก้ไขการทำงานในครั้งต่อไป นอกจากนั้นอาจบันทึกข้อมูลรายรับ -รายจ่ายของการปฏิบัติงาน ไว้เพื่อเป็นข้อมูลในการประเมินผล การปฏิบัติงานเมื่อสิ้นสุด โครงการนั้น ๆ ประโยชน์ของการบันทึกการปฏิบัติงาน การบันทึกการปฏิบัติงาน เป็นสิ่งจำเป็นมากในการดำเนินงาน เพราะก่อให้เกิดประโยชน์หลายประการพอสรุปได้ดังนี้ 1.ช่วยบันทึกความทรงจำว่ามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นบ้าง ระหว่างการปฏิบัติงาน 2.เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการปฏิบัติงาน 3.เพื่อใช้เป็นข้อมูลฐานะทางการเงินของกิจการ 4.เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประเมินผลการดำเนินงาน 5.ช่วยพัฒนานิสัยในการทำงานอย่างเป็นระบบและมีระเบียบ แบบแผน ตอนที่ 2. การทำบัญชี การทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย หมายถึง การจดบันทึกเหตุการณ์ ต่าง ๆ เกี่ยวกับการเงินหรืออย่างน้อยที่สุดบางส่วนเกี่ยวข้องกับ การเงิน โดยผ่านการวิเคราะห์ จัดประเภทและบันทึกไว้ในแบบ ฟอร์ม ที่กำหนดเพื่อแสดงฐานะการเงิน และผลการดำเนินงาน ของกิจการในช่วงระยะเวลาหนึ่ ง

ส า ร ะ สำ คั ญ ก า ร บั น ทึ ก ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ก า ร ทำ บั ญ ชี ร า ย รั บ - ร า ย จ่ า ย ประโยชน์ของการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย 1.เป็นหลักฐานประกอบการดำเนินกิจการ เพื่อให้ทราบว่ามี ทรัพย์สิน หนี้สิน และเงินทุนเป็นจำนวนเท่าใด 2.เป็นหลักฐานในการตรวจสอบ ตัวเงินสดกับยอดบัญชีว่าถูก ต้อง หรือมีข้อผิดพลาดอย่างไร 3.เป็นสถิติช่วยในการบริหาร การควบคุม การทำงบประมาณ เพื่อให้ผลงานมีประสิทธิ ภาพดียิ่งขึ้น 4.ช่วยเป็นหลักฐานในการบริหารงาน เพื่อป้องกันความผิด พลาดที่เกิดขึ้นอีก 5.ช่วยในการคำนวณผลการดำเนินงานว่ามีกำไรหรือขาดทุน อย่างไร 6.ช่วยให้ทราบฐานะทางการเงินของกิจการว่า ทรัพย์สิน หนี้สิน และเงินทุนในขณะใดขณะ หนึ่ง เป็นจำนวนเท่าใด สรุป การจดบันทึกการปฏิบัติงานและการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย เป็นการช่วยความทรงจำ และถ้ามีการจดบันทึกกิจการต่าง ๆ อย่างมีระบบ การลงบัญชีที่ดี มีความเข้าใจในการจดบันทึก และ การสรุปข้อมูลให้เหมาะสมแล้ว สามารถนำข้อมูลที่ได้รับมาใช้ ประโยชน์ในการตัดสินใจทำการปลูกพืชให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาด แนวโน้มของราคา ตลอดจนเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อการดำเนินกิจกรรมได้อย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น ทำให้ผู้ผลิตทราบได้ว่ากิจการของตนเป็นอย่างไร และวิธีการ อย่างหนึ่ งที่จะแสดงฐานทางการเงินและผลการดำเนิ นงานว่ามี รายรับ-รายจ่ายอย่างไร ช่วยในการประเมินผลการดำเนินงานว่า มีกำไร หรือขาดทุนอย่างไรอีกด้วย

รูปแบบการบันทึกการ ปฏิบัติงานและการทำ บัญชีรายรับ-รายจ่าย การบันทึกการปฏิบัติงานและการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย อาจบันทึกในหัวข้อต่อไปนี้ การบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่าย การบันทึกรายรับและรายจ่ายนับว่ามีความสำคัญ เนื่องจากเป็นแหล่งข้อมูลที่ต้องการใช้ในการกำหนดรายได้-รายจ่าย, การจัดทำแผน และงบประมาณ รวมถึงการกำหนดราคาขายด้วย

กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (WARM UP) 1.ครูนำรูปภาพการถนอมอาหารวิธีการต่างๆ ให้นักเรียนดู แล้วซักถาม พู ดคุย 2.ครูถามนักเรียนการบันทึกผลการปฏิบัติงานและการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย แสดงคิด เห็นและได้ทราบความรู้พื้ นฐานของผู้เรียน ขั้นฝึกปฏิบัติ (PRACTICE) 3.นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน (PRE-TEST) จำนวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที 4.นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการถนอมอาหาร จากชุด กิจกรรมการเรียน ชุดที่ 3เรื่อง การบันทึกผลการปฏิบัติงานและการทำบัญชีรายรับ-ราย จ่าย - การบันทึกผลการปฏิบัติงาน - ประโยชน์ของการบันทึกผลการปฏิบัติงาน - การทำบัญชี - ประโยชน์ของการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย - แบบฝึกปฏิบัติการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย 5.นักเรียนแสดงความคิดเห็นและระดมความรู้แต่ละหัวข้อที่ศึกษามาในการทำแบบฝึกหัด ร่วมกัน 6.นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์หลักวิธีการบันทึกข้อมูลและทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ขั้นสรุป (WRAP UP) 7.นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปวิธีการนำเสนอหน้าชั้นเรียนเรื่องการจัดทำบัญชีโดยการสุ่ม 8.ครูอธิบายเพิ่ มเติมเกี่ยวกับการบันทึกผลการปฏิบัติงานและการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย จากนั้นครูเปิดโอกาสให้นักเรียน ซักถามข้อสงสัย

แบบฝึกปฏิบัติการทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ลงในแบบฟอร์มที่กำหนด คำสั่ง : ให้นักเรียนนำข้อมูลการจดบันทึกรายรับ-รายจ่ายของร้านขนม ไ ท ย ช ไ ม พ ร ไ ป จั ด ทำ บั ญ ชี ต า ม แ บ บ ฟ อ ร์ ม ที่ กำ ห น ด การจดบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่าย ร้านขนมไทยชไมพร ดำเนินกิจการค้าขาย ขนมไทยดังนี้ วันที่ 28 เมษายน 2562 1.จำหน่ายขนมจ่ามงกุฎ 5,000 บาท 2.ซื้อไข่ 300 บาท 3.ซื้อแป้งข้าวเจ้า 700 บาท 4.จำหน่ายขนมมงคลในงานแต่งงาน 7,000 บาท 5.รับเงินค่าเช่าหน้าร้านจากนางเมตตา ใจกรุณา 1,000 บาท 6.จ่ายค่าซ่อมรางน้ำฝน 1,200บาท 7.ซื้อไม้พายสำหรับกวนขนม 500 บาท 8.ซื้อมะพร้าวขูดขาว 450 บาท วันที่ 29 เมษายน 2562 1.ซื้อใบเตย 100 บาท 2.ซื้อน้ำตาลงบ 550 บาท 3.ซื้อน้ำตาลทราย 1,730บาท 4.จ่ายค่าแรงงานคนงาน3,000 บาท 5.จำหน่ายขนมลูกชุบ 2,000บาท 6.จำหน่ายขนมกง800 บาท 7.รับเงินค่าเช่าหน้าร้านจาก นางมุทิตาจิตอุเบกขา 1,000บาท 8.จ่ายค่าไฟฟ้า 1,170บาท สรุป รายรับ – รายจ่าย ประจำเดือนเมษายน 2562 รายรับ16,800.00 บาท รายจ่าย 9,700.00 บาท กำไร7,100.00 บาท



แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รี ย น ชุ ด ที่ 3 เ รื่ อ ง ก า ร บั น ทึ ก ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ก า ร ทำ บั ญ ชี ร า ย รั บ - ร า ย จ่ า ย คำ ชี้ แ จ ง ใ ห้ นั ก เ รี ย น เ ลื อ ก ข้ อ ที่ ถู ก ที่ สุ ด เ พี ย ง ข้ อ เ ดี ย ว แ ล้ ว ทำ เ ค รื่ อ ง ห ม า ย ( X ) ล ง ใ น ก ร ะ ด า ษ คำ ต อ บ ( ใ ช้ เ ว ล า 1 0 น า ที ค ะ แ น น เ ต็ ม 1 0 ค ะ แ น น ) 1 . ข้ อ ใ ด ไ ม่ ใ ช่ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ก า ร บั น ทึ ก 2 . ร า ย ก า ร ใ ด ไ ม่ ป ร า ก ฏ อ ยู่ ใ น แ บ บ ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น บั น ทึ ก ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก. ช่วยบันทึกความทรงจำ ก. วัน เดือน ปีที่บันทึก ข. สามารถใช้จ่ายเงินได้ตามความต้องการ ข. งานที่ปฏิบัติ ค. เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการปฏิบัติงาน ค. ผลการปฏิบัติงาน ง. เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประเมินผลการดำเนินงาน ง. ข้อเสนอแนะ 3 . ข้ อ ใ ด คื อ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร จั ด 4 . ข้ อ ใ ด ก ล่ า ว ถู ก ต้ อ ง ข อ ง ค ว า ม ทำ บั ญ ชี ห ม า ย ท า ง บั ญ ชี ก. ใช้เป็นหลักฐานในการอ้างอิง ก. การบันทึกเรื่องราวต่างๆที่เกี่ยวกับการเงิน ข. เพื่อให้ทราบฐานะทางการเงินของกิจการ ข. การสรุปข้อมูลทางสังคมเป็นลายลักษณ์อักษร ค. เป็นเครื่องมือในการควบคุมและตรวจสอบ ค. การเขียนบันทึกเกี่ยวกับการเงินของธนาคาร ง. ถูกทั้งข้อ แห่งประเทศไทย ง. การสรุปข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ ทาง เศรษฐกิจในรูปตัวเงิน

แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รี ย น ชุ ด ที่ 3 เ รื่ อ ง ก า ร บั น ทึ ก ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ก า ร ทำ บั ญ ชี ร า ย รั บ - ร า ย จ่ า ย 5 . ข้ อ ใ ด เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ สำ คั ญ ที่ 6 . ข้ อ ใ ด ไ ม่ ใ ช่ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ผ ล ก า ร ดำ เ นิ น ง า น จั ด ทำ บั ญ ชี ข อ ง กิ จ ก า ร ก. เพื่อตรวจสอบการทำงาน ก. แรงงาน ข. ใช้เป็นหลักฐานอ้างอิง ข. ทรัพยากร ค. เพื่อให้ทราบฐานะทางการเงินของกิจการ ค. การเงิน ง. เพื่อเป็นเครื่องมือควบคุมและตรวจสอบ ง. เจ้าของกิจการ 7 . ข้ อ ใ ด ไ ม่ ใ ช่ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ก า ร บั น ทึ ก 8 . ก า ร บั น ทึ ก ร า ย รั บ – ร า ย จ่ า ย ร า ย รั บ - ร า ย จ่ า ย ป ลู ก ฝั ง นิ สั ย ข อ ง เ ร า ดั ง นี้ ย ก เ ว้ น ข้ อ ใด ก. มีรายรับเพิ่มมากขึ้น ข. รู้จักวางแผนการใช้เงิน ก. มีความละเอียดรอบคอบ ค. ควบคุมการใช้จ่ายได้ ข. รู้จักวางแผนการใช้เงิน ง. ทราบจำนวนรายรับ – รายจ่าย ค. มีความตรงต่อเวลา ง. ควบคุมการใช้จ่ายของตนเองได้

แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รี ย น ชุ ด ที่ 3 เ รื่ อ ง ก า ร บั น ทึ ก ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ก า ร ทำ บั ญ ชี ร า ย รั บ - ร า ย จ่ า ย 9 . ข้ อ ใ ด ไ ม่ ป ร า ก ฏ อ ยู่ ใ น ต า ร า ง บั น ทึ ก 1 0 . ข้ อ ใ ด ไ ม่ ค ว ร ทำ ถ้ า ร า ย จ่ า ย เ กิ น ร า ย รั บ - ร า ย จ่ า ย ร า ย รั บ ก. รายรับ ก. หารายได้เสริม ข. รายจ่าย ข. ยืมเงินมาลงทุนใหม่ ค. คงเหลือ ค. ใช้จ่ายอย่างประหยัดมากขึ้น ง. ผลการปฏิบัติงาน ง. ตัดรายจ่ายที่ไม่จำเป็นออก

บ ร ร ณ า นุ ก ร ม ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง บั ญ ชี . สื บ ค้ น จ า ก เ ว ป ไ ซ ต์ H T T P : / / W W W . C H U M P H O N 2 . M J U . A C . T H . วั น ที่ สื บ ค้ น 7 พ ฤ ษ ภ า ค ม 2 5 6 2 . ก า ร บั น ทึ ก ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ ก า ร ทำ บั ญ ชี ร า ย รั บ - ร า ย จ่ า ย . สื บ ค้ น จ า ก เ ว ป ไ ซ ต์ . H T T P : / / W W W . A N G E L F I R E . C O M . วั น ที่ สื บ ค้ น 7 พ ฤ ษ ภ า ค ม 2 5 6 2 .