Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผน 1 หน่วย 1 ใช้จริง

แผน 1 หน่วย 1 ใช้จริง

Published by sawitree.au24, 2020-06-15 03:36:24

Description: แผน 1 หน่วย 1 ใช้จริง

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์ 5 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 เวลา 12 ช่ัวโมง หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรื่อง สถิติและขอ้ มูล เวลา 2 ช่วั โมง เรอื่ ง ตัวอยา่ งของกรณีหรือปญั หาท่ตี ้องใชส้ ถิติ 1. มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด ค 3.1 ม.6/1 เขา้ ใจและใช้ความรทู้ างสถติ ิในการนาเสนอขอ้ มูล และแปลความหมายของคา่ สถติ ิ เพ่อื ประกอบการตดั สนิ ใจ 2. สาระสาคัญ สถิติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลออกมาเป็นข่าวสารหรือสารสนเทศ และ กระบวนการทางสถิติท่ีช่วยในการสรุปผล ดังนั้นสถิติจึงเป็นเคร่ืองมือที่สาคัญซ่ึงช่วยให้มนุษย์ใช้เหตุผลใน การตัดสินใจ และยังมีประโยชน์อย่างกว้างขวางในหลากหลายสาขาวิชา เช่น ด้านการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านการแพทย์ ด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม ด้านการเมืองและการปกครอง ซึ่งตัวอยา่ งของกรณีหรอื ปัญหาท่ีต้องใช้ สถติ ิ ได้แก่ การสารวจความคิดเหน็ หรือโพล การจัดการความเสย่ี ง ประสทิ ธิผลของยารกั ษาโรค 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะของขอ้ มูลที่ต้องใชส้ ถติ ใิ นการแกป้ ัญหาได้ (K) 2. เขียนหรอื ระบตุ ัวอยา่ งของกรณหี รอื ปญั หาท่ีต้องใชส้ ถิติในการแก้ปัญหาได้ (P) 3. เขียนขน้ั ตอนการแกป้ ญั หา โดยใช้ความรูเ้ กีย่ วกับสถิตไิ ด้ (P) 4. รบั ผิดชอบต่อหนา้ ทีท่ ี่ได้รับมอบหมาย (A) 4. สาระการเรยี นรู้ ข้อมลู - ตัวอยา่ งของกรณีหรอื ปญั หาท่ีตอ้ งใช้สถิติ - ความหมายของสถิติ - สถิติกับการตัดสินใจและวางแผน - ขอ้ มูลและการเก็บรวบรวมขอ้ มูล

5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 6. กิจกรรมการเรียนรู้ ช่ัวโมงท่ี 1 ขั้นนา ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับความหมายของข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล การนาเสนอข้อมูลและการแปล ความหมายของขอ้ มูลทน่ี ักเรียนไดศ้ ึกษามาในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตน้ ดังน้ี  ข้อมลู หมายถึง ข้อเทจ็ จรงิ ของสง่ิ ต่าง ๆ ทีอ่ ยู่รอบตวั เรา ไม่วา่ จะเปน็ คน สตั ว์ สง่ิ ของ สถานทต่ี ่าง ๆ ธรรมชาติท่วั ไป  การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล หมายถงึ ขั้นตอนหนึง่ ของกระบวนการทางสถิติที่มีความสาคัญ เพอ่ื ให้ไดม้ าซึ่ง ข้อมูลที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ และสอดคล้องกับกรอบแนวความคิด สมมติฐาน เทคนิคการวัด และ การวิเคราะหข์ ้อมลู  การนาเสนอข้อมูล หมายถึง การนาเสนอผลการจัดระเบียบข้อมูล เพื่อให้ผู้รับข้อมูลสามารถพิจารณา รายละเอียดที่ต้องการทราบได้ง่าย และรวดเร็ว  การแปลความหมายของขอ้ มูล เปน็ การหาขอ้ สรปุ จากการนาเสนอข้อมลู ขน้ั สอน 1. ครยู กตัวอย่างกรณขี องโอกาสทีจ่ ะมีฝนตกในวนั หนึ่ง ๆ โดยครูกล่าววา่ “นักเรียนไมส่ ามารถทราบได้ ล่วงหนา้ วา่ วนั น้ีฝนตกหรือไม่ หรือสภาพอากาศจะเปน็ อย่างไร เหมาะสมกับการเดนิ ทางมากน้อยเพยี งใด จึงต้องมกี ารวิเคราะหข์ ้อมูลเชิงสถิติเขา้ มาชว่ ย” 2. ครูใหน้ กั เรียนศึกษาวีดทิ ศั น์เก่ียวกับการพยากรณ์อากาศ พร้อมทง้ั ร่วมกันอภปิ รายและสรุปประเดน็ ที่ได จากการชมวีดิทัศน์ จากน้นั ครสู มุ่ นกั เรยี นออกมานาเสนอหน้าชนั้ เรยี น โดยครตู รวจสอบความถูกตอ้ ง และอธิบายเพิม่ เติม 3. ครถู ามคาถามนักเรียนว่า นักเรยี นเหน็ ด้วยหรอื ไม่ กับการเปลีย่ นรูปแบบการคดั เลือกเขา้ มหาวทิ ยาลยั ปี 2561เพราะเหตใุ ด (แนวตอบ นกั เรียนสามารถตอบได้หลากหลาย ตามพ้นื ฐานความรู้ เชน่ เหน็ ดว้ ย เพราะลดความเหล่ือมล้า และความไมเ่ ทา่ เทียมกันในการสอบ แก้ปญั หาเร่ืองค่าใชจ้ ่ายในการสอบหลายคร้งั หรอื ไมเ่ หน็ ด้วย เพราะ ไม่มีโอกาสสอบแกต้ ัว โอกาสสอบตดิ มหาวิทยาลยั ของรฐั น้อยลง) 4. ครใู หน้ กั เรยี นสังเกตว่า จากสถานการณข์ ้างตน้ ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล นักเรียนต้องใช้หลักการทางสถติ ิ หรือไม่ เพราะเหตใุ ด

(แนวตอบ ใช้หลักการทางสถิติ เพราะการสารวจความคิดเห็นหรือโพล ผู้สารวจไม่สามารถรวบรวมความ คิดเห็นของนกั เรยี นระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ทว่ั ทุกจังหวดั ในประเทศไทยได้ ดังน้นั เพ่อื ความแมน่ ยา จงึ ต้องมกี ารคดั เลอื กตัวอย่าง เพ่อื นามาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู ทางสถิต)ิ 5. ครูให้นกั เรยี นยกตวั อยา่ งเก่ียวกบั การสารวจความคดิ เหน็ หรอื โพล (แนวตอบ นกั เรียนสามารถตอบไดห้ ลากหลาย ตามพืน้ ฐานความรู้ เชน่ การสารวจความคิดเหน็ เร่อื ง ผสู้ มัครรบั เลือกตง้ั หรือพรรคการเมอื งในช่วงเลือกตงั้ ) 6. ครยู กตัวอยา่ งสถานการณว์ ่า “นักเรียนมคี วามคดิ เห็นอย่างไร กบั การที่ประเทศไทยจะเปลี่ยนการเรยี น การสอนโดยใช้ E-book มากกว่าการใช้หนงั สือเรียน” (แนวตอบ นักเรยี นสามรถตอบไดห้ ลากหลาย ตามพ้ืนฐานความรู้) 7. ครูถามคาถามนกั เรียนวา่ สถานการณ์ตัวอยา่ งดงั กลา่ ว ต้องใช้สถิติในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ ข้อมูลหรือไม่ เพราะเหตุใด (แนวตอบ ใช้ เพราะไม่สามารถเกบ็ ความคดิ เห็นของประชากรไดท้ กุ กลุม่ เราจึงต้องมีการเลอื กตวั อย่าง และใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล) ขนั้ สรปุ ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรุปตวั อย่างของกรณหี รือปัญหาทใ่ี ช้สถิติ ทีเ่ ก่ยี วกบั การสารวจความคดิ เหน็ หรอื โพล ช่วั โมงที่ 2 ขนั้ นา ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันทบทวนความรเู้ กย่ี วกับตวั อย่างของกรณีหรือปัญหาทีใ่ ชส้ ถิติ ทีเ่ ก่ียวกับการสารวจ ความคดิ เหน็ หรอื โพล จากชัว่ โมงทแ่ี ล้ว ขัน้ สอน 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน โดยคละความสามารถทางคณิตศาสตร์ (อ่อน ปานกลาง และเก่ง) ใหอ้ ย่กู ล่มุ เดียวกัน แลว้ ให้นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ช่วยกนั สืบค้น และยกตวั อยา่ งสถานการณห์ รือปญั หาท่ี เก่ียวข้องกับสถิติในชีวิตประจาวันมากลุ่มละ 1 ตัวอย่าง จากน้ันให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอท่ี หนา้ ชัน้ เรียน โดยครูใหค้ าแนะนาเพม่ิ เตมิ 2. ครยู กตัวอยา่ งกรณขี องการจดั การความเส่ียง เปน็ ตวั อย่างของกรณีหรือปญั หาท่ีตอ้ งใชส้ ถิติ 3. ครูอธิบายว่า “การจัดการความเส่ียงเป็นกระบวนการท่ีใช้ในการระบุความเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสย่ี ง และกาหนดแนวทางในการควบคุมเพ่ือป้องกันหรือลดความเสี่ยงซ่ึงมีความสาคัญและเป็นประโยชน์มาก เชน่ ความเส่ียงด้านเครดิต เป็นความเสี่ยงจากการที่ผู้ซื้อสินค้าไม่สามารถปฏิบัติตามเง่ือนไขและ ขอ้ ตกลงในสัญญาที่จะชาระค่าสนิ ค้า จะเห็นวา่ ส่ิงท่ีอาจเกดิ ข้ึนน้ไี มไ่ ด้เกิดขึ้นทนั ที แตจ่ ะเกิดขน้ึ ในอนาคต ดังน้ันการตัดสินใจขายสินค้าให้ลูกค้ารายหนึ่งผู้ตัดสินใจจึงต้องอาศัยประสบการณ์ในอดีตเป็นเครอ่ื งชีน้ า เพอ่ื ประมาณการความเสี่ยงในอนาคต” 4. ครใู ห้นักเรยี นยกตัวอยา่ งสถานการณ์ทต่ี อ้ งใช้การจัดการความเสย่ี ง

(แนวตอบ นกั เรยี นสามารถตอบได้หลากหลาย ตามพ้ืนฐานความรู้ เช่น การลงทนุ ขายสินคา้ การซือ้ หุ้น) 5. ครูถามคาถามนักเรียนว่า “การเปรียบเทียบประสิทธิผลของยารักษาโรค ถือเป็นตัวอย่างของกรณีหรือ ปญั หาทตี่ ้องใช้สถติ ิหรือไม่” (แนวตอบ เปน็ ตวั อยา่ งของกรณีหรือปญั หาทตี่ อ้ งใช้สถติ ิ) 6. ครอู ธิบายเพ่ิมเตมิ วา่ “ยารักษาโรคเป็นปัจจัย 4 ในการดารงชวี ิตของมนุษย์ การพฒั นายารักษาโรคจงึ เป็น เร่อื งท่ีสาคญั มากต่อคุณภาพชวี ิต การพัฒนายาจะต้องทดสอบประสิทธิผลของยาและทาการเปรียบเทียบ ประสิทธผิ ลระหว่างยาตัวใหม่กับยาตัวเดิม” 7. ครูยกตัวอย่างเพ่ิมเติมว่า “การเปรียบเทียบประสิทธิผลของยารักษาโรคความดันโลหิตสูง 2 ตัว โดยจะ เลือกคนไข้ที่มีปัจจัยของลักษณะต่าง ๆ ที่คาดว่ามีผลต่อความดันโลหิตเหมือนกันเป็นคู่ ๆ โดยเลือกคน หน่ึงในแต่ละคู่อย่างสุ่ม แล้วให้กินยาตัวที่หน่งึ และให้อีกคนหนึ่งในคู่นัน้ กินยาอกี ตัวหนึ่ง การทาเช่นนจ้ี ะ เปน็ การรบั รองว่า ผลที่เกดิ ขึ้นเป็นผลจากยาท่ีแตกต่างกันเท่านั้น โดยไม่มีปจั จยั อ่นื เขา้ มาเกีย่ วขอ้ ง” ขนั้ สรุป ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุปเกยี่ วกบั สถิติเป็นเครอื่ งมือที่สาคัญซงึ่ ชว่ ยให้มนุษย์ใชเ้ หตผุ ลในการตดั สินใจและยัง มีประโยชน์อย่างกว้างขวางในหลากหลายสาขาวิชา เช่น ด้านการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านการแพทย์ ด้าน ธุรกิจและอุตสาหกรรม ด้านการเมืองและการปกครอง ซ่ึงตัวอย่างของกรณีหรือปัญหาท่ีต้องใช้สถิติ ได้แก่ การ สารวจความคิดเห็นหรือโพล การจัดการความเสี่ยง ประสิทธิผลของยารักษาโรค การพยากรณ์อากาศ หรือ การสอบถามความคดิ เห็นในเร่ืองตา่ ง ๆ 7. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้ 7.1 สือ่ การเรยี นรู้ - หนังสือเรยี นรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.6 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 สถิติและข้อมูล - แบบทดสอบกอ่ นเรียน เรือ่ ง สถติ ิและขอ้ มูล 7.2 แหลง่ การเรยี นรู้ - ห้องเรียน - อินเทอรเ์ น็ต - หอ้ งสมุดโรงเรยี นอยธุ ยานสุ รณ์

8. การวัดและประเมินผล วธิ ีการ เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ รายการวัด - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น - แบบทดสอบก่อนเรยี น - ประเมินตามสภาพจรงิ 8.1 การประเมนิ กอ่ นเรียน - แบบทดสอบก่อนเรียน - ตรวจแบบประเมนิ การ - แบบประเมินการ - ระดับคณุ ภาพ 2 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 นาเสนอผลงาน นาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ สถติ ิและข้อมูล - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ 2 8.2 การประเมนิ ระหวา่ ง การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ การจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2 1) ตัวอยา่ งของกรณหี รอื การทางานกลุ่ม การทางานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์ ปญั หาทีต่ ้องใช้สถติ ิ - สงั เกตความมีวนิ ยั - แบบประเมิน - ระดับคณุ ภาพ 2 ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ ม่นั คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ 2) พฤติกรรมการ ในการทางาน อนั พงึ ประสงค์ ทางานรายบคุ คล 3) พฤติกรรมการ ทางานกลุ่ม 4) คุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook