Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความ เครื่องอบสมุนไพรใบฟ้าทะลายโจร 1

บทความ เครื่องอบสมุนไพรใบฟ้าทะลายโจร 1

Published by apichai_49, 2021-09-26 03:39:15

Description: บทความ เครื่องอบสมุนไพรใบฟ้าทะลายโจร 1

Search

Read the Text Version

Received : ………………………………………… Revised : …………………………………………... Accepted : ……………………………………….. เครอ่ื งอบสมนุ ไพรใบฟา้ ทะลายโจร Andrographis paniculata herb dryer นายธีรพฒั น์ พิมพส์ าลี 1,* นายอภชิ ัย ขนั ตี2 และ นายรตั นชาติ ดวงอภนิ ัน3 Mr.Theerapat Pimsalee 1,* Mr.Apichai Khantee2 and Mr.Ruttanachat Dungapinun3 *1สาขาวิชา เทคโนโลยไี ฟฟ้า สงั กดั สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 1 จังหวัดหนองคาย รหัสไปรษณยี ์ 43000 *1Bachelor of Technology (Electrical Technology) Institute of Vocational education : Northeastern Region 1 province Nongkhai postcode 43000 บทคดั ยอ่ การศึกษาเรื่องเครื่องอบสมุนไพรใบฟ้าทะลายโจร มีวัตถุประสงค์เพ่ือ (1)สร้างและพัฒนาเครื่องอบสมุนไพรใบฟ้า ทะลายโจร และ(2)ศกึ ษาประสิทธิภาพเครื่องอบสมนุ ไพรใบฟ้าทะลายโจร ในการทดลองโดยใช้ฮีตเตอร์อนิ ฟราเรด ขนาด 350 วัตต์ ร่วมกบั ระบบไหลเวียนของลมรอ้ นควบคมุ อุณหภูมิด้วยชุดควบคุมอณุ หภูมริ ะบบดจิ ิทลั ผลการศกึ ษาพบว่า การอบสมนุ ไพรใบฟ้าทะลายโจรคร้งั ละ 100 กรัม ที่อุณหภูมิ 3 ระดับ ได้แก่ 40, 50 และ 60 องศา เซลเซียส โดยใช้เวลาในการอบ 180, 300 และ 360 นาที พบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการอบสมุนไพรใบฟ้าทะลายโจร และ สามารถลดความชื้นใบฟ้าทะลายโจรมีความแห้งท่ีพอเหมาะ มีประสิทธิภาพในการทาเวลาอบแห้งได้ดี คือ อุณหภูมิ 50 องศา เซลเซียส ใช้เวลาในการอบ 300 นาที คาสาคญั : ใบฟา้ ทะลายโจร, เคร่ืองอบ, ฮตี เตอรอ์ นิ ฟราเรด Abstract A study on herbal infusions, Andrographis paniculata leaves. aimed at (1) Create and develop the herb paniculata herb incubator. and (2) Study the efficiency of the herb paniculata herb incubator In the experiment using a 350 watt infrared heater. Together with the hot air circulation system, the temperature is controlled with a digital temperature controller. The results showed that Baking paniculata leaves 100 g per time at 3 temperature levels, 40, 50 and 60 degrees Celsius, with baking time of 180, 300 and 360 minutes. found that the optimum conditions for baking herbs paniculata And can reduce the humidity. Andrographis paniculata has moderate dryness. It has a good drying time efficiency, which is 50 degrees Celsius, takes 300 minutes to bake. Keywords : Andrographis paniculata, baking machine, infrared heater 1

บทนา รังสีอินฟราเรดจดั เปน็ พลงั งานในรูปแบบคลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ ทถี่ ูก ดูดกลืนโดยผลิตภัณฑ์โดยตรงไม่สูญเสียต่อสิ่งแวดล้อม มีการ การใช้สมนุ ไพรน้ันมีมาต้ังแต่สมัยโบราณ ความรเู้ กี่ยวกับ กระจายอุณหภูมิให้ผลิตภัณฑ์สม่าเสมอกัน และทาให้ประหยัด สมุนไพรเรามักจะคุ้นชินในตาราแพทย์จีน และโดยเฉพาะอย่าง พลังงาน[5] จึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคไม่ทาให้สมบัติทาง ย่ิงอยู่ในการแพทย์ไทยแผนโบราณ นอกจากน้ีก็มีการศึกษา กายภาพของผลิตภัณฑ์เสียไป สามารถลดระยะเวลาในการ ค้นคว้าตอ่ เนอื่ งจนถึงปัจจบุ ัน อบแหง้ ได้เร็วข้ึน เคร่ืองมอื และอปุ กรณท์ ีใ่ ช้หางา่ ย[6] ฟ้าทะลายโจรเป็นสมุนไพรท่ีสามารถใช้รักษาโรคไข้หวัด งานวิจัยนเ้ี ปน็ การสร้างและพฒั นาเคร่ืองอบสมนุ ไพรใบ 2009 โรคคออักเสบ ท้องร่วงจากบิดไม่มีตัวและต่อมทอนซิล ฟ้าทะลายโจร และหาประสิทธิภาพของเครื่องอบสมุนไพรใบฟ้า อั ก เ ส บ เ ป็ น ต้ น ( Jarukamjorn and Nemoto, 200 9) ทะลายโจรในสภาวะที่เหมาะสม ของการอบสมุนไพรใบฟ้า เน่ืองมาจากสารสาคัญจาพวกแลคโตน (diterpene lactones) ทะลายโจร ด้วยเคร่ืองอบสมุนไพรใบฟ้าทะลายโจร ด้วยความ หลายชนิด ได้แก่ แอนโดรกราโฟไลด์ (andrographolide) นีโอ รอ้ นจากฮีตเตอร์อนิ ฟราเรดขนาด 350 วัตต์ แอนโดร-กราโฟไลด์ (neoandro-grapholide)และดีออกซี-แอน โดรกราโฟไลค์ (deoxy-andrographolide) เป็นต้น ฟา้ ทะลาย วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย โจรมีรสขมมาก ดังน้ันจึงนิยมนามาแปรรูปเป็นผงและบรรจุลง 2.1 เพอ่ื สรา้ งและพฒั นาเคร่อื งอบสมุนไพรใบฟา้ ทะลายโจร แคปซูลเพื่อให้รับประทานได้ง่ายข้ึน การแปรรูปฟ้าทะลาย โจร 2.2 เพอ่ื หาประสิทธิภาพเครอ่ื งอบสมนุ ไพรใบฟา้ ทะลายโจร โดยทั่วไปนิยมนาใบฟ้าทะลายโจรมาอบแห้งด้วยลมร้อนที่ อณุ หภูมิ 50ºC จนแหง้ [1] วธิ ดี าเนนิ การวิจยั การตากแห้ง (natural drying) เป็นกรรมวิธี ด้ังเดิม โดย การศึกษาครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงทดลอง การสร้างเครื่องมือ การนาวัตถุดิบไปตากแดดโดยตรงนิยมใช้ ในการแปรรูป โดย แบ่งเปน็ 3 สว่ น คือ 1) ข้ันการเตรยี มการวจิ ัย ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร รวมท้ังการแปรรูปสมุนไพรชนดิ อน่ื ด้วย การ สารวจปัญหาอุปกรณ์ เคร่ืองอบสมุนไพรใบฟ้าทะลายโจร ซึ่งการตากแดดนั้นเป็นวิธีที่ต้องการพ้ืนท่ีเปิดกว้าง และต้องใช้ การ วิเคราะห์ปัญหา เพ่ือนาไปสร้างเคร่ืองอบสมุนไพรใบฟ้า ระยะเวลาในการตากแดดค่อนข้างนาน ซ่ึงข้ึนอยกู่ ับปริมาณแดด ทะลายโจร 2) ขั้นการดาเนินงานวิจัย ประกอบด้วยการระบุ ในแต่ละชว่ ง แต่ละวัน อีกทง้ั ยังมปี ัญหาเรอ่ื งของแมลงต่างๆ อีก วัตถุประสงค์ ขั้นรวบรวมข้อมูล การร่างตัวแบบ การหาคาตอบ ที่มาตอมทาให้คุณภาพของสมุนไพรลดลง[2] ดังัน้นเพื่อให้ จากตัวแบบ การ วิเคราะห์คาตอบ และการนาไปทดลองใช้ และ ผลิตภัณฑ์ สมุนไพรแห้งมีคุณภาพท่ีดีได้มาตรฐานจึงนิยมใช้ 3) ขัน้ สรปุ ผลการ ดาเนนิ งานวิจัย ประกอบดว้ ยการทาแบบร่าง กระบวนการอบแหง้ แทนการตากแห้งแบบธรรมชาติ การอบแห้ง ผลการทดลอง เคร่อื งอบสมนุ ไพรใบฟา้ ทะลายโจร เป็นเครือ่ งมือ (mechanical drying) จึงเป็นกระบวนการทา ให้แห้งด้วย ทีใ่ ช้ในการ ทดลอง การเกบ็ ขอ้ มลู เคร่ืองอบหรอื ตู้อบประเภทตา่ งๆ ซ่งึ เป็นกระบวนการอีกรูปแบบ หน่ึงท่ีใช้ ถนอม และเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร โดย ทฤษฎที เี่ กย่ี วข้อง ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านกระบวนการอบแห้งจะมีความชื้นลดลงทาให้ การอบแห้งวัสดุโดยทั่ว ไปจะใช้อากาศร้อน เป็นตัวกลางใน จุลินทรีย์ท่ีอยู่ในผลิตภัณฑ์มีอัตราการ เจริญเติบโตช้าลง ผลติ ภณั ฑ์ไมเ่ น่าเสยี ง่าย [3] การอบแห้ง โดยการถ่ายเทความร้อน จากอากาศไปยังวัสดคุ วาม ร้อนส่วนใหญจ่ ะถูกใช้ใน การระเหยน้า ออกจากวัสดุถ้าผวิ วัสดุมี เทคโนโลยีการอบแห้งจึงสามารถลดระยะเวลาในการตาก ปริมาณน้า อยมู่ าก อุณหภูมิและความเข้มของไอน้าท่ีผิวจะคงท่ี แห้งได้เร็วกว่าการตากแห้งแบบธรรมชาติ 2-3 เท่า มีการ ส่งผลให้อัตราการอบแห้งคงท่ีด้วย ถ้าผิวของวัสดุมี ปริมาณน้า ประยุกตใ์ ช้มานาน[4] และการอบแห้งด้วยรังสีอินฟราเรดนั้นยัง ลดลงมากแล้วอุณหภมู ิและความเข้มของ ไอนา้ ทผี่ วิ ของวสั ดุยอ่ ม เป็นท่ีนิยมเป็นอยา่ งมาก ซึ่งในกระบวนการของการอบแห้งด้วย 2

เปลี่ยนแปลงไป โดยท่ี อุณหภมู ิจะสูงข้ึนและความเข้มข้นของไอ ดว้ ยลมรอ้ นร่วมกับรงั สีอนิ ฟราเรดไกลและสนามไฟฟ้าแรงดนั สูง น้า ที่ผิวจะ ลดลง ส่งผลให้อัตราการอบแห้งลดลง น่ันคือ การ โดยอบแห้งฟ้าทะลาย โจรที่ความเร็วลม 0.2 – 0.4 m/sอณุ หภูมิ เ อ า น้า อ อ ก จ า ก วั ส ดุ ที่ ต้ อ ง ก า ร ทา ใ ห้ ป ริ ม า ณ น้า ใ น วั ส ดุ นั้ น 50, 60 และ 70 ºC แรงดนั ไฟฟ้า 0, 7.5 และ 15 kV โดยควบคุม ล ดล ง (ค วาม ชื้น ล ดล ง ) โ ดย ส่วน ใ ห ญ่วัส ดุนั้น จ ะอ ยู่ใ น อณุ หภมู ทิ ี่ผิววัสดุใหเ้ ทา่ กบั อณุ หภมู ลิ มรอ้ นเขา้ ห้องอบแห้ง จาก สถานะของแข็ง น้าที่ระเหยออกจากวัสดุนั้น แต่ถ้าผ่าน การทดลองพบว่าเวลาท่ีใช้ในการอบแห้งจะลดลง เม่ือเพิ่ม ก ร ะ บ ว น ก า ร อ บ แ ห้ ง ทา ใ ห้ ข อ ง เ ห ล ว ใ น วั ต ถุ ดิ บ ร ะ เ ห ย เ ป็ น สนามไฟฟ้าแรงดันสูงและอุณหภูมิในการอบแห้ง ค่าความสว่าง ไอ ได้ผลิตภัณฑ์ของแข็งที่มีสัดส่วนของของเหลวต่าลง (L*) จะเพิ่มขึ้นเมื่อสนามไฟฟ้าเพ่ิมข้ึนในขณะที่ค่าสีเหลือง (b*) จะลดลง ปรมิ าณสารแอนโดกราโฟไลด์จะเพิ่มข้ึนเม่อื สนามไฟฟ้า เ ค รื่ อ ง อ บ แ ห้ ง จึ ง เ ป็ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ แ ผ่ ค ว า ม ร้ อ น ทา ใ ห้ และอุณหภูมิเพิ่ม สูงข้ึน ปริมาณของแลคโตนรวมจะมีค่าอยู่ ปริมาณน้าในวัสดุนั้นลดลง แต่การจัดการพลังงานความ ในช่วง 10.2-13.1 % w/w สาหรับความสิ้นเปลืองพลังงาน ร้ อ น ก็ เ ป็ น ปั ญ ห า ที่ สา คั ญ ที่ ต้ อ ง คา นึ ง ถึ ง ค ว า ม ชื้ น ข อ ง วั ส ดุ จาเพาะจะ ลดลงเมอื่ สนามไฟฟ้าแรงดนั สูงเพ่ิมข้ึน นั้นด้วย เพ่ือจะได้สมุนไพรที่มีคุณภาพท่ีดี ได้มาตรฐาน อาริษา โสภาจารย์ และคณะ ได้ทาการศึกษาเร่อื ง การ อัต ร า ค ว า ม ชื้น ใ น ก า ร แ ส ด ง ป ริม า ณ น้า ที่มีอ ยู่ใ น อบชาสมุนไพรใบพลูด้วยความร้อนจาก ฮีตเตอรอินฟราเรด โดย วั ต ถุ ดิ บ จ ะ ส า ม า ร ถ แ ส ด ง ไ ด้ ด้ ว ย ป ริ ม า ณ น้า ต่ อ ป ริ ม า ณ ม วล ใช้ไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์ งานวิจัยัน้มีวัตถุประสงคัเพ่ือศึกษาการ รวมเปียก (ค่า wet base) หรือปริมาณน้าต่อ ปริมาณ อบใบพลูสาหรับเปน็ ชาสมนุ ไพรโดยใชั้ตอ้ บสมนุ ไพรแบบฮตี เตอร์ วัตถุดิบแห้ง (ค่า dry base) ในขณะที่อบมวลรวมจะ อินฟราเรดขนาด 350 วัตต์ เป็นอุปกรณ์สาหรับให้ความร้อน เป ลี่ยน แป ล ง ไ ป ด้วย เมื่อคานว ณค วา มชื้น แบ บ wet และใช้พลังงานไฟฟ้าจากระบบโซลาร์เซลล์ ขนาด 100 วัตต์ basis จ ะ ทา ใ ห้ค ่า ค ว า ม ชื้น เ ป ลี่ย น แ ป ล ง อ ย่า ง ไ ม่ แบตเตอร์รี่ ขนาด 100 แอมแปร์ 12 โวลต์เป็นแหล่งพลังงาน สมา่ เสมอ ดังนั้นในการคานวณทางอุตสาหกรรม จะใช้ค่า ไฟฟ้าแบบออฟกริดเป็นระบบแยกเดี่ยว แต่ตู้อบสมุนไพรสามารถ ความชื้น ท่ีคานวณแบบ dry basis ซ่ึงมวลแห้งเป็นฐาน ใช้ไฟฟ้านครหลวงได้โดยตรงเมื่อระบบโซลาร์เซลล์ไม่สามารถ ในการคานวณ เนื่องจากมวลแห้งนี้มีค่าคงที่ตลอด การ ผลติ ไฟฟ้าไดั้ซ่งในการทดลองใช้ใบพลูในการอบคัรง้ ละ 200 กรัม อบ จึง มีค วามส ะ ดวกมากกว่า ถ้าใ ห้ค วามชื้นที่ wet โดยทา การศึกษาการลดความัช้นของใบพลูเม่ือทา การอบ basis เท่ากับ Mw และให้ความชื้นที่ dry basis เท่ากับ สมุนไพร ใบพลูท่ีสภาวะอุณหภูมิ 50, 55 และ 60 องศาเซลเซยี ส Md แล้ว ค่าท้ังสองจะมีความสัมพันธ์กันดังต่อไปนี้ โดยใช้เวลาในการอบ 3, 5และ 7 ชั่วโมง จากผลการทดลอง พบวา่ สภาวะท่ีเหมาะสมในการอบสมุนไพรใบพลูและสามารถลด คา่ ความชนื้ มาตรฐานเปยี ก [7] ความัชน้ ใบพลไู ดร้ วดเรว็ ที่สุด คือ อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส ใช้ เวลาในการอบ 3 ชวั่ โมง โดยสามารถใช้พลงั งานจากโซลารเ์ ซลล์ Mw = [(w – d)/w]x100…………………..(1) ได้นาน 1 ช่ัวโมง 30 นาที โดยมีความัช้นของชาใบพลูหลังอบไม่ Md = [(w – d)/d]x100.........................(2) เกิน 5 เปอร์เซ็นต์ เม่ือ Mw คือ ความชื้นมาตรฐานเปยี ก หนว่ ยเปน็ % Md คอื ความชนื้ มาตรฐานแห้ง หนว่ ยเป็น % w คือ น้าหนกั ของวสั ดุ หน่วยเป็น กรมั (g) d คอื น้าหนกั แหง้ ของวสั ดุ หนว่ ยเป็น กรมั (g) ศุภรัตน์ เนินปลอด และคณะ วิจัยเรื่องการอบแห้งฟ้า ทะลายโจรด้วยลมร้อนร่วมกับรังสอี ินฟาเรดไกลและสนามไฟฟ้า แรงดันสูง วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาจลนพลศาสตร์ คุณภาพ และ ความส้ินเปลืองพลังงานจาเพาะของ การอบแห้งฟ้าทะลายโจร 3

ผลการทดลอง ในการอบ 3 ช่วงเวลาได้แก่ 180, 300 และ 360 นาที พบว่า สภาวะที่ในการอบสมุนไพรใบฟ้าทะลายโจร และสามารถลด อณุ หภมู ิ 40 °C ความช้ืนใบฟ้าทะลายโจรท่ีใช้แบบพัดลมร่วมกับอินฟราเรด สามารถลดปริมาณน้าหนักหลังอบแห้งได้ค่ากลางที่ 12 กรัม ใช้ น ้ำหนักหลังอบแ ้หง 30 27 22 15 19 เวลา 300 นาที การอบสมุนไพรใบฟ้าทะลายโจรท่ีปริมาณ 100 20 20 17 กรัม ระดับอุณหภูมิ 50OC มีสภาวะท่ีเหมาะสม ตามค่าความช้ืน มาตรฐานเปียก คิดเป็นเปอร์เซ็นต์แล้วได้ 5 เปอร์เซ็นต์ แบบใช้ 10 พัดลมร่วมกบั อนิ ฟราเรด 0 ใช้พดั ลมร่วม อินฟำเรด ภาพท่ี 1 กราฟแสดงผลนาหนักหลงั อบแหง้ ที่อณุ หภมู ิ 40OC อุณหภมู ิ 60°C จากราฟท่ี 1 แสดงผลน้าหนักหลังอบแห้งท่ีอุณหภูมิ 20 40OC การอบสมุนไพรใบฟ้าทะลายโจรท่ีปริมาณ 100 กรัม ระหวา่ งใช้พัดลมร่วมกบั อินฟราเรด และแบบอินฟราเรดใช้เวลา ้นาหนักห ัลงอบแ ้หง 15 ในการอบ 3 ช่วงเวลาได้แก่ 180, 300 และ 360 นาที พบว่า 15 12 สภาวะท่ีในการอบสมุนไพรใบฟ้าทะลายโจร และสามารถลด ความชื้นใบฟ้าทะลายโจรที่ใช้แบบพัดลมร่วมกับอินฟราเรด 10 9 สามารถลดปริมาณน้าหนักหลังอบแห้งได้ต่าสุดที่ 15 กรัม ใช้ 7 56 เวลา 360 นาที คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ตามมาตรฐานเปียกแล้วได้ 5 5 เปอร์เซ็นต์ แต่ยงั ใชเ้ วลาในการอบนานและอุณหภูมิต่าเกินไปใน การอบ 0 180 300 360 (นาที)เวลา ใชพ้ ัดลมร่วม อนิ ฟาเรด ภาพที่ 3 กราฟแสดงผลนาหนักหลังอบแห้งที่อุณหภูมิ 60OC อณุ หภมู ิ 50°C จากราฟท่ี 3 แสดงผลน้าหนักหลังอบแห้งท่ีอุณหภูมิ 60OC การอบสมุนไพรใบฟ้าทะลายโจรที่ปริมาณ 100 กรัม ้นาห ันกห ัลงอบแ ้หง 25 20 15 12 ระหว่างใช้พัดลมร่วมกบั อินฟราเรด และแบบอินฟราเรดใชเ้ วลา 20 15 12 8 ในการอบ 3 ช่วงเวลาได้แก่ 180, 300 และ 360 นาที พบว่า 15 สภาวะท่ีในการอบสมุนไพรใบฟ้าทะลายโจร และสามารถลด 10 ความชื้นใบฟ้าทะลายโจรท่ีใช้แบบพัดลมร่วมกับอินฟราเรด สามารถลดปริมาณน้าหนักหลังอบแห้งได้ต่าสุดที่ 5 กรัม ใช้เวลา 5 360 นาที คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ตามมาตรฐานเปียกแล้วได้ 2 เปอร์เซน็ ต์ แตย่ งั ใช้เวลาในการอบนานและอุณหภูมิสูง 0 180 300 360 เวลา(นาท)ี ใช้พัดลมรว่ ม อินฟาเรด ภาพที่ 2 กราฟแสดงผลนาหนกั หลังอบแห้งทีอ่ ณุ หภูมิ 50OC จากราฟท่ี 2 แสดงผลน้าหนักหลังอบแห้งท่ีอุณหภูมิ 50OC การอบสมุนไพรใบฟ้าทะลายโจรท่ีปริมาณ 100 กรัม ระหวา่ งใช้พัดลมร่วมกบั อินฟราเรด และแบบอินฟราเรดใชเ้ วลา 4

สรปุ ผล [2] Ahmad, F., Mohd, H.R., Mohd, Y.O., Omidreza, S., การทดสอบประสิทธภิ าพเครือ่ งอบสมุนไพรใบฟา้ ทะลายโจร Azami, Z. and Kamaruzzaman, S. 2012. Investigation of Medical Herbs Moisture in Solar Drying. ท่ีปริมาณ 100 กรมั Advances in Environment, Biotechnology and Biomedicine : 127- 131. ตารางท่ี 1 แสดงผลการทดสอบประสทิ ธภิ าพเครือ่ งอบ สมนุ ไพรใบฟา้ ทะลายโจร ทปี่ ริมาณ 100 กรัม [3] สภุ วรรณ ฏิระวณิชยก์ ุล, สลิลลา ชาญเชี่ยว และ ยุทธนา ฏิ ระวณิชย์กุล. 2556ก. การอบแห้ง ใบบัวบกเพื่อผลิตใบ จากผลการทดสอบประสิทธิภาพการอบสมุนไพรใบฟ้า บั ว บ ก แ ห้ ง ช ง ด่ื ม ด้ ว ย ก า ร แ ผ่ รั ง สี อิ น ฟ ร า เ ร ด : ทะลายโจร ดังแสดงในตารางที่ 1 ทดสอบการอบที่ปริมาณ 100 จลนพลศาสตร์ ความสิ้นเปลืองพลังงานและคุณภาพ. กรัม ท่ีอุณหภูมิ 3 ระดับ ได้แก่ 40, 50 และ 60 องศาเซลเซียส วารสารวจิ ัย มข. 18(2): 311-324 โดยใชเ้ วลาในการอบ 180, 300 และ 360 นาที พบว่าสภาวะที่ เหมาะสมในการอบสมุนไพรใบฟ้าทะลายโจร ได้แก่ แบบใช้พัด [4] บงกช ประสิทัธ์, สหัถยา ทองสา และ พิสิษฏ์ มณี โชติ. ลมร่วมกับอินฟราเรด สามารถลดความช้ืนใบฟ้าทะลายโจรมี 2557. การพัฒนาเคร่ืองอบแหง้ พลังงานแสงอาทิตยแ์ บบ ความแห้งท่ีๆได้ตามค่าความช้ืนมาตรฐานเปียก คิดเป็น อุโมงค์รวมกับเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อการผลิตไฟฟ้าให้กับ เปอร์เซ็นต์แล้วได้ 5 เปอร์เซ็นต์ และมีประสิทธิภาพในการทา พดั ลม 178 วารสารวิจัย มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เวลาอบแห้งได้ดีทอี่ ุณหภมู ิ 50 องศาเซลเซียส ใช้เวลาในการอบ ศรีวิชัย 12(1) : 171-179 (2563) ในอุโมงค์อบแห้งสาหรับ 300 นาที พ้ืนที่ไฟฟ้าเข้าไม่ ถึง. วารสารวิศวกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั รังสติ 17(1): 19-41. กติ ติกรรมประกาศ การ ดาเนินกา ร จัดทาวิจัยใ น ค ร้ัง นี้ ค ณะวิจั ย [5] Slobodan, B., Vangelce, M., Monika, L., Tale, G. and Vladimir, M. 2015. Experimental Investigation of ขอขอบพระคุณวิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกอุดรธานี และ Vacuum Far-Infrared Drying of Potato Slicies. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ท่ีส่งเสริม Journal on วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และสนบั สนนุ ในการดาเนินการวิจยั ศ รี วิ ชั ย 12(1) : 171-179 (2563) 179 Processing and Energy in Agriculture 19(2): 71-75. [6] สุภวรรณ ฏิระวณิชย์กุล, สลิลลา ชาญเช่ียว และ ยุทธนา ฏิระวณิชย์กุล. 2556ก. การอบแห้ง ใบบัวบกเพื่อผลิตใบ บั ว บ ก แ ห้ ง ช ง ดื่ ม ด้ ว ย ก า ร แ ผ่ รั ง สี อิ น ฟ ร า เ ร ด : จลนพลศาสตร์ ความสิ้นเปลืองพลังงานและคุณภาพ. วารสารวิจยั มข. 18(2): 311-324. [7] สมชาติโสภณรณฤทัธ์. (2540). การอบแห้งเมล็ดพืชและ อาหารบางประเภท (พิมพคั์ร้งท่ี7). กรุงเทพฯ: สถาบัน เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุร.ี เอกสารอา้ งองิ [1] สถาบันวิจัยสมุนไพร. 2542. มาตรฐานสมนุ ไพรไทย เล่มที่ 1 ฟ้าทะลายโจร. โรงพิมพอ์ งค์การสงเคราะห์ ทหารผา่ นศึก , กรงุ เทพ ฯ. 66 หน้า 5


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook