Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรมสร้างสรรค์สำหรับผู้ประกอบการ (Creative Innovation)

นวัตกรรมสร้างสรรค์สำหรับผู้ประกอบการ (Creative Innovation)

Published by Pongsaton Palee, 2021-07-13 14:21:39

Description: รายวิชานวัตกรรมสร้างสรรค์สำหรับผู้ประกอบการ (Creative Innovation) เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการบริหารจัดการบนฐานวิถีชีวิตผู้ประกอบการสมัยใหม่ (New Normal Management for Entrepreneur Lifestyles) จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถนำเป็นแนวทางในการสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาธุรกิจและบริการ รวมถึงการใช้เทคนิค Crowdsourcing สำหรับส่งเสริมสินค้าและบริการให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า โดยเนื้อหาแบ่งออกเป็น 6 ตอน ได้แก่ 1) หลักการสร้างสรรค์นวัตกรรม: จากทฤษฏีสู่ปฏิบัติ 2) การค้นหาความแตกต่างของธุรกิจและบริการ 3) การสำรวจความต้องการของลูกค้า 4)การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สู่นวัตกรรม 5) แนวโน้มนวัตกรรมธุรกิจอนาคต

Keywords: นวัตกรรมสร้างสรรค์สำหรับผู้ประกอบการ,Creative Innovation

Search

Read the Text Version

หลักสตู ร การบรหิ ารจัดการบนฐานวถิ ีชวี ิตผู้ประกอบการสมยั ใหม่ (New Normal Management for Entrepreneur Lifestyles) วิชา นวตั กรรมสร้างสรรค์สาหรับผู้ประกอบการ (Creative Innovation) กล่มุ เปา้ หมาย วิสาหกจิ รายย่อย (Early Stage) กลุ่มรายยอ่ ย (Micro) กลุม่ ขนาดย่อม (Small) กลุ่มขนาดกลาง (Medium) อาจารย์ประจาวิชา ช่ือ ผศ.ดร. อดิเรก เยาว์วงค์ และอาจารย์ศริ ิรกั ษ์ บุญพร้อมรกั ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครนิ ทร์ สถานประกอบการ ชอ่ื ........................................................... บรษิ ทั ............................................

คาอธบิ ายรายวิชา รายวิชานวัตกรรมสร้างสรรค์สาหรับผู้ประกอบการ (Creative Innovation) เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร การบริหารจัดการบนฐานวิถีชีวิตผู้ประกอบการสมัยใหม่ (New Normal Management for Entrepreneur Lifestyles) จัดทาขึ้นเพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถนาเป็นแนวทางในการสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาธุรกิจ และบริการ รวมถึงการใช้เทคนิค Crowdsourcing สาหรับส่งเสริมสินค้าและบริการให้สอดคล้องกับความต้องการ ของลูกค้า โดยเน้ือหาแบ่งออกเป็น 6 ตอน ได้แก่ 1) หลักการสร้างสรรค์นวัตกรรม: จากทฤษฏีสู่ปฏิบัติ 2) การ ค้นหาความแตกต่างของธุรกจิ และบรกิ าร 3) การสารวจความต้องการของลูกคา้ 4)การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สู่ นวตั กรรม 5) แนวโนม้ นวัตกรรมธุรกิจอนาคต วัตถปุ ระสงค์ของบทเรียน 1. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในการค้นหาความคดิ สร้างสรรค์มีความรู้ความเข้าใจ 2. เข้าใจในการสรา้ งความแตกตา่ งในสนิ คา้ และบริการ 3. รูจ้ กั การพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรคส์ นู่ วัตกรรม 4. เข้าใจการทดสอบไอเดยี และความต้องการของตลาด 5. ทราบการสรา้ งชิ้นงานเพ่ิอทดลองตลาด 6. ทราบแนวโนม้ นวัตกรรมธุรกจิ ในอนาคต ขอบเขตบทเรยี น 1. หลักการสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม: จากทฤษฏีสปู่ ฏิบตั ิ 2. การคน้ หาความแตกต่างของธุรกิจและบรกิ าร 3. การสารวจความต้องการของลกู ค้า 4. การพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรคส์ นู่ วัตกรรม 5. แนวโนม้ นวัตกรรมธรุ กิจในอนาคต

ตอนที่ 1 หลักการสร้างสรรค์นวัตกรรม: จากทฤษฏสี ปู่ ฏิบตั ิ นวตั กรรม คอื อะไร??? “เป็นเครื่องมือเฉพาะสาหรบั ผู้ประกอบการในการสร้างผลประโยชนจ์ ากการเปลย่ี นแปลงต่างๆ เพื่อสรา้ งธรุ กิจและ บรกิ ารท่แี ตกต่างและสร้างรายได้” Peter F. Drucker “สิ่งใหม่ทเี่ กดิ จากการใช้ความร้แู ละความคดิ สร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ตอ่ เศรษฐกจิ และสังคม” สานักงานนวตั กรรม แห่งชาติ นวัตกรรม = ความคิดสรา้ งสรรค์ + ส่ิงใหม่ + มคี ณุ ค่าทางเศรษฐกจิ Innovation = Creative + New + Value Creation

Creative Idea: Perspective

Creative Idea: Perspective รูปแบบของนวตั กรรม ที่มา https://www.visualcapitalist.com/10-types-of-innovation-the-art-of-discovering-a- breakthrough-product/

รปู แบบนวัตกรรม : Experience นวตั กรรมท่ีเกดิ ขึน้ เพ่ือสรา้ งประสบการณ์ใหม่แก่เป้าหมาย • Service – นวตั กรรมการบริการ เพื่อตอบสนองกลมุ่ เป้าหมาย • Channel – นวัตกรรมที่เกดิ จากการสร้างช่องทางการเข้าถึงลกู คา้

• Brand – นวตั กรรมในการสร้างตราสนิ ค้าและภาพลักษณ์  Process – นวตั กรรมในการพัฒนากระบวนการ การผลติ บรกิ าร แบบใหม่ๆ

ตอนที่ 2 การค้นหาความแตกตา่ งของธุรกิจและบรกิ าร กระบวนการคิดเชงิ ออกแบบ (Design Thinking) คอื กระบวนการคดิ เพื่อแกไ้ ขปญั หาหรอื โจทย์ให้ถูกจุด ตลอดจนพัฒนาแนวคิดใหม่ๆ เพอ่ื แก้ไขปญั หาหรือโจทยท์ ต่ี ั้งไว้ เพ่ือท่ีจะหาวิถีทางที่ดีทส่ี ุดและเหมาะสมท่สี ดุ การ แกป้ ัญหาบนพ้นื ฐานกระบวนการนีจ้ ะเน้นยดึ ไปที่หลักของผใู้ ช้/ผูบ้ ริโภค (User-centered) เปน็ หลกั โดยมีเจตนา ในการสร้างผลลพั ธ์ในอนาคตที่เป็นรปู ธรรม เพอ่ื ให้ตอบโจทย์ตลอดจนแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ รวมไปถงึ เกิดนวตั กรรมใหมๆ่ ท่ีเปน็ ประโยชนอ์ กี ด้วย การคน้ หาความแตกตา่ งของธุรกจิ และบริการ สามารถใช้วิธีการไดด้ ังนี้ 1. Empathize – เข้าใจปญั หา ขั้นแรกต้องทาความเขา้ ใจกับปัญหาให้ถ่องแท้ในทกุ มมุ มองเสยี กอ่ น ตลอดจนเขา้ ใจผ้ใู ชก้ ล่มุ เปา้ หมาย หรอื เขา้ ใจในสง่ิ ท่ีเราต้องการแก้ไขนี้เพ่ือหาหนทางทเี่ หมาะสมและดีที่สุดให้ได้ การเขา้ ใจคาถามอาจเริ่มต้ังดว้ ยการ ตั้งคาถาม สรา้ งสมมติฐาน กระตนุ้ ให้เกิดการใชค้ วามคิดทน่ี าไปสู่ความคิดสร้างสรรค์ทด่ี ีได้ ตลอดจนวเิ คราะห์ ปัญหาใหถ้ ว้ นถ่ี เพือ่ หาแนวทางที่ชดั เจนใหไ้ ด้ การเข้าใจในปัญหาอยา่ งลึกซึ้งถูกต้องนนั้ จะนาไปสู่การแก้ปัญหาที่ ตรงประเดน็ และไดผ้ ลลพั ธ์ทีย่ อดเย่ยี ม 2. Define – กาหนดปัญหาให้ชดั เจน เมือ่ เรารู้ถึงข้อมูลปญั หาท่ชี ัดเจน ตลอดจนวิเคราะห์อยา่ งรอบด้านแลว้ ใหน้ าเอาข้อมูลทั้งหมดมาวเิ คราะห์ เพ่อื ทจ่ี ะคัดกรองให้เป็นปัญหาที่แท้จรงิ กาหนดหรือบ่งชี้ปัญหาอยา่ งชดั เจน เพอื่ ท่จี ะเป็นแนวทางในการปฎบิ ตั กิ าร ต่อไป รวมถึงมีแกน่ ยึดในการแกไ้ ขปัญหาอย่างมีทิศทาง 3. Ideate – ระดมความคิด การระดมความคิดน้คี ือการนาเสนอแนวความคดิ ตลอดจนแนวทางการแก้ไขปัญหาในรูปแบบต่างๆ อย่าง ไม่มีกรอบจากัด ควรระดมความคดิ ในหลากหลายมมุ มอง หลากหลายวธิ กี าร ออกมาให้มากท่ีสดุ เพือ่ ทจ่ี ะเป็น ฐานข้อมลู ในการที่เราจะนาไปประเมนิ ผลเพ่ือสรปุ เปน็ ความคิดที่ดีท่ีสดุ สาหรบั การแก้ไขปญั หานนั้ ๆ ซง่ึ อาจไม่ จาเป็นตอ้ งเกดิ จากความคิดเดียว หรือเลอื กความคดิ เดยี ว แตเ่ ป็นการผสมผสานหลากหลายความคิดให้ออกมาเป็น แนวทางสุดทา้ ยทช่ี ัดเจนก็ได้ การระดมความคิดน้ยี งั ช่วยใหเ้ รามองปัญหาได้อยา่ งรอบด้านและละเอยี ดข้นึ ดว้ ย รวมถงึ หาวธิ กี ารแกป้ ัญหาได้อยา่ งรอบคอบได้ด้วยเชน่ กัน 4.Prototype – สร้างตน้ แบบทีเ่ ลือก หากเป็นเร่อื งการออกแบบผลิตภณั ฑห์ รอื นวัตกรรมขน้ั Prototype นีก้ ค็ ือการสร้างต้นแบบเพอื่ ทดสอบ จริงก่อนท่ีจะนาไปผลติ จริง สาหรบั ในดา้ นอน่ื ๆ ข้นั นกี้ ็คอื การลงมอื ปฎิบตั ิหรอื ทดลองทาจรงิ ตามแนวทางทไ่ี ดเ้ ลือก แล้ว ตลอดจนสร้างต้นแบบของปฎบิ ัติการทีเ่ ราต้องการจะนาไปใชจ้ ริง

5.Test – ทดสอบ ทดลองนาต้นแบบหรอื ข้อสรุปทจี่ ะนาไปใช้จริงมาปฎบิ ตั ิก่อน เพื่อทดสอบประสทิ ธิภาพ ตลอดจน ประเมนิ ผล เสรจ็ แล้วกน็ าเอาปญั หาหรือข้อดขี ้อเสยี ทีเ่ กิดขึ้นเพอ่ื นามาปรับปรงุ แก้ไข ก่อนนาไปใชจ้ รงิ อีกคร้งั นนั่ เอง แนวทางการคน้ หาข้อแตกตา่ งของธุรกิจและบริการ  เลือกมองปญั หาหรือลูกค้า 2. Customer Journey Experience 2. Brainstorming

ตอนที่ 3 การสารวจความต้องการของลกู ค้า การสรา้ งไอเดียสรา้ งสรรคแ์ ละความเป็ไปได้ในเชงิ ธรุ กิจ นวัตกรรมและการบรโิ ภค 1. Brainstorming 2. Categorizing Case Study จุดสนใจ (ปัญหา) ส่ิงตรงขา้ ม นิยายวทิ ยาศาสตร์ ความคิดแบบเดก็ ๆ • เตน๊ ละครสัตว์ • อาคารถาวร • Space Dome, • ปราสาท,บา้ น • สัตวป์ ระหลาด • สัตวเ์ ล้ียง UFO สตั ว์ • หุ่นยนต,์ ภาพสา • ตุก๊ ตาสตั ว์ มิติ

การสรา้ งตน้ แบบ MVP Minimum Viable Product การทา MVP ใหค้ ิดถึงจุดประสงคใ์ นนวัตกรรมเปน็ หลัก เพ่ือพิสูจน์แนวความคดิ และประสบการณผ์ ูใ้ ช้ What Wow??? อะไรนา่ สนใจสาหรบั ผู้บรโิ ภค การสร้างความประทับใจและนา่ สนใจแก่ผู้บริโภคจะคานึงถึง 2 สิง่ หลักคอื User experience (UX) และ User interface (UI) โดย User experience (UX) evolved as a result of the improvements to UI. Once there was something for users to interact with, their experience, whether positive, negative, or neutral, changed how users felt about those interactions. User interface (UI) is the series of screens, pages, and visual elements—like buttons and icons What Work??? อะไรจะถูกใจเปา้ หมายของเรา การทีจ่ ะเขา้ ใจผูบ้ รโิ ภคหรอื เป้าหมายของเราได้สดุ ทา้ ยจะต้องทาการทดลองตลาดเพอื่ รับผลตอบรบั จาก เป้าหมายและนามาปรบั ปรุงต่อ ซง่ึ ปัจจบุ ันการนาสินคา้ เขา้ ทดลองตลาดเปน็ เรอ่ื งทง่ี ่ายขึ้นมากเมื่อมี Platform online ต่างๆ ใหส้ ามารถทดลองวางสนิ ค้า และ รบั เสยี งตอบรบั จากลูกคา้ ได้

ซงึ่ ในอดีต ทาได้คือการหาโอกาสออกร้านเพ่ือนาเสนอสนิ ค้าเป็นหลกั ท้ังนี้ จึงยกตัวอย่าง Platform ที่ สามารถระดมทุนลว่ งหน้าสาหรบั ผู้ชื่นชอบผลงานัน้ ได้ ซึ่ง จะทาให้ได้รบั ผลตอบ รบั จากลูกค้าและปรับปรุงแก้ไขได้โดยตรง และสามารถหารายไดห้ รอื ผรู้ ่วมลงทนุ ได้จากPlatform เหลา่ นี้ดว้ ย การสรา้ งนวตั กรรม โดยเฉพาะการสรา้ งชนิ้ งานเพื่อทดลองตลาดเมอื่ ผู้ประกอบการมีแนวคิดในการสร้าง นวัตกรรม แล้ว เป็นส่งิ จาเปน็ ท่ีจะเปล่ียนจากเพียงแนวคิดสู่ปจั จบุ ันภาครัฐ เอกชนและสังคมเปดิ กว้างในการให้ โอกาสช่วยพฒั นา นวตั กรรมในรูปแบบต่างๆ และการสร้างชิน้ งานเพอ่ื ทดลองตลาดโยแบ่งการสนับสนนุ เป็นสว่ นๆ ดังน้ี 1.การสนบั สนนุ ธรุ กจิ เกดิ ใหม่และธุรกิจด้านนวตั กรรมมหี น่วยงานท่ีสนบั สนุนดงั นี้  สานกั งานส่งเสรมิ วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(สสว.)

 สถาบันส่งเสริมวสิ าหกิจดจิ ิทัล มีกลไกส่งเสรมิ ดา้ นดจิ ิทัลเปน็ หลกั ในรปู แบบตา่ งๆ  สานักงานนวตั กรรมแห่งชาติ ส่งเสริมวิสาหกจิ สร้างนวตั กรรมโดยสนบั สนุนท้งั ทนุ และความรู้และ สิ่งแวดล้อม

ตอนท่ี 4 การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรคส์ ู่นวตั กรรม ในโลกแห่งการแข่งขัน การคิดสร้างสรรค์เป็นส่ิงท่ีจาเป็นมากสาหรับทุกอาชีพ ผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์จึง เปน็ เหมอื นทนุ ทางปัญญาท่ีล้าค่าขององคก์ าร แต่ความคิดสรา้ งสรรค์ไม่ใช่พรสวรรค์ของบุคคลหนึ่ง ๆ แต่ความคิด สร้างสรรค์น้ัน สามารถถูกพัฒนาและหล่อหลอมด้วยกาลเวลาไปพร้อมกับ ความรู้ความชานาญ และประสบ การณ์การทางานที่เพิ่มข้ึน ความคิดสร้างสรรค์จึงไม่ได้เป็นเรื่องเฉพาะบุคคลเท่านั้น แต่สภาพแวดล้อมและบริบท ขององคก์ ารก็เป็นแหลง่ ท่ีมา และ เป็นตัวเร่งให้บุคคลเกิดความคิดสร้างสรรค์ได้ (Oldham & Cummings, 1996; Katz, 2003 อา้ งใน เดชา เดชะวัฒนไพศาล และคณะ, 2554: 6) ด้วยเหตุน้ี ทักษะการคิดสร้างสรรค์ จึงได้รับการ พิจารณาจากองค์กรในปัจจุบันให้เป็นสมรรถนะ (Competency) ที่สาคัญอย่างหนึ่งสาหรับการพัฒนาบุคลากร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาไปสู่องค์กรแห่งนวัตกรรม (Amabile, 1988) รวมถึงการมีส่วนสาคัญในการสร้าง ความสาเร็จและความสามารถในการแขง่ ขันอย่างย่งั ยืนขององคก์ ร 3.1 ความหมายความคิดสรา้ งสรรค์ (Creativity) และ นวัตกรรม (innovation) ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) และนวตั กรรม (innovation) มีผู้ใช้อย่างแพร่หลายและมีการใช้สลับกัน ไปมา หรือใช้ในความหมายเดียวกนั กต็ าม แตม่ โนทัศนข์ องความคิด สร้างสรรค์มีความโดดเด่นและชัดเจนแตกต่าง จากแนวความคิดของนวัตกรรม (Howkins, 2008: 25) โดยท่ีความคิดสร้างสรรค์ เป็นกระบวนการระดับบุคคล หรอื ทมี ในขณะท่ีนวตั กรรมคอื กระบวนการระดับองค์กรเป็นความสาเร็จขององค์กรการนาความคิดสร้างสรรค์ไป ปฏิบัติ ความคิดสรา้ งสรรค์ (Creativity) มผี ู้นยิ ามความหมายไว้ แตกตา่ งหลากหลาย ดังนี้ กิลฟอร์ด (Guilford, 1980) อธิบายว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็นรูปแบบของความคิดของมนุษย์ท่ี หลากหลาย กล่าวคือ บุคคลสามารถคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่งออกไปอย่างไม่มีท่ีสิ้นสุดเป็นความคิดเชิงบวก เช่น การ คิดคน้ สงิ่ ประดิษฐ์ใหม่ เป็นต้น ซึ่งความคิดเหล่านี้เป็นทักษะขั้นสูง และกระบวนการทางาน อย่างเป็นขั้นตอนของ สมองประกอบด้วย การคดิ ริเรมิ่ การคดิ เร็ว (คิดอย่างคล่องแคล่ว) คิดอย่างยืดหยุ่น และการคิดอย่างรอบคอบ ผู้ที่ มีความคดิ สรา้ งสรรค์สามารถค้นหาความคิดใหม่ จากข้อมูลท่มี อี ยูเ่ ดิมและเชอ่ื มโยงข้อมลู เหลา่ น้ัน 3.2 วธิ คี ดิ เพ่อื พฒั นาความคิดสร้างสรรค์ ในงาน ดังน้ี 1. คดิ เชงิ บวก (Positive Thinking) การทบี่ คุ คลท่ีจะแสดงความคิดสร้างสรรค์ออกมาได้ เราต้องเช่ือมั่น ในประสทิ ธภิ าพภายในตนเอง (Self-Efficacy) จะชว่ ยให้รับรู้ โอกาสที่จะแสดงศักยภาพทางความคิด สร้างสรรค์ได้มากแล้ว ยังช่วยให้เราเกิดการเรียนรู้ที่เหนือกว่าคนอ่ืน เพราะถ้าเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้น เราสามารถเรียนรู้ท้งั สิ่งท่ีคนทัว่ ไปรกู้ นั อยูแ่ ลว้ เรายงั ไดเ้ รียนรู้ในสิ่งทคี่ นอ่ืน ๆ มองข้ามไป

2. ใช้การระดมสมอง มองหาความคิดใหม่ๆ (Brain- storming) เป็นเทคนิคการระดมความคิดแปลก ๆ ใหม่ ๆ เปน็ การแกป้ ญั หาในองคก์ รทไ่ี ด้รบั ความนยิ มมากท่ีสุด 3. คิดทาใหม่จากของเก่า โดยใช้ 8 แนวทาง คือ 1) เพิ่มขยาย 2) หดลด 3) ทดแทน 4) ดัดแปลง 5) ปรบั เปล่ียน 6) จัดใหม่ 7) ใชส้ ลับ 8) ปรบั ผสม 4. ขยายขอบเขตปญั หาเพอื่ การคิด เช่น หยดุ คดิ ในเรอื่ งทกี่ าลังคิดตดิ พันอยู่ แตค่ ิดในความเป็นนามธรรม เร่ืองนั้น นามธรรมของปัญหา สามารถนาไปสู่การสร้างสรรค์และ นวัตกรรมใหม่ ๆ เทคนิคนี้ได้มีการ นาไปใช้ร่วมกับการระดมสมอง แต่จะแตกต่างกับวิธีการระดมสมอง คือ ไม่มีการช้ีแจง ปัญหาอย่าง ละเอียดก่อนลว่ งหน้า แต่จะกลา่ วถึงปญั หาในแนวกวา้ ง ๆ ก่อนแล้วชว่ ยกันระดมความคดิ 5. คดิ มุมกลบั ให้มองมมุ อกี มุมหนง่ึ ทีไ่ มเ่ คยคิดมาก่อน หรือคิดแบบกลับด้าน ไม่ยึดติดกับรูปแบบการคิด เดิม ๆ ทีเ่ คยชิน หรอื ปรบั คิดตรงขา้ ม หาสิ่งที่อยตู่ รงข้ามในลักษณะขดั แย้ง (conflict) หักมุมความคิด ในส่งิ ท่คี นทวั่ ไปปกติ ไมท่ ันคิด จะกลายเปน็ ส่งิ สร้างสรรคใ์ หม่ เช่น มิตร-ศตั รู 6. คิดแบบใหม่ เป็นการคดิ ทไี่ มเ่ คยใช้มาก่อน หรือความคิดท่ีไม่น่าจะเป็นไปได้ (Impossible Thinking) เช่น บางส่ิงบางอย่างที่เราเคยคิดว่ามันเป็นไปไม่ได้ในอดีต แต่ใน ปัจจุบันมันกลับเป็นไปได้ หรือคิด เชื่อมโยงจากความเป็นไป ไม่ได้ส่คู วามนา่ จะเป็นไปได้ 7. คดิ แบบเชอ่ื มโยง หาสิง่ ไมเ่ ช่อื มโยงเป็นตัวสกัด ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดการค้นพบสิ่งใหม่ เพื่อ ตอบปัญหาท่ีคิดอยู่ให้เห็นทางออกของปัญหา ๆ และปฏิบัติได้จริง โดยตัวสกัดหรือเขี่ยความคิด ค้นหาได้จากการเปดิ หนังสอื ตารา วารสาร และเปิดพจนานุกรม 8. คิดแบบหาจุดตัด โดยคิดแล้วเขียนบันทึกรายการ ของแนวคิดท่ีเก่ียวกับลักษณะหรือแง่มุมของส่ิงที่ ต้องการตอบ เขียนไว้ในแกนหนึ่งเขียนรายการของแนวคิด ลักษณะหรือ มุมมองที่ต้องการไว้อีกแกน หน่งึ หาช่วงตดั (matrix) ระหว่าง รายการของแนวคดิ ทงั้ สอง ทไี่ ดอ้ าจเป็นคาตอบทสี่ ร้างสรรค์ 9. คิดเปรียบเทียบ ใช้การเปรียบเทียบเพ่ือกระตุ้น ให้เห็นมุมมองใหม่ ๆ หรือใช้การเทียบเคียง อปุ มาอุปไมย โดย ทาความคนุ้ เคยกบั ปัญหาใหมท่ ่ไี ม่คนุ้ เคยใหเ้ ขา้ ใจ แล้วเทียบ เคียงกับสิ่งท่ีคนทั่วไป จะทาให้เห็นภาพชัดข้ึน กรณีปัญหา ท่ีคุ้นเคยมาก ๆ การอุปมาหรือเทียบเคียงในลักษณะท่ีเรา ไม่ คุน้ เคยจะช่วยกระตนุ้ ให้คิดในมุมท่ีแตกตา่ งได้ 10. เปลี่ยนสถานท่ีและเวลาในการคิด การอยู่ในสภาพแวดแวดล้อมเดียวกันนาน ๆ อาจจากัดความคิด สร้างสรรค์ และเวลาก็มีความสาคัญต่อการคิดในบางเวลาจะคิดได้ดี และ ในบางเร่ืองการจากัดเวลา ช่วยกระตุ้นความคดิ ได้ แต่บางเรอื่ ง การจากัดเวลาชว่ ยกระต้นุ ความคิดได้ แต่บางเร่ืองจาเป็นต้อง ให้ เวลาในการคิด เอกสารอา้ งองิ จุฑารัตน์ บันดาลสนิ . (2557). การพัฒนาความคิดสร้างสรรคส์ นู่ วัตกรรมการบรกิ ารพยาบาล. วารสารพยาบาล ทหารบก ปีที่ 15 ฉบบั ที่ 3 เดือนกนั ยายน – ธนั วาคม 2557

ตอนที่ 5 แนวโน้มนวัตกรรมธุรกิจอนาคต แนวโนม้ นวตั กรรมธรุ กิจอนาคต องคก์ รสรา้ งจดุ แข็งในการใหม้ ีนวัตกรรม ท่นี าไปสู่การสร้างมูลค่าเพ่ิมเฉพาะทาง ตัวอย่างการใช้นวัตกรรม เช่น นวัตกรรมด้านการเกษตร Agri-Map mobile เป็นแอปพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนที่ช่วยเพิ่มความสะดวกให้ เกษตรกรสามารถเข้าถึง และใช้ข้อมูลเชิงสารสนเทศ ด้านการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านอุตสาหกรรม ระบบการประเมิน พฤตกิ รรมการขับขี่ด้วยโทรศัพท์ ท่ีสามารถตรวจจับเหตุการณ์ที่อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุบนถนน พรอ้ มทงั้ เสนอคาแนะนาเพอ่ื ปรบั ปรุงการขับขี่ใหป้ ลอดภยั มากยง่ิ ข้นึ ทางการแพทย์ การตรวจหาส่ิงผิดปกติที่อยู่ใน ร่างกาย การตรวจคลื่นสมอง ด้านการบริการ City guide บริการค้นหาและบอกเวลารถสาธารณะ มีระบบการ คานวณในการเดนิ ทาง ดา้ นสงั คม หนุ่ ยนต์ บรกิ ารผู้สงู อายุ เป็นต้น 1) Top 10 การปฏริ ปู อุตสาหกรรม E Government Electric Train Online Education Smart City Smart Farming Digital Banking Smart Home Water Resource Management Smart Aviation Smart Energy

2) นวตั กรรมธรุ กิจอนาคต Future of business Innovation มีดังนี้ Computing Smart Retail Home Security Super-IoT Public Safety AI Transform Industry Automobiles Corporate Smart City Smart Energy Finance Healthcare Nutrition เอกสารอ้างอิง กิตติ นครชยั . (2563). ส่คู วามเปน็ เลิศ อย่างยงั่ ยนื , พิมพ์คร้งั ท่ี 1, กรุงเทพมหานคร: ทรปิ เพิ้ล เอ็ดดูเคชนั่ .


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook