รายได้ให้แก่ผู้ประกอบการพลังงานทดแทน เช่น โครงการผลิตพลังงานชีวมวล ท่ีเป็นวัสดุเหลือใช้ท้ิงทางการเกษตร การผลิตกา๊ ซชีวภาพจากขยะและน้ําเสยี เพอื่ นาํ มาเปน็ พลังงาน รวมไปถงึ โครงการการใช้พลังงานอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ซึ่งจะได้รับผลประโยชน์ในรูปแบบของการขายคาร์บอนเครดิตหรือปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้ และเป็นที่ต้องการของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว ซ่ึงมีพันธกรณีต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ได้ ตามขอ้ ตกลงตามพิธสี ารเกยี วโต กลไกการพฒั นาท่ีสะอาดเปรียบเสมือนแรงจูงใจให้ประเทศกําลังพัฒนาหันมาใช้เทคโนโลยีสะอาดเพ่ิมมากข้ึนสง่ ผลใหก้ ารปล่อยก๊าซเรือนกระจกส่บู รรยากาศลดนอ้ ยลงแรงจูงใจจากการดําเนินโครงการกลไกการพัฒนาทีส่ ะอาด คือ คาร์บอนเครดิต หรือ CER ท่ีผู้ดําเนินโครงการจะได้รับโดยได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากประเทศทม่ี พี นั ธกรณีในการลดกา๊ ซเรอื นกระจกนอกจากนปี้ ระเทศเจ้าของโครงการก็จะเกิดการพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื (Sustainable Development) ทงั้ ในระดับทอ้ งถิน่ และระดับประเทศในด้านสิ่งแวดล้อมมกี ารรักษาคุณภาพสงิ่ แวดล้อมระดับชมุ ชนในพ้ืนท่ีโครงการลดปรมิ าณของเสยี ทีเ่ กิดขึ้นโดยการนํามาใช้เป็นเชื้อเพลิงพลังงานลดการใช้ทรัพยากรเช้ือเพลิงที่ไม่สามารถทดแทนได้ ด้านเศรษฐกิจก่อให้เกิดการจ้างงานในชุมชน เกษตรกรสามารถนําวัสดุเหลือใช้ เช่นแกลบ เศษไม้ไปขายเพื่อเป็นวัตถุดิบในการดําเนินโครงการ CDM ลดการนําเข้าเช้ือเพลิงพลังงานจากต่างประเทศ ด้านสังคมประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้ น โ ด ย เ ฉ พ า ะ ด้ า น สุ ข ภ า พ อ น า มั ย จ า ก คุ ณ ภ า พส่ิงแวดล้อมที่ดีขึ้นมีบทบาทในเวทีโลกในการแก้ไขปญั หาระดับนานาชาติโดยประโยชน์ต่างๆท่ีประเทศไทยจะไดร้ ับ จากการดําเนินโครงการ CDM สามารถสรุปเปน็ ขอ้ ๆ ได้ดังนี้ 1. รายไดจ้ ากการขายคาร์บอนเครดิตในโครงการ CDM เป็นส่วนท่ีช่วยให้ผู้ประกอบการคืนทุนได้ รวดเรว็ ข้ึนจากการพัฒนาโครงการดา้ นพลงั งานทดแทนการอนรุ ักษ์พลังงาน นอกเหนือจากการ สนบั สนนุ ของภาครัฐภายในประเทศ 2. เกดิ รายไดเ้ ข้าส่ปู ระเทศจากการดาํ เนินกิจกรรมการลดกา๊ ซเรือนกระจก 3. ประเทศไทยมีอัตราการลดการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกลดลงจากการดําเนินโครงการ CDM 4. การตรวจสอบ (Monitoring) ปริมาณการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากโครงการ CDM ชว่ ยให้ประเทศไทยมีตวั เลขการดําเนนิ งานเพ่ือลดกา๊ ซเรอื นกระจกภายในประเทศไทย 5. เกิดการพัฒนาโครงการด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานที่ดีกว่ามาตรฐานที่กําหนด ภายในประเทศ สรา้ งสงิ่ แวดลอ้ มและคณุ ภาพชวี ิตที่ดใี ห้กบั ชุมชนรอบพน้ื ท่โี ครงการคมู่ อื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั น้ํา หน้า 45
สําหรับเกณฑ์การพจิ ารณาการดาํ เนินโครงการภายใต้กลไกการพัฒนาท่ีสะอาดในปัจจุบันนั้นประเทศไทย ได้มีการจัดทําหลักเกณฑ์การพัฒนาอย่างยั่งยืนสําหรับโครงการ CDM ขึ้นซ่ึงประกอบด้วยมิติการพัฒนาอย่างย่ังยืน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ด้านสังคมด้านการพัฒนาและ/หรือการถ่ายทอดเทคโนโลยีและด้านเศรษฐกจิ โดยโครงการทคี่ ณะกรรมการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรอื นกระจกจะพิจารณาใหก้ ารรับรอง ได้แก่ 1. โครงการด้านพลงั งาน ได้แก่การผลิตพลังงานและการปรับปรุงประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน เช่น โครงการพลังงานทดแทนการใช้นํ้ามันเช้ือเพลิง โครงการแปลงกากของอุตสาหกรรมเป็น พลังงาน โครงการปรบั ปรุงประสิทธิภาพระบบทําความเยน็ และโครงการปรับปรงุ ประสิทธิภาพ ในการใชพ้ ลงั งานในอาคาร เปน็ ตน้ 2. โครงการด้านสิ่งแวดล้อม เช่น โครงการแปลงขยะเป็นพลังงานโครงการแปลงนํ้าเสียเป็น พลงั งาน เป็นตน้ 3. โครงการด้านคมนาคมขนส่ง เช่นโครงการเพ่ิมประสิทธิภาพในการคมนาคมขนส่งและการใช้ พลังงาน 4. โครงการดา้ นอุตสาหกรรม เชน่ โครงการทีส่ ามารถลดปริมาณการปลดปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกใน กระบวนการอตุ สาหกรรมการขอพัฒนาโครงการ CDM การดาํ เนินโครงการภายใต้กลไกการพฒั นาท่สี ะอาด ประกอบด้วย 7 ขนั้ ตอน 1. การออกแบบโครงการ (Project Design) ผดู้ าํ เนินโครงการจะต้องออกแบบลกั ษณะของโครงการและจดั ทําเอกสารประกอบโครงการ (Project Design Document: PDD) โดยมกี ารกาํ หนดขอบเขตของโครงการ วิธกี ารคํานวณการลดก๊าซเรือนกระจก วธิ กี ารในการติดตามผลการลดก๊าซเรือนกระจก การวิเคราะห์ผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อม เป็นต้น 2. การตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการ (Validation) ผู้ดําเนินโครงการจะตอ้ งว่าจา้ งหน่วยงานกลางทไี่ ดร้ บั มอบหมายในการปฏิบตั หิ นา้ ที่แทนคณะกรรมการบรหิ ารฯ หรอื ทเ่ี รียกวา่ DesignatedOperational Entity (DOE) ในการตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการ วา่ เปน็ ไปตามข้อกําหนดตา่ งๆหรือไม่ ซ่งึ รวมถงึ การได้รบั ความเห็นชอบในการดําเนินโครงการจากประเทศเจ้าบ้านดว้ ย 3. การข้ึนทะเบียนโครงการ (Registration) เม่อื DOE ได้ทาํ การตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการและลงความเหน็ ว่าผ่านขอ้ กาํ หนดต่างๆ ครบถว้ น จะส่งรายงานไปยังคณะกรรมการบริหารกลไกการพฒั นาท่ีสะอาด (EB) เพ่อื ขอข้ึนทะเบียนโครงการคู่มอื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั นาํ้ หนา้ 46
4. การตดิ ตามการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Monitoring) เมอื่ โครงการได้รบั การขึ้นทะเบยี นเปน็โครงการ CDM แลว้ ผู้ดาํ เนนิ โครงการจงึ ดาํ เนินโครงการตามที่เสนอไว้ในเอกสารประกอบโครงการ และทาํการตดิ ตามการลดการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก ตามทไี่ ดเ้ สนอไว้เชน่ กันหมายเหตุ DNA หมายถึง หนว่ ยงานกลางท่ที าํ หน้าทีป่ ระสานการดําเนนิ งานตามกลไกการพฒั นาทส่ี ะอาด DOE หมายถึง หน่วยงานปฏิบตั กิ ารที่ได้รบั หมอบหมายในการตรวจสอบ (Designated Operational Entities) CDM EB หมายถงึ คณะกรรมการบรหิ ารกลไกการพฒั นาทส่ี ะอาด (Executive Board of CDM) 5. การยืนยันการลดกา๊ ซเรอื นกระจก (Verification) ผ้ดู าํ เนินโครงการจะต้องว่าจา้ งหน่วยงาน DOE ให้ทาํ การตรวจสอบและยนื ยันการติดตามการลดกา๊ ซเรอื นกระจก 6. การรับรองการลดกา๊ ซเรือนกระจก (Certification) เมอ่ื หน่วยงาน DOE ไดท้ ําการตรวจสอบการลดการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจกแลว้ จะทํารายงานรับรองปริมาณการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทดี่ าํ เนินการได้จรงิ ต่อคณะกรรมการบริหารฯ เพื่อขออนมุ ตั ิใหอ้ อกหนังสอื รับรองปรมิ าณการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกท่ลี ดได้ หรอื CER ใหผ้ ดู้ ําเนนิ โครงการ 7. การออกใบรบั รองปริมาณการลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจก (Issuance of CER) เม่อื คณะกรรมการบริหารฯ ได้รบั รายงานรบั รองการลดก๊าซเรือนกระจก จะไดพ้ ิจารณาออกหนงั สอื รบั รองปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกท่ลี ดได้ หรือ CER ใหผ้ ู้ดาํ เนินโครงการต่อไปคูม่ ือการพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลงั นา้ํ หน้า 47
ท้ังน้ี หน่วยงานกลาง (DOE) ท่ีทําหน้าท่ีในการการตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการ(Validation) และการยืนยันการลดก๊าซเรือนกระจก (Verification) นั้น จะต้องเป็นหน่วยงานคนละหน่วยงาน ขอทราบรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ สามารถตดิ ตอ่ สอบถามมายัง องคก์ ารบรหิ ารจัดการก๊าซเรือนกระจก(องคก์ ารมหาชน) เลขท่ี 120 หมู่ที่ 3 ชน้ั 9 อาคาร B ศนู ย์ราชการเฉลิมพระเกยี รติฯ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลกั สี่ กรงุ เทพมหานคร 10210 โทรศัพท์ 0 2141 9790 โทรสาร 0 2143 8400 เว็บไซต์http://www.tgo.or.th4.5 โครงการสง่ เสริมการลงทนุ โดยสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทนุ (BOI) ภาครัฐได้ยกระดับให้อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน เป็นกิจการท่ีมีระดับ ความสําคัญสูงสุดและจะได้รับการ ส่งเสริมการลงทุนในระดับสูงสุดเช่นกัน จึงมี มาตรการส่งเสริมการลงทุนเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน (Maximum incentive) จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ซ่ึงได้กําหนดสิทธิ ประโยชน์ท่ียกเว้นอากรขาเข้าสําหรับเครื่องจักร ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็น เวลา 8 ปี และหลงั จากนั้นอกี 5 ปี หรอื ตัง้ แต่ปีท่ี 9-13 จะลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบคุ คลได้ 50% รวมทง้ั มาตรการจูงใจดา้ นภาษี อาทิ การลดภาษเี ครอื่ งจักร อปุ กรณท์ น่ี าํ เข้าจากต่างประเทศรวมท้ังการอนุญาตให้นําต้นทุนในการติดต้ังโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ เช่น ไฟฟ้า ประปา ขอหักลบภาษีได้สงู สุด 2 เท่าสําหรบั โครงการทีเ่ ป็นประโยชนต์ ่อสาธารณะ เปน็ ตน้ หลกั เกณฑ์ในการพิจารณาส่งเสริมโครงการด้านพลังงานทดแทน ได้แก่ กรณีที่ผู้ประกอบการหรือนักลงทุนมีสดั ส่วนหนต้ี ่อทุน น้อยกว่า 3 ต่อ 1 สําหรับโครงการใหม่ หรือมีเคร่ืองจักรใหม่ท่ีมีขบวนการผลิตที่สมัย หรือมีระบบจัดการทีป่ ลอดภยั รกั ษาส่ิงแวดลอ้ ม และใชป้ ระโยชน์จากวัตถดุ ิบในการผลิต เปน็ ตน้ โดยผปู้ ระกอบหรอื นักลงทนุ ที่สนใจขอทราบรายละเอยี ดเพมิ่ เติมสามารถติดต่อสอบถามยงั สํานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การลงทุน เลขท่ี 555 ถ.วภิ าวดี รงั สิต จตุจักรกรงุ เทพฯ 10900 โทร (662) 537-8111, 537-8155 โทรสาร (662) 537-8177 E-mail : [email protected], Website : http://www.boi.go.thคูม่ อื การพัฒนาและการลงทุนไฟฟา้ พลงั นา้ํ หน้า 48
แสดงขน้ั ตอนขอรบั การสนบั สนนุ จากสาํ นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การลงทนุ (BOI)ค่มู อื การพฒั นาและการลงทุนไฟฟ้าพลงั นาํ้ หนา้ 49
บทท่ี 5 ข้ันตอนการขอใบอนุญาตตา่ งๆ ข้ันตอนการติดต่อเพ่ือขอใบอนุญาตจําหน่ายไฟฟ้า เพ่ือจําหน่ายพัฒนาพลังงานทดแทน มีหลายกระบวนการท่เี กย่ี วข้องกับหน่วยงานราชการต่างๆ หลายแห่ง รวมไปถึงข้อกฎหมาย และกฎระเบียบอ่ืนๆซ่ึงลว้ นแต่มีขน้ั ตอนการปฏิบัติและข้ันตอนการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องต่างกัน ประเด็นเหล่าน้ีถือเป็นความสําคัญอย่างย่ิงที่จะต้องเผยแพร่ให้ผู้ประกอบการและประชาชนโดยท่ัวไป ได้รับทราบและเขา้ ใจในกระบวนการสาํ หรบั ขน้ั ตอนการขออนุญาตตา่ งๆ โดยท่วั กัน อย่างไรก็ตามการก่อสร้างไฟฟ้าพลังนํ้าในปัจจุบัน การก่อสร้าง กฎระเบียบทางราชการยังไม่เอื้ออํานวยให้เอกชนพัฒนา เนื่องจากมีหน่วยงานราชการท่ีต้องดําเนินการขออนุญาตหลายหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง มีกฎระเบียบและขั้นตอนมาก ถึงแม้หน่วยราชการเองขออนุญาต ยังต้องใช้เวลานาน หรืออาจไม่ได้รบั การอนุญาตกเ็ คยปรากฏให้เห็น1 หมายเหตุ 1) ระยะเวลารวมการย่ืนของอนมุ ัติสงู สดุ ไมเ่ กิน 435 วัน และตํ่าสดุ ไม่เกนิ 255 วัน (ไมน่ บั รวมข้ันตอนที่ 2) 2) การติดตอ่ ประสานงานหนว่ ยงานราชการมี 7 หน่วยงาน ต้องไดร้ บั ใบอนญุ าต 10 ใบ รวมเวลาตง้ั แตเ่ ริ่ม ย่ืนเอกสาร จนไดร้ บั เงินคา่ ไฟฟ้าในงวดแรก รปู แสดงขน้ั ตอนการขอใบอนญุ าตต่างๆคมู่ ือการพัฒนาและการลงทุนไฟฟ้าพลังนํ้า หนา้ 50
ตารางที่ 5-1 รายละเอยี ดขนั้ ตอนการจัดทาํ โครงการสร้างโรงไฟฟ้าพลงั งานทดแทน รายการ หน่วยงานที่รบั ผิดชอบ ชื่อคําขอ/คาํ รอ้ ง/ วัน หมายเหตุ เอกสาร1. การศกึ ษาความเหมาะสมของโครงการ ผู้ประกอบการ --2. การออกแบบโครงสร้างอาคาร ส่ิงปลูกสร้างและ ผ้ปู ระกอบการ --ออกแบบแผนผงั การตดิ ตง้ั เครื่องจักร และประเมินราคาวัสดุ3. การขอจดทะเบยี นนติ บิ คุ ล กรมพัฒนาธรุ กจิ การคา้ - คําขอจดทะเบียน 1 โดยสามารถย่ืนแบบคาํ ขอผา่ น- ผู้ประกอบการย่ืนแบบคําขอ “จดทะเบียน กระทรวงพาณชิ ย์ บรษิ ทั จาํ กัด (บอจ.1) www.dbd.go.th/register/login.phtmlบรษิ ัทจาํ กดั ” กบั กรมพัฒนาธรุ กจิ การคา้ (DEB) - รายการจดทะเบียน- กรมธุรกิจการค้าอนุมัติ “จดทะเบียนบริษัท จัดตัง้จํากดั ”4. การขออนญุ าตตง้ั โรงงาน (รง.4) -อุตสาหกรรมจงั หวดั คํ า ข อ รั บ ใ บ อ นุ ญ า ต - แก้ไขตามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ4.1 กรณีย่ืนแบบคําขอต้ังโรงงานต่ออุตสาหกรรม -กรมโรงงาน ประกอบกิจการพลังงาน 90 ระหวา่ งคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานจังหวดั (อก.) อตุ สาหกรรม กระทรวง (รง.3) และกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง แนว- ยืน่ เอกสารกบั อตุ สาหกรรมจงั หวดั อตุ สาหกรรม ทางการให้อนุญาตตั้งโรงงานและการอ่ืนเพื่อ- อุตสาหกรรมจังหวัดขอความเห็น อบต. ประกอบกิจการพลงั งานและตรวจสอบพื้นที่ และจัดทํารายงานการ - โรงงานท่วั ไปท่ีตั้งใหมโ่ ดยมีการผลิตไฟฟ้าเพ่อืตรวจสอบภายใน 30 วนั ใช้ในกระบวนการผลิตของตนเอง หรือเพ่ือใช้- อุตสาหกรรมจังหวัดปิดประกาศตามมาตร ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ส่ ว น ที่ เ ห ลื อ ใ ช้คมู่ อื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลังนํา้ หน้า 51
รายการ หนว่ ยงานทีร่ ับผดิ ชอบ ช่อื คําขอ/คาํ รอ้ ง/ วัน หมายเหตุ เอกสาร จาํ หนา่ ย ให้ยื่นคําขออนุญาตประกอบกิจการ30 15 วัน โรงงานต่อสาํ นกั งานอตุ สาหกรรมจังหวัดหรือ กรมโรงงานอตุ สาหกรรม การอนุญาตให้ระบุ- สง่ เร่อื งให้ กกพ. พิจารณา ประเภทหรือลําดับท่ี 88 ลงในใบอนุญาต แ ล ะ เ มื่ อ มี ก า ร อ นุ ญ า ต แ ล้ ว ใ ห้ แ จ้ ง- คณะกรรมการกาํ กบั กจิ การพลังงานส่งเร่ือง คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานทราบ เพ่ือขอความเหน็ จากกรมโรงงาน 90 - ในกรณีที่ต้องการขยายโรงงานและเพิ่ม ประเภทการผลิต ให้ย่ืนเร่ืองต่อสํานักงาน- คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน อุ ต ส า ห ก ร ร ม จั ง ห วั ด ห รื อ ก ร ม โ ร ง ง า น พิจารณาใบอนุญาต อุตสาหกรรม และเม่ือมีการอนุญาตแล้ว ให้ แจ้งคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน4.2 ในกรณที ี่ยนื่ คาํ ขอท่ี สกพ. ทราบ ติดต่อ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม- ยื่นเอกสารต่อ สกพ. -สาํ นักกํากบั กจิ การ เลขที่ 75/6 ถ.พระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0-2202-4000- สกพ. ขอความเห็นประกอบการพิจารณา พลงั งาน โทรสาร. 0-2245-8000 - ก ร ณี ต่ า ง จั ง ห วั ด ติ ด ต่ อ สํ า นั ก ง า นอนุญาตโรงงานจาก อก. และ อก. เสนอ อตุ สาหกรรมจงั หวดัความเห็นกลับ กกพ. 60 วนั หนา้ 52- สกพ. จัดทําความเห็นเสนอต่อ กกพ. และ กกพ. มีคําวินิฉัยพิจารณาการอนุญาตตั้งโรงงานภายใน 20 วัน นับจากได้รับความเห็นจาก อก.- สกพ. แจ้งผลภายใน 10 วันนับต้ังแต่วันมี มติค่มู อื การพัฒนาและการลงทุนไฟฟา้ พลงั นาํ้
รายการ หนว่ ยงานที่รบั ผดิ ชอบ ช่ือคาํ ขอ/คาํ รอ้ ง/ วัน หมายเหตุ เอกสาร5. การขออนญุ าตใชพ้ ื้นท่ีกอ่ สรา้ ง5.1 กรณีขออนุญาตต่อองค์การปกครองส่วน อ ง ค์ ก า ร ป ริ ห า ร ส่ ว น คําขออนุญาตก่อสร้าง 45 ตดิ ตอ่ ท่ี องค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน ในพ้ืนท่ีท้องถ่ิน ตาํ บลกระทรวงหาดไทย อาคาร (ข.1) ทจ่ี ะกอ่ สรา้ งโรงงาน- ผู้ประกอบการย่ืนแบบคําขอ “อนุญาตกอ่ สรา้ ง/ดดั แปลงอาคาร”ต่อ อบต.- อบต. ตรวจสอบเอกสารและออกหนังสือแจ้งการอนุมตั ิ- อบต. อนุมัติ “อนุญาตก่อสร้าง/ดัดแปลงอาคาร”5.2 กรณพี น้ื ที่อย่ใู นการนคิ มอุตสาหกรรม (กนอ.) การนคิ มอตุ สาหกรรม คําขอรับใบรับรองการ 45 การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 618- ผปู้ ระกอบการยืน่ แบบคาํ ขอการขออนุญาต กอ่ สร้างอาคาร ดัดแปลง ถนนนคิ มมกั กะสนั แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี ก่อสร้างจาก กทม. อาทิการแจ้งชื่อผู้ อาคาร หรือเคลื่อนย้าย กรงุ เทพ 10400ควบคุมงานกับวันเริ่มต้นและวันสิ้นสุดการ อาคาร (แบบ กทม.4) โทรศัพท์ : 0-2253-0561 โทรสาร : 0-2253-ดําเนินการ 4086- ผู้ประกอบการขอใบรับรองการก่อสร้าง http://www.ieat.go.thอาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือเคลื่อนย้ายอาคารกทม. อนุมัติ ”อนุญาตก่อสร้าง/ดัดแปลงค่มู ือการพัฒนาและการลงทุนไฟฟ้าพลงั นํ้า หนา้ 53
รายการ หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ ชอ่ื คาํ ขอ/คาํ รอ้ ง/ วนั หมายเหตุ เอกสารอาคาร”6-7 การขอจาํ หนา่ ยไฟฟา้ และสญั ญาซอ้ื ขายไฟฟา้ -กฟน. กฟภ .กฟผ. คาํ ขอจําหน่ายไฟฟ้าและ 105 ติดต่อ กฟผ.- ผปู้ ระกอบการย่ืนแบบคําขอจําหน่ายไฟฟ้า การเช่ือมโยงระบบไฟฟ้า เลขที่ 53 หมู่ 2 ถ.จรัญสนิทวงศ์ ตําบลบาง และการเชื่อมโยงระบบไฟฟ้า ณ ที่ทําการ กรวย อําเภอบางกรวย นนทบุรี 11130 โทรสํานักงานเขตของ กฟน.หรือที่ทําการ 0 2436 0000สาํ นกั งานจังหวดั ของ กฟภ สามารถดาวนโ์ หลดเอกสารได้ที่- การไฟฟ้าฝ่ายจําหน่ายพิจารณาเอกสารรับ http://www.ppa.egat.co.th/Sppx/a4.html ซอ้ื ไฟฟ้าและแจ้งผล พร้อมท้ังรายละเอียด ติดต่อ การไฟฟา้ สว่ นภมู ิภาค (สํานักงานใหญ)่ ค่าใช้จ่ายเป็นลายลักษณ์อักษรภายใน 45 แผนกวางแผนแหลง่ ผลิตไฟฟ้า วัน นับจากวันท่ีการไฟฟ้า ฝ่ายจําหน่าย โทร 0-2590-9733ไดร้ ับข้อมูลประกอบการพจิ ารณาครบถว้ น - แผนก SPP โทร 0-2590-9743- ผู้ประกอบการต้องชําระค่าใช้จ่ายและทํา - แผนก VSPP โทร 0-2590-9753 สั ญ ญ า แ ล ะ ซ้ื อ ข า ย ไ ฟ ฟ้ า กั บ ก า ร ไ ฟ ฟ้ า - แผนกสัญญาซื้อขายไฟฟ้า โทร 0-2590- ภายใน 60 วนั นับต้ังวันได้รบั แจ้งผล 9763 สามารถดาวน์โหลดเอกสารได้ท่ี http://www.pea.co.th/vspp/vspp.html กอ่ สร้างโรงงานและตดิ ตง้ั เครอื่ งจกั ร8 ใบอนญุ าตผลิตพลงั งานควบคุม -ก ร ม พั ฒ น า พ ลั ง ง า น คําขอรับใบอนุญาตผลิต 60 ขนาดต้งั แต่ 200-1000 kVA ให้ พพ.พิจารณาค่มู อื การพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั นา้ํ หน้า 54
รายการ หน่วยงานท่รี บั ผิดชอบ ชื่อคาํ ขอ/คํารอ้ ง/ วนั หมายเหตุ เอกสาร- ผู้ประกอบการย่ืนคําขอ “ใบอนุญาตให้ผลิต ทด แท นแ ละ อนุ รัก ษ์ พลังงานควบคุม (พค.1) แต่ในกรณีท่ีขนาดมากกว่า 1000 kVA สกพ.พลงั งานควบคุม” แก่ พพ.หรือ สกพ. พ ลั ง ง า น ก ร ะ ทร ว ง เป็นผู้ตรวจสอบและส่งให้ พพ.เป็นผ้เู ห็นชอบ- พพ. ตรวจสอบระบบไฟฟ้าและอุปกรณ์ พลงั งาน สามารถ ดาวน์โหลดเอกสารไดท้ ่ี ป้องกัน -สํ า นั ก กํ า กั บ กิ จ ก า ร http://www.dede.go.th- พพ. อนุมัติใบอนุญาตใหผ้ ลติ พลังงานควบคมุ พลงั งาน ติดตอ่ ขอรายละเอียดเพม่ิ เตมิ ที่ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนรุ กั ษ์ พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลงั งาน เลขที่ 17 ถนนพระรามที่ 1 เขตปทมุ วัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0-2223-0021-9 ต่อ 14119-10 ใบอนญุ าตประกอบกิจการไฟฟ้า -สํ า นั ก กํ า กั บ กิ จ ก า ร ใบอนุญาตประกอบ 75 ตดิ ต่อขอรายละเอียดเพ่ิมเตมิ ที่- ผู้ประกอบการเตรียมเอกสารประกอบแยก พลงั งาน กิจการไฟฟา้ 319 อาคารจัตุรัสจามจุรี ช้ัน 19 ถนนพญาไทประเภทตามใบอนญุ าต ประกอบดว้ ย แขวงปทุมวัน เขตปทมุ วัน กรงุ เทพฯ 10330- สกพ. ตรวจสอบความถูกตอ้ งของเอกสาร 1. ใบอนุญาตผลติ ไฟฟ้า โทรศพั ท์ : 0 2207 3599 ,- สกพ. เสนอความเห็นแก่ กกพ. พิจารณา (สกพ01-1) โทรสาร : 0 2207 3502 , 0 2207 3508 สามารถ ดาวนโ์ หลดเอกสารไดท้ ่ี เอกสาร 2. ใบอนุญาตระบบส่ง http://www2.erc.or.th/Form1.html ไฟฟ้า (สกพ01-2)- กกพ. พิจารณาออกใบอนุญาต “ใบประกอบ กิจการไฟฟ้า” 3 . ใ บ อ นุ ญ า ต ร ะ บ บค่มู อื การพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลังนํา้ หนา้ 55
รายการ หนว่ ยงานทีร่ ับผดิ ชอบ ชือ่ คําขอ/คํารอ้ ง/ วนั หมายเหตุ เอกสาร หน้า 56- สกพ. แจ้งชําระค่าธรรมเนียมพร้อมออก จําหน่ายไฟฟา้ ใบอนญุ าตแก่ผูป้ ระกอบการ (สกพ01-3) 4. ใบอนุญาตจําหน่าย ไฟฟา้ (สกพ01-4) 5. ใบอนุญาตควบคุม ระบบไฟฟ้า (สกพ01-5)11-12 การไฟฟ้าตรวจสอบระบบพร้อมออกผลการ - 45 -รบั รองการตรวจคณุ ภาพไฟฟ้าเม่ือทําสัญญาและติดต้ังระบบแล้วเสร็จให้ผู้ผลิตไฟฟา้ แจ้งความประสงค์จะจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบ การไฟฟ้าจะเขา้ ไปตรวจสอบภายใน 15 วนั- การไฟฟ้าฝ่ายจําหน่ายจะตรวจสอบการเชื่อมโยงระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์ที่ติดต้ังว่าเป็นไปตามมาตรฐานที่กําหนดให้แล้วเสร็จภายใน 15วันยกเว้นกรณีท่ีผู้ผลิตไฟฟ้าเป็นผู้ใช้ไฟรายใหม่ให้การไฟฟ้าฝ่ายจําหน่ายดําเนินการตามระเบียบปฏิบัติของการไฟฟา้ ฝ่ายจาํ หน่ายภายใน 30 วนัคมู่ อื การพัฒนาและการลงทุนไฟฟา้ พลังนํา้
รายการ หน่วยงานทีร่ ับผดิ ชอบ ชอ่ื คําขอ/คาํ รอ้ ง/ วนั หมายเหตุ เอกสาร- การไฟฟา้ แจง้ วันเร่ิมรับซ้ือไฟฟ้าเชิงพาณชิ ย์ (COD)13-14 รับเงนิ ค่าขายกระแสไฟฟ้า - ร า ย ง า น ก า ร ศึ ก ษ า 180- (กรณที ี่สรา้ งโรงไฟฟ้ามขี นาดเกิน 10 MW)หมายเหตุ : โครงการที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ -สาํ นักนโยบายและ ผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อม 365และสิ่งแวดล้อมกําหนดต้องจัดทํารายงานผลกระทบ แผนฯกระทรวงดา้ นสิง่ แวดล้อม (EIA,IEE) ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ มหมายเหตุ : ระยะเวลาไมร่ วมข้ันตอนการรับฟงั ความคดิ เห็นจากประชาชนและจะนบั ตง้ั แต่ไดร้ บั เอกสารครบถ้วนคู่มอื การพฒั นาและการลงทุนไฟฟา้ พลังนํา้ หนา้ 57
ภาคผนวกการตรวจสอบผลกระทบดา้ นปา่ ไมแ้ ละชน้ั คณุ ภาพลมุ่ น้าํ 4 การพจิ ารณาทต่ี ง้ั และองค์ประกอบโครงการในด้านป่าไม้ และชั้นคุณภาพลุ่มน้ํา โดยแบ่งโครงการเป็น7 ประเภท ตามตําแหนง่ ทต่ี ั้งฝ่ายและองค์ประกอบโครงการ และได้คัดเลือกโครงการที่มีท่ีตั้งไม่อยู่ในพ้ืนที่ลุ่มนํา้ ชั้นที่ 1 หรืออยู่ในพ้ืนท่ีป่าอนุรักษ์เพิ่มเติม พื้นท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า และพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ไปสาํ รวจโครงการในภาคสนาม ซึ่งรายละเอียดการแบง่ ประเภทโครงการมดี ังน้ี1. การตรวจสอบขอ้ จาํ กัดของพ้ืนท่ดี ้านปา่ ไม้ ในการตรวจสอบของพ้ืนที่พัฒนาโครงการกับการจําแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ ในพ้ืนที่ป่า สงวนแห่งชาติของกรมป่าไม้ แบ่งออกเป็น 3 พนื้ ที่ ดงั น้ี 1.1 พืน้ ทีป่ า่ เพ่อื การอนรุ กั ษ์ (โซน C) เปน็ พ้ืนท่ีป่าสงวนแห่งชาติท่ีกําหนดไว้เพ่ือการอนุรักษ์พลังงาน ส่งิ แวดลอ้ ม ดิน นา้ํ พันธ์พุ ืช และพนั ธส์ุ ตั วท์ ีม่ คี ุณค่าหายาก เพ่อื การป้องกันภัยธรรมชาติอันเกิด จากน้ําท่วมและการพังทลายของดิน ตลอดทั้งเพ่ือประโยชน์ในด้านการศึกษา การวิจัย นันทนาการของประชาชน และความมนั่ คงของชาติ แบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน คือ (1) พื้นทป่ี ่าเพ่อื การอนรุ ักษ์ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี เป็นพ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติท่ีได้ ประกาศเป็นพ้ืนท่ีป่าอนุรักษ์ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติไปแลว้ พ้ืนท่ีลักษณะนี้ ได้แก่ (1.1) พื้นท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า ท่ีได้ประกาศโดยพระราชกฤษฎีกา ตามพระราชบัญญัติ สงวนและคุ้มครองสตั ว์ปา่ พ.ศ.2503 (1.2) พื้นท่อี ุทยานแห่งชาติ ทไ่ี ด้ประกาศโดยพระราชกฤษฎีกา ตามพระราชบัญญัติอุทยาน แห่งชาติ พ.ศ.2504 (1.3) พนื้ ทลี่ ่มุ นาํ้ ชน้ั ท่ี 1 ตามผลการกําหนดช้ันคุณภาพลุ่มน้ํา โดยสํานักงานคณะกรรมการ ส่งิ แวดลอ้ มแห่งชาติ ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี (1.4) พื้นที่เขตอนุรักษ์ป่าชายเลน ตามผลการจําแนกเขตการใช้ประโยชน์ท่ีดินในพ้ืนที่ป่า ชายเลนประเทศไทย ตามมตคิ ณะรัฐมนตรี (2) พ้นื ท่ีปา่ อนรุ กั ษ์เพิม่ เตมิ เป็นพื้นท่ีปา่ สงวนแหง่ ชาตทิ ่มี สี ภาพป่าสมบรู ณ์หรือมีศักยภาพเหมาะสม ตอ่ การอนรุ ักษ์ธรรมชาติ เพ่อื รกั ษาไว้ซึง่ ความสมดลุ ของธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ได้แก่ (2.1) พื้นที่ป่าท่ีมีสภาพป่าสมบูรณ์ ตลอดจนพื้นที่ป่าท่ีสมควรสงวนไว้เพ่ือรักษา สภาพแวดล้อมและระบบนเิ วศน์4 รายงานฉบบั สมบรู ณ์ การศกึ ษาจดั ทาํ แผนหลัก การพฒั นาโครงการไฟฟ้าพลงั น้าํ ระดบั หม่บู ้าน, กรมพฒั นาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน, กุมภาพนั ธ์ 2552คู่มอื การพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลังนา้ํ หน้า 58
(2.2) พน้ื ทปี่ ่าท่ีมคี วามเหมาะสมตอ่ การสงวนไวเ้ พอื่ เปน็ สถานท่ศี ึกษาวจิ ยั (2.3) พ้นื ทปี่ ่าท่ีห้ามมิให้บคุ คลเขา้ ไปหรืออยู่อาศัยตามแนวชายแดน (2.4) พื้นทปี่ า่ ท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของทอ้ งถนิ่ (2.5) พ้ืนท่ีป่า ซึ่งเป็นเขตที่ต้ังแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ ตามพระราชบัญญัติส่งเสริม และรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ.2518 (2.6) พื้นที่ป่า ซึ่งกําหนดเป็นโบราณสถาน โบราณวัตถุ ตามพระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศลิ ปวัตถุและพิพิธภณั ฑ์สถานแหง่ ชาติ พ.ศ.2504 1.2 พ้ืนท่ีป่าเพื่อเศรษฐกิจ (โซน E) เป็นพ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติท่ีกําหนดไว้เพื่อผลิตไม้และของป่า รวมถึงพ้ืนที่เศรษฐกิจตามนัยมติคณะรัฐมนตรีเก่ียวกับการกําหนดช้ันคุณภาพลุ่มน้ําและการ จําแนกเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินในพ้ืนที่ป่าชายเลน พ้ืนที่เพื่อการพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ และ พื้นท่ีประสานการใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่างทรัพยากรป่าไม้กับทรัพยากรธรรมชาติอ่ืนๆ เช่น ทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรแร่และทรัพยากรพลังงาน เพ่ือประโยชน์ทางเศรษฐกิจและความ มนั่ คงของชาติ ตลอดท้งั ต้องไมอ่ ยใู่ นหลกั เกณฑท์ จ่ี าํ แนกใหเ้ ป็นเขตพนื้ ท่ีป่าเพ่ือการอนุรักษ์ พ้ืนที่ ลักษณะน้ี ได้แก่ พื้นท่ีพัฒนาป่าธรรมชาติ พื้นที่พัฒนาทรัพยากรป่าไม้ พ้ืนที่พัฒนาตามหลักวน ศาสตรช์ มุ ชน พื้นที่พฒั นาทรพั ยากรธรรมชาติอน่ื ๆ 1.3 พ้ืนท่ีป่าที่เหมาะสมต่อการเกษตร (โซน A) เป็นพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติที่มีสมรรถนะท่ีดิน เหมาะสมต่อการเกษตร หรือมีศักยภาพสูงในการพัฒนาด้านการเกษตร ตามผลการจําแนก สมรรถนะที่ดินของกรมพัฒนาที่ดิน รัฐสามารถพัฒนาความเป็นอยู่ของราษฎรได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ อีกทั้งต้องไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะจําแนกให้เป็นเขตพ้ืนท่ีป่าเพื่อการอนุรักษ์ และ พนื้ ที่ปา่ เพ่ือเศรษฐกจิ พ้ืนท่ีลักษณะน้ี ได้แก่ (1) พ้ืนที่ป่าท่ีมีสมรรถนะของดินเหมาะสมต่อการเกษตร (2) พน้ื ทเี่ หมาะสมต่อการเกษตร ตามนยั มตคิ ณะรัฐมนตรเี ก่ยี วกบั การกําหนดชั้นคุณภาพลุ่มนํ้า และการจาํ แนกเขตการใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ ในพ้ืนท่ปี ่าชายเลน2. การตรวจสอบข้อจาํ กัดของพืน้ ทีด่ ้านชนั้ คุณภาพลมุ่ น้ํา ในการตรวจสอบพ้ืนที่พัฒนาโครงการกับการจําแนกช้ันคุณภาพลุ่มน้ําตามมติคณะรัฐมนตรี เพ่ือให้ สามารถวางแผนการใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ ทีเ่ หมาะสมกบั สภาพแวดล้อมและลดปญั หาสิง่ แวดล้อมท้ังในและ นอกบริเวณลุ่มนา้ํ แบง่ ออกเป็น 5 ชน้ั ดังนี้ 2.1 พืน้ ท่ีลุ่มนาํ้ ชนั้ ที่ 1 เป็นพื้นท่ีภายในลุ่มนํา้ ท่ีจะตอ้ งสงวนรักษาไว้เป็นพื้นที่ต้นนํ้าลําธารโดยเฉพาะ เนื่องจากมลี ักษณะและคุณสมบัติที่อาจมีผลกระทบทางส่ิงแวดล้อมจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ ท่ีดนิ ได้ง่ายและรนุ แรง จึงควรตอ้ งสงวนรกั ษาไวใ้ ห้เป็นพื้นทีป่ า่ ตน้ นํา้ ลาํ ธารและเป็นทรัพยากรป่า ไมข้ องประเทศเพียงประการเดียว แบง่ ออกเป็น 2 ระดบั คอืคมู่ อื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลังนาํ้ หน้า 59
(1) พ้ืนท่ีลุ่มนํ้าชั้นท่ี 1 เอ เป็นบริเวณท่ียังคงมีสภาพป่าสมบูรณ์ปรากฏอยู่ในปี พ.ศ.2525 ซึ่ง จําเป็นตอ้ งสงวนรกั ษาไวเ้ ปน็ พืน้ ทีต่ ้นนาํ้ ลาํ ธารและเป็นทรัพยากรป่าไมข้ องประเทศ (2) พื้นที่ลุ่มน้ําช้ันท่ี 1 บี เป็นบริเวณท่ีสภาพป่าส่วนใหญ่ในพ้ืนท่ีได้ถูกทําลาย ดัดแปลง หรือ เปลี่ยนแปลงไปเพื่อพัฒนาการใช้ท่ีดินในรูปแบบอื่นก่อนหน้าปี พ.ศ.2525 และการใช้ท่ีดิน หรือพัฒนารปู แบบตา่ งๆ ทด่ี ําเนินการไปแลว้ จะตอ้ งมีมาตรการควบคมุ เปน็ พิเศษ2.2 พื้นที่ลุ่มน้ําช้ันที่ 2 เป็นพื้นท่ีภายในลุ่มนํ้าท่ีมีคุณสมบัติเหมาะต่อการเป็นต้นนํ้าลําธารในระดับ รองลงมา ซง่ึ อาจใช้เป็นป่าเพื่อการเศรษฐกจิ รวมทัง้ สามารถนาํ ไปใช้ประโยชนเ์ พอ่ื กิจการทส่ี าํ คัญ เช่น การทาํ เหมืองแร่ โดยใหห้ ลกี เลีย่ งการใช้ท่ีดนิ เพ่ือกจิ กรรมทางดา้ นเกษตรกรรมอย่างเดด็ ขาด2.3 พน้ื ทลี่ ุ่มน้ําชั้นที่ 3 เปน็ พนื้ ทภี่ ายในลุม่ นํ้ามลี ักษณะเปน็ ที่ดอนสามารถใช้ประโยชน์ไดท้ งั้ กิจการป่า ไม้ เหมืองแร่ และปลูกพืชกสิกรรมประเภทไม้ยืนต้น แต่ต้องมีการควบคุมวิธีการปฏิบัติอย่าง เข้มงวดให้เป็นไปตามหลักการดนิ และนาํ้2.4 พื้นท่ีลุ่มน้ําชั้นท่ี 4 เป็นพ้ืนท่ีภายในลุ่มน้ําท่ีมีสภาพป่าไม้ท่ีได้ถูกบุกรุกแผ้วถางเพ่ือใช้ประโยชน์ สาํ หรบั กิจการพืชไร่เป็นส่วนมาก สภาพพ้นื ที่เป็นเนินเขาหรือท่ีราบขั้นบันได หรือช่วงต่อระหว่าง ท่ีราบลมุ่ กับเชงิ เขา สามารถทําการเกษตรกรรม โดยมีการวางแผนการใชท้ ดี่ ินตามมาตรการดินและน้ํา2.5 พ้ืนท่ีลุ่มนํ้าช้ันท่ี 5 เป็นพ้ืนท่ีลุ่มนํ้าที่มีลักษณะเป็นท่ีราบหรือที่ลุ่มหรือเนินลาดเอียงเล็กน้อย สามารถใชป้ ระโยชน์ดา้ นการเกษตรกรรม โดยเฉพาะทํานาและกจิ กรรมอื่นๆ ในกรณีที่จะใช้ที่ดิน เพอ่ื อุตสาหกรรมให้หลกี เลยี่ งใชพ้ ื้นท่ที ่ีมีศักยภาพการเกษตรกรรมสูงมาตรการการใชท้ ี่ดินในลุ่มนาํ้ สรปุ ได้ดงั น้ีo พื้นทล่ี ุม่ นํา้ ชั้นท่ี 1 เอ มติคณะรัฐมนตรีกําหนดห้ามมิให้มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะพ้ืนที่ป่าไม้เป็น รูปแบบอืน่ อย่างเด็ดขาดทุกกรณี ท้งั นีเ้ พ่อื รักษาไวเ้ ป็นพ้ืนท่ีตน้ น้าํo พื้นที่ล่มุ นํ้าชั้นที่ 1 บี มตคิ ณะรฐั มนตรีกาํ หนดใหใ้ นกรณีที่ต้องมีการก่อสร้างถนนผ่าน หรือการทํา เหมืองแร่ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบจะตอ้ งควบคมุ การชะลา้ งพังทลายของดิน และกรณีส่วนราชการใดมี ความจําเปน็ ที่ตอ้ งใชท้ ี่ดนิ อยา่ งหลกี เล่ียงไมไ่ ด้ ตอ้ งจัดทาํ รายงานการวิเคราะหผ์ ลกระทบส่ิงแวดล้อม ของโครงการเสนอต่อคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติเพอ่ื พิจารณาตอ่ ไปo พนื้ ท่ีลมุ่ น้ําชั้นที่ 2 มติคณะรัฐมนตรีกําหนดให้ใช้พ้ืนที่ในกิจกรรมป่าไม้ เหมืองแร่ แต่ต้องควบคุม วิธีการปฏิบัติในการใช้ที่ดินอย่างเข้มงวดกวดขัน และการใช้ท่ีดินเพ่ือกิจกรรมทางด้านการ เกษตรกรรม ควรหลกี เล่ยี งอย่างเดด็ ขาดo พื้นท่ีลุ่มน้ําช้ันท่ี 3 มติคณะรัฐมนตรีกําหนดให้ใช้พ้ืนท่ีในกิจกรรมป่าไม้ เหมืองแร่ กสิกรรม หรือ กิจกรรมอน่ื ๆ แต่ต้องมกี ารควบคมุ วธิ ีการปฏิบตั ิอยา่ งเข้มงวดให้เปน็ ไปตามหลักอนุรักษ์ดนิ และน้ําo พื้นที่ลุ่มน้ําชั้นที่ 4 มติคณะรัฐมนตรีกําหนดให้ใช้พ้ืนที่ทุกกิจกรรม แต่หากใช้พ้ืนท่ีเพื่อการ เกษตรกรรมตอ้ งเป็นบรเิ วณทมี่ คี วามลาดชันไม่เกนิ 28 เปอรเ์ ซน็ ต์ และต้องมกี ารวางแผนใชท้ ่ีดินค่มู อื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลังนํา้ หนา้ 60
ตามมาตรการการอนรุ กั ษด์ นิ และน้าํ o พนื้ ท่ีลุ่มน้ําช้นั ที่ 5 มตคิ ณะรฐั มนตรกี าํ หนดใหใ้ ช้พน้ื ที่ไดท้ ุกกจิ กรรม3. เกณฑก์ ารพจิ ารณาดา้ นป่าไม้และช้นั คุณภาพลมุ่ นา้ํ เพ่อื จัดประเภทโครงการ การพจิ ารณาข้อจาํ กดั ดา้ นการใชพ้ น้ื ท่ขี องโครงการไฟฟา้ พลังนาํ้ ระดบั หมู่บา้ น จะพจิ ารณาข้อมูลการใช้ ประโยชน์ท่ีดินป่าไม้และช้ันคุณภาพลุ่มนํ้า โดยเน้นเฉพาะพ้ืนท่ีป่าเพื่อการอนุรักษ์ (โซน C) และพื้นที่ ลุ่มน้ําช้ันท่ี 1 เอ และ 1 บี เน่ืองจากมีข้อกําหนดทางกฎหมายท่ีจะต้องปฏิบัติเพื่อขอใช้ประโยชน์ใน พน้ื ทสี่ าํ หรับโรงไฟฟา้ พลังนา้ํ ระดบั หม่บู า้ น ดังนี้พน้ื ที่ มาตรการการขอใช้ หน่วยงานพจิ ารณา พน้ื ท่ี1. พ้นื ทีป่ ่าเพอื่ การอนุรกั ษ์ (โซน C)1.1 พ้ืนที่ป่าเพือ่ การอนรุ กั ษ์ตามกฎหมายและมตคิ ณะรฐั มนตรี- พื้นทีเ่ ขตรกั ษาพันธ์สุ ัตวป์ า่ 1/ การจัดทําข้อมูลดา้ น คณะกรรมการคุ้มครองสัตว์ป่าเสนอความเห็น ส่ิงแวดล้อม (IEE) และคณะรัฐมนตรใี ห้ความเห็นชอบ - พนื้ ทอี่ ุทยานแหง่ ชาติ 1/ การจดั ทําข้อมลู ด้าน คณะกรรมการอุทยานแห่งชาติเสนอความเห็น1.2 พื้นทป่ี า่ อนรุ กั ษเ์ พมิ่ เตมิ 2/ สิง่ แวดลอ้ ม (IEE) และคณะรฐั มนตรีให้ความเห็นชอบ- วงเงนิ คา่ กอ่ สรา้ งไมเ่ กิน 50 รายการข้อมูล กรมป่าไม้เสนอความเห็น และกระทรวงล้านบาท ทางด้านสง่ิ แวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ความ เหน็ ชอบ2. พนื้ ทล่ี มุ่ นํ้าช้ันท่ี 12.1 พ้ืนท่ีล่มุ นาํ้ ชัน้ ท่ี 1 เอ การศึกษาผลกระทบ คณะกรรมการสง่ิ แวดลอ้ มแหง่ ชาตเิ สนอ สิง่ แวดล้อม (EIA) ความเห็น และคณะรฐั มนตรีใหค้ วามเหน็ ชอบ2.2 พื้นทีล่ ุ่มนาํ้ ช้ันที่ 1 บี การศกึ ษาผลกระทบ คณะกรรมการส่งิ แวดลอ้ มแหง่ ชาตเิ สนอ สง่ิ แวดล้อม (EIA) ความเห็น และคณะรฐั มนตรใี หค้ วามเหน็ ชอบหมายเหตุ : 1/ เป็นขอ้ กําหนดท่ตี ้องดําเนนิ การในกรณที ่โี ครงการมีความจาํ เปน็ ต้องใช้พ้นื ท่ี และเนือ่ งจากลกั ษณะการดาํ เนนิ งานของโครงการไฟฟ้าพลงั น้าํ ระดบั หมู่บ้านก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดลอ้ มในระดับต่ํา ดังนัน้ การจัดทาํ ข้อมูลด้านสงิ่ แวดล้อมจงึ เสนอใหจ้ ดั ทํารายงานการศกึ ษาผลกระทบสงิ่ แวดล้อมเบอ้ื งตน้2/ เนอื่ งจากโครงการมีวงเงินค่าก่อสร้างไม่เกิน 50 ล้านบาท (ไม่รวมค่าก่อสร้างโรงไฟฟ้า) ดังนั้นจึงพิจารณาเฉพาะกรณีนี้จากข้อมูลข้างต้น ที่ปรึกษาได้นํามาเป็นหลักเกณฑ์การพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่สําหรับกอ่ สร้างโครงการไฟฟ้าพลังน้ําระดบั หมู่บ้าน ดังนี้คมู่ อื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลังนา้ํ หน้า 61
ประเภท พนื้ ที่ป่าเพ่อื การอนุรักษ์ พ้ืนทล่ี มุ่ นา้ํ ชน้ั ที่ 1 ระดบั การศกึ ษาดา้ นโครงการ ตามกฎหมาย/ พื้นที่ปา่ อนรุ ักษ์ พน้ื ทล่ี ุ่มนา้ํ พื้นที่ลุ่มนํา้ ส่งิ แวดลอ้ ม มตคิ ณะรัฐมนตรี เพ่มิ เติม ชัน้ ท่ี 1 เอ ชน้ั ท่ี 1 บี 1 ไมต่ อ้ งศึกษา 2 ×× ×× รายการขอ้ มลู ×/ ×× ทางด้านสิ่งแวดล้อม 3 / ×,/ × × IEE 4 × ×,/ × / EIA 5 / ×,/ × / EIA 6 × ×,/ / × EIA 7 / ×,/ / × EIAหมายเหตุ : × หมายถึง ไมอ่ ยูใ่ นพื้นที่ / หมายถึง อยู่ในพ้ืนที่ ทง้ั น้ี ในการแบ่งประเภทของโครงการไฟฟา้ พลังนํา้ ระดบั หมบู่ า้ นได้พิจารณาที่ตั้งฝ่ายและองค์ประกอบตามข้อจาํ กดั ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มเป็น 7 ประเภท ดังนี้ประเภท ตําแหน่งทตี่ ัง้ องค์ประกอบโครงการ การศกึ ษาดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม 1 ไม่อยูใ่ นพ้นื ที่ปา่ เพื่อการอนุรักษ์และไมอ่ ยใู่ นพนื้ ทล่ี มุ่ นาํ้ ชนั้ ท่ี 1 ไม่ตอ้ งศกึ ษาด้านสงิ่ แวดลอ้ ม 2 อย่ใู นพืน้ ทปี่ า่ อนรุ ักษ์เพม่ิ เติม จดั ทาํ รายการข้อมลู ทางดา้ น 3 อยู่ในพื้นที่เขตรักษาพนั ธ์ุสัตวป์ า่ / พื้นทอ่ี ุทยานแห่งชาติ สิ่งแวดลอ้ ม 4 อยใู่ นพน้ื ท่ลี ่มุ นา้ํ ช้ันท่ี 1 บี จดั ทํา IEE 5 อยูใ่ นพื้นที่เขตรกั ษาพันธ์สุ ตั ว์ป่า/ พ้ืนที่อุทยานแห่งชาติ และพื้นท่ี จัดทํา EIA ลุ่มนา้ํ ช้นั ท่ี 1 บี จดั ทํา EIA 6 อยูใ่ นพนื้ ท่ีลมุ่ นาํ้ ช้ันท่ี 1 เอ 7 อย่ใู นพน้ื ที่เขตรักษาพนั ธ์สุ ัตว์ปา่ / พื้นที่อุทยานแห่งชาติ และพื้นท่ี จดั ทํา EIA ลมุ่ น้าํ ชนั้ ที่ 1 เอ จัดทํา EIAประเภท 1 หมายถึง โครงการซึ่งมีท่ีต้ังองค์ประกอบของโครงการไม่อยู่ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พื้นท่ีป่าอนุรักษ์เพิ่มเติม (โซน C) พ้ืนที่ลุ่มน้ําช้ันท่ี 1 เอ และ 1 บีสามารถดําเนินการก่อสรา้ งได้โดยไมต่ อ้ งมกี ารศึกษาด้านส่ิงแวดล้อม และไม่มีข้อจํากัดด้านการใช้พ้ืนที่ อย่างไรก็ตาม ถ้าพ้ืนที่โครงการตั้งอยู่ในเขตพื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่งอาจเป็นพ้ืนท่ีป่าเพ่ือเศรษฐกิจ (โซน E) หรือพ้ืนท่ีป่าที่เหมาะสมต่อการเกษตร (โซน A) หรือถ้าเป็นพื้นที่ป่าม้าตามพระราชบัญญตั ิป่าไม้ พทุ ธศกั ราช 2484 (ซง่ึ สามารถตรวจสอบสถานภาพของพ้ืนท่ีได้ โดยย่ืนเร่ืองไปยงั สํานักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมจังหวัด (ทสจ.) ในพื้นท่ีท่ีโครงการต้ังอยู่) ก่อนดาํ เนนิ การก่อสรา้ ง เจ้าของโครงการ (หนว่ ยงานของรัฐ) จะต้องจัดเตรียมเอกสารเพื่อใช้ในการย่ืนคมู่ อื การพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลงั นาํ้ หน้า 62
คาํ ขอใช้พื้นท่ี โดยมีขั้นตอนการปฏิบัตใิ นการขอใชพ้ ้ืนที่ ดังแสดงในรปู ที่ 2.5-1 ทั้งน้ีถ้าเป็นพ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติ จะสามารถก่อสร้างโครงการได้เม่ือได้รับอนุมัติจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แต่ถ้าเป็นพื้นท่ีป่าไม้ตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 จะสามารถกอ่ สร้างโครงการไดห้ ลงั จากไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากกรมปา่ ไม้ประเภท 2 หมายถงึ โครงการซ่ึงมีที่ต้ังองคป์ ระกอบของโครงการอยใู่ นพื้นทีป่ ่าอนรุ กั ษ์เพม่ิ เติมและมวี งเงินค่าก่อสร้างไม่เกิน 50 ล้านบาท (ไม่รวมค่าก่อสร้างโรงไฟฟ้า) ซ่ึงต้องจัดทํารายการข้อมูลทางด้านส่ิงแวดล้อม (Environmental Information) ตามแบบฟอร์มท่ีกรมป่าไม้กําหนด โดยเจ้าของโครงการต้องส่งข้อมูลดังกล่าพร้อมคําขอใช้พื้นท่ีให้สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในจังหวัดท่ีโครงการต้ังอยู่หรือจัดส่งให้กรมป่าไม้ โดยกรมป่าไม้จะพิจารณาข้อมูลดังกล่าวและให้ความเห็นและเสนอต่อกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ความเห็นชอบประเภท 3 หมายถึง โครงการซึง่ มที ่ีตงั้ องค์ประกอบของโครงการอย่ใู นพ้นื ที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า/พื้นท่ีอุทยานแห่งชาติ เป็นโครงการท่ีต้องจัดทํารายงานข้อมูลด้านส่ิงแวดล้อม คือ การศึกษาผลกระทบส่ิงแวดล้อมเบ้ืองต้น (IEE) เน่ืองจากลักษณะการดําเนินงานของโครงการไฟฟ้าพลังน้ําระดับหมู่บ้านก่อให้เกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมในระดับตํ่า จึงเสนอให้จัดทํา IEE โดยเจ้าของโครงการตอ้ งเสนอรายงานดงั กล่าวให้กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธ์ุพืช โดยมีการขอความคิดเห็นรายงานฯ จากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นข้อมูลใหค้ ณะกรรมการคมุ้ ครองสัตว์ป่าหรือคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติเสนอความเห็นขอเพิกถอนพน้ื ทใ่ี นเขตรักษาพนั ธส์ุ ตั ว์ป่าหรอื เขตอทุ ยานแหง่ ชาติ โดยมีคณะรฐั มนตรใี หค้ วามเหน็ ชอบประเภท 4 หมายถึง โครงการซึ่งมีที่ต้ังองค์ประกอบของโครงการอยู่ในพ้ืนท่ีลุ่มนํ้าช้ันท่ี 1 บี ซ่ึงตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดล้อม กาํ หนดให้โครงการทุกประเภทท่ีอยู่ในพื้นที่ลุ่มนํ้าชั้นท่ี 1 บี ต้องจัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) โดยเจ้าของโครงการต้องเสนอรายงานดังกล่าวให้สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม เพอ่ื ใหค้ ระกรรมการผู้ชํานาญการพิจารณาให้ความคิดเห็น จากนั้นเสนอเรื่องเพ่ือขอความเหน็ จากคณะกรรมการสิง่ แวดลอ้ มแห่งชาติประเภท 5 หมายถงึ โครงการซึง่ มที ตี่ ง้ั องคป์ ระกอบของโครงการอยู่ในพ้ืนที่เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า/พื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาติ และพ้ืนที่ลุ่มน้ําชั้นที่ 1 บี ซ่ึงตามประกาสกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและส่งิ แวดลอ้ ม กาํ หนดใหโ้ ครงการทุกประเภททอ่ี ยูใ่ นพืน้ ท่ีลมุ่ นาํ้ ช้ันที่ 1 บี ตอ้ งจดั ทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม (EIA) โดยเจ้าของโครงการต้องเสนอรายงานฯ ดังกล่าวให้สํานกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม เพ่อื ใหค้ ณะกรรมการผูช้ ํานาญการพิจารณาให้ความคิดเห็น จากน้ันเสนอเร่ืองเพ่ือขอความเห็นจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมค่มู ือการพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลังน้าํ หน้า 63
แห่งชาติ และเน่ืองจากอยู่ในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า /เขตอุทยานแห่งชาติ จึงเสนอรายงาน ดังกล่าวให้กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช โดยมีการขอความคิดเห็นรายงานฯ จาก สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพ่ือเป็นข้อมูลให้คณะกรรมการ คุ้มครองสัตว์ป่าหรือคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติเสนอความเห็นขอเพิกถอนพื้นที่ในเขตรักษา พนั ธส์ุ ตั วป์ ่าหรอื เขตอุทยานแหง่ ชาติ โดยมคี ณะรฐั มนตรใี หค้ วามเห็นชอบ ประเภท 6 หมายถึง โครงการซึ่งมีทีต่ ั้งองค์ประกอบของโครงการอยู่ในพ้ืนที่ลุ่มนํ้าชั้นท่ี 1 เอ เป็น โครงการทีต่ อ้ งจัดทํารายงานการวิเคราะห์สิง่ แวดลอ้ ม (EIA) โดยเจ้าของโครงการต้องเสนอรายงาน ดงั กล่าวใหส้ าํ นกั งานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยแบ่งการพิจารณา รายงานฯออกเป็น 2 หน่วยงาน คือ ส่งให้กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม เพื่อใหค้ ณะอนุกรรมการการจดั การทรัพยากรลุ่มน้ําให้ความเห็นต่อการขอใช้พื้นท่ีลุ่ม นํ้าช้ันที่ 1 เอ และส่งใหก้ องวเิ คราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม เพ่ือให้คณะกรรมการผู้ชํานาญการให้ ความคิดเห็นต่อรายงานฯ และสรุปความคิดเห็นให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเสนอ ความเหน็ ขอผอ่ นผันใช้พื้นทลี่ ุ่มน้าํ ชัน้ ท่ี 1 เอ โดยมคี ณะรัฐมนตรใี ห้ความเห็นชอบ ประเภท 7 หมายถึง โครงการซึ่งมีท่ีต้งั องค์ประกอบของโครงการอยใู่ นพ้นื ทเ่ี ขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า/ พ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติ และพ้ืนท่ีลุ่มนํ้าชั้นท่ี 1 เอ เป็นโครงการท่ีต้องจัดทํารายงานการวิเคราะห์ ส่ิงแวดล้อม (EIA) โดยเจ้าของโครงการต้องเสนอรายงานดังกล่าวให้สํานักงานนโยบายและแผน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม โดยแบ่งการพิจารณารายงานฯ ออกเป็น 2 หน่วยงาน คือ ส่ง ให้กองประสานการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม เพ่ือให้คณะอนุกรรมการการจัดการ ทรัพยากรล่มุ นาํ้ ใหค้ วามเหน็ ต่อการขอใช้พ้ืนท่ีลุ่มน้ําช้ันที่ 1 เอ และส่งให้กองวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดลอ้ ม เพ่ือใหค้ ณะกรรมการผู้ชํานาญการให้ความคดิ เห็นต่อรายงานฯ และสรุปความคิดเห็น ให้คณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติเสนอความเห็นขอผ่อนผันใช้พ้ืนท่ีลุ่มนํ้าช้ันที่ 1 เอ โดยมี คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ และเนื่องจากอยู่ในพื้นที่เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า/ เขตอุทยาน แหง่ ชาติ จึงเสนอรายงานดังกล่าวให้กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่า และพันธ์ุพืช โดยมีการขอความ คิดเห็นรายงานฯ จากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็น ขอ้ มูลให้คณะกรรมการคมุ้ ครองสัตว์ป่าหรือคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติเสนอความเห็นขอเพิก ถอนพื้นทใี่ นเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั ว์ป่าหรือเขตอทุ ยานแห่งชาติ โดยมีคณะรัฐมนตรีให้ความเหน็ ชอบ ทง้ั นี้ ในการศกึ ษาโครงการจะคดั เลอื กตําแหน่งที่ต้ังองค์ประกอบโครงการไฟฟ้าระดับหมู่บ้านประเภท1 ถึง 3 ไปจดั ลาํ ดับความเหมาะสม เพ่อื การสาํ รวจโครงการเบ้อื งต้น เน่ืองจากเป็นโครงการที่สามารถนําไปก่อสร้างโดยไม่มขี ้อจํากดั ด้านส่งิ แวดลอ้ ม (ประเภท 1) หรอื เปน็ โครงการทม่ี ขี ั้นตอนและระยะเวลาในการขออนุญาตใช้พ้ืนที่ทางด้านสิ่งแวดล้อมไม่มากนัก (ประเภท 2 และ 3) โดยรายละเอียดเก่ียวกับท่ีตั้งและองค์ประกอบโครงการไฟฟ้าระดับหมบู่ า้ นประเภทต่าง ๆ จะได้นาํ เสนอในลําดบั ต่อไปคมู่ อื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลงั นํา้ หน้า 64
รปู แสดงขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ใิ นการขอใชพ้ น้ื ที่ป่าไมใ้ นเขตป่าสงวนแหง่ ชาติ หน้า 65 และพน้ื ท่ีปา่ ไมต้ ามพระราชบญั ญัตปิ า่ ไม้ พ.ศ. 2484ค่มู อื การพฒั นาและการลงทุนไฟฟา้ พลังนาํ้
การประเมินผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม (EIA) EIA หรือ Environmental Impact Assessment เป็นการศกึ ษาเพอื่ คาดการณ์ผลกระทบทงั้ ในทางบวกและทางลบจากการพัฒนาโครงการหรอื กจิ การทีส่ าํ คัญ เพ่อื กาํ หนดมาตรการป้องกนั และแกไ้ ขผลกระทบส่ิงแวดล้อมและใชใ้ นการประกอบการตัดสินใจพัฒนาโครงการหรอื กจิ การ ผลการศึกษาจดั ทําเปน็ เอกสาร เรยี กว่า “รายงานการวิเคราะหผ์ ลกระทบดา้ นสิ่งแวดล้อม” ซ่งึ การดาํ เนินโครงการโรงไฟฟา้พลงั น้ําท่ใี ชพ้ นื้ ที่ท่ีคณะรัฐมนตรีได้มมี ติเหน็ ชอบให้เป็นพนื้ ทลี่ ุ่มนํา้ ช้นั 1 จะต้องจดั ทาํ รายงานผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ มเช่นกัน ขัน้ ตอนการทาํ รายงาน EIA 1. ผู้ประกอบการจะต้องทราบกอ่ นวา่ โครงการนัน้ จะตอ้ งจัดทํารายงานการวิเคราะหผ์ ลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มหรือไม่ 2. ว่าจ้างท่ีปรกึ ษาท่ีขนึ้ ทะเบียนเปน็ นิติบุคคลผมู้ ีสิทธิทํารายงานฯ 3. ผู้ประกอบการสง่ รายงานให้สาํ นกั นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม (สผ.)โดย สผ. และคณะกรรมการผชู้ ํานาญการจะใช้เวลาการพจิ ารณารายงานฯ ตามข้ันตอนที่กําหนดไมเ่ กิน 75วนั แตห่ ากคณะกรรมการฯ มขี อ้ เสนอแนะให้แกไ้ ขเพ่ิมเติม ทีป่ รกึ ษาจะตอ้ งใช้เวลาในการปรบั แก้ และจัดส่งให้ สผ. และคณะกรรมการฯ พจิ ารณา ซึ่งจะใช้เวลาไมเ่ กนิ 30 วนั ติดต่อขอรายละเอียดเพมิ่ เติมที่สํานกั วเิ คราะหผ์ ลกระทบส่งิ แวดล้อม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมโทรศพั ท์ :0-2265-6500 ตอ่ 6832, 6834, 6829คมู่ ือการพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลังนาํ้ หน้า 66
เอกสารอ้างอิง1. รายงานฉบับสมบูรณ์ การศึกษาจัดทําแผนหลัก การพัฒนาโครงการไฟฟ้าพลังนํ้าระดับหมู่บ้าน, กรม พฒั นาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพ์ ลงั งาน, กมุ ภาพันธ์ 25522. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาและส่งเสริมการใช้ไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดจ๋ิวในระดับครัวเรือน, กรม พัฒนาพลงั งานทดแทนและอนรุ ักษพ์ ลังงาน, กุมภาพนั ธ์ 25513. รายงานฉบับสมบรู ณ์ โครงการประเมินศักยภาพพลังนํา้ ขนาดเล็กเพ่ือผลิตกระแสไฟฟ้า, รศ.ดร.ชัยยุทธ ชินณะราศรี, Water Resources Engineering Research Laboratory (KMUTT-WAREE), มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี4. ไฟฟ้าพลังน้ําขนาดเล็ก พลังงานธรรมชาติ..เพื่อลดความแตกต่างของสังคม, กรมพัฒนาและส่งเสริม พลงั งาน, กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละส่ิงแวดลอ้ ม5. การพัฒนาไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดเล็ก, เทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน, ดร.นระ คมนามูล, สถาบันวิจัย วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.), สงิ หาคม 25466. การประเมินเทคโนโลยกี ังหนั นาํ้ เพอื่ ผลิตไฟฟา้ ในประเทศไทย, โครงการวิจัยนโยบายเพื่อสนับสนุนการ พัฒนาและการใช้พลังงานหมุนเวียนและการเพิม่ ประสทิ ธิภาพพลงั งานในประเทศไทย, บัณฑิตวิทยาลัย ร่วมด้านพลังงานและส่ิงแวดลอ้ ม), มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และสํานักงานกองทุน สนบั สนุนการวจิ ยั , สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื , ธันวาคม 25497. สํานกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน, เวบ็ ไซต์ www.boi.go.th8. องคก์ ารบรหิ ารจัดการกา๊ ซเรือนกระจก (องค์การมหาชน), เวบ็ ไซต์ www.tgo.or.th9. http://www.dede.go.th10. พลงั งานนํ้า โอกาสของพลงั งานทดแทนไทย, นายธิระศักด์ิ เสภากล่อม, ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีค่มู อื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั นํ้า หน้า 67
บนั ทึกค่มู อื การพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลงั น้ํา หน้า 68
Search