Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e-book waterenergy

e-book waterenergy

Published by Pongsaton Palee, 2018-12-04 08:30:40

Description: e-book waterenergy

Search

Read the Text Version

ค่มู อื การพัฒนาและการลงทนุ ผลิตพลงั งานทดแทน ชุดท่ี 3 ไฟฟา้ พลงั นาํ้



คาํ นํา เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม และมีผลผลิตทางการเกษตรรวมถึงผลผลิตเหลือใช้ทางการเกษตรทม่ี ศี กั ยภาพสูงสามารถใชเ้ ป็นพลังงานทดแทนได้ เช่น อ้อย มันสําปะหลัง ปาล์มนํ้ามัน ข้าวข้าวโพด เป็นต้น โดยการแปรรูป ชานอ้อย ใยและกะลาปาล์ม แกลบ และซังข้าวโพด เป็นเช้ือเพลิงผลิตไฟฟ้าและพลงั งานความร้อนสําหรับใช้ในกระบวนการผลิตอุตสาหกรรม ส่วนกากนํ้าตาล น้ําอ้อย และมันสําปะหลงั ใชผ้ ลิตเอทานอล และน้ํามันปาล์ม และสเตรีนใช้ผลิตไบโอดีเซล เป็นต้น กระทรวงพลังงานจึงมียุทธศาสตร์การพฒั นาพลังงานทดแทนจากพชื พลงั งานเหล่านี้ เพ่ือจะได้เป็นตลาดทางเลือกสําหรับผลิตผลการเกษตรไทย ซึ่งจะสามารถช่วยดูดซับผลผลิตทางการเกษตรและช่วยทําให้ราคาผลผลิตการเกษตรมีเสถียรภาพ และภาครัฐไม่ตอ้ งจัดสรรงบประมาณมาประกนั ราคาพชื ผลผลติ ดังกล่าว ประกอบกับเทคโนโลยีพลังงานทดแทนจากพืชพลังงานเป็นเทคโนโลยีท่ีได้มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองและมีความคุ้มทุนทางเศรษฐกจิ หรอื เกือบคมุ้ ทุนหากไดร้ บั การสนับสนุนอีกเพียงเล็กน้อยจากภาครัฐบาล นอกจากนี้ประเทศไทยยังมีแหล่งพลังงานจากธรรมชาติท่ีจัดเป็นพลังงานหมุนเวียน เช่น ไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดเล็ก พลังลม และพลังงานแสงอาทติ ย์ท่ีจะสามารถใชผ้ ลติ พลังงานทดแทนได้ กระทรวงพลังงาน (พน.) ได้กําหนดแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี โดยมอบหมายให้กรมพัฒนาพลงั งานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักประสานงานกับส่วนผู้เก่ียวข้องอ่ืนๆ ให้ดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติการตามกรอบแผนพัฒนาพลังงานทดแทน เพื่อให้สามารถดําเนินการพัฒนาพลังงานทดแทนด้านต่างๆ ให้สามารถผลิตไฟฟ้ารวมสะสมถึงปี 2565 จํานวน 5,604 เมกะวัตต์ประกอบด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ 500 เมกะวัตต์ พลังงานลม 800 เมกะวัตต์ พลังน้ํา 324 เมกะวัตต์พลังงานชวี มวล 3,700 เมกะวตั ต์ กา๊ ซชีวภาพ 120 เมกะวัตต์ ขยะ 160 เมกะวัตต์ นอกจากน้ันยังให้มีการพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพ ได้แก่ เอทานอลและไบโอดีเซล รวมทั้งพลังงานความร้อนและก๊าซ NGV ซ่ึงก่อให้เกิดสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนได้ 20% ของปริมาณการใช้บริโภคของประเทศในปี 2565 การตั้งเป้าหมายสู่ความสําเร็จของการผลิตพลังงานทดแทนให้ได้ปริมาณดังกล่าว จําเป็นต้องสร้างแนวทางแผนพัฒนาในแต่ละเทคโนโลยีโดยเฉพาะกับภาคเอกชน ซ่ึงเป็นแนวทางหลักท่ีสําคัญในการขับเคล่ือนสู่ความสําเร็จได้ ต้องมีความเด่นชัดในนโยบายเพ่ือให้ปรากฏต่อการลงทุนจากภาคเอกชนและสร้างผลประโยชน์ตอ่ การดําเนนิ การ สาํ หรับคู่มอื การพฒั นาและการลงทนุ ผลติ พลังงานทดแทนที่ได้จัดทําขึน้ นีจ้ ะเป็นคมู่ ือทีจ่ ะช่วยให้ผู้สนใจทราบถึงเป้าหมายของแผนพัฒนาพลังงานทดแทน รวมท้ังมีความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทน มาใช้ทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล อาทิ การพิจารณาถึงศักยภาพ โอกาสและความสามารถในการจัดหาแหล่งพลังงานหรือวัตถุดิบ ลักษณะการทํางานทางเทคนิค และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีท่ีมีอยู่โดยทั่วไป ข้อดีและข้อเสียเฉพาะของแต่ละเทคโนโลยี การจัดหาแหล่งเงินทุน กฎระเบียบและมาตรการคู่มือการพฒั นาและการลงทุนไฟฟ้าพลงั น้าํ ก

สง่ เสริมสนับสนุนต่างๆ ของภาครัฐ ขั้นตอนปฏิบัติในการติดต่อหน่วยงานต่างๆซึ่งจะเป็นเอกสารท่ีจะช่วยสร้างความเขา้ ใจในลักษณะเฉพาะของเทคโนโลยีพลังงานหมนุ เวียนชนิดต่างๆ ท้ังการผลิตไฟฟ้า ความร้อนและเช้ือเพลิงชีวภาพ เพ่ือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ไปยังกลุ่มเป้าหมายตามความต้องการของกระทรวงพลังงานต่อไป คู่มือการพัฒนาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทนที่จัดทําข้ึนนี้ จะแบ่งออกเป็น 8 ชุด ได้แก่ ลมแสงอาทิตย์ นํ้า ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ขยะ เอทานอล ไบโอดีเซลโดยฉบับน้ีจะเป็น ชุดท่ี 3 เร่ืองคู่มือการพัฒนาและการลงทุนผลติ พลงั งานทดแทน (ไฟฟา้ พลงั น้ํา) ซงึ่ พพ. หวังเปน็ อย่างยงิ่ ว่าจะช่วยให้ผู้สนใจมีความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนมาใช้เพิ่มมากขึ้น ซ่ึงจะช่วยลดการพ่ึงพาการนําเข้าพลังงานจากต่างประเทศ สร้างความม่ันคงด้านพลังงานของประเทศ รวมท้ังลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกซง่ึ จะส่งผลดตี ่อประเทศชาติโดยรวม อย่างย่ังยืนต่อไปคมู่ อื การพฒั นาและการลงทุนไฟฟ้าพลงั นาํ้ ข

สารบญั หน้าบทที่ 1 บทนาํ 11.1 วัฏจกั รของนา้ํ 11.2 แหล่งกําเนิดไฟฟา้ พลังนา้ํ 21.3 การใช้ประโยชนจ์ ากพลังงานนา้ํ 3บทที่ 2 การพัฒนาไฟฟา้ พลังนํา้ ของประเทศไทย 62.1 ประเภทโรงไฟฟา้ พลงั งานนํา้ ในประเทศไทย 72.2 การพฒั นาเทคโนโลยีกังหนั นา้ํ ขนาดเลก็ 92.3 โรงไฟฟา้ พลังงานนํ้าขนาดเล็ก 102.3.1 สว่ นประกอบท่ีสําคญั ของโครงการไฟฟ้าพลงั น้าํ ขนาดเลก็ 122.3.2 การเปรยี บเทียบจดุ เด่นและจุดดอ้ ยของเทคโนโลยกี ังหนั น้าํ แต่ละประเภท 182.3.3 แนวทางการพจิ ารณาคดั เลือกกังหันนาํ้ 21บทที่ 3 การวิเคราะหก์ ารลงทุนผลติ ไฟฟา้ พลงั นา้ํ ท่ีเหมาะสม 233.1 การประมาณราคาคา่ กอ่ สรา้ ง 253.2 การวิเคราะหผ์ ลการตอบแทนการลงทนุ 253.2.1 มูลคา่ ปจั จบุ นั สุทธิ 263.2.2 อัตราผลตอบแทนของโครงการ 263.2.3 ผลประโยชนต์ ่อเงินลงทนุ 273.2.4 ตน้ ทุนพลงั งานตอ่ หนว่ ย 273.2.5 ระยะเวลาการลงทุน 273.1.6 งบกระแสเงินสด 273.3 ปจั จัยสาํ คญั ท่ีมีผลต่อการวเิ คราะห์ความเหมาะสมการลงทนุ 283.4 ตวั อย่างการศกึ ษาความเหมาะสมของโครงการไฟฟ้าพลังน้ําระดบั หมบู่ ้าน 293.5 ตัวอยา่ งโครงการโรงไฟฟา้ พลงั นา้ํ หม่บู า้ นแม่กาํ ปองตน้ แบบโครงการไฟฟา้ พลังนํา้ ขนาดเลก็สาํ หรับชุมชน 34บทท่ี 4 การส่งเสรมิ การพฒั นาไฟฟา้ พลังนา้ํ ของประเทศไทย 374.1 มาตรการส่วนเพม่ิ ราคารับซือ้ ไฟฟา้ จากพลงั งานหมนุ เวียน 384.2 โครงการเงินหมุนเวียนเพอ่ื ส่งเสรมิ การใช้พลงั งานทดแทน 394.3 โครงการสง่ เสรมิ การลงทนุ ดา้ นอนุรกั ษ์พลังงานและพลงั งานทดแทน 414.4 กลไกลการพัฒนาทีส่ ะอาด 44คูม่ อื การพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลังนาํ้ ค

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ 48 4.5 โครงการส่งเสริมการลงทนุ โดยสาํ นักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการลงทุน (BOI) 50บทที่ 5 ขั้นตอนการขอใบอนญุ าตต่างๆ 58ภาคผนวก การตรวจสอบผลกระทบดา้ นป่าไม้และชั้นคณุ ภาพล่มุ นาํ้ 67เอกสารอา้ งอิงคู่มือการพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั นาํ้ ง

บทท่ี 1 บทนาํ การใช้นาํ้ เพื่อผลิตพลังงานในประเทศไทยได้ดําเนินการมาอย่างช้านาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการไฟฟา้ พลังน้าํ ขนาดใหญ่ แม้วา่ ในปัจจุบันโครงการไฟฟ้าพลังน้ําขนาดใหญ่ในประเทศไทยจะไม่สามารถเกิดขึน้ มาใหม่ เน่ืองจากสภาพภมู ปิ ระเทศ และบริเวณทมี่ ีศกั ยภาพไมเ่ หมาะสมตอ่ การพฒั นา แตก่ ย็ ังมพี ื้นที่ซ่ึงมีศักยภาพและเหมาะสมตอ่ การพฒั นาไฟฟ้าพลังน้ําอีก อาทิ ไฟฟ้าพลังน้ําระดับหมู่บ้านหรือชุมชน อ่างเก็บนํา้ เพ่อื ชลประทานของกรมชลประทานหรอื ขององคก์ ารบรหิ ารส่วนท้องถิ่นที่มีอยู่ในพ้ืนท่ีต่างๆ ท่ัวประเทศก็ยังสามารถนาํ มาใช้ประโยชนผ์ ลติ ไฟฟ้าได้นอกเหนอื จากการใช้ประโยชน์จากด้านชลประทาน การประมงหรือการเกษตร ซง่ึ จากการศกึ ษาพ้ืนที่ท่ีมีศักยภาพของไฟฟ้าพลังน้ําขนาดเล็กท่ัวประเทศ พบว่ามีพื้นที่ท่ีมีศกั ยภาพซง่ึ สามารถนํามาพัฒนาเป็นโครงการไฟฟา้ พลงั น้ําขนาดเลก็ ได้ถึง 25,500 เมกะวัตต์และเป็นไฟฟ้าพลังนั้นขนาดเล็กมากหรือไฟฟ้าพลังน้าํ ระดบั หมบู่ ้าน 1,000 เมกะวัตต์ และเป็นโครงการไฟฟ้าพลังน้ําท้ายอ่างเก็บน้ําอกี ประมาณ 115 เมกะวัตต์1.1 วฏั จกั รของนาํ้ (Hydrologic Cycle) น้ําเป็นสารประกอบที่เกิดจากไฮโดรเจนและออกซิเจนมีสถานะเป็นของเหลวมีมากในทะเลและมหาสมทุ ร ซง่ึ โลกมบี รเิ วณทเี่ ป็นมหาสมทุ รประกอบอยถู่ งึ 3 ใน 4 สว่ น พลงั งานจากแสงอาทิตเป็นสาเหตุท่ีทําให้เกดิ การหมุนเวียนเปน็ วฏั จักรของนํา้ ขึน้ เม่อื น้ําบนโลกไดร้ บั พลงั งานความร้อนจากแสงอาทิตย์ จะทําให้น้ําบนผิวโลกตามแหล่งต่างๆ ทั้งในห้วย หนอง คลอง บึง ทะเล และมหาสมุทร ระเหยกลายเป็นไอน้ําและลอยขึ้นไปในอากาศ เมื่อไอนํ้าลอยสู่เบ้ืองบนแล้ว จะได้รับความเย็นและกล่ันตัวกลายเป็นละอองน้ําเล็กๆลอยจบั ตวั กันเปน็ กลมุ่ เมฆ เมอ่ื จบั ตัวกันมากขึน้ และกระทบความเย็นจะกล่นั ตัวกลายเป็นหยดนํ้าตกลงสู่พ้ืนโลก และจะเกิดกระบวนการเช่นนี้ซํ้าแล้วซ้ําเล่าเป็น วัฏจักรหมุนเวียนต่อเนื่องกันตลอดเวลา เรียกว่า วัฏจักรธรรมชาติของนํา้ ซ่ึงทําใหม้ ีน้ําเกิดขึ้นบนผิวโลกอยา่ งสม่าํ เสมอ รปู แสดงวฏั จกั รของนาํ้คูม่ อื การพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั นาํ้ หน้า 1

1.2 แหล่งกําเนดิ ไฟฟ้าพลังนํ้า พลงั นาํ้ คือ กระแสน้ําไหลที่ให้พลังงานท่ีจําเป็นแก่มนุษย์มานานแสนนานแล้ว แต่มนุษย์ก็รู้จักเพียงการนําเอานํ้ามาใชป้ ระโยชน์เพียงเพ่อื อุปโภค บริโภค เพื่อการเกษตร การเลี้ยงสัตว์ หรือใช้พลังนํ้าตกหมุนกังหันที่มีลกั ษณะเป็นวงลอ้ ประกอบด้วยขั้นบนั ได สําหรับรับแรงดันน้ํา เม่ือวงล้อหมุนเพลาซึ่งต่อกับเคร่ืองโมแ่ ปง้ หรอื เคร่อื งสีขา้ วกจ็ ะหมุนตามไปดว้ ย กระท่ังถงึ ปลายครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 19 ถงึ 20 มนษุ ยจ์ ึงได้นํานํ้ามาใช้แปรสภาพเปน็ พลังงานไฟฟ้า โดยเปล่ยี นพลงั งานของน้ําตกใหเ้ ป็นกระแสไฟฟา้ ได้ การผลิตไฟฟ้าจากพลังนาํ้ แบง่ ไดเ้ ป็น 1) พลงั งานนํ้าตก การผลิตไฟฟ้าจากพลงั งานนาํ้ นี้ทาํ ไดโ้ ดยอาศัยพลังงานของนา้ํ ตก ออกจากแหล่ง นํ้าตามธรรมชาติ หรือนํ้าตกท่ีเกิดจากการดัดแปลงสภาพธรรมชาติ เช่น นํ้าตกท่ีเกิดจากการสร้าง เขื่อนกั้นนํ้า นํ้าตกจากทะเลสาบบนเทือกเขาสู่หุบเขา กระแสน้ําในแม่น้ําไหลตกหน้าผา เป็นต้น การ สร้างเข่ือนกัน้ น้ําและใหน้ ้ําตกไหลผา่ นกงั หนั นาํ้ ซ่ึงขับเคร่ืองกําเนิดไฟฟ้ากําลังงานน้ําที่ได้จะข้ึนอยู่กับ ความสงู ของน้ําและอตั ราการไหลของนํ้าท่ีปลอ่ ยลงมา ดังนั้นการผลิตพลังงานจากพลังงานน้ีจําเป็นต้องมีบริเวณท่ีเหมาะสมและการสร้างเขื่อนน้ัน จะต้องลงทุนอย่างมาก แต่อย่างไรก็ตามจากการสํารวจคาดว่าทั่วโลกสามารถผลิตกําลังไฟฟ้าจาก กาํ ลงั นํ้ามากกวา่ พลังงานทดแทนประเภทอ่นื 2) พลังงานนํ้าข้ึนนํ้าลง มีพ้ืนฐานมาจากพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ของระบบที่ประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ จึงจัดเป็นแหล่งพลังงานประเภทใช้แล้วไม่หมดไป สําหรับในการ เปล่ียนพลังงานนํ้าขึ้นนํ้าลงให้เป็นพลังงานไฟฟ้า คือ เลือกแม่นํ้าหรืออ่าวที่มีพ้ืนท่ีเก็บน้ําได้มากและ พสิ ยั ของนํ้าขน้ึ น้ําลงมีคา่ สูงแล้วสร้างเข่ือนที่ปากแม่น้ําหรือปากอ่าว เพ่ือให้เกิดเป็นอ่างเก็บน้ําข้ึนมา เมือ่ น้ําขน้ึ จะไหลเขา้ สู่อ่างเก็บนาํ้ และเมอื่ นาํ้ ลงนํ้าจะไหลออกจากอา่ งเกบ็ น้ํา การไหลเข้าออกจากอา่ ง ของนํ้าต้องควบคุมให้ไหลผ่านกังหันนํ้าท่ีต่อเชื่อมกับเครื่องกําเนิดไฟฟ้า เม่ือกังหันนํ้าหมุนก็จะได้ ไฟฟ้าออกมาใช้งาน หลกั การผลิตไฟฟ้าจากน้ําข้ึนนํ้าลงมีหลักการเช่นเดียวกับการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานน้ําตก แต่ กําลงั ทไี่ ด้จากพลังงานน้ําขน้ึ นํา้ ลงจะไม่คอ่ ยสมาํ่ เสมอเปลีย่ นแปลงไปมากในช่วงข้ึนลงของนํ้า แต่อาจ จัดให้มีพื้นที่กักนํ้าเป็นสองบริเวณหรือบริเวณพื้นที่เดียว โดยการจัดระบบการไหลของน้ําระหว่าง บริเวณบ่อสงู และบ่อตํ่า และกักบริเวณภายนอกในช่วงท่ีมีการข้ึนลงของน้ําอย่างเหมาะสม จะทําให้ พลังงานท่ไี ดจ้ ากพลงั งานนาํ้ ข้นึ น้ําลงสม่ําเสมอดขี ้ึน 3) พลังงานคล่ืน เป็นการเกบ็ เกยี่ วเอาพลงั งานทลี่ ม ถ่ายทอดให้กับผิวน้ําในมหาสมุทรเกิดเป็นคล่ืน วิง่ เข้าสู่ชายฝั่งและเกาะแก่งต่าง ๆ เครอื่ งผลิตไฟฟา้ พลังงานคลน่ื จะถกู ออกแบบให้ลอยตัวอยู่บนผวิ นํ้า บรเิ วณหน้าอา่ วด้านหนา้ ที่หันเขา้ หาคลนื่ การใชค้ ล่นื เพ่ือผลติ ไฟฟ้านน้ั ถา้ จะให้ได้ผลจะตอ้ งอยู่ในโซน ทีม่ ยี อดคลนื่ เฉล่ียอยทู่ ี่ 8 เมตร ซง่ึ บรเิ วณนัน้ ต้องมแี รงลมดว้ ยคู่มือการพฒั นาและการลงทุนไฟฟา้ พลังนํ้า หนา้ 2

แต่จากการวัดความสูงของยอดคลื่นสูงสุดในประเทศไทยที่จังหวัดระนองพบว่า ยอดคล่ืนสูงสุด เฉล่ียอยู่ที่ 4 เมตรเท่านัน้ ซ่งึ ก็แนน่ อนว่าดว้ ยเทคโนโลยกี ารผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานคล่ืนในปัจจุบันน้ัน ยงั คงไมส่ ามารถใชใ้ นบา้ นเราใหผ้ ลจริงจงั ได้1.3 การใชป้ ระโยชน์จากพลงั งานนาํ้ นอกเหนอื จากผลประโยชน์ทางด้านการผลิตไฟฟา้ แล้ว นํ้าท่ีกักเก็บไวใ้ นฤดฝู นจะเกดิ ประโยชน์ทางด้านบรรเทาอุทกภัยไดส้ ่วนหน่ึง และในฤดูแล้งสามารถปล่อยนํ้าที่เก็บกักไว้ให้เกิดประโยชน์ทางด้านชลประทาน เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุปลา นอกจากน้ี เข่ือนเป็นแหล่งท่องเท่ียว และประชาชนในบริเวณพน้ื ทตี่ ้ังโครงการมคี วามสะดวกสบายมากขนึ้ ซ่งึ ประโยชนห์ ลกั ๆ มีดงั นี้ 1) พลังงานนํา้ เปน็ พลงั งานหมนุ เวียนท่ีสามารถนํากลับมาใช้ใหม่ได้ไม่หมดส้ิน คือ เมื่อใช้พลังงาน ของนํ้าส่วนหนึ่งไปแล้วน้ําส่วนน้ันก็จะไหลลงสู่ทะเลและน้ําในทะเลเมื่อได้รับพลังงานจาก แสงอาทิตย์ก็จะระเหยกลายเป็นไอนํ้า เม่ือไอนํ้ารวมตัวเป็นเมฆจะตกลงมาเป็นฝนหมุนเวียน กลับมาทาํ ให้เราสามารถใชพ้ ลงั งานน้ําไดต้ ลอดไปไม่หมดสนิ้ 2) เครื่องกลพลังงานน้ําสามารถเริ่มดําเนินการผลิตพลังงานได้ในเวลาอันรวดเร็วและควบคุมให้ ผลติ กาํ ลังงานออกมาไดใ้ กล้เคยี งกับความตอ้ งการ อีกท้ังยังมีประสิทธิภาพในการทํางานสูงมาก ช้ินส่วนของเครื่องกลพลังงานน้ําส่วนใหญ่จะมีความคงทนและมีอายุการใช้งานนานกว่า เคร่อื งจกั รกลอย่างอนื่ 3) เม่อื นาํ พลังงานน้าํ ไปใชแ้ ลว้ นา้ํ ยงั คงมีคณุ ภาพเหมือนเดิมทําให้สามารถนําไปใช้ประโยชน์อย่าง อื่นไดอ้ ีก เชน่ เพือ่ การชลประทาน การรักษาระดับนา้ํ ในแม่นาํ้ ให้ไหลลึกพอแก่การเดินเรือ เป็น ตน้ 4) การสรา้ งเขอ่ื นเพ่ือกักเก็บและทดน้าํ ใหส้ งู ข้ึน สามารถช่วยกักนํ้าเอาไว้ใช้ในช่วงที่ไม่มีฝนตก ทํา ใหไ้ ดแ้ หล่งนํา้ ขนาดใหญส่ ามารถใช้เลีย้ งสตั วน์ ้ําหรอื ใชเ้ ปน็ สถานที่ท่องเที่ยวได้และยังช่วยรักษา ระบบนิเวศของแมน่ ้ําได้โดยการปล่อยนํ้าจากเขื่อนเพ่ือไล่น้ําโสโครกในแม่นํ้าท่ีเกิดจากโรงงาน อตุ สาหกรรม นอกจากนีย้ งั สามารถใช้ไล่นํ้าเค็มซ่ึงขึ้นมาจากทะเลกไ็ ด้ ผลประโยชน์ตา่ ง ๆ ดงั กล่าวมาแลว้ ข้างต้น บางอย่างสามารถตีค่าเป็นตัวเงินหรือตัวเลขได้ บางอย่างไม่สามารถกําหนดเป็นตัวเงินหรือตัวเลขได้ในการวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ โดยแยกการประเมินผลประโยชน์ทไี่ ดจ้ ากโครงการ ออกเปน็ 3 สว่ น คือ 1. ส่วนทสี่ ามารถตคี ่าเป็นตัวเงนิ ได้ 1 1.1 ผลประโยชน์ทางด้านผลิตไฟฟ้า ไม่อาจคิดจากราคาขายกระแสไฟฟ้าโดยตรง เพราะ โครงสร้างราคาขายกระแสไฟฟ้าในปัจจุบัน เป็นราคาเฉล่ียของพลังงานไฟฟ้า (Energy) อยา่ งเดียว ไม่มรี าคาค่ากําลังไฟฟา้ หรือพลงั ไฟฟ้า (Power) หากใช้ราคาเฉล่ียของพลังงาน1 ทมี่ า : www.eppo.go.th/encon/Energy_Campaign/Ecam_48_PowerMaeKampong3.html หนา้ 3คู่มอื การพฒั นาและการลงทุนไฟฟา้ พลงั นาํ้

ไฟฟ้าปัจจุบันมาคิดเป็นผลประโยชน์ของโครงการไฟฟ้าพลังน้ํา โดยเฉพาะโรงไฟฟ้า ประเภท Peaking Plant แล้ว จะทําให้ดูเหมือนว่าโครงการดังกล่าวไม่คุ้มทุน ทั้งๆ ที่ จําเป็นจะต้องมีโครงการหลักเกณฑ์ที่นํามาคิดผลประโยชน์แทน เรียกว่า Alternative Cost Approach หลักเกณฑ์ดงั กลา่ วกาํ หนดวา่ ผลประโยชน์ทางด้านการผลิตไฟฟ้าของโครงการไฟฟ้าพลัง น้าํ ก. คือ ค่าลงทุนของโครงการอนื่ ท่สี ูงถัดไปจากโครงการไฟฟ้าพลังนํ้า ก. โดยท่ีโครงการ ท้ังสองสามารถสนองความต้องการทางด้านไฟฟ้าเหมือนกัน การที่จะดูว่าสามารถ ตอบสนองความตอ้ งการทางดา้ นไฟฟ้าได้เหมือนกัน กําหนดได้จากขนาดของโรงไฟฟ้าพลัง นํ้านนั้ ว่าจะเป็นขนาดเลก็ (ต่ํากว่า 5 เมกะวัตต)์ กลาง (6 ถงึ 100 เมกะวัตต์) หรือใหญ่ (สูง กว่า 100 เมกะวัตต์) และประเภทของอ่างเก็บนํ้าว่าจะเป็นแบบอ่างเก็บนํ้า (Reservoir Type) แบบอ่างเก็บน้ําขนาดเล็ก (Pondage Type) แบบอ่างเก็บน้ําเล็กมาก (Run-of- River Type) เม่ือทราบขนาดของโรงไฟฟ้าและแบบอ่างเก็บน้ําแล้ว ก็ทราบคุณสมบัติของ โรงไฟฟ้าที่จะเดินเครื่องในระบบไฟฟ้ารวมได้ เช่น เป็น Peaking Plant, Base Plant หรือ Isolates System เป็นต้น จากน้ันก็จะทราบว่าผลประโยชน์ทางด้านผลิตไฟฟ้าเป็น อย่างไร 1.2 ผลประโยชน์ทางด้านประมงในอ่างเก็บนํ้า ใช้หลักเกณฑ์ง่าย ๆ ท่ัวไป คือ จากการมีอ่าง เกบ็ นา้ํ จึงคาดว่าจะมีปรมิ าณปลาเพิ่มขึ้น ซ่ึงผลประโยชน์ทางดา้ นประมงทีไ่ ด้รับ คือ มูลค่า ปลาทีค่ าดวา่ จะจับได้จากอ่างเก็บนํ้าหักด้วยค่าใช้จ่ายในการจับปลา เช่น ค่าเคร่ืองมือจับ ปลา รวมทั้งค่าซอ่ มและคา่ ดาํ เนินการเปน็ ต้น 1.3 ผลประโยชนด์ า้ นชลประทาน ใหห้ ลักเกณฑข์ องมูลคา่ ผลประโยชน์สุทธิท่ีเพ่ิมข้ึนจากการที่ มโี ครงการไฟฟ้าพลังนํา้ ข้ึนมาเทียบกับกอ่ นมโี ครงการ โดยท่เี ม่อื มกี ารพัฒนาโครงการไฟฟ้า พลังน้ําและระบบชลประทานแล้วเสร็จ ผลผลิตต่อไร่จะสูงข้ึน เนื่องจากสามารถส่งนํ้าได้ สมํ่าเสมอ และระบายน้ําออกได้รวดเร็วเม่ือเกิดนํ้าท่วม เป็นต้น นอกจากนี้ในแต่ละปียัง สามารถทําการเพาะปลูกได้มากกว่าก่อนมีการพัฒนาโครงการ โดยอาจจะเพิ่มการ เพาะปลูกพชื ได้อีก 1-2 คร้งั ต่อปีก็ได้ 2. ส่วนทส่ี ามารถให้ค่าเป็นตัวเลขได้ ได้แก่ ผลประโยชน์ทางบรรเทาอุทกภัย การท่องเท่ียว และการจา้ งงาน เป็นตน้ 2.1 ผลประโยชน์ทางการบรรเทาอุทกภัยเม่ือสร้างเขื่อนแล้วเสร็จจะก่อให้เกิดอ่างเก็บน้ํา ซ่ึง สามารถเกบ็ กกั นา้ํ ในฤดูนํา้ หลากไดจ้ าํ นวนหน่งึ ทรัพย์สิน ได้แก่ บ้านเรือนและแหล่งทํามา หากินของราษฎรท้ายเขื่อนซ่ึงเคยประสบอุทกภัยก่อนมีเขื่อน จะมีบางส่วนได้รับผล กระทบกระเทอื นนอ้ ยลง ตัวอย่างเช่น กอ่ นสร้างเขื่อนมพี น้ื ท่ีทาํ มาหากนิ ของราษฎรจํานวนคมู่ อื การพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั นํา้ หนา้ 4





การไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แหง่ ประเทศไทย 2946.73 MW - ไฟฟ้าพลงั นาํ้ ขนาดใหญ่ 2886.27 MW - ไฟฟา้ พลังนํา้ ขนาดเล็ก 60.46 MVการไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าค (ไฟฟ้าพลังน้าํ ขนาดเลก็ ) 8.65 MWกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน 44.48 MW 43.32 MW - ไฟฟา้ พลงั น้ําขนาดเล็ก 1.16 MW - ไฟฟา้ ระดบั หมบู่ ้าน ประเทศไทยได้กําหนดนโยบายในโครงการไฟฟา้ พลังนํา้ ขนาดเลก็ เพ่ือช่วยประชาชนที่ห่างไกล และได้ดําเนินการโครงการไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดเล็กเรื่อยมา เน่ืองจากศักยภาพพลังนํ้าขนาดเล็กสามารถหล่อเลี้ยงชุมชนไดเ้ ป็นอยา่ งดี การทีม่ ีแหล่งผลติ ไฟฟา้ ของตัวเองในหมู่บา้ น นบั เป็นแนวทางแห่งการพึ่งพาตัวเองอย่างแท้จริง อยา่ งไรก็ตามในขณะนีพ้ ลังไฟฟา้ จากนาํ้ ถอื เปน็ แหล่งพลงั งานทีม่ ศี ักยภาพสงู เพราะนอกจากช่วยลดการนําเขา้ เช้อื เพลงิ จากต่างประเทศแล้ว ยังลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการผลิตไฟฟ้า ลดการสญู เสียในระบบสง่ ไฟฟ้า ย่ิงราคานํา้ มนั ผันผวนจะสง่ ผลให้การผลิตไฟฟ้าจากพลังน้ํามีความโดดเด่น เพราะไม่ต้องซือ้ หาเชือ้ เพลงิ เพื่อใช้เดินเครือ่ งผลิตไฟฟา้ นับว่าชว่ ยลดความเส่ียงจากวิกฤตการณน์ าํ้ มันอยา่ งไดผ้ ล ในแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี พลังนาํ้ ได้ถูกวางเป้าหมายผลิตไฟฟ้าให้ได้ 165 MW ในปี 2554และเปน็ ปรมิ าณ 281 เมกะวัตต์ ภายในปี 2559 และเป็นปริมาณ 324 เมกะวัตต์ในปี 2565 และจากการประเมินศักยภาพผลิตไฟฟ้าพลังน้ําขนาดเล็กของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เมื่อปี2550 พบวา่ ประเทศไทยจะมีศกั ยภาพพลงั นํา้ ขนาดเล็กท่ีสามารถเข้าพฒั นาได้ประมาณ 700 เมกะวัตต์2.1 ประเภทโรงไฟฟา้ พลงั งานนา้ํ ในประเทศไทย แบง่ ตามลักษณะการบงั คบั นา้ํ เพ่ือผลติ ไฟฟา้ ได้ 4 แบบ คือ 1) โรงไฟฟา้ แบบมอี า่ งเกบ็ นา้ํ ขนาดใหญ่ (Reservoir Hydro Plant) โรงไฟฟา้ แบบนี้มีเข่ือนกั้นน้ําขนาดใหญ่และสูงกั้นขวางลํานํ้าไว้ ทําให้เกิดเป็นทะเลสาบใหญ่ ซึ่งสามารถเก็บกักนํ้าในฤดูฝนและนําไปใช้ในฤดูแล้งได้ โรงไฟฟ้าแบบนี้นับว่ามีประโยชน์มาก เพราะสามารถควบคุมการใช้นํ้าในการผลิตกระแสไฟฟ้า เสริมในช่วงท่ีมีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงตลอดปี โรงไฟฟ้าพลังน้ําขนาดใหญ่สว่ นมากในประเทศไทยจดั อยใู่ นโรงไฟฟา้ ประเภทนี้ 2) โรงไฟฟ้าแบบมีอ่างเก็บน้ําขนาดเล็ก (Regulating Pond Hydro Plant) โรงไฟฟ้าแบบมีอา่ งเกบ็ นํ้าขนาดเลก็ ทสี่ ามารถบงั คับการไหลของน้ําได้ในช่วงสั้นๆ เช่น ประจําวัน หรือประจําสัปดาห์ การผลติ ไฟฟา้ จะสามารถควบคุมให้สอดคล้องกับความต้องการได้ดีกว่าโรงไฟฟ้าแบบ (Run-of-river) แต่อยู่ในช่วงเวลาที่จํากัดตามขนาดของอ่างเก็บน้ํา ตัวอย่างของโรงไฟฟ้าประเภทนี้ได้แก่ โรงไฟฟ้าเขื่อนท่าทุ่งนาจงั หวดั กาญจนบุรี และโรงไฟฟ้าขนาดเล็กบา้ นสันติจังหวดั ยะลาคู่มอื การพฒั นาและการลงทุนไฟฟา้ พลังนา้ํ หน้า 7



ไฟฟ้าไปใช้งานก็อาศัยการส่งจ่ายไปตามสายส่งไฟฟ้าในหมู่บ้านของโครงการ ท่ีเรียกว่าแบบ IsolatedSystem หรอื สง่ ไฟยังหมบู่ า้ นและเชื่อมต่อเข้ากับระบบจ่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคด้วย ที่เรียกว่าGrid Connected System โครงการผลิตไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดเล็กจะมีลักษณะของโครงสร้างและส่วนประกอบตา่ งๆของโครงการแตล่ ะประเภทมีลักษณะคล้ายคลงึ กัน จะแตกต่างกนั บา้ งในสว่ นรายละเอียดเท่านน้ั โดยแบง่ ออกได้ ดงั นี้ คอื ก) Micro Hydro หรือโครงการขนาดจ๋ิว หมายถึง โครงการที่มีกําลังผลิตติดตั้งต่ํากว่า 200 กิโลวัตตล์ งมา ซ่ึงโดยทั่วไปจะเป็นแบบ Isolated System ข) Mini Hydro หมายถึง โครงการขนาดเล็ก ที่มีกําลังผลิต 201-6,000 กิโลวัตต์ ซึ่งมีทั้งแบบ Isolated System และแบบ Grid Connected System ค) Small Hydro หมายถึง โครงการขนาดเล็กที่มีกําลังผลิต 6 –15 เมกะวัตต์ ส่วนใหญ่จะเป็น แบบ Grid Connected System2.2 การพัฒนาเทคโนโลยกี งั หนั น้าํ ขนาดเลก็ กังหันน้ําขนาดเล็กใช้เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าในปัจจุบันได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายและได้มีการพฒั นากนั อยา่ งต่อเน่ือง กังหนั น้าํ ขนาดเล็กในปัจจุบันสามารถติดตั้งกับแหล่งพลังนํ้าหลากหลายรูปแบบ ที่ไม่จําเป็นจะต้องเป็นเขื่อนขนาดใหญ่ๆ อย่างแต่ก่อน โดยปกติการติดตั้งกังหันนํ้าจะแบ่งออก 2 ประเภทหลกั ๆ ขึ้นกบั สภาพของแหลง่ พลังนํ้า คอื แบบหัวนา้ํ สงู (High head) และแบบหวั นํา้ ตา่ํ (Low head) หลกั การของการผลิตไฟฟ้าพลังงานนา้ํ คือการเปล่ียนแปลงสภาพของนาํ้ จากสถานะพลังงานศกั ยเ์ ป็นพลังงานไฟฟา้ โดยอาศยั ความแตกต่างของระดับน้ําเหนือเข่ือนและท้ายเข่ือนมาใช้หมุนกังหันนํ้าและเคร่ืองกําเนิดไฟฟ้า เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ซ่ึงในระหว่างกระบวนการเปล่ียนสภาพพลังงานขั้นต่างๆ จะมีความสูญเสีย (Loss) ของพลังงานเกิดขนึ้ เช่น ความสูงของหวั น้าํ , ความเร็วของน้ํา, ความฝืด, การรั่วไหลของนํ้า,การส่ันสะเทือน, การเสียดสีระหว่างเพลากับแบร่ิง ฯลฯ เกิดขึ้น การแปรสภาพจากพลังน้ํามาเป็นพลังไฟฟ้า โดยอาศัยกงั หันน้าํ และเครอ่ื งกําเนิดไฟฟ้าเป็นไปตาม สูตรแสดงความสัมพันธ์ การแปรพลังงานศักย์เปน็ พลังงานไฟฟา้ ดังน้ีคู่มอื การพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลังนา้ํ หน้า 9



รปู แสดงโครงการไฟฟ้าพลังนาํ้ ท้ายเขอ่ื นชลประทาน (2) โครงการไฟฟ้าพลงั น้าํ ขนาดเล็ก เปน็ การสร้างเขอื่ นขนาดเล็กหรือฝายทดน้ํากั้นลํานํ้า โดยผันนา้ํ จากฝายทดน้าํ หรือเขอื่ นไปยังโรงไฟฟา้ ด้วยระบบส่งน้ําเพื่อผลติ กระแสไฟฟา้ เปน็ เทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทนทีมีต้นทุนต่ําท่ีสุด (เทคโนโลยีท่ีมีประสิทธิภาพทําให้ต้นทุนการผลิตตํ่า) จะต้องดําเนินการศึกษาความเหมาะสมโครงการ ศกึ ษาผลกระทบส่ิงแวดล้อม ออกแบบรายละเอียด และทําการก่อสร้าง พร้อมท้ังบริหารจัดการหลังเสรจ็ โครงการโดยสาํ นักพฒั นาพลังงานทดแทน พพ. รปู แสดงโครงการไฟฟา้ พลงั น้ําขนาดเล็ก หน้า 11คมู่ อื การพฒั นาและการลงทุนไฟฟ้าพลังนํา้

2.3.1 ส่วนประกอบทีส่ ําคญั ของโครงการไฟฟา้ พลังนาํ้ ขนาดเล็ก ประกอบดว้ ยส่วนท่สี ําคัญดังนี้ รูปแสดงองคป์ ระกอบของโครงการไฟฟ้าพลงั นาํ้ ขนาดเลก็ 1) ฝายหรือเข่ือนเกบ็ กกั น้ํา (Dam or Weir) เปน็ โครงสรา้ งท่สี ร้างก้ันลําน้ํา ทําหน้าท่ีกักนํ้าหรือทดนํ้าในลาํ น้าํ ใหส้ ูงขน้ึ และควบคุมระดับนํ้า โดยผันนํ้าให้เข้าสู่บริเวณส่วนอาคารรับนํ้า นํ้าสว่ นท่ีมากเกินจะล้นไปทางสนั ฝายหรืออาคารระบายนา้ํ ล้น ลงสู่ลําน้ําทางหลังฝาย รปู แสดงฝายก้นั ลาํ นํา้ค่มู ือการพฒั นาและการลงทุนไฟฟา้ พลงั นํ้า หนา้ 12

2) อาคารรับน้ํา (Intake Structure) เป็นโครงสร้างคอนกรีต ทําหน้าที่เปิด-ปิดน้ําและควบคมุ นา้ํ ในการใช้งาน สร้างอยู่บริเวณริมฝ่ังของลํานํ้าติดกับฝายกั้นน้ํา และปกติจะวางอยู่ในแนวในทิศตั้งฉากกบั ทศิ ทางการไหลของลาํ นาํ้ มีประตเู พอ่ื ปรับการไหลของนํ้าท่ีจะไหลไปยังระบบผันน้ําส่วนประกอบหลกั มีดังน้ี 1.ทางน้ําเข้า 2.ตะแกรงกันขยะ (Trash rack) และ 3.ประตรู ะบายนํ้าทรายจะเปดิ เพ่ือปลอ่ ยทราย หนิ ตะกอน ซง่ึ อยบู่ รเิ วณหนา้ ฝายนํา้ ท้งิ ไปในฤดูนาํ้ มาก ในสภาพการทํางานปกติจะปิดไว้ ประตูนาํ้ จะเปดิ ในตําแหนง่ ทก่ี ว้างสุดไวเ้ สมอ และจะปิดเม่ือต้องการตรวจซ่อมเทา่ น้นั รูปแสดงอาคารรบั น้ํา 3) ระบบผันนํ้า (Headrace) เป็นทางส่งน้ําจากส่วนปากท่อไปยังอ่างนํ้าหรือถังเก็บนํ้า(Forebay or Head Tank) ระบบฝนั นา้ํ อาจประกอบไปดว้ ยคลองส่งน้ําหรือท่อส่งน้ํา โดยปกติจะมีความชันน้อยๆ คงท่ี ซ่ึงอาจจะสร้างจากท่อเหล็ก ท่อคอนกรีตเสริมเหล็กหรือใช้ร่วมกันหลาย ๆแบบ ข้ึนอยู่กับปัจจัยหลาย ๆ อย่าง เช่น สภาพภูมิประเทศ สภาพทางธรณีวิทยา กําลังติดต้ังคา่ ใช้จา่ ยและวสั ดุทหี่ ามาได้ การขนส่ง และการบาํ รงุ รักษา เปน็ ตน้ รปู แสดงระบบผนั นํา้ค่มู ือการพฒั นาและการลงทุนไฟฟ้าพลังนาํ้ หนา้ 13

4) อาคารลดแรงดัน (Fore bay or Head Tank) เป็นส่วนประกอบอันสุดท้ายท่ีจะควบคุมและปรับปริมาณการไหลของน้ํา กําจัดสวะ ตะกอนทรายต่าง ๆ ก่อนท่ีจะส่งไปยังท่อส่งนํ้าแรงดัน (Penstock) และยังเป็นส่วนช่วยป้องกันแรงดันสูงที่จะทําให้เกิดความเสียหายแก่ท่อน้ําแรงดันในกรณที ่ปี ดิ เครือ่ งกงั หันนํา้ อยา่ งทนั ทดี ้วย (Water Hammer) สว่ นนอี้ าจมีหรือไม่มีก็ได้ หรือบางทีก็สร้างเป็น Surge Tank แทน รปู แสดงอาคารลดแรงดนั 5) ทอ่ ส่งแรงดันน้ํา (Penstock) เป็นเหล็กกล้าทนแรงดันสูง ปกติจะวางอยู่เหนือดิน แต่บางทีกฝ็ งั ในดิน ออกแบบใหท้ นต่อแรงดนั น้าํ แรงเคน้ แรงเครียด ท่อน้ําน้ีจะนําน้ําเข้าไปหมุนเคร่ืองกังหันนํา้ ตอ่ ไป รูปแสดงทอ่ สง่ แรงดันนํ้าค่มู อื การพฒั นาและการลงทุนไฟฟ้าพลงั น้ํา หน้า 14

6) อาคารโรงไฟฟ้า (Power House) เป็นอาคารท่ีตั้งของอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าต่าง ๆ เช่นกังหันนํ้า เคร่ืองกําเนิดไฟฟ้า อุปกรณ์ควบคุมต่าง ๆ สวิตซ์บอร์ด ยกเว้นหม้อแปลงไฟฟ้ามักต้ังอยู่นอกอาคาร รปู แสดงอาคารโรงไฟฟ้า 7) เครอ่ื งกงั หันนํา้ (Hydro Turbine) เปน็ อุปกรณ์ท่ีสําคัญ ทําหน้าที่รับนํ้าจากท่อส่งน้ําเปลีย่ นเป็นพลังงานกล ขับเคร่อื งกังหันนา้ํ ซึง่ ต่อเข้ากับเครื่องกําเนิดไฟฟ้ากังหันนํ้าจําแนกออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท 7.1) กงั หนั แบบแรงกระแทกหรือแรงผลัก (Impulse Turbine) เป็นกังหันท่ีหมุน โดยอาศยั แรงฉดี ของน้ําจากทอ่ ส่งน้ําที่รับนํ้าจากที่สูง หรือหัวนํ้าสูง ไหลลงมาตามท่อท่ี ลดขนาดลงมายังหัวฉีดกระแทกกังหันให้หมุน และต่อแกนกับเครื่องกําเนิดไฟฟ้าผลิต ไฟฟ้าออกไป กงั หนั แบบแรงกระแทกแบ่งออกเปน็ 3 ชนดิ คอื 7.1.1) แบบใชก้ ับหวั น้าํ ต่าํ กําลงั ผลิตนอ้ ยใช้แบบ Poncelet Wheelรปู แสดงแบบใชก้ บั หัวนํ้าต่าํ กําลงั ผลติ นอ้ ยใชแ้ บบ Poncelet Wheelค่มู อื การพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั นํา้ หน้า 15

7.1.2) แบบใชก้ ับหวั นํา้ ปานกลาง ใชแ้ บบเทอรโ์ ก (Turgo Type) รูปแสดงกังหนั นาํ้ แบบเทอร์โก7.1.3) แบบใช้กับหวั นาํ้ สูงกาํ ลงั ผลิตมาก ใช้แบบเพลตัน (Pelton Type) รปู แสดงกังหนั นํา้ แบบเพลตัน7.2) กงั หันแบบแรงสะท้อน (Reaction Turbine) เป็นกังหันที่หมุนโดยใช้แรงดันของน้าํ ทเ่ี กดิ จากความต่างระดับของน้าํ ด้านหนา้ และดา้ นทา้ ยของกงั หนั กระทําต่อใบพัดระดับด้านท้ายนํ้าจะอยู่สูงกว่าระดับบนของปลายท่อปล่อยนํ้าออกเสมอ กังหันชนิดนี้เหมาะกับอ่างเก็บนํ้าที่มีความสูงปานกลางและต่ํา กังหันแรงสะท้อน แบ่งได้เป็น 4 แบบคอื 7.2.1) กังหนั ฟรานซิส (Francis Turbine) เป็นกังหันแบบท่ีใช้การไหลช้าของปริมาณนํ้าในใบพัดเป็นแบบแฉกและไหลออกขนานกับแกน ซึ่งแสดงว่ามีการเปลย่ี นทศิ ทางการไหลในขณะผา่ นใบพัด กงั หันฟรานซสิ มที ้งั แบบแกนนอนและแกนตง้ั รปู แสดงกงั หนั น้ําแบบฟรานซิสค่มู ือการพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั นํ้า หน้า 16

7.2.2) กังหันเดเรียซ (Deriaz Turbine) หรือกังหันแบบที่มีการไหลของน้ําในทิศทางทแยงมุมกับแกน กังหันแบบน้ีใช้กับกรณีที่มีหัวนํ้าสูง ส่วนของใบพัดจะเคลอ่ื นที่ได้เมอ่ื มีนา้ํ ไหลผา่ น และมลี ักษณะคล้ายๆ กับกงั หันฟรานซสิ รูปแสดงกงั หนั น้าํ แบบเดเรยี ซ 7.2.3) กังหันคาปลาน (Kaplan Turbine) หรือกังหันแบบใบพัด น้ําจะไหลผา่ นใบพัดในทิศทางขนานกบั แกนของกงั หนั ใช้กับงานที่มีหวั นา้ํ ต่ํา ใบพัดของกังหันคาปลานเป็นใบพัดท่สี ามารถปรับได้ตามมุมของซ่ใี บพัดโดยอัตโนมัติตามแรงอัดหรือแรงฉดี แรงนาํ้ โดยจะสมั พนั ธ์กบั ความแรงทีห่ ัวฉดี นาํ้ รูปแสดงกังหนั น้าํ แบบคาปลาน 7.2.4) กังหันน้ําครอสโฟลว์ (Cross-flow turbine) ตัวเดียวกับ Bankiเปน็ กังหันนา้ํ ที่ทาํ งานโดยให้นํ้าไหลผ่านกังหันในแนวขวางกับกังหันหรือตั้งฉากกับแกนของกังหัน น้ําท่ีผ่านกังหันไหลออกทางด้านตรงข้าม จึงเรียกว่า Cross flow หนึ่งในผู้พฒั นากังหันชนดิ เปน็ ชาวฮังการีชอ่ื DONAT BANKI ดังนนั้ กังหนั นํ้าชนิดน้ี ในยุโรปจึงรู้จักกนั ในชือ่ Banki Turbine ใบพดั เป็นรูปโคง้ เพ่อื ใหส้ มั ผัสกบั แนวนาํ้ ไหลและหัวฉีดน้ํามีลักษณะเปน็ ลน้ิ บังคับน้ํา (guide vane) ของ Francis Turbine ข้อดีของกังหันแบบนี้คอื ประสทิ ธภิ าพของกงั หันค่อนข้างคงท่เี ม่อื อตั ราการไหลแปรผนั และมีราคาถูก หัวน้ําค่มู ือการพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลังนา้ํ หน้า 17

อยูท่ ร่ี ะหวา่ ง 3 เมตร ถึง 70 เมตร กงั หันนาํ้ แบบนนี้ ิยมใช้งานกับโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้าํ ขนาดเลก็ ท่ีมีปรมิ าณนํา้ ไหลเขา้ กังหันไมค่ งท่ี รปู แสดงกังหนั นํา้ แบบครอสโฟลว์ 2.3.2 การเปรียบเทยี บจุดเดน่ และจุดด้อยของเทคโนโลยกี งั หันนํา้ แตล่ ะประเภท กังหันนา้ํ แต่ละแบบจะมคี ่าคณุ สมบัติเฉพาะสาํ หรบั การใชง้ านท่ีแตกตา่ งกนั ซ่ึงจะสามารถสรุปจุดเด่น – จดุ ดอ้ ยของกงั หันนํา้ แตล่ ะแบบดงั นี้ เทคโนโลยี จุดเดน่ จุดดอ้ ย1. เทคโนโลยีกังหนั นาํ้ ชนิด มอี ปุ กรณ์น้อยช้ิน ต้องการเฮดนา้ํ สงู Cross-flow ขนาดน้อย มีขนาดเลก็ ต้องการอัตราไหลมาก กว่า 1 MW สําหรบั งา่ ยตอ่ การผลติ ประสิทธิภาพตาํ่ เขอ่ื นประเภท Run-of งา่ ยต่อการตดิ ตั้งใชง้ าน เสียงดัง river งา่ ยตอ่ การบํารงุ รกั ษา ผลกระทบตอ่ การท่องเที่ยว และสงิ่ แวดลอ้ ม2. เทคโนโลยีกงั หนั นา้ํ ชนิด มอี ปุ กรณ์นอ้ ยช้ิน ตอ้ งการเฮดนํ้าสงู Cross-flow ขนาด ง่ายตอ่ การผลิต ตอ้ งการอตั ราไหลมาก มากกวา่ 1 MW สําหรับ ง่ายต่อการติดตงั้ ใช้งาน ประสทิ ธิภาพตาํ่ เขือ่ นประเภท Run-of เสยี งดัง river ผลกระทบตอ่ การทอ่ งเทีย่ ว และส่ิงแวดล้อม3. เทคโนโลยีกงั หันน้าํ ชนิด ประสิทธภิ าพสูงกวา่ แบบ มีอปุ กรณ์มากช้นิ Francis ขนาดนอ้ ยกวา่ cross-flow ผลิตยากโดยเฉพาะชดุ 1 MW สําหรับเขอ่ื น ตอ้ งการเฮดนํา้ ปานกลาง runner ประเภท Run-of river ตอ้ งการอตั ราไหลมากคมู่ อื การพฒั นาและการลงทุนไฟฟ้าพลงั นํ้า หน้า 18

เทคโนโลยี จุดเดน่ จดุ ด้อย ยากต่อการบํารุงรกั ษา4. เทคโนโลยีกงั หันนํา้ ชนิด ประสทิ ธภิ าพสูงกวา่ แบบ มอี ปุ กรณม์ ากชน้ิ Francisขนาดมากกวา่ 1 cross-flow ผลติ ยากโดยเฉพาะชดุ MW สําหรับเขื่อน ตอ้ งการเฮดนํ้าปานกลาง runner ประเภท Run-of river ต้องการอตั ราไหลมาก ยากต่อการบํารงุ รักษา5. เทคโนโลยกี ังหันน้ําชนิด ประสทิ ธภิ าพสูงกวา่ เม่อื เทยี บ ตอ้ งการเฮดนํา้ สงู มากเม่ือ Pelton ขนาดน้อยกวา่ กับแบบ cross-flow และ เทียบกับแบบ cross-flow 1 MW สาํ หรบั เขือ่ น Francis และ Francis ประเภท Run-of river ตอ้ งการอตั ราไหลนอ้ ย ผลติ ยากโดยเฉพาะชดุ หวั ฉดี มีอปุ กรณ์น้อยช้ิน6. เทคโนโลยกี ังหันนํา้ ชนิด งา่ ยต่อการบาํ รงุ รกั ษา ต้องการเฮดน้ําสงู มากเม่ือ Pelton ขนาดมากกวา่ ประสทิ ธภิ าพสูงกวา่ เมอื่ เทียบ เทยี บกบั แบบ cross-flow 1 MW สาํ หรบั เขือ่ น กับแบบ cross-flow และ และ Francis ประเภท Run-of river Francis ผลิตยากโดยเฉพาะชดุ หัวฉีด ตอ้ งการอัตราไหลนอ้ ย7. เทคโนโลยกี ังหันน้ําชนิด มีอปุ กรณ์นอ้ ยชิ้น ต้องการเฮดนาํ้ สงู cross-flow ขนาดนอ้ ย ง่ายต่อการบํารุงรกั ษา ตอ้ งการอตั ราไหลมาก กว่า 1 MW สาํ หรับ ประสิทธภิ าพต่ํา เข่ือนประเภท มีอุปกรณ์น้อยชิ้น เสยี งดงั Reservior มขี นาดเล็ก ผลกระทบต่อการท่องเที่ยว งา่ ยตอ่ การผลติ และส่งิ แวดล้อม ง่ายต่อการติดตั้งใชง้ าน ตอ้ งการเฮดนํา้ สูง งา่ ยตอ่ การบํารงุ รกั ษา ต้องการอัตราไหลมาก ประสทิ ธภิ าพตํ่า8. เทคโนโลยีกงั หนั น้ําชนิด มอี ปุ กรณน์ ้อยชิ้น เสยี งดงั cross-flow ขนาด มขี นาดเล็ก ผลกระทบต่อการท่องเท่ียว มากกว่า 1 MW สาํ หรับ ง่ายตอ่ การผลติ และสง่ิ แวดลอ้ ม เขือ่ นประเภท งา่ ยต่อการตดิ ตั้งใชง้ าน Reservior ง่ายต่อการบาํ รุงรกั ษา หน้า 19ค่มู อื การพัฒนาและการลงทุนไฟฟ้าพลงั นาํ้

เทคโนโลยี จดุ เดน่ จดุ ด้อย มอี ุปกรณ์มากชนิ้9. เทคโนโลยีกงั หันนํา้ ชนิด ประสทิ ธภิ าพสงู กวา่ แบบ ผลติ ยากโดยเฉพาะชุด Francis ขนาดนอ้ ยกวา่ cross-flow runner 1 MW สาํ หรบั เข่ือน ต้องการเฮดน้าํ ปานกลาง ตอ้ งการอัตราไหลมาก ประเภท Reservior ยากตอ่ การบาํ รุงรักษา มอี ุปกรณม์ ากชิ้น10. เทคโนโลยีกังหันนํ้า ประสทิ ธิภาพสูงกวา่ แบบ ผลิตยากโดยเฉพาะชุด ชนดิ Francis ขนาด cross-flow runner มากกวา่ 1 MW สําหรบั ต้องการเฮดน้าํ ปานกลาง ต้องการอตั ราไหลมาก เขอ่ื นประเภท ยากต่อการบํารงุ รกั ษา Reservior ประสิทธภิ าพสูงกวา่ เมอื่ เทยี บ ต้องการเฮดนํา้ สูงมากเม่อื กบั แบบ cross-flow และ เทยี บกับแบบ cross-flow11. เทคโนโลยกี ังหันนํ้า Francis และ Francis ชนิด Pelton ขนาดนอ้ ย ต้องการอัตราไหลน้อย ผลติ ยากโดยเฉพาะชดุ หวั ฉีด กว่า 1 MW สําหรบั มีอปุ กรณ์น้อยช้ิน เขอื่ นประเภท งา่ ยต่อการบํารุงรกั ษา ต้องการเฮดน้าํ สูงมากเมอ่ื Reservior ประสทิ ธภิ าพสงู กวา่ เม่อื เทยี บ เทียบกบั แบบ cross-flow กับแบบ cross-flow และ และ Francis12. เทคโนโลยีกังหันนํา้ Francis ผลติ ยากโดยเฉพาะชุดหวั ฉดี ชนิด Pelton ขนาด ต้องการอัตราไหลนอ้ ย มากกวา่ 1 MW สําหรบั มีอปุ กรณน์ อ้ ยชิ้น ตอ้ งการอตั ราไหลมาก เข่ือนประเภท ง่ายตอ่ การบาํ รงุ รกั ษา ความเร็วรอบตาํ่ ทาํ ใหต้ ้องมี Reservior มขี นาดเล็ก ตดิ ต้งั ง่ายและ การทดรอบสงู เพ่ือให้ไดอ้ ัตรา กะทดั รัด ความถขี่ องไฟฟา้ ตามท่ี13. เทคโนโลยกี งั หนั นํ้า ออกแบบง่าย ตอ้ งการ ชนิด axial (Kaplan, ต้องการแรงดนั นํ้าต่าํ Bulb) ขนาดน้อยกวา่ 1 MWค่มู อื การพัฒนาและการลงทุนไฟฟา้ พลังนํา้ หน้า 20

เทคโนโลยี จดุ เดน่ จุดด้อย ต้องการเฮดน้าํ ต่ํา14. เทคโนโลยกี งั หันนาํ้ ประสิทธิภาพตํา่ เม่ือมีอตั รา ชนดิ axial (Kaplan, การไหลของนํ้าตาํ่ กว่าคา่ Bulb) ขนาดมากกวา่ 1 Rated ทอี่ อกแบบไว้ MW ค่อนขา้ งมากเม่อื เทียบกบั กังหันแบบอน่ื ๆ มีอปุ กรณม์ ากชิ้น ต้องการอัตราไหลมาก ยากตอ่ การบํารงุ รักษาที่มา : ข้อมลู โครงการประเมินเทคโนโลยกี งั หันน้าํ เพือ่ ผลิตไฟฟา้ ในประเทศไทย2.3.3 แนวทางการพิจารณาคดั เลือกกงั หนั นํา้ การเลือกแบบของเคร่ืองกังหันนํ้าในขั้นต้น พิจารณาได้จากความสัมพันธ์ของหัวนํ้าและกําลังผลิตของกังหนั แบบตา่ ง ๆ แต่ต้องคํานึงถึงความเหมาะสมทางด้านเศรษฐศาสตร์ด้วย โดยทั่วไปเครื่องกังหันน้ําแบบฟรานซสิ เพราะก่อสร้างไดง้ า่ ย มีความเชื่อถือสูง นิยมใช้กันมาก ในกรณีท่ีหัวนํ้าสูงมากโดยทั่วๆ ไปใช้แบบเพลตนั และถ้าหวั นํา้ ตา่ํ กใ็ ช้เครอื่ งกังหันแบบคาปลาน เคร่อื งกงั หนั น้าํ ความสูงหวั น้าํ (เมตร)♦ กังหนั คาปลาน 1-70♦ กงั หันฟรานซิส 15-450♦ กงั หันเพลตัน 150 ในการเลือกใช้เครอ่ื งกังหันนาํ้ อาจเลอื กใช้แบบใดแบบหน่ึงก็ได้ ซ่ึงควรจะนํามาพิจารณาประกอบได้ดงั น้ีo กรณีหัวนา้ํ สงู การเลอื กกังหันเพลตันหรอื ฟรานซสิ ควรพจิ ารณาประกอบ คือ 1. ค่าระดับน้าํ หลากทางท้ายนํ้าสูง กังหันเพลตนั ไม่สามารถใชห้ วั นาํ้ ใต้ระดับของเครื่องกังหัน ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ได้ 2. เมื่อต้องการเดินเครื่องที่มีโหลดต่ออยู่มาก กังหันเพลตันแบบใช้หัวฉีดหลายอันจะให้ ประสทิ ธภิ าพสงู กว่า 3. กังหันฟรานซิส มีความเร็วรอบสูง และสามารถปรับความเร็วรอบตามขนาดของเคร่ือง กําเนดิ ไฟฟา้ ได้ ทําให้เลอื กใช้เคร่ืองกําเนิดไฟฟ้าที่มีราคาตํ่าได้ 4. ถา้ ทอ่ สง่ น้าํ มคี วามยาวและลาดชัดนอ้ ย ควรใชก้ ังหันเพลตนั เพราะค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง ทอ่ สง่ น้ําตาํ่ เนอื่ งจากความดนั ดันในขณะปิดทอ่ สง่ น้าํ ในทันทีท่ ่ตี า่ํ (Sudden Shut Down)คูม่ ือการพัฒนาและการลงทุนไฟฟ้าพลงั นํา้ หน้า 21

5. ในกรณีที่น้ําไหลช้า มักจะนิยมใช้กังหันเพลตันเพราะสามารถตรวจสอบใบพัดและ บาํ รุงรักษาไดง้ ่าย 6. กงั หนั ฟรานซสิ จะมีคา่ กอ่ สร้างโรงไฟฟ้าสูงกวา่ เพราะต้องเพิ่มงานชุดมากกว่าแต่ราคาของ กังหนั ฟรานซิสจะถกู กว่ากงั หันเพลตนั o กรณีหวั นา้ํ ตา่ํ การเลือกกงั หันคาปลาน หรอื กังหนั ฟราสซิส ควรพจิ ารณาคือ 1. เมอ่ื หัวน้ําเปลยี่ นแปลงบอ่ ย ๆ ควรเลอื กใช้กงั หนั คาปลาน 2. กงั หันคาปลานความเร็วสูง ทําให้ราคาของเคร่อื งกาํ เนดิ ไฟฟ้าต่ํา แต่ต้องลดระดับท่อปล่อย นาํ้ ใหต้ ่ํา ซ่ึงท้งั นี้ท่อนา้ํ เข้ากังหันจะตอ้ งใหญ่ข้นึ จงึ ทําให้ค่าใชจ้ า่ ยด้านงานโยธาสงู ขึ้น 3. การบาํ รุงรักษา กังหันฟรานซสิ งา่ ยและสะดวกเพราะก่อสร้างแบบง่าย ๆ ราคาของเครื่อง กังหันกถ็ กู กวา่ กงั หนั คาปลาน รวมทั้งสามารถพิจารณาเบ้ืองต้นในการคัดเลือกชนิดของกังหันน้ําท่ีเหมาะสม ดังแสดงในรูปของกราฟรปู แสดง Turbine Application Chartค่มู อื การพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลังน้ํา หนา้ 22

บทที่ 3 การวิเคราะหก์ ารลงทนุ ผลติ ไฟฟ้าพลังนํ้าท่ีเหมาะสม ในการดําเนินการโครงการพัฒนาไฟฟ้าพลังน้ํา ผู้ดําเนินการโครงการจะต้องพิจารณาการศึกษาขอ้ มลู ตา่ งๆ โดยเฉพาะความเหมาะสมโครงการเบื้องต้น โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณาเบื้องต้นสําหรับการตดั สนิ ใจในการทาํ โครงการไฟฟ้าพลงั นํา้ เบื้องต้นดังนี้1. ความต้องการใช้นํ้าทั้งในปัจจุบันและในอนาคตของผู้ใช้น้ําทั้งหลายในลุ่มน้ํา สิทธิการใช้น้ําท่ีกําลัง ดาํ เนนิ อยู่ และปริมาณน้าํ ต่ําสุดท่ีตอ้ งคงไว้ อาทิ เพ่ือการเพาะพนั ธ์ปลา หรือเพื่อการไลน่ ํ้าเสีย2. ความต้องการของทอ้ งถิ่น ปริมาณไฟฟ้าที่ต้องการและปริมาณไฟฟ้าที่ได้รับอยู่เดิม ต้องนํามาประเมิน เพ่อื พจิ ารณาความตอ้ งการโครงการสรา้ งโรงไฟฟา้ พลงั นํ้าขนาดเล็กในท้องท่ี และพิจารณาทางเลอื ก3. พิจารณาศกั ยภาพของน้ําในพ้ืนที่รับนํ้าฝนที่สามารถนํามาใช้พัฒนาโครงการ ซึ่งสามารถศึกษาได้จาก ภาพถ่ายทางอากาศ หรือแผนทภี่ มู ปิ ระเทศมาตรฐานส่วน 1:50,000 ประกอบกับสถิติปริมาณนํ้าฝนใน ท้องท่ี4. สถิติข้อมูลทางอุตุ-อุทกวิทยาของพื้นที่รับนํ้าฝน เช่น ลักษณะฝน ปริมาณน้ําฝนรายเดือน และรายปี และปริมาณน้ําทา่ ท่ีลํานํ้าท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั โครงการ ถ้าจําเป็นและไม่สามารถหาข้อมูลดังกล่าวได้โดยตรง ขอ้ มูลปริมาณนา้ํ ฝนและขอ้ มูลอณุ หภมู ิ สามารถวเิ คราะหไ์ ด้จากปริมาณการไหลของแหลง่ นา้ํ ทมี่ ีอยู่5. ข้อมลู ด้านอทุ กธรณีวทิ ยาของท้องที่ อิทธพิ ลของระดบั นํ้าใต้ดิน ลักษณะพ้นื ที่ และปริมาณการไหลของ แม่นา้ํ ลําธาร โดยเฉพาะชว่ งฤดแู ล้ง6. ข้อมูลทางธรณีวิทยาของสถานที่ท่ีจะทําโครงการ การซึมหนีของน้ํา ความม่ันคงของตลิ่งลําน้ํา ลาด ภูเขาและปัญหาดินถลม่ ทง่ั นีเ้ พ่อื ความปลอดภัยของงานโยธาและปอ้ งกันการสูญเสยี ทีอ่ าจจะเกิดขนึ้7. การวิเคราะห์ผลกระทบของโครงการต่อสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะพ้ืนที่ต้นนํ้า และผลกระทบต่อการ เพาะพันธ์ุปลาโดยธรรมชาติคมู่ อื การพฒั นาและการลงทุนไฟฟ้าพลงั น้ํา หนา้ 23





วเิ คราะห์ดา้ นเศรษฐกจิ ของโครงการเพื่อประเมินผลตอบแทนต่อการลงทุน จะดูค่ามูลค่าปัจจุบันสุทธิ ดูค่าอัตราสว่ นของผลประโยชน์ต่อต้นทุน อัตราผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ต้นทุนพลังงานไฟฟ้า จากนั้นจะมาวิเคราะห์ต้นทุนโครงการ (Project Costs) และวิเคราะห์ผลประโยชน์ของโครงการ (Project Benefits)กล่าวคอื การวเิ คราะห์ต้นทุนของโครงการ ซึ่งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการลงทุน ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานและบาํ รุงรักษา การวเิ คราะห์ผลประโยชน์โครงการ ประกอบดว้ ย ผลประโยชนด์ า้ นไฟฟ้า ผลประโยชน์ด้านการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากน้ันจึงนํามาวิเคราะห์ความเหมาะสมด้านการเงิน ทั้งนี้เพื่อหาต้นทุนและผลตอบแทนทางการเงิน เพอ่ื ใชพ้ ิจารณาในการวางแผนและตดั สนิ ใจลงทุน ซ่ึงต้องคํานึงถึงเงินเฟ้อ เงินอดุ หนนุ ราคาไฟฟ้า (Adder) เพอื่ ใช้ประเมนิ ค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์ของโครงการด้วย ผลประโยชน์ของโครงการทางการเงินเป็นรายได้หลักจากการขายไฟฟ้า จะทําโดยใช้หลักเกณฑ์และราคาท่ีกําหนดตามระเบียบการรบั ซือ้ ไฟฟ้าสําหรบั ผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP) หรือผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก (SPP) แล้วแต่ขนาดการผลติ ไฟฟา้ ของโครงการ ภายหลังการประเมินการดําเนนิ การโครงการทางด้านวิศวกรรมแล้ว และได้ผลการวิเคราะห์งบประมาณท่ีใช้ในการลงทุนท้ังหมด วิเคราะห์ผลตอบแทนด้านการเงิน วิเคราะห์ถึงปรมิ าณไฟฟา้ ทผ่ี ลติ ได้ และรายได้จากการขายไฟฟ้า ผลประโยชน์ทางด้านสังคม ก็จะนํามาสู่การตัดสินใจของการลงทุนโครงการต่อไป การวเิ คราะห์ผลตอบแทนการลงทนุ จะเป็นการเปรยี บเทียบระหว่างรายได้และรายจ่ายว่า รายได้สูงกว่ารายจ่ายหรือไม่ หากรายได้สูงกว่ารายจ่าย แสดงว่าการลงทุนน้ันคุ้มค่า และหากมีอัตราตอบแทนในระดับสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยของการนําเงินลงทุนนั้นไปลงทุนอย่างอ่ืน หรือสูงกว่าดอกเบ้ียเงินกู้ก็จะหมายความวา่ การลงทุนนน้ั ให้ผลตอบแทนในอัตราที่จูงใจตัวช้ีวัดในประเด็นท่ีกล่าวข้างต้นท่ีใช้กันท่ัวไปมีดังนี้ 3.2.1 มลู คา่ ปัจจบุ ันสทุ ธิ (Net Present Value, NPV) มูลค่าปจั จุบนั สุทธิของโครงการคอื มลู คา่ ปจั จุบันของกระแสเงินสดของโครงการ ซ่ึงสามารถ คาํ นวณได้จากการทําส่วนลดกระแสผลตอบแทนสุทธติ ลอดอายโุ ครงการให้เป็นมลู คา่ ปัจจุบัน ซ่งึ การ วิเคราะห์มูลค่าปัจจุบันสุทธิคือหากค่ามูลค่าปัจจุบันสุทธิ ≥0 แสดงว่าเป็นโครงการที่สมควรจะ ดําเนินการเน่ืองจากมีผลตอบแทนเมื่อเปรียบเทียบ ณ ปัจจุบันมากกว่าค่าใช้จ่ายแต่ในทางตรงกัน ข้ามหากมูลค่าปัจจุบันสุทธิมีค่าน้อยกว่าศูนย์แสดงว่าเป็นโครงการท่ีไม่น่าจะลงทุนเนื่องจากมี ผลตอบแทนเม่ือเปรียบเทยี บ ณ ปจั จุบันนอ้ ยกว่าคา่ ใช้จ่าย 3.2.2 อัตราผลตอบแทนของโครงการ (Internal Rate of Return, IRR) อัตราผลตอบแทนของโครงการคืออตั ราดอกเบ้ยี เงินกู้ที่ทําให้ค่า NPV มีค่าเท่ากับศูนย์ดังน้ัน อัตราผลตอบแทนของโครงการจึงได้แก่อัตราดอกเบ้ียหรือ i ท่ีทําให้ NPV=0 ซ่ึงหากว่าอัตรา ดอกเบี้ยเงินกู้ ณ สถานการณ์ปัจจุบันสูงกว่าค่าอัตราผลตอบแทนของโครงการที่คํานวณได้ก็ไม่ค่มู อื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลงั น้ํา หน้า 26

สมควรทจ่ี ะลงทุนโครงการดงั กลา่ วในทางตรงกนั ขา้ มหากอัตราดอกเบ้ยี เงินกู้ ณ สถานการณป์ ัจจุบันยิ่งต่ํากว่าค่าอัตราผลตอบแทนของโครงการท่ีคํานวณได้มากเท่าไรแสดงเป็นโครงการที่ให้ผลตอบแทนมากขึ้นตามลาํ ดับ3.2.3 ผลประโยชนต์ ่อเงินลงทุน (Benefit-Cost Ratio, B/C) ผลประโยชน์ต่อเงินลงทุนคืออัตราส่วนระหว่างมูลค่าปัจจุบันของกระแสผลตอบแทนหรือมูลคา่ ผลตอบแทนของโครงการเทียบกบั มูลค่าปัจจุบนั ของกระแสตน้ ทุนหรอื ตน้ ทนุ รวมของโครงการซ่ึงรวมท้ัง ค่าวัสดุก่อสร้าง ค่ากังหันน้ํา ค่าท่ีดิน ค่าติดต้ัง ค่าดําเนินการ ค่าซ่อมบํารุงรักษา ถ้าอัตราส่วนที่ได้มากกว่า 1 แสดงว่าควรตัดสินใจเลือกโครงการน้ัน แต่ถ้าอัตราส่วนที่ได้น้อยกว่า 1แสดงวา่ โครงการน้ันไมน่ ่าสนใจลงทนุ แต่ถา้ เท่ากับ 1 แสดงว่าโครงการค้มุ ทนุ3.2.4 ต้นทนุ พลังงานตอ่ หน่วย (Cost of Energy) การพิจารณาความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ท่ีสําคัญอีกตัวชี้วัดหนึ่ง คือ การวิเคราะห์ต้นทุนตอ่ หนว่ ยในการผลิตไฟฟ้าซึ่งวิเคราะห์จากต้นทุนการผลิตตลอดอายุโครงการ สําหรับโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานน้ําต้นทุนเร่ิมต้นในการติดต้ังผลิตไฟฟ้ารวมท้ังต้นทุนค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นรายปีตลอดอายุโครงการท่ที ําการผลิตไฟฟ้าแล้วคาํ นวณหาค่าใช้จ่ายต่อปีทเี่ ทา่ กัน (Equivalent annual costs,EAC) ซ่ึงได้คํานึงถึงการปรับค่าของเวลา และการเลือกค่าเสียโอกาสของทุนที่เหมาะสมเข้าไว้ด้วยแล้วและคํานวณหาตน้ ทนุ ต่อหนว่ ยโดยหารด้วยปริมาณไฟฟา้ ทผ่ี ลิตได้ต่อปี ผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยสามารถใช้ประโยชน์ในการพิจารณาเปรียบเทียบกับราคาไฟฟา้ ที่การไฟฟ้าภมู ภิ าครับซอื้ ซงึ่ จะเปน็ เกณฑก์ ารพจิ ารณาความเหมาะสมในการเลือกพื้นที่ติดต้ังโครงการ และมกี ารวิเคราะห์ผลกรณีทป่ี จั จัยด้านอัตราดอกเบย้ี เปลี่ยนแปลง (Sensitivity Analysis)3.2.5 ระยะเวลาการลงทุน (Pay Back Period) คือ ระยะเวลาท่ีรายได้หลังจากหักค่าใช้จ่ายในการดําเนินการสามารถนําไปชําระเงินท่ีใช้ลงทุนในการพฒั นาโครงการได้ครบถ้วน โดยสว่ นใหญ่ใช้นับเป็นจํานวนปี โครงการท่ีมีระยะเวลาคืนทนุ ส้ันจะเปน็ โครงการท่ดี ีกว่าโครงการทีม่ ีระยะคืนทนุ ยาว โดยทฤษฎีระยะเวลาคนื ทนุ จะต้องไม่นานกว่าอายกุ ารใช้งานของโครงการ แตใ่ นภาคปฏบิ ตั ิระยะเวลาคนื ทุนของโครงการขนาดใหญ่จะยอมรับกนั ท่ี 7-10 ปี3.2.6 งบกระแสเงินสด (Cash Flow) เป็นการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายและรายได้ที่เกิดขึ้นในแต่ละปีในช่วงอายุที่โครงการยังกอ่ ใหเ้ กดิ รายได้วา่ รายได้ที่ได้รับจะเพียงพอต่อค่าใช้จ่ายที่เกิดข้ึนในปีน้ันๆ หรือไม่ ทั้งน้ี เพื่อให้นักลงทุนจะได้ตระหนักและหาทางแก้ไขล่วงหน้าเพ่ือมิให้เกิดสถานการณ์เงินขาดมือในช่วงใดช่วงหนง่ึ ซึ่งจะสง่ ผลใหโ้ ครงการสะดดุ ซ่งึ ในกรณกี ารกู้เงิน สถาบันการเงินจะให้ความสําคัญกับงบกระแสเงินสดมากค่มู ือการพฒั นาและการลงทุนไฟฟา้ พลังนาํ้ หนา้ 27

3.3 ปัจจัยสําคญั ที่มีผลตอ่ การวเิ คราะห์ความเหมาะสมการลงทนุ ทถ่ี ูกต้อง มีดังนี้ o รายจา่ ย (Cost) ประกอบดว้ ย ตน้ ทนุ การลงทุน และคา่ ใช้จา่ ยในการดาํ เนินการ o ต้นทุน ได้แก่ เงินท่ีใช้ลงทุนในการพัฒนาโครงการ เช่น เคร่ืองจักรอุปกรณ์ต่างๆ ฯลฯ ตลอดจนคา่ ติดต้งั ดําเนนิ การทดสอบ o ค่าใช้จ่าย ได้แก่ ค่าดําเนินการในการเดินเครื่องหลังจากการพัฒนาโครงการแล้วเสร็จ เช่น ค่าจ้างพนักงาน ค่าซ่อมแซม ดอกเบ้ียเงินกู้ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ภาษี ฯลฯ แต่ละเทคโนโลยีจะมี ค่าใช้จ่ายเหล่านี้อาจไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับเทคโนโลยีและขนาด และมาตรการส่งเสริมการ ลงทุนของรฐั o ประโยชน์หรือรายรับ (Benefit) รายรับท่ีได้รับจากโครงการ แยกออกเป็น 2 รูปแบบ คือ ประโยชน์โดยตรงทางการเงนิ อนั ไดแ้ ก่ รายได้จากการขายพลงั งานในกรณีท่ีขายให้แก่ภายนอก หรอื การลดคา่ ใช้จา่ ยพลังงานที่ใชอ้ ยู่เดมิ การขายวัสดุที่เหลือจากการผลิตพลังงาน รายได้จาก CDM กับประโยชน์ทางอ้อมที่มิใช่เป็นเม็ดเงินโดยตรงแต่สามารถประเมินเป็นรูปเงินได้ เช่น การลดการกําจัดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ซึ่งในการประเมินผลตอบแทนทาง เศรษฐศาสตร์ จะใช้ประโยชน์ที่เกิดจากทั้งทางตรงและทางอ้อม ผู้ประกอบการจะต้องหา ข้อมูลให้ถูกต้องและถี่ถ้วนถึงราคาพลังงานที่จะขายได้หรือสามารถทดแทนได้ตลอดจน มาตรการสนับสนุนของรัฐที่มีผลต่อรายรับในด้านราคาของพลังงานที่ขาย เช่น adder ระยะเวลาที่ให้การสนับสนุน เพ่ือนาํ มาใช้ประเมินผลตอบแทนโครงการ ข้อเสนอแนะ ขอ้ มูลขา้ งต้นเป็นการให้ความรู้พ้นื ฐานเบ้ืองต้นแก่ผปู้ ระกอบการ เพื่อความเข้าใจและนําไปใชป้ ระกอบการพิจารณาประเมินผลเบ้ืองตน้ แตแ่ นะนาํ ว่าหากจะได้ผลอย่างสมบูรณ์ที่ให้ความเชื่อมั่นอย่างแทจ้ รงิ แกผ่ ูป้ ระกอบการและสถาบนั การเงนิ ควรใหผ้ เู้ ช่ียวชาญด้านการเงนิ เป็นผ้ดู ําเนนิ การวเิ คราะห์คูม่ อื การพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลงั นํา้ หนา้ 28

3.4 ตวั อยา่ งการศึกษาความเหมาะสมของโครงการไฟฟา้ พลงั นาํ้ ระดับหมู่บา้ น 3ห มู่ บ้ า น ท่ี ตั้ ง โ ค ร ง ก า รหรือส่งไฟฟ้า ช่ือบ้านห้วยส้านอยใู่ นหมูท่ ่ี 2 ตําบลแม่กิ๊ อําเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีจํานวนประชากรในหมู่บ้านมีท้ังหมด 135 คน แยกเป็นเพศชาย 60 คน และเพศหญิง 75คน จากครัวเรือนท้ังหมด 19ครัวเรือน โดยมสี มาชกิ ครัวเรือนเฉล่ีย 7.10 คนต่อครัวเรือนการศกึ ษาของสมาชิกในหมู่บ้านส่ ว น ใ ห ญ่ จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ภ า คบังคับ ครัวเรือนในหมู่บ้านส่วนใ ห ญ่ ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ท า ง ก า รเกษตรกรรม ทําไร่ ทํานา โดยมีรายได้จากการประกอบอาชีพ แสดงพื้นที่ตง้ั โครงการไฟฟ้าพลังนาํ้ บา้ นหว้ ยสา้ นประมาณ 20,000 บาท/ อ.ขุนยวม จ.แมฮ่ ่องสอนครัวเรือน/ปีสาธารณสถานท่ตี อ้ งการใช้ไฟฟ้า ไดแ้ ก่ โรงเรยี น วัด เป็นต้น ส่วนครัวเรือนในหมู่บ้านมีการใช้ไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จํานวน 16 ครัวเรือน ส่วนอีก 3 ครัวเรือนยังไม่มีไฟฟ้าใช้หรือคิดเป็นร้อยละ15.78 ของครวั เรือนทั้งหมด ท้งั นี้ครวั เรือนสว่ นใหญใ่ ห้ความรว่ มมือกับหม่บู า้ นอยูใ่ นระดบั ดีมากที่ตั้งโครงการ พิกดั โครงการ 2066434 N 376120 E ระวางแผนท่ี ในลุม่ นา้ํ สาละวนิ ลุ่มน้ําย่อยแม่นํ้ายวมตอนบน มีพนื้ ท่ีรบั น้าํ 22.89 ตารางกโิ ลเมตร3 รายงานฉบับสมบูรณ์ การศกึ ษาจัดทาํ แผนหลกั การพฒั นาโครงการไฟฟา้ พลงั นํา้ ระดบั หมู่บา้ น, กรมพฒั นาพลงั งาน ทดแทนและอนรุ กั ษ์พลังงาน, กมุ ภาพันธ์ 2552ค่มู อื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั นํ้า หนา้ 29

บริเวณท่ีตงั้ โรงไฟฟ้า บรเิ วณฝายน้ําล้น บริเวณแนวทอ่ สง่ นาํ้แสดงลกั ษณะพนื้ ทต่ี ้ังโครงการไฟฟ้าพลังน้ํา บ้านหว้ ยส้าน อาํ เภอขนุ ยวม จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอนข้อมูลอทุ กวิทยา 1) การวิเคราะหค์ วามสัมพันธ์ระหวา่ งปริมาณน้าํ ทา่ รายปเี ฉล่ียกับพ้นื ท่ีรับนํ้าฝน วิเคราะห์จากการหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ําท่ารายปีเฉล่ียกับขนาดของพ้ืนที่รับน้ําฝนด้วยวิธีลุ่มน้ํารวม (RegionalAnalysis) เพ่อื หาปรมิ าณน้าํ ท่ารายปีเฉลี่ยของโครงการจากสมการความสมั พนั ธ์ 2) วิเคราะห์ปริมาณการไหลท่ีช่วงเวลาการเกิด (Flow Duration) การวิเคราะห์จะทําการหาอัตราส่วนปริมาณนํ้าท่าที่ช่วงเวลาการเกิดต่างๆ ต่อปริมาณน้ําท่ารายปีเฉล่ีย (Dimensionless FlowDuration) ของลุ่มน้ํา และวิเคราะห์หาปริมาณนํ้าท่าในช่วงเวลาการเกิดต่างๆ (Flow Duration) ของโครงการ โดยนาํ ปรมิ าณนา้ํ ท่าเฉลี่ยของโครงการท่ีได้จากการแทนค่าพื้นท่ีรับนํ้าในสมการในข้อ 1) คูณกับDimensionless Flow Duration เฉล่ยี ของลุ่มนาํ้ ซ่ึงได้ปรมิ าณน้ําทา่ รายปีเฉล่ีย 10.34 ล้าน ลบ.ม. และมีอตั ราการไหลที่ช่วงเวลาการเกดิ 25, 30, 40 และ 70 เท่ากับ 0.45, 0.39, 0.30 และ 0.14 ลบ.ม.ต่อวินาทีตามลาํ ดบัปรมิ าณนาํ้ หลาก 1) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปริมาณน้ําหลากสูงสุดรายปีเฉล่ียกับพื้นท่ีรับน้ําฝน ได้ทําการวิเคราะหใ์ นลักษณะลุม่ นาํ้ รวม (Regional Flood Frequency Analysis) โดยการใชข้ ้อมูลปริมาณนํ้าหลากของสถานที อี่ ยูใ่ กล้เคยี ง มาหาคา่ ปรมิ าณนํา้ หลากสูงสดุ รายปีเฉลี่ย แล้วนํามาทําการวเิ คราะหส์ มการถดถอยกบั ขนาดของพื้นทรี่ ับน้าํ ฝนของแต่ละสถานี เพ่อื หาปริมาณนาํ้ หลากสูงสดุ รายปีเฉลี่ยของโครงการ 2) วเิ คราะห์คาบการเกดิ ซา้ํ ของปริมาณน้ําหลากสูงสุด จากข้อมูลปริมาณน้ําหลากสูงสุดรายปีที่ได้รวบรวมของสถานีต่างๆ ได้นํามาทําการวิเคราะห์การแจกแจงความถ่ีเพื่อหาคาบของการเกิดซํ้าที่รอบปีต่างๆ โดยวิธี Moment Distribution และวิเคราะห์หาปริมาณน้ําหลากสูงสุดท่ีรอบปีการเกิดซํ้าของโครงการโดยการนําปริมาณน้ําหลากสูงสุดรายปีเฉล่ียของโครงการท่ีได้ในข้อ 1) คูณด้วยค่าอัตราส่วนระหว่างปริมาณน้าํ หลากสงู สดุ ท่รี อบปีต่างๆ ต่อปรมิ าณนํา้ หลากสดู สดุ รายปีเฉล่ยี ของสถานใี นลมุ่ นา้ํ ผลการวิเคราะห์ปริมาณนา้ํ หลากสูงสดุ ในรอบ 25, 50 และ 100 ปี เท่ากับ 16.72, 19.09 และ 21.45 ลบ.ม. ต่อวินาที ตามลําดบัคมู่ อื การพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลังน้าํ หนา้ 30

ลักษณะทางธรณวี ิทยา ตวั ฝายอยทู่ รี่ ะดับความสงู +506.29 ม.รทก. รองรบั ด้วยหินช้ัน (Sedimentary Rock) อายุไทรแอสสิก(Triassic) พบปะปนกันระหว่าง หินกรวดมน (Gravel) หินทราย (Sandstone) และหินปูน (Limestone)โดยในพน้ื ทีร่ าบมักพบเป็นหินกรวดมน (Conglomerate) และหินทราย (Sandstone) สว่ นพนื้ ท่ีเนินเขาพบเป็นหินปูน บริเวณแนวท่อส่งน้ํา (Penstock) วางตัวอยู่บนรอยต่อของหินช้ัน (Sedimentary) จําพวกหินกรวดมน (Gravel) หินทราย (Sandstone) หินปูน (Limestone) ไม่พบรอยเล่ือน (Fault) บริเวณท่ีตั้งฝายในแนวท่อส่วนต้น กับตะกอนตะพักลํานํ้า (Terrace) และตะกอนธารน้ําพา (Alluvium) ในท่อส่วนปลายก่อนเข้าส่โู รงไฟฟา้ ไม่พบรอยเลอ่ื น (Fault) ตามแนวทอ่ ส่งนํา้ โรงไฟฟ้าต้ังอยู่ที่ระดับความสูง +494.16 ม.รทก. ทีต่ ัง้ โรงไฟฟา้ อยู่บนตะกอน (Sediment) อายุควอเทอร์นารี (Quaternary) จําพวกตะกอนธารน้ําพา(Alluvium) ห่างออกไปจากแนวลํานํ้าพบเป็นตะพักลําน้ํา (Terrace) และเศษหินเชิงเขา (Colluvium) ไม่พบว่ามีรอยเลือ่ น (Fault) ในพนื้ ท่ีนี้แหล่งวัสดุกอ่ สร้าง วัสดกุ อ่ สรา้ งในพื้นที่ กรวดและทรายหาได้จากลําน้ํา ส่วนหินสําหรับก่อสร้างในพื้นท่ีนี้ค่อนข้างหายากเน่อื งจากเปน็ ตะกอน อาจใช้หินปูนหรอื หินทรายท่ขี ดุ หรอื ระเบดิ ตามเชงิ เขาในพ้ืนที่ฝายมาใช้สภาพสิง่ แวดลอ้ มทรพั ยากร สภาพแวดล้อมปัจจบุ นั ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มเบอื้ งต้นส่งิ แวดลอ้ ม1. คุณภาพนํ้าผิว - โ คร ง ก า ร ต้ั ง อ ยู่ ใ นลํ า นํ้ า - เนื่องจากการนํานํ้ามาผลิตไฟฟ้า ไม่ทําให้น้ํามีดิน ห้วยส้าน อุณหภูมิสูงข้ึน และยังมีปริมาณและคุณภาพนํ้า - มีการใช้ประโยชน์เพื่อการ เหมือนเดิม ดังนั้นไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการ อุปโภคและการเกษตร นาํ น้ําไปใช้ประโยชน์ของชมุ ชน2. คุณภาพนํ้าใต้ - หมู่บ้านบริเวณพื้นที่โครงการ - การดําเนินโครงการไม่มีผลกระทบต่อคุณภาพน้ําดนิ ไมม่ กี ารใชน้ ํ้าจากบ่อนํา้ ใตด้ นิ ของแหล่งน้ําใต้ดิน เน่ืองจากไม่มีกิจกรรมท่ี ก่อให้เกิดผลกระทบ รวมทั้งชุมชนไม่มีการใช้นํ้า จากบอ่ นาํ้ ใตด้ นิ3. ทรพั ยากรป่าไม้ - พื้นท่ีองค์ประกอบโครงการ - ในการกอ่ สร้างแนวทอ่ สง่ นํา้ จะมีผลกระทบตอ่ การ อยใู่ นพ้ืนทป่ี า่ เพื่อการอนุรักษ์ สูญเสียพื้นท่ีป่าไม้ท่ีตัดผ่าน แต่หลังจากก่อสร้าง (โซน C) เขตป่าแม่เงาป่าแม่ แลว้ เสรจ็ จะปรับพ้นื ทใี่ หเ้ หมอื นเดิม ดังนั้นสภาพ สาํ เพ็ง พ้ืนที่สามารถฟ้ืนคืนสู่สภาพเดิมได้ จึงเป็น - ชนิดพืชหายาก/เฉพาะถ่ินคือ ผลกระทบระดบั ต่าํ ไมด้ ุกเดอื และก่อยก่อคมู่ อื การพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั นาํ้ หน้า 31

ทรัพยากร สภาพแวดลอ้ มปจั จบุ นั ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มเบอื้ งตน้สงิ่ แวดลอ้ ม4. ช้ันคุณภาพลุ่ม - พื้นที่องค์ประกอบโครงการ - ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบ เน่ืองจากไม่ขัดต่อนาํ้ อยใู่ นพนื้ ทล่ี มุ่ น้ําชั้นท่ี 3 มาตรการการใช้ที่ดินในเขตลุ่มนํ้า ท้ังน้ี ในการ ก่อสร้างต้องปฏิบัติตามหลักการอนุรักษ์ดินและ นํา้5. สตั วป์ ่า - ชนิดสัตว์ป่าท่ีพ บบริเวณ - เสียงดังท่ีเกิดข้ึนในช่วงก่อสร้างอาจมีผลกระทบต่อ หมูบ่ า้ นคอื เกง้ และหมูปา่ การดํารงชีพของสัตว์ป่า แต่เป็นผลกระทบใน - ช นิ ด สั ต ว์ ป่ า ที่ ห า ย า ก / ระยะเวลาสัน้ ๆ เฉพาะถิ่นที่พบคือ กระทิง - ในระยะดําเนินการจะมีการเดินเครื่องป่ันไฟซ่ึงมีเสียง หมี และเลียงผา ดังไม่มากนัก รวมทั้งอยู่ภายในอาคาร ทําให้เสียงท่ี เกิดขึ้นสูงกว่าสภาพโดยรอบเล็กน้อย นอกจากนี้ บรเิ วณท่ีต้ังโรงไฟฟ้าปัจจุบันเป็นพื้นท่ีเกษตร จึงคาด วา่ มผี ลกระทบต่อสัตวป์ ่าในระดบั ตาํ่6. การใชท้ ดี่ นิ - บริเวณท่ีต้ังฝายมีสภาพเป็น - ทําให้สูญเสียพื้นท่ีป่าไม้และพื้นที่เกษตรกรรม พนื้ ทรี่ กร้างและพื้นท่ีป่าไม้ บางสว่ นเพือ่ กอ่ สรา้ งโครงการ - บริเวณท่ีต้ังโรงไฟฟ้ามีสภาพ - บริเวณใกล้เคียงโครงการอาจมีการเปล่ียนแปลง เป็นพื้นที่รกร้างและพื้นที่ สภาพการใช้ที่ดินเป็นพื้นที่เกษตรกรรมมากข้ึน เกษตรกรรม (นาข้าว) เนื่องจากมีถนนเขา้ สพู่ ้นื ที่สะดวกขน้ึ7 . ก า ร ค ม น า ค ม - สภาพถนนทางเข้าโครงการ - ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบ เน่ืองจากสภาพจราจรยังขนส่ง เป็นถนนลูกรัง จํานวน 2 คล่องตัว และในการก่อสร้างโครงการที่มีขนาด ชอ่ งทางจราจร ความกว้าง 3 เลก็ จะมจี ํานวนรถบรรทกุ วสั ดุ อุปกรณ์กอ่ สร้างไม่ เมตร มีปรมิ าณจราจรต่าํ มาก - เม่อื มีการปรบั ปรุงถนนเข้าสู่โครงการ จะเป็นผลดี ต่อการขนส่งผลผลิตทางการเกษตร (ข้าว) และ การเข้ามาทาํ งาน8. แหล่งท่องเทยี่ ว - มีแหล่งท่องเท่ียวคือ แหล่งดู - เนื่องจากบริเวณท่ีต้ังโครงการไม่เป็นที่ตั้งของ/สถานท่สี าํ คญั ปลาพวงอยู่ห่างโครงการ แหล่งท่องเที่ยวและสถานที่สําคัญจึงไม่ได้รับ ประมาณ 3 กม. ผลกระทบจากการดาํ เนินโครงการ - ไม่มีแหล่งโบราณคดี/สถานท่ี สําคญัค่มู ือการพัฒนาและการลงทุนไฟฟ้าพลังนา้ํ หนา้ 32

การมีสว่ นร่วมของประชาชน ขอ้ มลู การลงพ้นื ท่ีเพอ่ื สอบถามประชาชนในพื้นท่ี พบว่า ผู้เข้าร่วมประชุมส่วนใหญ่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับการพัฒนาโครงการ และต้องการทจ่ี ะมสี ่วนรว่ มในการพัฒนาโดยช่วยเหลือแรงงานในการก่อสร้าง และควรใหแ้ ตล่ ะครัวเรือนส่งตวั แทนเข้ารว่ มดาํ เนินการ สําหรบั การมีส่วนร่วมในการบริหารโครงการ โดยในประเด็นของรูปแบบการบรหิ ารจดั การเห็นวา่ ควรให้ อบต. บรหิ ารจดั การ และรายได้ส่วนกลางท่ีเกิดจากการบริหารจัดการโครงการควรใช้พัฒนาเฉพาะในชุมชนท่ีเป็นเจ้าของพื้นที่โครงการเท่าน้ัน รวมทั้งมีความเห็นว่าเงินรายได้นั้นส่วนหนึ่งควรนําไปใช้ในการบริหารจัดการควรให้ชุมชนโดยมีองค์การบริหารส่วนตําบลเป็นผู้ให้คําแนะนําและคอยช่วยเหลือการวิเคราะห์การลงทนุ (เปน็ ตวั อยา่ งของการวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทนุ โดยใชฐ้ านขอ้ มลู ปี 2551)ลกั ษณะท่ตี ้งั โครงการ โรงไฟฟา้แผนท่ี 1:50000 หมายเลข 4546 II พื้นท่โี รงไฟฟ้า 20 ตร.ม.ละติจดู 18 41 04 กังหันนา้ํลองติจูด 97 49 36 ชนิด Cross-flowชอ่ื ของลุ่มน้ําหลัก ลุ่มน้าํ สาละวิน ปริมาณนํา้ ออกแบบ 0.45 ลบ.ม./วนิ าทีชือ่ ของลุม่ นา้ํ ย่อย แม่น้าํ ยวมตอนบน ความสงู หวั น้าํ ออกแบบ 11.38 เมตรพน้ื ทีร่ บั นํ้า 22.89 ตร.กม. กงั หนั ผลติ ติดต้ัง 35 กิโลวตั ต์ระดบั เก็บกักปกติ +506.29 ม.รทก. ประสิทธิภาพกังหันน้าํ 75 %ระดับทา้ ยนํา้ +494.16 ม.รทก. ความเร็วรอบ 500 รอบ/นาทีอตั ราการไหลเฉลย่ี 0.33 ลบ.ม./วินาที ชุดควบคุมความเร็วรอบ แบบแมกคานคิปรมิ าณนา้ํ หลากในรอบ 50 ปี 19.09 ลบ.ม./วินาที ประสทิ ธิภาพเครื่องกาํ เนดิ ไฟฟ้าฝาย ขนาด 43.75 kVAยาว 5.00 ม. ประสทิ ธภิ าพเครือ่ งกาํ เนดิ ไฟฟ้า 94 %Free broad 2.00 ม. ความถ่ี 50 Hz.ระบบชกั นํา้ ความเรว็ รอบ 1,500 รอบ/นาทีชนดิ - ตัวประกอบกาํ ลัง 0.8ขนาด - มม. สายส่งไฟฟา้ความยาวท่อชักน้าํ - ม. แรงดนั 3.5 กโิ ลโวลต์ระบบสง่ นํ้า ความยาว 0.895 กม.ชนดิ ท่อเหล็ก พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยรายป0ี .16 ลา้ นหน่วยขนาด 600 มม.ความยาวทอ่ สง่ นํา้ 200 ม.คมู่ อื การพัฒนาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลังนาํ้ หน้า 33

ราคาโครงการราคาหลกั รวมราคาหลัก 1 - 3 2,120,000 บาท1. งานโยธา ราคารอง 290,000 บาท 160,000 บาท1.1 ฝายและอาคารสง่ น้ํา100,000 บาท 1. เตรียมงาน 170,000 บาท 620,000 บาท1.2 ท่อชักนา้ํ 0.0 บาท 2. ควบคุมและดาํ เนินงาน 2,740,000 บาท 78,285.71 บาท1.3 ทอ่ ส่งนํา้ 580,000 บาท 3. สํารองเผื่อขาด1.4 โรงไฟฟา้ 100,000 บาท รวมราคารอง 1 – 3รวม 1. 780,000 บาท รวมราคาโครงการ2. งานเครอ่ื งกล-ไฟฟ้า 1,120,000 บาท ราคา/กิโลวัตต์3. ระบบสายส่งไฟฟ้า 220,000 บาทผลวเิ คราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ 2,505,200.00 บาท1. ราคาโครงการทางเศรษฐศาสตร์ (ราคาฐานปี 2551) 661,379.94 บาท2. ผลประโยชนส์ ทุ ธิ (@ 10%DR)3. อัตราสว่ นผลกาํ ไรต่อคา่ ลงทุน (@ 10%DR) 1.264. อัตราผลตอบแทน (%) 13.603.5 ตัวอย่างโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ําหมู่บ้านแม่กําปอง ต้นแบบโครงการไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดเล็กสาํ หรับชุมชน ปี 2522 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว ได้เสดจ็ พระราชดําเนินเยี่ยมราษฎรหมู่บ้านแม่กําปอง ต.ห้วยแก้ว ก่ิงอําเภอแม่ออน จ.เชยี งใหม่ พบว่า ราษฎรมีความเดือดร้อนเน่ืองจากไม่มีไฟฟ้าใช้ เมื่อถึงเวลากลางคืน ชาวบ้านต้องอาศัยตะเกียงก๊าดให้แสงสว่าง ซึ่งไม่เพียงพอ เนื่องจากอาชพี หลกั ของชาวบา้ นคอื การทาํ ใบเมีย่ ง ต้องอบใบเมีย่ งในเวลากลางคืน ทําให้มองไม่เห็น และที่สําคัญตะเกียงก๊าดก่อให้เกิดเขม่าควันจํานวนมาก ชาวบ้านได้ทูลขอพระราชทานไฟฟา้ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ตอ่ มา ปี 2525 โครงการพัฒนาไฟฟ้าพลังน้ําหมู่บ้านชนบท จ.เชียงใหม่ กรมพัฒนาพลังงานและพลังงานทดแทน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ได้สนับสนุนงบประมาณในการจัดซื้อเครื่องกําเนิดไฟ และวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง เครือ่ งกังหันน้าํ โรงไฟฟา้ พลงั นํา้ แมก่ าํ ปอง 1,2คมู่ ือการพฒั นาและการลงทุนไฟฟ้าพลงั นา้ํ หนา้ 34

ก่อต้ังโรงไฟฟ้าพลังน้ําหมู่บ้านแม่กําปองข้ึน โดยให้ชาวบ้านร่วมออกแรง และหาวัสดุในท้องถิ่นมาร่วมกันกอ่ สร้างต้งั แตฝ่ ายกน้ั นา้ํ ตอ่ ทอ่ สง่ นาํ้ เข้าเครื่องป่ันไฟ เดินสายไฟ ตั้งเสาไฟฟ้า และต่อเข้ามิเตอร์ของแต่ละหลังคา เริม่ แรกมงุ่ ให้ชุมชนมีแสงสว่างใช้ในยามค่ําคืน จึงติดตั้งเคร่ืองกําเนิดไฟฟ้าเพียงขนาด 20 กิโลวัตต์ภายหลงั การกอ่ สร้างเสร็จ ชาวบ้านจึงได้มไี ฟฟ้าใช้ ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2526 ต่อมา พพ. ไดม้ อบโรงไฟฟ้าให้ชุมชนดูแลจัดการเอง พร้อมท้ังให้ความรู้ในการควบคุม บํารุงรักษาระบบกําเนิดไฟ จนกระทั่งชาวบ้านที่จบการศกึ ษาภาคบังคับระดับประถมศึกษาสามารถเข้าใจการทํางานของระบบปั่นไฟ สายไฟ และเข็มมิเตอร์ต่างๆ และสามารถสอนตอ่ ชาวบา้ นดว้ ยกนั ได้ กอ่ นจดั ตัง้ เป็น “สหกรณ์ไฟฟา้ พลงั น้ําบ้านแม่กําปอง” โดยใช้เก็บค่าไฟฟ้าโดยวัดจากมเิ ตอรอ์ ่านเป็นยูนติ ในระยะแรก การใช้ไฟฟ้าไม่ค่อยมีปัญหาไฟฟ้าดับ ไฟฟ้าตกเพราะได้มกี ารกําหนดการใช้ไฟฟ้า โดยไม่ให้ชาวบ้านใช้ไฟฟ้าเกิน 3หลอดต่อหน่ึงหลัง ต่อมาหมู่บ้านใกล้เคียง ได้แก่ บ้านแม่ลาย บ้านธารทอง ได้มาขอร่วมใช้ไฟฟ้าด้วย จึงได้มีการติดต้ังเคร่ืองกังหันน้ําและเครื่องกําเนิดไฟฟ้า ขนาด 20 กิโลวัตต์เพิ่มอีก 1 เคร่ือง เม่ือปี2530 ปี 2532 – 2333 แม้ว่าจะมีโรงไฟฟ้าพลังน้ําถึง 2 โรง แต่เน่อื งจากไมไ่ ดจ้ าํ กดั ปริมาณการใช้ไฟฟา้ จงึ ทําให้เกิดปัญหาไฟฟ้าตกจึงได้มีการแก้ปัญหาโดยการขอความร่วมมือจากชาวบ้านให้รีดผ้าในช่วงกลางวัน ทําอาหารในช่วงกลางวัน ให้ถอดปลั๊กตู้เย็นในช่วงเยน็ เพราะจะเกิดไฟตกในชว่ ง 17.00 – 20.00 น. ปี 2537 จึงได้มีการสร้างโครงการโรงไฟฟ้าแม่กําปอง 3 ซ่ึงมีกําลังการผลิต 40 กิโลวัตต์ เพื่อตอบสนองการใช้ไฟฟ้าทีม่ มี ากขึน้โครงการ จัดต้งั เมอ่ื สร้างเสรจ็ /เริม่ กอ่ สร้าง กาํ ลงั การผลิต จาํ นวนการผลติ ไฟฟา้ ไฟฟา้โรงไฟฟา้ ใช้ โดย (กโิ ลวตั ต)์ (หนว่ ยตอ่ ปี)แมก่ าํ ปอง 1 พ.ศ. 2525 พ.ศ. 2526 พพ. 20แมก่ ําปอง 2 พ.ศ. 2530 พ.ศ. 2530 พพ. 20 175,200แมก่ าํ ปอง 3 พ.ศ. 2537 พ.ศ. 2537 พพ. 40 245,280 การคิดคา่ ไฟสหกรณเ์ กบ็ หนว่ ยละ 2 บาทมาตง้ั แตเ่ ร่ิมตน้ โดยคดิ จากตน้ ทุนทีแ่ จงใหส้ มาชิกผู้ใช้ไฟรับรู้ไดอ้ ยา่ งละเอยี ด ถูกกวา่ ของการไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าค (กฟภ.) นอกจากนวี้ ดั โรงเรยี น ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนใช้ไฟฟ้าฟรี รวมไปถึงถนน ทางสาธารณะในชุมชนก็มีไฟสว่าง ทําให้สหกรณ์มีรายได้ต่อเดือนประมาณ10,000 บาท แมไ้ มใ่ ชร่ ายได้หลัก แต่รายไดจ้ ากการขายไฟฟ้าให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและชุมชนเองจะคมู่ ือการพัฒนาและการลงทุนไฟฟา้ พลงั น้าํ หนา้ 35



บทที่ 4 การส่งเสรมิ การพัฒนาไฟฟา้ พลงั น้ําของประเทศไทย การพัฒนาโครงการไฟฟ้าพลังนํ้ายังคงดําเนินการโดยหน่วยงานของภาครัฐ อย่างไรก็ตามแผนการจูงใจและแนวทางการส่งเสริมพัฒนาในระยะยาว เพอ่ื ผลักดันใหก้ ารดาํ เนินการพัฒนาให้ได้ตามเป้าหมายโดยเฉพาะกับการให้ความสําคัญและแนวทางต่างๆ ต่อการพัฒนาร่วมกับหน่วยงานอื่น ซ่ึงเป็นภาคส่วนท่ีสําคัญมากต่อการดําเนินการเทคโนโลยีในด้านนี้ พบว่าการพัฒนาไฟฟ้าพลังนํ้าเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีท่ีมีความอ่อนไหวและมอี ปุ สรรคคอ่ นข้างมาก แต่อยา่ งไรก็ตาม จุดแข็งและโอกาสของการพัฒนาไฟฟ้าพลังนํ้าขนาดเล็กและเล็กมากท่ีสําคัญในด้านการจัดการ คือ เสริมสร้างฐานะความเป็นอยู่ของชุมชนให้ดีขึ้นสามารถสร้างผลประโยชน์รว่ มกนั (การเพิม่ รายได้สชู่ ุมชน) รวมทง้ั เขือ่ นพลังนํ้าระดับชุมชนจะสามารถช่วยสามารถรักษาพ้นื ที่ปา่ ลุ่มน้ําได้แนวทางทสี่ าํ คัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาไฟฟ้าพลังนํ้าสู่แผนปฏิบัติ ปัจจุบันน้ีปรากฏมีรายการสนบั สนนุ และสงิ่ จงู ใจต่างๆ ดงั มีรายการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ดังนี้คู่มือการพัฒนาและการลงทุนไฟฟา้ พลงั นํ้า หน้า 37

4.1 มาตรการส่วนเพิ่มราคารับซือ้ ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน (Adder Cost)มาตรการสว่ นเพ่มิ ราคารับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน (Adder Cost) เป็นการให้เงินสนับสนุนการผลิตต่อหน่วยการผลิตเป็นการกําหนดราคารับซื้อในอัตราพิเศษหรือเฉพาะสําหรับไฟฟ้าที่มาจากพลงั งานหมนุ เวียน เพือ่ สะท้อนต้นทุนการผลิตจากพลงั งานหมุนเวยี น ภายในระยะเวลารับซ้ือไฟฟ้าท่ีชัดเจนและแน่นอนเป็นมาตรการสนับสนุนที่นิยมใช้กันแพร่หลายมาก ที่สุดในปัจจุบัน เพื่อให้มีผู้ผลิตไฟฟ้าจากพลงั งานหมนุ เวียนมากขึน้ และเป็นการจูงใจให้เกิดการผลติ ไฟฟา้ หลากหลายประเภทพลงั งาน ดงั น้ีตารางที่ 4-1 มาตรการส่วนเพม่ิ ราคารับซอ้ื ไฟฟ้าจากพลังงานหมนุ เวียน (Adder) เชอื้ เพลงิ ส่วนเพ่มิ สว่ นเพมิ่ สว่ นเพ่ิมพเิ ศษใน ระยะเวลา (บาท/kwh) พิเศษ 3 จว.ภาคใต้ สนับสนุน (บาท/kWh)1 (บาท/kWh)2 (ป)ีชวี มวล- กาํ ลังผลติ ติดตั้ง <= 1 MW 0.50 1.00 1.00 7- กาํ ลงั ผลิตตดิ ตง้ั >1 MW 0.30 1.00 1.00 7ก๊าซชวี ภาพ (ทุกประเภทแหล่งผลติ )- กําลงั ผลติ ติดตง้ั <= 1 MW 0.50 1.00 1.00 7- กาํ ลงั ผลิตติดตัง้ >1 MW 0.30 1.00 1.00 7ขยะ (ขยะชุมชน ขยะอุตสาหกรรมไม่อันตราย และไม่เป็นขยะอินทรีย์วตั ถ)ุ- ระบบหมกั หรือหลุมฝังกลบขยะ 2.50 1.00 1.00 7- พลังงานความรอ้ น(Thermal Process) 3.50 1.00 1.00 7พลังงานลม- กาํ ลงั ผลติ ตดิ ตง้ั <= 50 kW 4.50 1.50 1.50 10- กําลังผลิตติดตั้ง > 50 kW 3.50 1.50 1.50 10พลงั งานแสงอาทติ ย์ 6.50/8.003 1.50 1.50 10พลังน้าํ ขนาดเล็ก- กําลังผลิตติดตั้ง 50kW -<200 kW 0.80 1.00 1.00 7- กาํ ลงั การผลติ ตดิ ตง้ั <50 kW 1.50 1.00 1.00 7หมายเหตุ 1. สาํ หรบั ผู้ผลติ ไฟฟ้าพลังงานหมุนเวยี นในพน้ื ที่มีการผลติ ไฟฟ้าจากน้ํามันดเี ซล 2. กพช. เหน็ ชอบใหเ้ พมิ่ พ้นื ที่อีก 4 อําเภอคือ อ.จะนะ อ.เทพา อ.สะบ้าย้อย และ อ.นาทวี จังหวัดสงขลา เม่ือ 25 พ.ย. 53 3. ผู้ท่ีย่ืนขอเสนอขายไฟฟา้ จากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ได้รับหนังสือตอบรับแล้วก่อนวันที่ 28 มิ.ย.53 จะได้ Adder 8 บาท และผู้ทไี่ ดร้ ับหนงั สอื ตอบรับหลัง วนั ท่ี 28 ม.ิ ย. 53 จะได้ Adder 6.50 บาทค่มู ือการพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟ้าพลงั น้าํ หนา้ 38

4.2 โครงการเงินหมนุ เวยี นเพ่ือส่งเสรมิ การใชพ้ ลงั งานทดแทน โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนข้ึนมาเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนในการดําเนินการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนให้แก่โรงงาน อาคาร และบริษัทจดั การพลังงาน โดยผา่ นทางสถาบันการเงิน ท้ังนีม้ ีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื กระตุน้ ใหเ้ กิดการลงทนุ ด้านอนุรักษ์พลงั งานและพลังงานทดแทนรวมทัง้ สร้างความมน่ั ใจและความคุ้นเคยให้กับสถาบันการเงินทเี่ สนอตวั เข้ารว่ มโครงการในการปล่อยสินเช่ือในโครงการดังกล่าวในการปลอ่ ยสนิ เชอื่ โดยใชเ้ งนิ กองทนุ ฯ ให้แก่ โรงงานอาคารและบริษัทจัดการพลงั งานแล้วกองทุนฯยังต้องการใหเ้ น้นการมีส่วนรว่ มในการสมทบเงินจากสถาบันการเงินเพ่ิมมากขึ้นด้วยโดยต้ังแต่เริ่มโครงการจนถึง ณ ปัจจบุ ันไดม้ กี ารดําเนนิ การเสร็จส้นิ ไปแลว้ และอยู่ระหวา่ งดาํ เนินการทง้ั หมด จาํ นวน 6 ครงั้ ดังนี้ 1) โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน โดยสถาบันการเงินระยะท่ี 1 จํานวน1,000ลา้ นบาท เพื่อการอนรุ ักษ์พลังงาน 2) โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน โดยสถาบันการเงินระยะที่ 2 จํานวน2,000ลา้ นบาทเพ่อื การอนรุ กั ษพ์ ลังงานและพลงั งานทดแทน 3) โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนโดยสถาบันการเงิน ระยะท่ี 1จํานวน 1,000 ลา้ นบาทเพ่ือสง่ เสริมการใชพ้ ลงั งานทดแทน 4) โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานโดยสถาบันการเงินระยะท่ี 3 จํานวน 1,000ลา้ นบาทเพ่อื การอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน 6) โครงการเงนิ หมนุ เวยี นเพ่ือการอนุรักษพ์ ลงั งาน โดยสถาบันการเงิน ระยะที่ 3 เพ่ิมเติม จํานวน942.5 ล้านบาทเพ่ือการอนุรกั ษพ์ ลังงานและพลังงานทดแทน 7) โครงการเงินหมุนเวยี นเพื่อการอนรุ กั ษพ์ ลังงานโดยสถาบันการเงินระยะท่ี 4 จํานวน 400 ล้านบาทเพ่อื การอนุรักษ์พลังงานและพลงั งานทดแทน ลักษณะโครงการ/ หลกั เกณฑ์ และเงอื่ นไข กําหนดใหส้ ถาบันการเงินนําเงินท่ี พพ.จัดสรรให้ไปเป็นเงินกู้ผ่านต่อให้โรงงาน/อาคารควบคุมหรือโรงงาน/อาคารท่ัวไปตลอดจนบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) นําไปลงทุนเพ่ือการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน โดยมหี ลักเกณฑแ์ ละเงื่อนไขดงั นี้คมู่ ือการพฒั นาและการลงทุนไฟฟ้าพลังน้าํ หนา้ 39

วงเงนิ โครงการ 1. โครงการเงินหมุนเวียนเพ่ือส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน ระยะท่ี 1 จํานวน 1,000 ล้านบาทอายเุ งนิ กู้ช่องทางปลอ่ ยกู้ 2. โครงการเงินหมุนเวียนเพ่ือการอนุรักษ์พลังงาน ระยะท่ี 3 จํานวน 1,000 ล้านผมู้ ีสทิ ธิ์กู้ บาทวงเงนิ กู้ ไม่เกนิ 7 ปีอตั ราดอกเบย้ี ผา่ นสถาบนั การเงนิ ท่ีเข้าร่วมโครงการโดยต้องรบั ผดิ ชอบเงินทีป่ ล่อยกู้ท้งั หมดโครงการทมี่ ีสทิ ธิ์ เป็นอาคารควบคุมและโรงงานควบคุมตาม พรบ. ส่งเสริมการอนรุ กั ษ์พลังงาน พ.ศ.ขอรบั การสนับสนุน 2535 ประสงคจ์ ะลงทุนในดา้ นการประหยัดพลังงานหรือโรงงาน/อาคารทว่ั ไปต้องเปน็ ตลอดจนบริษัทจดั การพลงั งาน (ESCO) นําไปลงทุนเพ่ือการอนรุ กั ษ์พลงั งาน ไมเ่ กนิ 50 ลา้ นบาทต่อโครงการ ไมเ่ กินรอ้ ยละ 4 ตอ่ ปี (ระหวา่ งสถาบันการเงินกับผูก้ ้)ู โครงการอนุรักษ์พลงั งานหรอื เพ่มิ ประสิทธภิ าพการใชพ้ ลงั งาน ส่งเสริมการอนุรักษพ์ ลังงาน พ.ศ. 2535 มาตรา 7 และมาตรา 17 สถาบันการเงินจะเป็นผู้อนุมัติเงินกู้เพ่ือโครงการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนตามแนวหลกั เกณฑ์และเงอื่ นไขของสถาบนั การเงนิ น้นั ๆ นอกเหนอื จากหลกั เกณฑ์เงือ่ นไขข้างตน้ น้โี ดยดอกเบี้ยวงเงินกู้และระยะเวลาการกู้จะขึ้นอยู่กับการพิจารณาและข้อตกลงระหว่างผู้กู้กับสถาบันการเงิน ข้ันตอนการขอรับการสนบั สนุนคู่มือการพฒั นาและการลงทุนไฟฟ้าพลงั น้ํา หนา้ 40



แล้ว จํานวน 26โครงการ คิดเป็นเงินสนับสนุนจํานวน 407 ล้านบาท และก่อให้เกิดการลงทุนมากกว่า5,000 ล้านบาท ในรอบ 2 ปีท่ีผ่านมา และในระยะต่อไปคณะกรรมการกองทุนเพ่ือส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานได้อนุมัติวงเงินต่อเนื่องอีก 500 ล้านบาทสําหรับรอบการลงทุนในปี 2553-2555เพื่อส่งเสริมการลงทนุ ด้านการอนรุ กั ษพ์ ลังงานและพลังงานทดแทนท่ีมีศักยภาพทางเทคนิคแต่ยังขาดปัจจัยการลงทุนและช่วยผู้ประกอบการหรือผู้ลงทุนให้ได้ประโยชน์จากการขายคาร์บอนเครดิตโดยมีรูปแบบการจะส่งเสริมในหลายลักษณะ อาทิเช่น ร่วมลงทุนในโครงการ (Equity Investment), ร่วมลงทุนในบริษัทจัดการพลังงาน(ESCO Venture Capital) , ร่วมลงทุนในการพัฒนาและซ้ือขายคาร์บอนเครดิต (Carbon Market) , การเช่าซ้ืออุปกรณ์ (Equipment Leasing), การอํานวยเครดิตให้สินเช่ือ (Credit Guarantee Facility) และการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางดา้ นเทคนิค (Technical Assistance) ผู้มีสิทธิย่ืนข้อเสนอ ได้แก่ ผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมและ/หรือ บริษัทจัดการพลังงาน(Energy Service Company – ESCO) ท่ีมีโครงการดา้ นอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนวัตถุประสงค์เพ่ือจะลดปริมาณการใช้พลังงาน เพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงานหรือต้องการปรับเปล่ียนการใช้เชื้อเพลิงมาเป็นพลังงานทดแทน ลกั ษณะการส่งเสริมการลงทุน 1. การเข้าร่วมทุนในโครงการ (Equity Investment) โครงการส่งเสริมการลงทุนฯจะเข้าร่วมลงทุนในโครงการที่ก่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานหรือพลังงานทดแทนเท่าน้ัน เพื่อก่อให้เกิดผลประหยัดพลังงานท้ังน้ีจะต้องมีการแบ่งผลประหยัดพลังงาน (Shared Saving) ตามสัดส่วนเงินลงทุนที่ได้รับการส่งเสริม ระยะเวลาในการส่งเสริมประมาณ 5 - 7 ปีผู้ที่ได้รับการส่งเสริมทําการคืนเงินลงทุนแก่โครงการภายในระยะเวลาที่สง่ เสรมิ 2. การเข้ารว่ มทุนกับบริษัทจัดการพลงั งาน (ESCO Venture Capital)การเข้าร่วมทุนกับบริษัทจัดการพลังงานโดยช่วยให้บริษัทท่ีได้รับพิจารณาร่วมทุนน้ันมีทุนในการประกอบการโดยโครงการจะได้รับผลตอบแทนขึ้นอยู่กับผลประกอบการของบริษัททั้งนี้โครงการจะร่วมหุ้นไม่เกินร้อยละ 30 ของทุนจดทะเบยี นและมีส่วนในการควบคมุ ดแู ลการบรหิ ารจัดการของบรษิ ัท 3. การชว่ ยให้โครงการอนุรักษ์พลังงาน/พลังงานทดแทนได้รับผลประโยชน์จากการขาย CarbonCredit Market (CDM) 4. โครงการส่งเสริมการลงทุนฯจะดําเนินการจัดทําแบบประเมินเบื้องต้นของโครงการ หรือProject Idea Note (PIN) ซ่ึงจะทําให้ผู้ประกอบการสามารถเห็นภาพรวมของโครงการท่ีจะพัฒนาให้เกิดการซื้อขายหรือได้รับประโยชน์จาก Carbon Credit หรือ เป็นตัวกลางในการรับซ้ือ Carbon Credit จากโครงการอนุรักษ์พลังงาน/พลังงานทดแทนที่มีขนาดเล็ก และรวบรวม (Bundle Up) เพื่อนําไปขายในมูลค่าทีส่ ูงขึน้ 5. การเช่าซือ้ อุปกรณป์ ระหยดั พลงั งาน/พลังงานทดแทน (Equipment Leasing)ค่มู ือการพฒั นาและการลงทนุ ไฟฟา้ พลงั น้ํา หน้า 42

6. โครงการส่งเสริมการลงทุนฯจะทาํ การซื้ออุปกรณ์เพ่ือการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนใ ห้ กั บ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ก่ อ น แ ล ะ ทํ า สั ญ ญ า เ ช่ า ซ้ื อ ร ะ ย ะ ย า ว ร ะ ห ว่ า ง ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร กั บ โ ค ร ง ก า ร โ ด ยผู้ประกอบการจะต้องทําการผ่อนชําระคืนเงินต้นพร้อมดอกเบ้ียเป็นรายงวดงวดละเท่า ๆ กันตลอดอายุสัญญาเช่าซื้อ การสนับสนุนในการเช่าซ้ืออุปกรณ์ได้ 100% ของราคาอุปกรณ์นั้น แต่ไม่เกิน 10 ล้านบาทระยะเวลาการผอ่ นชาํ ระคนื 3-5 ปโี ดยคดิ อัตราดอกเบีย้ ตํ่า 7. การอํานวยเครดิตให้สินเช่ือ (Credit Guarantee Facility) โครงการส่งเสริมการลงทุนฯจะดําเนินการจัดหาสถาบันหรือองค์กรที่ให้การสนับสนุนในเร่ือง Credit Guarantee เพ่ือให้โครงการลงทุนได้รับการปล่อยสินเช่ือจากธนาคารพาณิชย์ทั้งนี้โครงการอาจจะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในเรื่องค่าธรรมเนียมรบั ประกนั สินเช่ือท้งั หมดหรือบางส่วนโดยคดิ ค่าธรรมเนียมต่ําในการส่งเสริมในด้านน้ี 8. การช่วยเหลือทางเทคนิค (Technical Assistance) โครงการส่งเสริมการลงทุนฯ จะให้ความชว่ ยเหลอื ทางด้านเทคนคิ ในการอนรุ ักษพ์ ลงั งานและพลังงานแก่ผู้ประกอบการหรือ หน่วยงานองค์การต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับผู้ประกอบการโดยกองทุนจะให้ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิคตั้งแต่เร่ิมต้นจนส้ินสุดระยะเวลาโครงการโดยคิดค่าธรรมเนยี มต่ําในการส่งเสริมหรือ อาจมกี ารแบง่ ผลการประหยดั พลงั งาน สามารถสอบถามรายละเอยี ดเพ่มิ เติมได้ที่ 1. มูลนิธิพลังงานเพ่อื ส่ิงแวดล้อม 487/1 อาคารศรีอยธุ ยา ช้ัน 14 ถนนศรอี ยุธยา ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 02-6426424 -5 โทรสาร 02-642-6426 หรอื สอบถามรายละเอียดเพ่มิ เติมไดท้ ี่ [email protected] 2. มลู นธิ ิอนุรักษพ์ ลังงานแห่งประเทศไทย (กรมพฒั นาพลงั งานทดแทนและอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน – อาคาร 9 ช้ัน 2) เลขท่ี 17 ถนนพระราม 1 เชงิ สะพานกษตั รยิ ศ์ กึ แขวงรองเมอื ง เขตปทมุ วัน กรงุ เทพฯ 10330 โทรศัพท์: 0-2621-8530, 0-2621-8531-9 ต่อ 501, 502 โทรสาร: 0-2621-8502-3คมู่ ือการพัฒนาและการลงทุนไฟฟา้ พลงั นา้ํ หน้า 43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook