Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรที่ 1 รายวิชาที่ 1 Digital Literacy & Disruption 22-11-64

หลักสูตรที่ 1 รายวิชาที่ 1 Digital Literacy & Disruption 22-11-64

Published by Pongsaton Palee, 2022-03-13 12:45:45

Description: หลักสูตรที่ 1 รายวิชาที่ 1 Digital Literacy & Disruption 22-11-64

Search

Read the Text Version

โครงการสมั มนาบรรยายและปฏบิ ัติการ การพัฒนาผูป้ ระกอบการดิจิทัลบนฐานนวัตกรรมและวิถชี ีวติ ใหม่ (Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation) หลกั สูตรท่ี 1 การบรหิ ารจัดการบนฐานวถิ ใี หม่สาหรบั ผปู้ ระกอบการทางด้านดจิ ทิ ลั วันท่ี 22 – 24 พฤศจิกายน 2564 ณ โรงแรมอวานี พัทยา รสี อร์ท จังหวัดชลบรุ ี จดั โดย มหาวิทยาลยั ราชภฏั ราชนครนิ ทร์

หลกั สูตรท่ี 1 การบรหิ ารจดั การบนฐานวถิ ใี หม่สาหรับผู้ประกอบการทางดา้ นดจิ ทิ ัล (Digital Disruption for Entrepreneur) การรอบรู้ทางด้านธุรกจิ และดิจิทัลสาหรบั ผ้ปู ระกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) ผศ.ดร.พรพิมล วิรยิ ะกุล ดร.พงศธร ปาลี

หลักสูตร 1 การบรหิ ารจดั การบนฐานวิถีใหมส่ าหรบั ผู้ประกอบการทางด้านดจิ ทิ ลั (Digital Disruption for Entrepreneur) การรอบรทู้ างด้านธรุ กิจทางด้านดิจิทลั สาหรบั ผูป้ ระกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) การเปลยี่ นผ่านสู่ยุคดิจทิ ลั (Digital Transformation)

อาจารย์ประจาวชิ า ผศ.ดร.พรพิมล วริ ยิ ะกุล ประวัติการศึกษา - Ph.D. (Management) ECU. Australia - รฐั ศาสตรมหาบณั ฑิต (บรหิ ารรัฐกจิ ) มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ - นิติศาสตรบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ - บริหารธุรกจิ บณั ฑิต (การเงินและการธนาคาร) มหาวิทยาลยั รามคาแหง - อดตี คณบดคี ณะวทิ ยาการจดั การ - อดีตประธานหลกั สูตรบริหารธุรกจิ มหาบัณฑิต

อาจารย์ประจาวิชา อาจารย์ ดร.พงศธร ปาลี สาขาวิชาคอมพิวเตอรศ์ ึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ราชนครนิ ทร์ ประวตั ิการศึกษา - ปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื - วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื - ครุศาสตรอตุ สาหกรรมบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

คาอธบิ าย/รายละเอียดหลักสูตร (Course Description) เรียนรู้เก่ียวกับความหมาย องค์ประกอบ ประโยชน์ของการรอบรู้ทางด้าน ธุรกิจและดิจิทัลสาหรับผู้ประกอบการ การเปล่ียนผ่านทางเทคโนโลยีสาหรับ ผู้ประกอบการในยุคดิจิทัล (Digital Disruption Technology for Entrepreneur) การคิดเชิงออกแบบสาหรับผู้ประกอบการ (Design Thinking for Entrepreneur) Empathize (การเข้าใจกลุ่มเป้าหมายอย่างลึกซ้ึง) Define (การตัง้ กรอบปัญหาหรือ โจทย์) Ideate (กระบวนการระดมความคิดเห็น) Prototype (การสร้างต้นแบบ) การทดลอง (Testing) สไตล์ผปู้ ระกอบการเพ่ือธรุ กจิ ยุค Next Normal

พฤติกรรมคาดหวัง (Learning Outcomes) 1 มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับภาพรวมของการรอบรทู้ างด้านธุรกจิ และ ดจิ ิทัลสาหรบั ผู้ประกอบการ 2 มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับองค์ประกอบและประโยชนข์ องการรอบรู้ ทางดา้ นธุรกิจและดจิ ิทลั สาหรับผู้ประกอบการ 3 มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั หลักการการรอบรูท้ างด้านธุรกจิ และ ดจิ ทิ ลั สาหรบั ผู้ประกอบการ 4 มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับขนั้ ตอนในการสร้างการรอบรู้ทางดา้ น ธุรกิจและดิจิทัลสาหรบั ผู้ประกอบการ

ขอบเขตเนื้อหา (Content) ตอนท่ี 1 แนะนารายวิชา ตอนที่ 2 ตอนที่ 3 ความหมาย องค์ประกอบและประโยชน์การรอบรู้ทางด้าน ตอนที่ 4 ธรุ กิจและดิจิทลั สาหรบั ผูป้ ระกอบการ ตอนที่ 5 หลักการออกแบบการรอบร้ทู างด้านธุรกิจและดจิ ิทัล สาหรบั ผปู้ ระกอบการ การสรา้ งเปล่ียนผา่ นทางด้านดจิ ิทัล การสร้างการรอบรู้นวตั กรรมทางดา้ นธรุ กจิ และดิจิทัลสาหรบั ผู้ประกอบการ

รายละเอยี ดของเนอื้ หา (Content Detail) Workshop Detail : การรอบรทู้ างด้านธุรกิจและดจิ ิทลั สาหรบั ผปู้ ระกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) แนะนาระบบซอฟแวรท์ จี่ าเป็นในการทาธรุ กิจ Digital Core Customer Experience Employee Experience Innovation & Innovator แบง่ กล่มุ ทา Workshop โดยมกี จิ กรรม ดงั ตอ่ ไปนี้ - ความเขา้ ใจเบอ้ื งตน้ เกี่ยวกบั Software ทีจ่ าเป็น - แนะนา Use Case สาหรบั ผ้ปู ระกอบการเก่ยี วกบั Digital Disruption

สแกน Line Group รุ่นท่ี 1 Digital RRU 01

การรอบรทู้ างดา้ นธุรกิจและดจิ ทิ ลั สาหรับผ้ปู ระกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur)

Clip VDO : ปรบั ตวั เพื่ออยรู่ อดในยคุ ‘Digital Disruption’ คยุ กับ 'ท็อป จิรายสุ ทรัพยศ์ รีโสภา' ขอขอบคณุ คลิปวีดีโอจาก บรษิ ทั บิทคับ ออนไลน์ จากัด

ท่มี า : Digital Marketing, Gartner 2021

ท่มี า : World Economic Forum 2021









คนไทยในปี 2021 เขา้ ถึงอนิ เทอรเ์ นต็ กวา่ 69.5% ทมี่ า : Digital Stat Thai 2021 Report We Are Social

คนไทยใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตวนั ละ 8 ชั่วโมง 44 นาที

คนไทยใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ บนมือถอื มากเปน็ อันดบั 3 ของโลก

องค์ประกอบและประโยชน์การรอบรู้ทางด้านธรุ กจิ และดิจิทัลสาหรับ ผู้ประกอบการ การเข้าใจดิจิทัล (Digital Literacy) หมายถึง บุคคลมีสมรรถนะในการเข้าถึง ค้นหาคัดกรอง วิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดการ ประยุกต์ใช้ ส่ือสาร สร้าง แบ่งปัน และ ติดตามข้อมูล (Data) สารสนเทศ (Information) และสาร (Content Media) ได้อย่างเหมาะสม ไม่ละเมิดสิทธิผู้อ่ืน มีความรับผิดสอบ ปลอดภัย มีมารยาท ไม่ละเมิดกฎหมาย ดว้ ยเครอ่ื งมอื และเทคโนโลยที ่เี หมาะสม

กรอบสมรรถนะดา้ นดิจทิ ลั การใชด้ ิจิทลั (Digital Skill/ICT Skill) หมายถึง บุคคลมีสมรรถนะในการ ใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีต่าง ๆ ด้านดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ หลากหลาย และสามารถประยุกต์ใช้ในงานได้มากขึ้น ได้แก่ การประกอบ อาชีพ การศึกษาและเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง การดาเนินชีวติ ประจาวัน

กรอบสมรรถนะดา้ นดิจทิ ลั การแก้ปัญหาด้วยเครื่องมือดิจิทัล (Problem Solving with Digital Tools) หมายถงึ บคุ คลมสี มรรถนะในการระบุความต้องการและทรัพยากร ได้ สามารถตัดสินใจใช้เครื่องมือดิจิทัลที่หมาะสมได้อย่างชาญฉลาดตาม วัตถุประสงค์และความต้องการได้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเชื่อมโยงกันด้วย เครอื่ งมอื ดิจิทัลได้ สามารถใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ สามารถแก้ปัญหา เชงิ เทคนิค และสามารถปรับปรงุ พัฒนาสมรรถนะตนเองให้เท่าทนั โลกได้

กรอบสมรรถนะด้านดจิ ทิ ัล การปรบั ตัวการเปล่ยี นแปลงดจิ ทิ ัล (Adaptive Digital Transform) บุคคลมีสมรรถนะในการยืดหย่นุ และปรบั ตวั ตอ่ โลกทม่ี ีการเปลย่ี นแปลง อยา่ งรวดเร็วและกระแสความเปลยี่ นแปลงต่างๆ เชน่ การเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยี (Digital disruption) กระแสโลกาภิวตั น์ (Globalization) เป็นต้น สามารถทางานรว่ มกบั ผ้อู นื่ ท่มี สี ังคมและวฒั นธรรมท่ีหลากหลาย สามารถริเร่มิ และเรยี นรูด้ ้วยตนเอง ท่มี า : สานกั งานคณะกรรมการดจิ ทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ

ทกั ษะการเขา้ ใจดจิ ทิ ัล (Digital Literacy)



ทกั ษะการใช้ดจิ ทิ ลั (Digital Skill/ ICT Skill)



ทักษะการแก้ปญั หาด้วยเครอื่ งมอื ดิจิทัล (Problem Solving with Digital Tools)

ทกั ษะการปรบั เปล่ียนดจิ ทิ ลั (Adaptive Digital Transform)

การเปล่ียนผา่ นสยู่ คุ ดิจิทัล (Digital Transformation) Digital Transformation คอื การนาเอาเทคโนยดี จิ ิทลั เขา้ มาผสมรวม ในกระบวนการทางานขององคก์ ร เพ่อื ให้ องค์กรสร้างคณุ ค่าท่ดี ใี ห้ผ้เู ก่ียวขอ้ งทุกคน และสังคมสว่ นรวม

กญุ แจสาคญั การเปล่ยี นผา่ นส่ยู คุ ดิจทิ ลั ( Key Digital Transformation)

การเปล่ยี นผ่านส่ยู ุคดิจทิ ัล (Digital Transformation)

การเปล่ยี นผ่านส่ยู ุคดิจทิ ัล (Digital Transformation)

การเปล่ยี นผ่านส่ยู ุคดิจทิ ัล (Digital Transformation)

นวตั กรรมเพ่อื การบริหารองคก์ รยุคดจิ ทิ ลั

วถิ แี ห่งองคก์ รนวตั กรรม วจิ ารณ์ พานิช สถาบันสง่ เสริมการจัดการความร้เู พื่อสงั คม (สคส.), 2551

วิถีแห่งองคก์ รนวัตกรรม ความเปน็ อัจฉริยะไมไ่ ดอ้ ยูท่ ค่ี วามรู้ (Knowledge) แตอ่ ย่ทู ่ีเกลียวความรู้ (Knowledge spiral) ไม่ได้อยทู่ อี่ งค์ความรู้ (body of knowledge) แต่อย่ทู กี่ ารประยกุ ต์ใช้ความรู้ (application of knowledge) และการยกระดับความร(ู้ leverage of knowledge)

ววิถถิแี หีแง่ หองง่คก์อรงนควัตก์ กรรรนมวัตกรรม Innovative Organization Learning Organization Knowledge Management ● เรมิ่ จากการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) ● นาไปสูอ่ งคก์ รแหง่ การเรียนรู้ (Learning Organization: LO) ● มุ่งส่อู งค์อจั ฉรยิ ะ (Innovative/ Intelligence Organization: IO)

นวตั กรรมการบรกิ าร


















Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook