Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตร Digital Entreprenure 14-04-65

หลักสูตร Digital Entreprenure 14-04-65

Published by Pongsaton Palee, 2022-04-14 14:44:15

Description: หลักสูตร Digital Entreprenure 14-04-65

Search

Read the Text Version

1 หลกั สูตรโครงการการพัฒนาผู้ประกอบการดจิ ทิ ลั บนฐานนวตั กรรม และวถิ ชี วี ิตใหม่ (Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation) ประจำปงี บประมาณ 2564 โดย มหาวิทยาลยั ราชภฏั ราชนครินทร์ ภายใต้โปรแกรม 16 โครงการปฏิรูประบบ อววน. แผนงานยอ่ ย การพัฒนาความเปน็ เลศิ ของสถาบันอุดมศกึ ษาและผลติ กำลังคนข้นั สงู

2 คำนำ ปัจจุบันโลกมีการแข่งขันที่สูงขึ้น ประเทศไทยจึงต้องปรับเปลี่ยนสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 (Thailand 4.0) เพ่ือใหป้ ระเทศไทยได้มโี อกาสกลายเป็นกลุ่มประเทศท่มี รี ายไดส้ งู ในปัจจบุ ันประเทศ ไทยยังติดอยู่ในโมเดลเศรษฐกิจแบบ “ทำมาก ได้น้อย” หากต้องการปรับเปลี่ยนเป็น “ทำน้อย ได้ มาก” ก็จะต้องเปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” และเปลี่ยนจาก การขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรมมาเปน็ ขบั เคล่ือนดว้ ยเทคโนโลยี ความคดิ สร้างสรรค์ และ นวตั กรรม ภาคการเกษตรก็ต้องเปล่ียนจากการเกษตรแบบดัง้ เดิม กำลังแรงงานทเ่ี ปน็ กำลังสำคัญต้อง เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่ำไปสู่แรงงานที่มีความรู้และทักษะสูง การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มี ศักยภาพได้ตามความคาดหวังนั้นอาจต้องคำนึงถึงนอกจากกระแสความเปลี่ยนแปลงที่กล่าว มาแล้ว นั้น ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 อันประกอบด้วย 1) ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness) 2) ความรูเ้ กยี่ วกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธรุ กจิ และการเปน็ ผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) 3) ความรู้ด้านการเป็นพลเมือง (Civic Literacy) 4) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) 5) ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) เป็นอีกปัจจัยสำคัญที่จำเป็นต้องคำนึงถึงในโลกยุคปัจจุบันควบคู่ไปกับความคาดหวังในการพัฒนา ประเทศ จากความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการในปัจจุบัน รวมถึงการขับเคลื่อน เศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์บนฐานความรู้ (Knowledge-based Economy) ประกอบกับการให้ความสำคัญกับปัญหาและการพัฒนาทักษะแรงงานดิจิทัลและ ผู้ประกอบการที่เป็นกำลังสำคัญของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศ ทีมผู้วิจัยได้ เล็งเห็นถึงการพัฒนาหลักสูตรการอบรมสำหรับผู้ประกอบการบนฐานนวัตกรรมและวิถีชีวิตใหม่เพ่ือ ส่งเสริมทักษะการรู้ดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก และการพัฒนา วิทยากรแกนนำอาจารย์จาก 38 ราชภัฏ ให้นำไปพัฒนาเป็นหลักสูตรต้นแบบในการอบรมและจัดทำ หลักสูตรการสอนท่ีมีความทันสมัย เพื่อตอบโจทย์ให้ผู้กันสถานประกอบการสมัยใหม่และผู้สนใจให้มี สมรรถนะผู้ประกอบการดิจิทัลให้มคี วามรู้ ทักษะ ความสามารถ และทัศนคติที่ดีในการปฏบิ ัตงิ านได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งกระบวนการพัฒนาศกั ยภาพกำลังคนในประเทศน้ีสามารถส่งเสริมการเรยี นรู้ ตลอดชวี ิตในยคุ เศรษฐกจิ และสังคมดจิ ิทลั สร้างสรรค์ได้เปน็ อยา่ งดตี ่อไป ทีมผู้วิจัย คณะผจู้ ดั ทำ

3 สารบัญ หน้า หลกั สูตรที่ 1 การบรหิ ารจดั การบนฐานวถิ ีใหม่สำหรบั ผู้ประกอบการทางด้านดจิ ทิ ลั รายวิชาที่ 1 การรอบรู้ทางด้านธรุ กิจและดิจทิ ลั สำหรับผูป้ ระกอบการ 4 รายวชิ าท่ี 2 การจดั การลูกคา้ สัมพันธส์ ำหรบั ผปู้ ระกอบการสมัยใหม่ 11 รายวชิ าที่ 3 การตลาดดิจิทัลสำหรบั ผ้ปู ระกอบการสมัยใหม่ 17 หลกั สูตรท่ี 2 การบรหิ ารจัดการตลาดดิจทิ ลั รายวิชาท่ี 1 การสรา้ งมลู คา่ ทางธรุ กิจสำหรบั ผู้ประกอบการ 24 รายวิชาท่ี 2 การบริหารจัดการร้านค้าออนไลน์ 30 รายวิชาที่ 3 การสร้างรา้ นคา้ ดิจทิ ลั ผ่านสอื่ สังคมออนไลน์ 36 หลกั สตู รที่ 3 ความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ รายวิชาที่ 1 ความฉลาดทางดจิ ทิ ัลสำหรบั ผูป้ ระกอบการ 41 รายวชิ าที่ 2 นวัตกรรมสร้างสรรคส์ ำหรบั ผู้ประกอบการ 47 รายวชิ าท่ี 3 เศรษฐกิจดิจิทัลกับการเปน็ ผู้ประกอบการสมัยใหม่ 52 ภาคผนวก ภาคผนวก ก คุณวฒุ ขิ องวทิ ยากรประจำหลกั สูตร 57 ภาคผนวก ข ภาพบรรยากาศการวพิ ากษห์ ลกั สตู ร ครง้ั ที่ 1 61 ภาคผนวก ค ภาพบรรยากาศการวิพากษห์ ลักสตู ร ครง้ั ที่ 2 63 ภาคผนวก ง ภาพการนำเสนอหลกั สูตรผา่ นกรรมการประจำ 68 สภาวชิ าการและสภามหาวทิ ยาลัย ภาคผนวก จ เอกสารประกอบการจดั ทำเนื้อหาโครงการพัฒนาผูป้ ระกอบการ 71 บนฐานนวตั กรรมและวิถีชีวิตใหม่ในยุคดจิ ิทลั ภาคผนวก ฉ ภาพบรรยากาศการอบรมแบบ Onsite ทโ่ี รงแรมอวานี รีสอรท์ พทั ยา 92 จังหวัดชลบรุ ี รนุ่ ที่ 1 ภาคผนวก ช ภาพบรรยากาศการอบรมแบบ Onsite ที่โรงแรมอวานี รสี อรท์ พทั ยา 110 จงั หวดั ชลบรุ ี รนุ่ ท่ี 2 ภาคผนวก ซ รายชอื่ สถานประกอบการทเ่ี ขา้ รว่ มอบรม 124

4 หลกั สูตรประกาศนยี บัตร (Non-Degree) มหาวิทยาลยั ราชภัฏราชนครนิ ทร์ การพฒั นาผู้ประกอบการดิจิทัลบนฐานนวัตกรรมและวิถชี ีวิตใหม่ (Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation) 1. ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) การบริหารจดั การบนฐานวถิ ีใหม่สำหรบั ผปู้ ระกอบการทางด้านดจิ ิทลั (ภาษาองั กฤษ) Digital Disruption for Entrepreneur 2. กลมุ่ หลกั สูตร รายวิชาที่ 1 การรอบรทู้ างด้านธุรกิจและดจิ ทิ ัลสำหรบั ผปู้ ระกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) 3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ มหาวิทยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์ 4. รปู แบบการอบรม ภาคทฤษฎี Disruption - การเปลีย่ นผา่ นทางเทคโนโลยสี ำหรบั ผู้ประกอบการในยุคดิจทิ ลั (Digital Entrepreneur) Technology for Entrepreneur) ปัญหาหรอื โจทย์) - การคิดเชิงออกแบบสำหรบั ผูป้ ระกอบการ (Design Thinking for ตน้ แบบ), Empathize (การเข้าใจกลมุ่ เป้าหมายอยา่ งลึกซึง้ ), Define (การต้งั กรอบ Literacy and Ideate (กระบวนการระดมความคิดเหน็ ), Prototype (การสรา้ ง การทดลอง (Testing) ภาคปฏบิ ตั ิ Workshop การรอบรูท้ างดา้ นธรุ กจิ และดจิ ทิ ัลสำหรับผปู้ ระกอบการ (Digital Business for Entrepreneur) แนะนำระบบซอฟแวรท์ ีจ่ ำเปน็ ในการทำธรุ กิจ - Digital Core - Customer Experience - Employee Experience - Innovation แนะนำ Use Case สำหรบั ผปู้ ระกอบการเกยี่ วกบั Digital Disruption แบง่ กล่มุ ทำ Workshop โดยมีกิจกรรม ดงั ตอ่ ไปนี้ - ความเขา้ ใจเบื้องต้นเก่ียวกับ Software ท่จี ำเป็น - Presentation

5 5. ระยะเวลาหลักสตู ร 10 ชวั่ โมง ภาคทฤษฎี จำนวน 3 ชวั่ โมง ภาคปฏบิ ตั ิ จำนวน 7 ชวั่ โมง 6. ช่วงเวลาจัดอบรม เวลา 09.00 น. – 21.00 น. (วันละ 10 ช่วั โมง) 7. คุณสมบตั ิผู้สมัคร คุณสมบตั ขิ องผ้สู มคั รหลกั สูตร Beginner (ระดบั 1) 1. เจา้ ของกิจการ SME/Startup ต้องการปรบั เปลย่ี นองค์กรสอู่ งคก์ รดจิ ิทัลแบบเป็นรูปธรรม ท้ังหมดหรอื บางสว่ น 2. องคก์ รทีต่ อ้ งการปรับเปลี่ยนสูก่ ารเป็นองคก์ รดจิ ิทลั แบบเปน็ รูปธรรม โดยในองค์กรตอ้ งมี การใช้งานดจิ ทิ ัลมาแล้วบางสว่ นงานขององค์กร 3. มีทกั ษะการใช้งานคอมพิวเตอรพ์ ืน้ ฐาน 4. มคี อมพวิ เตอร์โน๊ตบุคสว่ นตัว 5. ตอ้ งยนิ ยอมให้ทางผู้จัดอบรมไดต้ ิดตามผลงานจากความรู้ท่ีไดร้ บั การอบรมไปปรบั ใช้ใน องค์กร 6. สามารถอบรมได้ครบเตม็ เวลาตามหลกั สูตร 8. ช่องทางการสมคั ร Facebook มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ราชนครินทร์, เว็บไซต์มหาวทิ ยาลยั 9. ชอ่ งทางประชาสัมพนั ธ์ Facebook, Line 10. จำนวนทีร่ ับสมคั ร 30 คน 11. สถานท่จี ัดอบรม มหาวิทยาลัยราชภฏั ราชนครินทร์ 12. ภาค/ี หน่วยงานความร่วมมือ ลำดบั ชอ่ื หน่วยงานความรว่ มมือ หมายเหตุ 1 อุตสาหกรรมพัฒนามลู นธิ ิสถาบนั พลาสตกิ 2 บริษัท สุรพล ฟู้ดส์ จำกัด มหาชน 3 บริษทั เอกตรงเคมภี ณั ฑ์ (1985) จำกัด 4 บริษทั ISS Consulting (Thailand) Ltd 5 บริษทั พนัส แอสเซมบลยี ์ จำกดั 6 บมจ.พีทีที โกลบอล เคมิคอล 7 บ.เคทไี ทยโลคอลโพรดคั ส์ จก. 8 บริษทั ปราโมทฟารม์ ไกไ่ ข่ จำกัด 9 บจก.สนามชัยเสาเข็ม 10 บรษิ ทั มารนี ฟายนฟ์ ดู ส์ จำกัด 11 บริษทั จีที ออโตค้ าร์ จำกัด 12 บจก.ดลิ เิ ชยี ส สตอรี่ (ขนมบ้านอมุ๋ ) 13 บรษิ ัท โรงสีเจรญิ ทรัพย์ จำกัด

6 ลำดบั ชอ่ื หน่วยงานความร่วมมือ หมายเหตุ 14 Centara Sonrisa Residence & Suites Sriracha 15 บรษิ ทั เฮอรเิ ทจ ฮอนดา้ ออโตโมบิล จำกดั 16 บริษทั จิตรกรเสริมทรัพยล์ สิ ซิ่ง จำกดั 17 อาทร ฟารม์ 18 ภิณทสุ จำกัด 19 บ.เจ ที โลจสิ ตกิ ส์ เซอรว์ สิ จก. 20 บจก.เอ็มเอ็นคอมพวิ ออฟเซท 21 บรษิ ัท เสอื ออร์กาไนเซอร์ จำกดั 22 นำ้ พริกเกลอื แมส่ าคร 23 พิมพพ์ กั ตร์ 24 บจก. ผลไม้แปรรูปวรพร 25 ห้างหนุ้ ส่วนจำกดั อินีโค 26 Purac (Thailand) Ltd. 27 บจ.ระยองทวีวัฒนา 28 หา้ งเพชรบวั สวุ รรณ 29 บรษิ ัทแกว้ เมืองเพชรขนส่งและการโยธา จำกดั 30 บริษัท สมบูรณ์แอ๊ดวานซ์เทคโนโลยี จำกดั (มหาชน) 31 บจ.ไฮเทคเกลสเซอร์ 32 บริษทั วัจณสรุ ตั น 33 บริษทั อมรสินเจรญิ จำกดั 13. หลักการและเหตุผล การจดั ทำหลักสตู รการบรหิ ารจดั การบนฐานวถิ ีชวี ิตผู้ประกอบการสมยั ใหม่ รายวิชา ความฉลาด ทางดจิ ิทลั สำหรับผปู้ ระกอบการ เป็นผลจากศึกษาและพัฒนาของ DQ institute หน่วยงานทเี่ กดิ จากความร่วมมือ กันของภาครัฐและเอกชนทั่วโลกประสานงานรว่ มกับ เวิลด์อีโคโนมิกฟอร่ัม (World Economic Forum) ที่มุ่งมน่ั ให้เด็ก ๆ ทุกประเทศได้รับการศึกษาด้านทักษะพลเมืองดิจิทัลที่มีคุณภาพและใช้ชีวิตบนโลกออนไลน์อย่าง ปลอดภัยด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสมัยใหม่ ความฉลาดทางดิจิทัล เป็นกรอบแนวคิดที่ครอบคลุมของ ความสามารถทางเทคนิคความรู้ความเข้าใจและความคิดทางสังคมที่มีพื้นฐานอยู่ในค่านิยมทางศีลธรรมที่ช่วยให้ บุคคลที่จะเผชิญกับความท้าทายทางดิจิทัล ความฉลาดทางดิจิทัล มีสามระดับ 8 ด้าน และ 24 สมรรถนะที่ ประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ ทัศนคตแิ ละค่านิยม โดยบทความน้ีจะกลา่ วถึงทักษะ 8 ดา้ นของความฉลาดดิจิทัลใน ระดับพลเมอื งดิจิทัล ซึ่งเป็นความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลและสอื่ ในรูปแบบทป่ี ลอดภัยรับผิดชอบ และมี

7 จริยธรรมโดยเน้นเนื้อหาทฤษฏีเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในบทเรียนและการฝึกปฏิบัติเพื่อนำไปสู่การเป็นผู้ ประกอบยุคใหม่ 14. ความตอ้ งการอาชีพนใ้ี นปจั จบุ ันและอนาคต การพัฒนาแรงงานในสถานประกอบการดิจิทัล (Digital Workforce Development for Entrepreneur) ต้องมุ่งเน้นการสร้างและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วัยทำงานให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์ใช้ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพในการประกอบอาชีพ รวมถงึ การพฒั นาทักษะดา้ นเทคโนโลยดี ิจิทัลในบุคลากร ภาครัฐ ภาคเอกชน ในทุกสาขาอาชีพ ให้มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญในระดับมาตรฐานสากล เพ่ือ รองรับการพัฒนาประเทศในยุคเศรษฐกิจและสังคมที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลือ่ น นอกจาก การอบรมให้ความรเู้ พ่ิมทักษะด้านไอทีแล้ว ในหลายประเทศท่ัวโลกรวมถึงสหประชาชาติและยเู นสโก ยังมีการสอบ วัดมาตรฐานความรู้ความสามารถด้านไอที เป็นเกณฑ์สำหรับคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณภาพสำหรับนุคดิจิทัลใน ขณะเดยี วกนั กเ็ ป็นเสมอื นอีกใบเบิกทางสูโ่ อกาสงานและโอกาสความก้าวหน้าและรายไดท้ ี่ดีกว่าสำหรับนักศึกษาจบ ใหม่และผทู้ กี่ ำลงั มองหาโอกาสงานใหม่ ๆ สำหรับประเทศไทยนนั้ ตอ้ งอาศยั ความร่วมมอื จากทกุ ภาคสว่ น ท้งั ภาครัฐ ภาคการศึกษา ภาคเอกชน รวมทั้งภาคบุคคลคนทั่วไป มุ่งเพิ่มคุณค่าและสร้างบุคลากรที่มีประสิทธิภาพสอดรับ นโยบาย Digital Thailand และ Thailand 4.0 เพอ่ื นำประเทศไทยไปสู่การเปน็ ดิจิทลั อย่างเตม็ รปู แบบ ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการประกอบธุรกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคตจะยิ่งมีความจำ เป็นมากเนือ่ งจากทำให้การดำเนินงาน การติดต่อส่ือสาร การประสานงาน มีความรวดเร็วขึ้น ส่งผ่านข้อมูลได้อย่าง แมน่ ยำ อำนวยความสะดวกท้งั ผู้ประกอบการและผบู้ ริโภค ผู้ทีม่ คี วามรแู้ ละทกั ษะดา้ นดจิ ิทัลจะไดเ้ ปรยี บและจะเป็น ท่ตี ้องการของตลาดแรงงานเปน็ อย่างมาก 15. คำอธิบายหลักสตู ร Digital Disruption คือ การเปลี่ยนแปลงแบบฉับพลันทันทีด้วยดิจิทัล ซึ่งขยายความได้ว่า เป็นการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากเทคโนโลยีดิจิทัลที่พัฒนาขึ้นถึงจุดที่สรา้ งนวัตกรรมใหม่ใหเ้ กิดขึน้ ซึ่งเป็นได้ท้งั ผลิตภัณฑ์ แพลตฟอร์ม หรือโมเดล และเกิดผลกระทบต่อมูลค่าของสนิ ค้า บรกิ าร หรือผลิตภณั ฑ์เดมิ ที่มใี นตลาด รายวิชา การ รอบรู้ทางด้านธุรกิจและดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) เป็น ส่วนหนึ่งของหลักสูตรการบรหิ ารจัดการบนฐานวถิ ีชีวิตผู้ประกอบการสมัยใหม่ (New Normal Management for Entrepreneur Lifestyles) จัดทำขึ้นเพื่อให้ผูป้ ระกอบการ ได้แนวคิดใหม่ในการเปน็ ผู้ประกอบการสมยั ใหม่ และมี ความรู้ความเข้าใจในเรื่อง การเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยีสำหรับผู้ประกอบการในยุคดิจิทัล (Digital Disruption Technology for Entrepreneur) และทักษะความเข้าใจทางด้านดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการเบื้องต้น (Digital Literacy for Basic Entrepreneur) การคิดเชิงออกแบบสำหรับผู้ประกอบการ (Design Thinking for Entrepreneur) Empathize (การเขา้ ใจกลุม่ เป้าหมายอยา่ งลึกซึ้ง), Define (การตงั้ กรอบปัญหาหรอื โจทย์) Ideate (กระบวนการระดมความคดิ เหน็ ), Prototype (การสร้างต้นแบบ) การทดลอง (Testing)

8 วัตถุประสงคข์ องบทเรยี น 1. มีความรู้ความเข้าใจความหมายและความสำคัญของการเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยีสำหรับ ผปู้ ระกอบการในยุคดิจิทลั (Digital Disruption Technology for Entrepreneur) 2. มีความรู้ความเข้าใจความสำคัญของทักษะความเข้าใจทางด้านดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ เบื้องต้น (Digital Literacy for Basic Entrepreneur) 3. มีความรู้ความเข้าใจการคิดเชิงออกแบบสำหรับผู้ประกอบการ (Design Thinking for Entrepreneur) Empathize (การเข้าใจกลุ่มเป้าหมายอย่างลึกซึ้ง), Define (การตั้งกรอบ ปัญหาหรือโจทย์) Ideate (กระบวนการระดมความคดิ เห็น), Prototype (การสร้างต้นแบบ) การทดลอง (Testing) ขอบเขตบทเรียน ตอนที่ 1 การเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยีสำหรับผู้ประกอบการในยุคดิจิทัล ( Digital Disruption Technology for Entrepreneur) ตอนที่ 2 ทักษะความเข้าใจทางด้านดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการเบื้องต้น (Digital Literacy for Basic Entrepreneur) ตอนที่ 3 การคิดเชิงออกแบบสำหรับผู้ประกอบการ (Design Thinking for Entrepreneur) Empathize (การเข้าใจกลุ่มเป้าหมายอย่างลึกซึ้ง), Define (การตั้งกรอบปัญหาหรือโจทย์) Ideate (กระบวนการระดมความคดิ เห็น), Prototype (การสร้างตน้ แบบ) การทดลอง (Testing)

9 16. สมรรถนะของผูผ้ า่ นการอบรม 1. ทกั ษะด้านความฉลาดทางดิจิทัลสำหรบั ผปู้ ระกอบการและการใชเ้ ครื่องมือทางการตลาด ดิจิทลั 2. ทักษะการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และการสร้างนวตั กรรม 3. มีทกั ษะการรอบรู้ทางดา้ นธรุ กิจและดิจทิ ัลสำหรับผู้ประกอบการ 17. โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา การรอบรู้ทางด้านธุรกิจและดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) เปน็ ส่วนหนงึ่ ของหลักสตู รการบริหารจดั การบนฐานวิถีชีวติ ผปู้ ระกอบการสมัยใหม่ (New Normal Management for Entrepreneur Lifestyles) จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ประกอบการ ได้แนวคิดใหม่ในการเป็น ผู้ประกอบการสมยั ใหม่ และมีความรู้ความเขา้ ใจในเรื่อง การเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยสี ำหรับผู้ประกอบการในยุค ดิจิทัล (Digital Disruption Technology for Entrepreneur) และทักษะความเข้าใจทางด้านดิจิทัลสำหรับ ผู้ประกอบการเบื้องต้น (Digital Literacy for Basic Entrepreneur) การคิดเชิงออกแบบสำหรับผู้ประกอบการ (Design Thinking for Entrepreneur) Empathize (การเข้าใจกลุ่มเป้าหมายอย่างลึกซึ้ง), Define (การตั้งกรอบ ปญั หาหรือโจทย์) Ideate (กระบวนการระดมความคดิ เห็น), Prototype (การสร้างต้นแบบ) การทดลอง (Testing) 17.2 เนอื้ หาหลกั สตู ร เน้ือหาหลักสูตร จำนวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏบิ ัติ 1) การรอบรู้ทางด้านธรุ กจิ และดจิ ทิ ลั สำหรบั ผ้ปู ระกอบการ (Digital Literacy and 60 นาที Business for Entrepreneur) 2) การเปล่ยี นผ่านทาง เทคโนโลยสี ำหรบั ผู้ประกอบการในยคุ ดิจทิ ัล (Digital Disruption 60 นาที Technology for Entrepreneur) 3) ทักษะความเข้าใจทางด้านดิจิทลั สำหรับผู้ประกอบการเบื้องต้น (Digital Literacy for 30 นาที 420 นาที 30 นาที 7 ชว่ั โมง Basic Entrepreneur) 3 ชวั่ โมง 4) การคิดเชิงออกแบบสำหรบั ผู้ประกอบการ (Design Thinking for Entrepreneur) 5) Workshop การรอบรู้ทางด้านธุรกิจและดจิ ิทลั สำหรับผู้ประกอบการ (Digital Literacy and Business for Entrepreneur) แนะนำ Use Case สำหรบั ผูป้ ระกอบการเก่ยี วกบั Digital Disruption แบง่ กลุ่มทำ Workshop โดยมีกจิ กรรม ดังตอ่ ไปน้ี - ความเข้าใจเบือ้ งตน้ เกยี่ วกบั Software ท่จี ำเป็น - Presentation รวมจำนวนชวั่ โมง

10 รปู ภาพที่ 2 กรอบสมรรถนะดา้ นดิจทิ ลั (Digital Competence) 18. การประเมนิ ผลการฝกึ อบรม/การรบั รองผลการฝึกอบรม 1. จำนวนชวั่ โมงในการเขา้ รับการฝกึ อบรม 2. แบบทดสอบ ก่อนเรียน/หลังเรียน 19. อาชพี ที่รองรับ 1. สถานประกอบการธรุ กจิ ดจิ ิทัล 2. พนักงานฝ่ายการตลาด/ฝา่ ยขาย 3. พนกั งานฝ่ายลูกคา้ สมั พันธ์ 4. พนักงานฝา่ ยส่ือสารการตลาด

11 หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครนิ ทร์ การพฒั นาผ้ปู ระกอบการดจิ ทิ ัลบนฐานนวัตกรรมและวิถชี วี ิตใหม่ (Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation) 1. ช่อื หลกั สูตร (ภาษาไทย) การบรหิ ารจดั การบนฐานวิถใี หมส่ ำหรบั ผปู้ ระกอบการทางด้านดจิ ทิ ลั (ภาษาอังกฤษ) Digital Disruption for Entrepreneur 2. กลมุ่ หลักสูตร รายวชิ าที่ 2 การจดั การลกู ค้าสมั พันธส์ ำหรบั ผปู้ ระกอบการสมยั ใหม่ (Next Normal Customer Relationship Management) 3. หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครินทร์ 4. รูปแบบการอบรม ภาคทฤษฎี - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการลูกค้าสัมพันธ์สำหรับผู้ประกอบการ สมยั ใหม่ - แนวคิดและหลักการของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ New Normal CRM ว่าด้วยประโยชนข์ องการบริหารลูกคา้ สัมพันธต์ อ่ องคก์ ร - หลกั การในการใช้ระบบCRM ลกั ษณะของ CRM - องค์ประกอบของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์เพื่อธุรกิจยุค New Normal อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า การนำเครื่อง เมอื งทางดจิ ทิ ัลเข้ามาวางการนำกลยทุ ธท์ างดา้ น CRM ไปประยุกตป์ ฏบิ ัติในองค์การ - รูปแบบการสร้างและรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้าปัจจุบัน ว่าด้วยการ สรา้ งและรักษาความสัมพันธก์ ับลูกคา้ โดยการใชฐ้ านขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data Analysis) - ดิจิทัลที่จำเป็นต้องใช้ในการบริหารลูกค้าสัมพันธ์เพื่อธุรกิจยุค New Normal ประกอบด้วยระบบการจดั การความสัมพนั ธก์ บั ลูกค้าอิเล็กทรอนกิ ส์ E-CRM - ประโยชน์ของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์แบบดิจิทลั ปัญหาในการใช้ดิจิทลั สำหรับการบริหารจดั การลกู คา้ สมั พันธ์ ภาคปฏิบตั ิ Workshop Detail : การจดั การลกู คา้ สมั พันธ์สำหรบั ผปู้ ระกอบการสมัยใหม่ (Next Normal Customer Relationship Management) แนะนำระบบการจดั การลกู ค้าสมั พนั ธ์ SAP C/4HANA SAP C/4HANA VDO Clip Power Point ระบบ SAP S/4HANA แนะนำ Use Case สำหรบั ผทู้ ใี่ ช้ระบบการจดั การลกู คา้ สมั พันธ์ CRM CRM Business Process แบง่ กลมุ่ ทำ Workshop โดยมกี ิจกรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี ความเขา้ ใจและใช้งานระบบ CRM เบอื่ งตน้

12 ระดมสมองระบวุ า่ ขอ้ มูลอยา่ งใดที่องค์กรของทา่ นตอ้ งการจากระบบการบริหารจัดการลกู คา้ สมั พันธ์ Presentation 5. ระยะเวลาหลกั สตู ร 10 ช่ัวโมง 6. ช่วงเวลาจัดอบรม ภาคทฤษฎี จำนวน 3 ชวั่ โมง ภาคปฏบิ ตั ิ จำนวน 7 ช่ัวโมง เวลา 09.00 น. – 21.00 น. (วนั ละ 10 ชว่ั โมง) 7. คุณสมบัตผิ ู้สมัคร คุณสมบตั ขิ องผู้สมัครหลกั สูตร Beginner (ระดบั 1) 1. เจ้าของกจิ การ SME/Startup ต้องการปรับเปลีย่ นองค์กรสู่องคก์ รดิจิทัลแบบเป็นรปู ธรรม ท้งั หมดหรอื บางสว่ น 2. องค์กรทีต่ ้องการปรับเปลี่ยนส่กู ารเป็นองค์กรดิจิทัลแบบเป็นรปู ธรรม โดยในองคก์ รตอ้ งมี การใชง้ านดจิ ทิ ลั มาแล้วบางส่วนงานขององค์กร 3. มที กั ษะการใชง้ านคอมพวิ เตอร์พนื้ ฐาน 4. มคี อมพิวเตอร์โน๊ตบุคสว่ นตวั 5. ต้องยนิ ยอมใหท้ างผู้จดั อบรมไดต้ ิดตามผลงานจากความรทู้ ี่ได้รบั การอบรมไปปรับใชใ้ น องค์กร 6. สามารถอบรมได้ครบเตม็ เวลาตามหลักสูตร 8. ช่องทางการสมคั ร Facebook มหาวทิ ยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, เวบ็ ไซตม์ หาวิทยาลัย 9. ช่องทางประชาสัมพนั ธ์ Facebook, Line 10. จำนวนทร่ี บั สมคั ร 30 คน 11. สถานทจ่ี ัดอบรม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์ 12. ภาค/ี หน่วยงานความรว่ มมือ ลำดบั ชอ่ื หน่วยงานความรว่ มมอื หมายเหตุ 1 อุตสาหกรรมพฒั นามลู นิธิสถาบันพลาสตกิ 2 บริษัท สรุ พล ฟู้ดส์ จำกัด มหาชน 3 บรษิ ัท เอกตรงเคมภี ณั ฑ์ (1985) จำกดั 4 บรษิ ทั ISS Consulting (Thailand) Ltd 5 บรษิ ัท พนสั แอสเซมบลีย์ จำกดั 6 บมจ.พีทีที โกลบอล เคมคิ อล 7 บ.เคทีไทยโลคอลโพรดัคส์ จก. 8 บรษิ ัท ปราโมทฟารม์ ไกไ่ ข่ จำกัด

13 ลำดบั ชือ่ หน่วยงานความรว่ มมอื หมายเหตุ 9 บจก.สนามชัยเสาเข็ม 10 บรษิ ัท มารนี ฟายนฟ์ ดู ส์ จำกัด 11 บรษิ ทั จที ี ออโต้คาร์ จำกดั 12 บจก.ดลิ เิ ชียส สตอร่ี (ขนมบา้ นอุ๋ม) 13 บริษัท โรงสเี จรญิ ทรัพย์ จำกดั 14 Centara Sonrisa Residence & Suites Sriracha 15 บรษิ ัท เฮอรเิ ทจ ฮอนด้า ออโตโมบิล จำกัด 16 บรษิ ทั จิตรกรเสริมทรัพยล์ สิ ซ่งิ จำกัด 17 อาทร ฟารม์ 18 ภณิ ทสุ จำกัด 19 บ.เจ ที โลจสิ ติกส์ เซอร์วสิ จก. 20 บจก.เอ็มเอ็นคอมพวิ ออฟเซท 21 บรษิ ทั เสอื ออร์กาไนเซอร์ จำกดั 22 น้ำพริกเกลือแมส่ าคร 23 พิมพ์พักตร์ 24 บจก. ผลไมแ้ ปรรปู วรพร 25 หา้ งหนุ้ สว่ นจำกัด อินโี ค 26 Purac (Thailand) Ltd. 27 บจ.ระยองทวีวัฒนา 28 ห้างเพชรบวั สุวรรณ 29 บริษทั แกว้ เมอื งเพชรขนส่งและการโยธา จำกดั 30 บรษิ ทั สมบูรณแ์ อด๊ วานซเ์ ทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) 31 บจ.ไฮเทคเกลสเซอร์ 32 บริษทั วจั ณสรุ ัตน 33 บริษทั อมรสินเจรญิ จำกดั 13. หลักการและเหตุผล การจัดการลูกค้าสัมพันธ์สำหรับผู้ประกอบการสมัยใหม่ (Next Normal Customer Relationship Management) เป็นส่วนหนง่ึ ของหลักสูตรการบรหิ ารจดั การบนฐานวิถีชีวิตผู้ประกอบการสมยั ใหม่ (New Normal Management for Entrepreneur Lifestyles) จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ประกอบการ ได้แนวคิดใหม่ในการเป็น ผู้ประกอบการสมัยใหม่ และมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง หลักการของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ องค์ประกอบของ

14 การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (New Normal CRM) การสร้างและรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้าปัจจุบัน ระบบการ จัดการเทคโนโลยีกบั การบรหิ ารลกู คา้ สมั พนั ธ์ ระบบการจัดการลกู ค้าสัมพันธ์ 14. ความตอ้ งการอาชีพนใ้ี นปัจจบุ ันและอนาคต การพัฒนาแรงงานในสถานประกอบการดิจิทัล (Digital Workforce Development for Entrepreneur) ต้องมุ่งเน้นการสร้างและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วัยทำงานให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์ใช้ เทคโนโลยีดิจทิ ัลอย่างมปี ระสิทธภิ าพในการประกอบอาชีพ รวมถึงการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยดี ิจิทัลในบคุ ลากร ภาครัฐ ภาคเอกชน ในทุกสาขาอาชีพ ให้มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญในระดับมาตรฐานสากล เพื่อ รองรับการพัฒนาประเทศในยุคเศรษฐกิจและสังคมที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อน นอกจาก การอบรมใหค้ วามรู้เพมิ่ ทักษะด้านไอทแี ล้ว ในหลายประเทศทวั่ โลกรวมถึงสหประชาชาติและยูเนสโก ยังมีการสอบ วัดมาตรฐานความรู้ความสามารถด้านไอที เป็นเกณฑ์สำหรับคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณภาพสำหรับนุคดิจิทัลใน ขณะเดยี วกนั ก็เป็นเสมือนอีกใบเบิกทางสโู่ อกาสงานและโอกาสความก้าวหนา้ และรายได้ท่ีดีกว่าสำหรับนักศึกษาจบ ใหมแ่ ละผทู้ ีก่ ำลังมองหาโอกาสงานใหม่ ๆ สำหรับประเทศไทยนนั้ ต้องอาศยั ความรว่ มมือจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคการศึกษา ภาคเอกชน รวมทั้งภาคบุคคลคนทั่วไป มุ่งเพิ่มคุณค่าและสร้างบุคลากรที่มีประสิทธิภาพสอดรับ นโยบาย Digital Thailand และ Thailand 4.0 เพื่อนำประเทศไทยไปสู่การเป็นดิจิทลั อยา่ งเต็มรูปแบบ ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการประกอบธุรกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคตจะยิ่งมีความจำ เป็นมากเนือ่ งจากทำให้การดำเนินงาน การติดต่อสือ่ สาร การประสานงาน มีความรวดเร็วขึ้น ส่งผ่านข้อมูลได้อย่าง แม่นยำ อำนวยความสะดวกท้ังผู้ประกอบการและผู้บรโิ ภค ผ้ทู ี่มคี วามรแู้ ละทกั ษะด้านดจิ ิทลั จะไดเ้ ปรยี บและจะเป็น ทีต่ อ้ งการของตลาดแรงงานเป็นอยา่ งมาก 15. คำอธิบายหลกั สูตร การจัดการลูกค้าสัมพันธ์สำหรับผู้ประกอบการสมัยใหม่ ( Next Normal Customer Relationship Management) แบ่งเนื้อหาวิชาออกเป็น 7 บท ได้แก่ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ ลูกค้าสัมพันธ์สำหรับผู้ประกอบการสมัยใหม่ ว่าด้วยความหมายของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ วิวัฒนาการของ การตลาดลูกค้าสัมพันธ์ บทที่ 2 แนวคิดและหลักการของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ New Normal CRM ว่าด้วย ประโยชน์ของการบริหารลูกคา้ สมั พันธ์ต่อองคก์ ร บทท่ี 3 หลักการในการใชร้ ะบบCRM ลักษณะของCRM ท่ีดี โดย ใช้เครื่องมือทางด้านดิจิทัล บทที่ 4 องค์ประกอบของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์เพื่อธุรกจิ ยุค New Normal อย่างมี ประสิทธิภาพ ประกอบด้วย เครื่องมือทีใ่ ช้ในการจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า การนำเครื่องเมืองทางดิจิทัลเข้ามา วางการนำกลยทุ ธ์ทางด้าน CRM ไปประยุกตป์ ฏิบตั ใิ นองคก์ าร บทท่ี 5 รปู แบบการสรา้ งและรกั ษาความสัมพันธก์ ับ ลูกค้าปัจจุบัน ว่าด้วยการสร้างและรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้า โดยการใช้ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analysis) บทที่ 6 ดจิ ิทัลที่จำเปน็ ต้องใช้ในการบริหารลูกค้าสมั พันธ์เพอ่ื ธุรกจิ ยุค New Normal ประกอบดว้ ยระบบ การจัดการความสัมพนั ธก์ ับลกู คา้ อิเล็กทรอนกิ ส์ E-CRM บทที่ 7 ประโยชน์ของการจัดการลกู ค้าสมั พันธ์แบบดิจิทัล ปญั หาในการใช้ดจิ ิทัลสำหรับการบริหารจัดการลูกคา้ สัมพนั ธ์

15 16. สมรรถนะของผผู้ า่ นการอบรม 4. ทักษะดา้ นความฉลาดทางดิจิทลั สำหรับผู้ประกอบการและการใช้เครื่องมือดิจิทลั ทาง ระบบปฏบิ ัตกิ าร CRM 5. ทักษะการพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์และการสร้างนวตั กรรม 6. มีทกั ษะการรอบรู้ทางด้านธุรกิจและดจิ ิทลั สำหรับผ้ปู ระกอบการ 17. โครงสรา้ งหลักสตู ร หลักสูตรการบริหารจัดการบนฐานวิถีชีวิตผู้ประกอบการสมัยใหม่ ( New Normal Management for Entrepreneur Lifestyles) จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้ประกอบการ ได้แนวคิดใหม่ในการ เป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่ และมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง หลักการของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ องค์ประกอบของการจัดการลูกคา้ สัมพันธ์ (New Normal CRM) การสรา้ งและรักษาความสัมพันธ์กับ ลูกค้าปัจจุบัน ระบบการจัดการเทคโนโลยีกับการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ระบบการจัดการลูกค้า สัมพันธ์ องค์ประกอบของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์เพื่อธุรกิจยุค New Normal อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า การนำเครื่องเมืองทางดิจิทัลเข้ามา วางการนำกลยทุ ธท์ างด้าน CRM ไปประยุกต์ปฏบิ ัติในองคก์ าร

16 17.2 เนอ้ื หาหลักสูตร จำนวนชว่ั โมง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ เน้อื หาหลักสตู ร 30 นาที 30 นาที - ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกบั การจดั การลูกค้าสมั พนั ธส์ ำหรับผปู้ ระกอบการสมยั ใหม่ 60 นาที - แนวคิดและหลักการของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ New Normal CRM ว่าด้วยประโยชนข์ องการบริหารลกู ค้าสมั พนั ธ์ตอ่ องค์กร 60 นาที - องค์ประกอบของการจัดการลูกค้าสัมพันธ์เพื่อธุรกิจยุค New Normal อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย เครื่องมือทีใ่ ช้ในการจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า การนำเคร่ืองเมืองทางดิจิทัลเข้า มาวางการนำกลยุทธ์ทางด้าน CRM ไปประยกุ ต์ปฏิบตั ใิ นองค์การ - รูปแบบการสรา้ งและรกั ษาความสมั พันธก์ ับลูกค้าปัจจบุ นั ว่าด้วยการสร้างและรักษา ความสมั พันธ์กับลูกค้า โดยการใชฐ้ านขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big Data Analysis) Workshop Detail : การจดั การลกู คา้ สมั พนั ธส์ ำหรับผปู้ ระกอบการสมยั ใหม่ (Next Normal 420 นาที Customer Relationship Management) แนะนำระบบการจัดการลูกคา้ สมั พนั ธ์ SAP C/4HANA SAP C/4HANA VDO Clip Power Point ระบบ SAP S/4HANA แนะนำ Use Case สำหรบั ผทู้ ่ีใช้ระบบการจดั การลกู ค้าสมั พนั ธ์ CRM Business Process แบง่ กลมุ่ ทำ Workshop โดยมีกจิ กรรม ดงั ตอ่ ไปนี้ ความเขา้ ใจและใชง้ านระบบ CRM เบ่ืองต้น ระดมสมองระบวุ ่าข้อมลู อย่างใดทอ่ี งค์กรของท่านตอ้ งการจากระบบการ บรหิ ารจดั การลกู ค้าสมั พนั ธ์ Presentation รวมจำนวนชัว่ โมง 3 ชัว่ โมง 7 ชัว่ โมง 18. การประเมินผลการฝึกอบรม/การรับรองผลการฝึกอบรม 3. จำนวนชั่วโมงในการเข้ารบั การฝึกอบรม 4. แบบทดสอบ ก่อนเรียน/หลงั เรยี น 19. อาชพี ท่ีรองรับ 5. สถานประกอบการธุรกิจดจิ ิทัล 6. พนักงานฝ่ายการตลาด/ฝ่ายขาย 7. พนกั งานฝ่ายลูกคา้ สัมพนั ธ์ 8. พนักงานฝ่ายส่ือสารการตลาด

17 `หลกั สตู รประกาศนยี บตั ร (Non-Degree) มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครนิ ทร์ การพฒั นาผู้ประกอบการดิจทิ ัลบนฐานนวัตกรรมและวิถชี ีวิตใหม่ (Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation) 1. ช่อื หลักสตู ร (ภาษาไทย) การบริหารจัดการบนฐานวิถีใหม่สำหรับผู้ประกอบการทางดา้ นดจิ ิทลั (ภาษาองั กฤษ) Digital Disruption for Entrepreneur 2. กล่มุ หลกั สตู ร รายวชิ าที่ 3 การตลาดดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการยุคใหม่ (Next Normal Digital Marketing) 3. หนว่ ยงานท่รี บั ผิดชอบ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์ 4. รูปแบบการอบรม ภาคทฤษฎี 1) แนะนำรายวชิ า 2) แนวทางการวางแผนการตลาดและแนวโน้มทางด้านดิจิทัลสำหรบั ผปู้ ระกอบการแบบวิถสี มยั ใหม่ (Hyper Personalization, Conversation Marketing, Content Marketing, Social Media Platform) 3) การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละการสรา้ งนวตั กรรม I 4) วดี ีทัศน์สรา้ งสรรค์เพื่อการเล่าเร่อื งดจิ ทิ ัล (Creative VDO for Digital Storytelling) 5) การประชาสัมพนั ธ์เพื่อการตลาดเชงิ รกุ ผ่านสอ่ื สงั คม (Proactive Marketing Public Relations on Social Media) 6) เทคนิควธิ ีการสรา้ งและการจดั ทำรูปแบบธุรกจิ ออนไลนโ์ ดยใช้เครื่องมือ ท่ีเหมาะสม โดยเน้นเนือ้ หาทฤษฏีเพ่ือสรา้ งความรู้ความเข้าใจในบทเรียนและการฝึกปฏิบัตเิ พ่อื นำไปสู่ การเป็นผปู้ ระกอบยุคใหม่ ภาคปฏบิ ัติ Workshop Detail : การตลาดดจิ ิทลั สำหรับผู้ประกอบการยคุ ใหม่ (Next Normal Digital Marketing) แนะนำเคร่ืองมือการทำตลาดดจิ ิทัล : Social Media Facebook, YouTube, Instagram, etc แนะนำ Use Case ท่ีใชเ้ คร่อื งมือการตลาดดจิ ทิ ัล แบง่ กลมุ่ ทำ Workshop โดยมกี ิจกรรม ดังตอ่ ไปนี้ ความเข้าใจและใช้งาน Social Media การทำ Content ทางดา้ นการตลาด Workshop Online Marketing , Webinar Presentation

18 5. ระยะเวลาหลกั สูตร 10 ช่วั โมง ภาคทฤษฎี จำนวน 3 ชัว่ โมง ภาคปฏบิ ตั ิ จำนวน 7 ชว่ั โมง 6. ช่วงเวลาจัดอบรม เวลา 09.00 น. – 21.00 น. (วันละ 10 ชัว่ โมง) 7. คณุ สมบัติผสู้ มัคร คณุ สมบัตขิ องผู้สมคั รหลกั สตู ร Beginner (ระดบั 1) 1. เจา้ ของกจิ การ SME/Startup ต้องการปรบั เปลีย่ นองค์กรสูอ่ งคก์ รดิจิทัลแบบเปน็ รูปธรรม ทั้งหมดหรอื บางส่วน 2. องคก์ รท่ตี ้องการปรบั เปลีย่ นสู่การเป็นองค์กรดจิ ิทลั แบบเป็นรปู ธรรม โดยในองค์กรตอ้ งมี การใช้งานดจิ ทิ ลั มาแลว้ บางส่วนงานขององค์กร 3. มีทักษะการใชง้ านคอมพิวเตอรพ์ ืน้ ฐาน 4. มคี อมพวิ เตอรโ์ น๊ตบุคสว่ นตัว 5. ต้องยนิ ยอมใหท้ างผู้จดั อบรมไดต้ ดิ ตามผลงานจากความร้ทู ่ไี ดร้ บั การอบรมไปปรบั ใช้ใน องค์กร 6. สามารถอบรมได้ครบเตม็ เวลาตามหลักสูตร 8. ช่องทางการสมคั ร Facebook มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, เว็บไซตม์ หาวิทยาลัย 9. ชอ่ งทางประชาสมั พนั ธ์ Facebook, Line 10. จำนวนทรี่ บั สมัคร 30 คน 11. สถานท่จี ัดอบรม มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครนิ ทร์ 12. ภาค/ี หนว่ ยงานความรว่ มมือ ลำดับ ช่ือหน่วยงานความร่วมมอื หมายเหตุ 1 อุตสาหกรรมพัฒนามลู นธิ สิ ถาบันพลาสตกิ 2 บรษิ ัท สุรพล ฟดู้ ส์ จำกัด มหาชน 3 บริษทั เอกตรงเคมภี ณั ฑ์ (1985) จำกัด 4 บรษิ ัท ISS Consulting (Thailand) Ltd 5 บริษัท พนสั แอสเซมบลีย์ จำกดั 6 บมจ.พีทที ี โกลบอล เคมคิ อล 7 บ.เคทีไทยโลคอลโพรดัคส์ จก. 8 บริษทั ปราโมทฟาร์มไกไ่ ข่ จำกดั 9 บจก.สนามชัยเสาเข็ม 10 บรษิ ทั มารีนฟายน์ฟูดส์ จำกดั 11 บรษิ ทั จที ี ออโตค้ าร์ จำกดั

19 ลำดบั ชื่อหน่วยงานความรว่ มมือ หมายเหตุ 12 บจก.ดลิ เิ ชียส สตอรี่ (ขนมบา้ นอ๋มุ ) 13 บรษิ ทั โรงสีเจริญทรพั ย์ จำกดั 14 Centara Sonrisa Residence & Suites Sriracha 15 บรษิ ัท เฮอรเิ ทจ ฮอนดา้ ออโตโมบิล จำกดั 16 บรษิ ทั จติ รกรเสริมทรพั ยล์ ิสซงิ่ จำกดั 17 อาทร ฟาร์ม 18 ภณิ ทสุ จำกดั 19 บ.เจ ที โลจสิ ตกิ ส์ เซอร์วสิ จก. 20 บจก.เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซท 21 บรษิ ัท เสือ ออรก์ าไนเซอร์ จำกดั 22 นำ้ พรกิ เกลือแมส่ าคร 23 พิมพ์พกั ตร์ 24 บจก. ผลไม้แปรรูปวรพร 25 หา้ งหุ้นส่วนจำกดั อนิ โี ค 26 Purac (Thailand) Ltd. 27 บจ.ระยองทวีวัฒนา 28 ห้างเพชรบวั สุวรรณ 29 บรษิ ทั แกว้ เมืองเพชรขนสง่ และการโยธา จำกดั 30 บริษทั สมบรู ณ์แอ๊ดวานซเ์ ทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) 31 บจ.ไฮเทคเกลสเซอร์ 32 บริษทั วจั ณสรุ ตั น 33 บรษิ ทั อมรสินเจรญิ จำกัด 13. หลกั การและเหตุผล การจัดทำหลักสตู รการบรหิ ารจัดการบนฐานวถิ ีชีวติ ผู้ประกอบการสมยั ใหม่ รายวิชา การตลาด ดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการยุคใหม่ (Next Normal Digital Marketing) เพื่อให้ความรู้กับผู้ประกอบการด้าน ธุรกิจดจิ ทิ ลั กลุ่มวิสาหกจิ รายย่อย (Early Stage) กลุ่มรายย่อย (Micro) กลุ่มขนาดยอ่ ม (Small) กลุ่มขนาดกลาง (Medium) และผูท้ ี่สนใจด้านการใช้งานเทคโนโลยีดจิ ิทัล จัดทำข้นึ เพื่อใหผ้ ู้ประกอบการได้แนวคิดใหม่ในการเป็น ผู้ประกอบการยุคดิจิทัลและมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการบริหารจัดการด้านการตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) โดยเน้นเนื้อหาทฤษฏีเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในบทเรียนและการฝึกปฏิบัติเพื่อนำไปสู่การเป็นผู้ ประกอบยคุ ใหม่

20 14. ความต้องการอาชีพน้ีในปจั จุบันและอนาคต ธุรกิจดิจิทัลเป็นธุรกิจที่มีอัตราการเติบโตสูง ด้วยการมีนวัตกรรมและระบบเทคโนโลยีที่มีความ ทนั สมยั มากยงิ่ ขนึ้ ประกอ บกบั การแขง่ ขันท่รี ุนแรงขน้ึ สง่ ผลใหธ้ รุ กจิ และผปู้ ระกอบการตอ้ งปรบั ตัวนำเทคโนโลยี มาใชใ้ นการดำเนินงานใหส้ อดคล้องกับสถานการณ์และพฤติกรรมของผบู้ รโิ ภคที่เปลี่ยนแปลงไปในเรอ่ื งของการรับรู้ สือ่ การตดั สินใจซอื้ สนิ คา้ โดยที่มีการพัฒนาแพลตฟอร์มใหมๆ่ ข้นึ มาเป็นแมแ่ บบในการดำเนินธุรกิจโดยอาศัยเคร่ือง ขา่ วภาคคี วามรว่ มมอื ของหน่วยงานอนื่ ๆในการดำเนนิ ธุรกจิ ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการประกอบธุรกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคตจะยิ่งมีความจำ เป็นมากเนื่องจากทำให้การดำเนนิ งาน การติดต่อสื่อสาร การประสานงาน มีความรวดเร็วขึ้น ส่งผ่านข้อมูลไดอ้ ย่าง แม่นยำ อำนวยความสะดวกท้งั ผปู้ ระกอบการและผู้บรโิ ภค ผทู้ มี่ ีความรแู้ ละทกั ษะด้านดิจิทัลจะไดเ้ ปรยี บและจะเป็น ทีต่ ้องการของตลาดแรงงานเป็นอยา่ งมาก 15. คำอธบิ ายหลักสตู ร รายวิชา การตลาดดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการยุคใหม่ (Next Normal Digital Marketing) เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการบรหิ ารจัดการบนฐานวิถีชวี ิตผู้ประกอบการสมัยใหม่ (New Normal Management for Entrepreneur Lifestyles) จัดทำข้นึ เพือ่ ให้ผ้ปู ระกอบการได้แนวคดิ ใหมใ่ นการเปน็ ผู้ประกอบการยคุ ดจิ ทิ ัลและ มคี วามรู้ความเขา้ ใจในเรอ่ื งการบริหารจดั การดา้ นการตลาดดิจทิ ลั (Digital Marketing) โดยแบง่ เน้อื หาวชิ าออกเป็น 6 ตอน ได้แก่ 1) แนะนำรายวชิ า 2) แนวทางการวางแผนการตลาดและแนวโน้มทางดา้ นดิจทิ ัลสำหรับผปู้ ระกอบการ แบบวิถีสมัยใหม่ (Hyper Personalization, Conversation Marketing, Content Marketing, Social Media Platform) 3) การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และการสรา้ งนวตั กรรม I 4) วีดีทัศน์สรา้ งสรรค์เพื่อการเล่าเร่ืองดิจิทัล (Creative VDO for Digital Storytelling) 5) การประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาดเชิงรุกผ่านสื่อสังคม (Proactive Marketing Public Relations on Social Media) และ 6) เทคนคิ วธิ ีการสร้างและการจดั ทำรปู แบบธรุ กจิ ออนไลน์ โดยใช้เคร่ืองมือที่เหมาะสม โดยเน้นเนื้อหาทฤษฏีเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในบทเรียนและการฝึกปฏิบัติเพื่อ นำไปสู่การเปน็ ผปู้ ระกอบยุคใหม่

21 16. สมรรถนะของผูผ้ ่านการอบรม 7. ทักษะดา้ นการตลาดดิจิทลั และการใช้เคร่อื งมอื ทางการตลาดดจิ ิทัล 8. การวางแผนการตลาดดิจิทลั และเทคนิควธิ ีการสรา้ งและการจดั ทำรูปแบบธรุ กิจออนไลน์โดย ใช้เครื่องมือทเี่ หมาะสม 9. การพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรค์และการสร้างนวตั กรรม 17. โครงสรา้ งหลักสตู ร 17.1 การจดั การหมวดหมู่ของหัวขอ้ โมดลู 1 แนวทางการวางแผนการตลาดและแนวโนม้ ทางด้านดจิ ทิ ัลสำหรับ ผ้ปู ระกอบการแบบวิถีสมยั ใหม่ (Hyper Personalization, Conversation Marketing, Content Marketing, Social Media Platform) 1. แนวทางการวางแผนการตลาดสำหรับผ้ปู ระกอบการแบบวถิ สี มัยใหม่ 2. วิสยั ทัศน์ พันธกิจ และเปา้ หมาย (Vision, Mission & Goal) 3. การวางแผนดา้ นการตลาด 4. กลุม่ ลูกคา้ เปา้ หมาย (Target Group) 5. กลยทุ ธ์และกิจกรรมทางการตลาด 6. การประเมนิ ผลทางการตลาด 7. เทคนิคการเขียนแผนการตลาด 8. แนวโนม้ ทางดา้ นดจิ ิทลั สำหรบั ผปู้ ระกอบการแบบวิถสี มัยใหม่ โมดลู 2 การพัฒนาความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละการสร้างนวัตกรรม I 1. เทคโนโลยกี บั ธรุ กิจ 2. ความจำเปน็ ทต่ี ้องมีการนำเทคโนโลยีมาใชใ้ นธุรกจิ 3. การวเิ คราะห์ SWOT Analysis สำหรบั ธรุ กิจออนไลน์ 4. เครอ่ื งมือทางเทคโนโลยีทเี่ กยี่ วขอ้ งกับธรุ กิจออนไลน์ 5. กลยทุ ธก์ ารตลาดท่ีสำคัญสำหรับธุรกจิ ออนไลน์ โมดลู 3 วีดีทัศน์สรา้ งสรรคเ์ พ่ือการเล่าเรื่องดิจิทัล (Creative VDO for Digital Storytelling) 1.ประโยชนข์ องสือ่ วีดีทศั น์ (VDO) 2.ลกั ษณะเฉพะของวีดีทัศน์ (VDO) 3.หลกั วิธกี ารพืน้ ฐานสำหรับการเขยี นเรอ่ื งเลา่ (วดี ีทัศน์ VDO) โมดลู 4 การประชาสัมพนั ธเ์ พื่อการตลาดเชิงรุกผ่านส่อื สงั คม (Proactive Marketing Public Relations on Social Media) ความหมายของส่ือสงั คมออนไลน์

22 ประเภทของส่อื สังคมออนไลน์ ประโยชนข์ องเครือข่ายสงั คมออนไลน์ (Social networks) ข้อจำกดั ของเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social networks) การประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาดเชิงรุกผ่านส่อื สงั คม Omni Channel คืออะไร? Omni Channel ช่วยรา้ นคา้ อยา่ งไร? Omni Channel ดตี อ่ ผูบ้ ริโภคอย่างไร? Omni Channel ใช้กับการตลาดออนไลนไ์ ด้อย่างไร? การใช้ Omni Channel กบั การตลาดออนไลน์ โมดลู 5 เทคนิควิธีการสรา้ งและการจดั ทำรปู แบบธุรกิจออนไลน์โดยใชเ้ คร่อื งมือท่ี เหมาะสม ปจั จัยทค่ี วรนำมาพิจารณาในการเริ่มตน้ ทำธุรกจิ ออนไลน์ วธิ เี ร่ิมตน้ ทำธุรกิจออนไลนใ์ น 7 ขน้ั ตอน การใช้เคร่ืองมือในการเปิดรา้ นค้าออนไลน์ 17.2 เนอื้ หาหลกั สตู ร เนื้อหาหลกั สูตร จำนวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 1. แนวทางการวางแผนการตลาดและแนวโนม้ ทางด้านดจิ ิทลั สำหรบั ผู้ประกอบการแบบวิถี สมยั ใหม่ 60 นาที 2. การประชาสมั พนั ธ์เพอ่ื การตลาดเชงิ รุกผ่านสอื่ สังคม 60 นาที 3. การพัฒนาความคดิ สร้างสรรคแ์ ละการสร้างนวัตกรรม I 30 นาที 4. เทคนิควธิ กี ารสรา้ งและการจดั ทำรปู แบบธรุ กจิ ออนไลนโ์ ดยใช้เคร่อื งมือทเ่ี หมาะสม 30 นาที Workshop Detail : การตลาดดจิ ิทัลสำหรบั ผปู้ ระกอบการยคุ ใหม่ (Next Normal 420 นาที Digital Marketing) แนะนำเครอื่ งมือการทำตลาดดจิ ทิ ัล : Social Media, Facebook, YouTube, Instagram, etc แนะนำ Use Case ที่ใชเ้ ครือ่ งมอื การตลาดดจิ ิทลั แบง่ กลุม่ ทำ Workshop โดยมกี ิจกรรม ดังตอ่ ไปนี้ ความเข้าใจและใช้งาน Social Media การทำ Content ทางด้านการตลาด Workshop Online Marketing , Webinar Presentation รวมจำนวนช่วั โมง 3 ชว่ั โมง 7 ช่ัวโมง

23 18. การประเมนิ ผลการฝึกอบรม/การรับรองผลการฝกึ อบรม 5. จำนวนชั่วโมงในการเข้ารบั การฝกึ อบรม 6. แบบทดสอบ ก่อนเรยี น/หลงั เรียน 19. อาชีพทร่ี องรบั 9. สถานประกอบการธรุ กจิ ดจิ ิทัล 10. พนักงานฝา่ ยการตลาด/ฝ่ายขาย 11. พนักงานฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ 12. พนักงานฝา่ ยส่ือสารการตลาด

24 หลกั สูตรประกาศนยี บัตร (Non-Degree) มหาวิทยาลยั ราชภัฏราชนครินทร์ การพฒั นาผูป้ ระกอบการดจิ ิทัลบนฐานนวตั กรรมและวิถชี ีวิตใหม่ (Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation) 1. ชอ่ื หลกั สตู รท่ี 2 (ภาษาไทย) การบริหารจดั การตลาดดจิ ิทลั (ภาษาอังกฤษ) (Digital Marketing Management) 2. กลุ่มหลกั สตู ร รายวชิ าท่ี 1 การสร้างมลู ค่าทางธุรกิจสำหรบั ผปู้ ระกอบการ (Creation Business Value used Digital) 3. หน่วยงานท่ีรับผดิ ชอบ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ราชนครนิ ทร์ 4. รปู แบบการอบรม ภาคทฤษฎี 1) แนะนำรายวิชา 2) แนวคดิ การสรา้ งคุณค่าทางธุรกิจ (Value Creation) 3) การสร้างเครือข่ายส่กู ารพัฒนา (Strong Foundation) 4) การพัฒนาความคิดสร้างสรรคแ์ ละการสรา้ งนวตั กรรม 5) แนวคิดในการพฒั นาผลิตภัณฑ์ ว่าด้วย องค์กรแห่งการพฒั นาผลิตภัณฑ์ ใหม่ การตรวจสอบผลติ ภณั ฑ์ใหม่ก่อนนำสูต่ ลาดดิจทิ ลั 6) การสรา้ งมลู คา่ ทางธุรกิจ (Value Creation) 7) การเจาะจดุ แขง็ เพื่อความสำเร็จ ภาคปฏบิ ัติ Workshop Detail : การสร้างมลู คา่ ทางธุรกิจสำหรบั ผู้ประกอบการ (Creation Business Value used Digital) แนะนำระบบบรหิ ารการจดั การองคก์ รรวม (Enterprise Resource Planning) SAP Business One : VDO Clip Power Point ระบบ ERP : SAP Business One แนะนำ Use Case ของผูใ้ ช้ระบบ ERP ทสี่ รา้ งมูลค่าทางธุรกจิ สำหรบั ผ้ปู ระกอบการ ระบบ ERP Business Process แบง่ กล่มุ ทำ Workshop โดยมกี ิจกรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี ความเข้าใจและใชง้ านระบบ ERP เบ่ืองต้น การใช้งานระบบ ERP : SAP Business One Presentation 5. ระยะเวลาหลกั สตู ร 10 ชั่วโมง ภาคทฤษฎี จำนวน 3 ชวั่ โมง ภาคปฏบิ ตั ิ จำนวน 7 ชั่วโมง 6. ชว่ งเวลาจัดอบรม เวลา 09.00 น. – 21.00 น. (วันละ 10 ช่ัวโมง)

25 7. คณุ สมบัตผิ สู้ มคั ร คุณสมบัตขิ องผู้สมคั ร Intermediate (ระดับ 2) 1. ผบู้ ริหาร/หรอื ตัวแทน ที่สามารถนำความรู้ทไี่ ด้ไปประยกุ ตใ์ ช้กับงานได้ 2. องค์กรทตี่ ้องการปรบั เปลย่ี นส่กู ารเปน็ องค์กรดิจิทัลแบบเปน็ รปู ธรรม โดยในองค์กรตอ้ งมี การใช้งานดิจทิ ัลมาแล้วบางสว่ นงานขององค์กร 3. มที ักษะความรู้อยา่ งน้อยตามระดบั 1 4. มคี อมพิวเตอร์โน๊ตบุคส่วนตวั 5. ต้องยินยอมใหท้ างผู้จดั อบรมไดต้ ดิ ตามผลงานจากความรทู้ ไี่ ด้รบั การอบรมไปปรบั ใช้ใน องค์กร 6. สามารถอบรมได้ครบเต็มเวลาตามหลกั สูตร 8. ชอ่ งทางการสมัคร Facebook มหาวิทยาลัยราชภฏั ราชนครินทร์, เวบ็ ไซตม์ หาวทิ ยาลัย 9. ช่องทางประชาสัมพนั ธ์ Facebook, Line 10. จำนวนทรี่ ับสมคั ร 30 คน 11. สถานทจ่ี ดั อบรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏราชนครนิ ทร์ 12. ภาค/ี หนว่ ยงานความร่วมมือ ลำดบั ชือ่ หนว่ ยงานความรว่ มมอื หมายเหตุ 1 อุตสาหกรรมพัฒนามลู นิธสิ ถาบนั พลาสติก 2 บริษัท สรุ พล ฟดู้ ส์ จำกัด มหาชน 3 บริษทั เอกตรงเคมภี ณั ฑ์ (1985) จำกดั 4 บริษัท ISS Consulting (Thailand) Ltd 5 บริษทั พนสั แอสเซมบลยี ์ จำกดั 6 บมจ.พที ีที โกลบอล เคมิคอล 7 บ.เคทีไทยโลคอลโพรดคั ส์ จก. 8 บรษิ ทั ปราโมทฟารม์ ไกไ่ ข่ จำกัด 9 บจก.สนามชัยเสาเข็ม 10 บรษิ ัท มารีนฟายนฟ์ ูดส์ จำกัด 11 บรษิ ทั จที ี ออโตค้ าร์ จำกัด 12 บจก.ดิลเิ ชยี ส สตอร่ี (ขนมบ้านอุ๋ม) 13 บรษิ ัท โรงสเี จริญทรพั ย์ จำกดั 14 Centara Sonrisa Residence & Suites Sriracha 15 บรษิ ทั เฮอรเิ ทจ ฮอนดา้ ออโตโมบิล จำกดั 16 บริษทั จิตรกรเสรมิ ทรัพยล์ สิ ซิ่ง จำกัด

ลำดบั ช่ือหนว่ ยงานความร่วมมอื 26 17 อาทร ฟารม์ 18 ภณิ ทสุ จำกดั หมายเหตุ 19 บ.เจ ที โลจสิ ตกิ ส์ เซอรว์ สิ จก. 20 บจก.เอม็ เอ็นคอมพิวออฟเซท 21 บริษัท เสือ ออรก์ าไนเซอร์ จำกดั 22 น้ำพริกเกลอื แมส่ าคร 23 พิมพพ์ ักตร์ 24 บจก. ผลไมแ้ ปรรูปวรพร 25 ห้างหุน้ ส่วนจำกดั อินโี ค 26 Purac (Thailand) Ltd. 27 บจ.ระยองทวีวฒั นา 28 หา้ งเพชรบวั สวุ รรณ 29 บรษิ ัทแก้วเมืองเพชรขนส่งและการโยธา จำกดั 30 บรษิ ัท สมบูรณแ์ อ๊ดวานซ์เทคโนโลยี จำกดั (มหาชน) 31 บจ.ไฮเทคเกลสเซอร์ 32 บริษัท วัจณสรุ ตั น 33 บริษัท อมรสินเจรญิ จำกัด 13. หลกั การและเหตผุ ล ธุรกิจยุคโลกาภิวัตน์ในศตวรรษที่ 21 นั้นมีการแข่งขันสูงมาก การเข้ามาของข้อมูลข่าวสาร และการเกิดขึ้นของเทคโนโลยีชนิดต่างๆ เป็นที่น่าท้าทายธุรกิจ ซึ่งธุรกิจต่างต้องปรับตัวเข้าหาลูกคา้ เป็นอย่างมาก การตลาดยุคใหม่จึงไม่ใช่เพียงการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ การกำหนดราคาที่เหมาะสม หรือ การทำใหผ้ ูบ้ ริโภคหาซ้อื สนิ ค้าไดเ้ ท่าน้ัน แตย่ งั ต้องสรา้ งคณุ ค่าให้แก่ผบู้ ริโภค ถงึ แมว้ ่าปจั จบุ นั ผ้บู ริโภค มักตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการโดยให้ความสำคัญกับราคาเป็นสิ่งแรก ผู้บริโภคยังเริ่มตระหนักถึง ความรับผิดชอบต่อสงั คมของบริษัทผู้ผลิต และการให้บริการมากขึ้นด้วย อนึ่ง ด้วยพฤติกรรมที่มีการ เปลี่ยนแปลงไปประกอบกับการเพิ่มข้ึนของพลังอำนาจการต่อรองของผู้บรโิ ภคทำใหธ้ รุ กจิ จำนวนมาก ต้องหันมาให้ความสำคัญกับการสร้างคุณค่าให้กับผู้บริโภคมากขึ้น เนื่องมาจากบทบาทของผู้บริโภค จากการเป็นฝ่ายตั้งรับที่มองว่านักการตลาดเป็นผู้สร้างคุณค่าและลูกค้าคือผู้รับมอบคุณค่านั้น เปลยี่ นไปเป็นบทบาทของผูส้ ร้างคุณค่า ซง่ึ บทบาทของลกู ค้าทีเ่ ปลี่ยนไปทำให้นกั การตลาดจำเป็นต้อง

27 มีการปรับเปลี่ยนมุมมองและกลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อให้สามารถรู้เท่าทันของการเปลี่ยนแปลงของ กระแสตลาด ดังนั้น การสร้างคุณค่าใหม่ๆ ทางธุรกิจ จึงเป็นการนำเสนอถึงเพื่อมุ่งตอบสนองความ ต้องการและความพึงพอใจของลูกค้า จนนำไปสู่ยอดขายที่ก่อให้เกิดกำไรแลการเจริญเติบโต องค์กร สามารถจัดสรรกำไรที่ได้มาสร้างความเจริญเติบโตแบบยั่งยืนทั้งยอดขาย กำไรและบุคลากรที่มี ความสามารถในการสร้างคุณค่าที่ผู้บริโภคต้องการอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นความสามารถในการ สรา้ งนวัตกรรมที่มคี ณุ ค่า 14. ความต้องการอาชีพนใ้ี นปัจจุบนั และอนาคต การพัฒนาแรงงานในสถานประกอบการดิจิทัล (Digital Workforce Development for Entrepreneur) ต้องมุ่งเน้นการสร้างและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วัยทำงานให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์ใช้ เทคโนโลยดี ิจทิ ลั อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพในการประกอบอาชพี รวมถงึ การพฒั นาทักษะดา้ นเทคโนโลยีดจิ ิทัลในบุคลากร ภาครัฐ ภาคเอกชน ในทุกสาขาอาชีพ ให้มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญในระดับมาตรฐานสากล เพื่อ รองรับการพัฒนาประเทศในยุคเศรษฐกิจและสังคมที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลือ่ น นอกจาก การอบรมใหค้ วามร้เู พิ่มทักษะด้านไอทแี ล้ว ในหลายประเทศทว่ั โลกรวมถึงสหประชาชาติและยเู นสโก ยังมีการสอบ วัดมาตรฐานความรู้ความสามารถด้านไอที เป็นเกณฑ์สำหรับคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณภาพสำหรับนุคดิจิทัลใน ขณะเดียวกันก็เปน็ เสมอื นอีกใบเบิกทางสโู่ อกาสงานและโอกาสความก้าวหนา้ และรายได้ทด่ี ีกว่าสำหรับนักศึกษาจบ ใหมแ่ ละผทู้ ี่กำลงั มองหาโอกาสงานใหม่ ๆ สำหรับประเทศไทยนัน้ ต้องอาศยั ความร่วมมอื จากทกุ ภาคสว่ น ท้ังภาครัฐ ภาคการศึกษา ภาคเอกชน รวมทั้งภาคบุคคลคนทั่วไป มุ่งเพิ่มคุณค่าและสร้างบุคลากรที่มีประสิทธิภาพสอดรับ นโยบาย Digital Thailand และ Thailand 4.0 เพ่อื นำประเทศไทยไปสู่การเปน็ ดจิ ิทัลอยา่ งเต็มรูปแบบ ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการประกอบธุรกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคตจะยิ่งมีความจำ เป็นมากเนื่องจากทำให้การดำเนินงาน การติดต่อสื่อสาร การประสานงาน มีความรวดเร็วขึน้ ส่งผ่านข้อมูลได้อย่าง แม่นยำ อำนวยความสะดวกท้ังผู้ประกอบการและผูบ้ รโิ ภค ผูท้ ีม่ ีความรู้และทักษะดา้ นดิจทิ ลั จะได้เปรยี บและจะเปน็ ท่ตี ้องการของตลาดแรงงานเปน็ อยา่ งมาก 15. คำอธิบายหลักสตู ร

28 รายวิชา การสร้างมลู ค่าทางธุรกิจสำหรับผูป้ ระกอบการ (Creation Business Value used Digital) เป็น ส่วนหนึ่งของหลักสูตรการบริหารจัดการตลาดดิจิทัล (Digital Marketing Management) จัดทำขึ้นเพื่อให้ ผู้ประกอบการ ได้เข้าใจถึงแนวคิดและหลักการของการสร้างมูลค่าทางธุรกิจ โดยแบ่งเนื้อหาวิชาออกเป็น 7 ตอน ได้แก่ 1) แนะนำรายวิชา 2) แนวคิดการสร้างคณุ คา่ ทางธุรกจิ (Value Creation) ว่าด้วย ความหมายของการสร้าง คุณคา่ ทางธุรกจิ ทฤษฎกี ารสร้างคุณค่า กระบวนการวิเคราะห์ของการสร้างคุณคา่ ในยคุ ดจิ ิทัล 3) การสรา้ งเครือข่าย สู่การพฒั นา (Strong Foundation) ว่าด้วย ความหมายของเครือข่าย ประเภทของเครือข่าย รูปแบบของเครือข่าย ทางสังคม แนวทางการสร้างและพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ การพัฒนาเครือข่ายเพื่อความยัง่ ยืนในยุคดิจทิ ัล 4) การพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์และการสร้างนวัตกรรม ว่าด้วย ความหมายความคิดสร้างสรรค์ ปัจจัยทีม่ อี ิทธิพลตอ่ ความคิดสรา้ งสรรค์ของบุคคล การสร้างองคก์ รนวัตกรรมอนั เปน็ เลิศในยคุ ดิจทิ ัล 5) แนวคิดในการพฒั นาผลิตภัณฑ์ ว่าด้วย องค์กรแหง่ การพฒั นาผลิตภัณฑ์ใหม่ การตรวจสอบผลติ ภัณฑ์ใหม่กอ่ นนำสู่ตลาดดิจิทัล 6) การสร้างมลู ค่า ทางธุรกิจ (Value Creation) ดว้ ย Digital Business วา่ ดว้ ย แนวคดิ การสรา้ งคณุ คา่ ด้วยบริการดิจทิ ลั และ 7) การ เจาะจุดแข็งเพื่อความสำเร็จ ว่าด้วย ปัจจัยชี้วัดผลสำเร็จธุรกิจ กลยุทธ์สู่ความเป็นเลิศในยุคดิจิทัล โดยเน้นเนื้อหา ทฤษฎเี พื่อสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ และการฝกึ ปฏิบัตเิ พ่ือนำไปสูก่ ารสร้างคณุ ค่าทางธรุ กิจสำหรับผ้ปู ระกอบการ 16. สมรรถนะของผู้ผา่ นการอบรม 10. ทกั ษะดา้ นความฉลาดทางดจิ ิทัลสำหรับผู้ประกอบการและการใช้เครื่องมือทางการตลาด ดิจทิ ลั 11. ทกั ษะการพัฒนาสรา้ งคณุ คา่ ทางธุรกจิ (Value Creation) 12. ทักษะการสรา้ งเครือข่ายสู่การพัฒนา (Strong Foundation) รูปแบบของเครือข่ายทาง สังคม แนวทางการสร้างและพฒั นาเครือขา่ ยความรว่ มมือ การพฒั นาเครือข่ายเพื่อความ ย่ังยนื ในยุคดิจทิ ลั 17. โครงสรา้ งหลักสตู ร 17.1 การสรา้ งมลู ค่าทางธุรกิจสำหรับผ้ปู ระกอบการ (Creation Business Value used Digital) - แนวคดิ การสร้างคุณค่าทางธรุ กิจ (Value Creation) - การสรา้ งเครอื ขา่ ยสู่การพัฒนา (Strong Foundation) - การพฒั นาความคดิ สร้างสรรค์และการสร้างนวตั กรรม - แนวคิดในการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ ว่าด้วย องค์กรแห่งการพัฒนาผลติ ภัณฑใ์ หม่ การ ตรวจสอบผลิตภณั ฑใ์ หมก่ ่อนนำสตู่ ลาดดิจิทลั - การสรา้ งมูลค่าทางธุรกจิ (Value Creation) - การเจาะจุดแข็งเพือ่ ความสำเรจ็

29 17.2 เน้อื หาหลกั สูตร จำนวนช่ัวโมง ทฤษฎี ปฏบิ ัติ เนอ้ื หาหลกั สูตร 60 นาที - แนวคิดการสร้างคุณคา่ ทางธรุ กจิ (Value Creation) - การสรา้ งเครือขา่ ยสู่การพัฒนา (Strong Foundation) 60 นาที - การพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละการสรา้ งนวตั กรรม - แนวคิดในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ว่าด้วย องค์กรแหง่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ 30 นาที การตรวจสอบผลติ ภัณฑ์ใหมก่ ่อนนำสู่ตลาดดจิ ิทัล 30 นาที - การสร้างมูลค่าทางธุรกิจ (Value Creation) - การเจาะจุดแขง็ เพอ่ื ความสำเรจ็ 420 นาที Workshop Detail : การสร้างมลู คา่ ทางธรุ กจิ สำหรับผปู้ ระกอบการ (Creation 3 ช่ัวโมง 7 ชั่วโมง Business Value used Digital) แนะนำระบบบริหารการจดั การองค์กรรวม (Enterprise Resource Planning) SAP Business One : VDO Clip Power Point ระบบ ERP : SAP Business One แนะนำ Use Case ของผใู้ ชร้ ะบบ ERP ท่สี รา้ งมลู ค่าทางธุรกิจสำหรบั ผ้ปู ระกอบการระบบ ERP Business Process แบง่ กลุ่มทำ Workshop โดยมีกจิ กรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี ความเขา้ ใจและใชง้ านระบบ ERP เบ่อื งต้น การใช้งานระบบ ERP : SAP Business One Presentation รวมจำนวนชวั่ โมง 18. การประเมนิ ผลการฝกึ อบรม/การรับรองผลการฝึกอบรม จำนวนชว่ั โมงในการเข้ารบั การฝึกอบรม แบบทดสอบ ก่อนเรยี น/หลงั เรียน 19. อาชพี ทร่ี องรบั 13. สถานประกอบการธรุ กิจดิจทิ ัล 14. พนักงานฝ่ายการตลาด/ฝ่ายขาย 15. พนกั งานฝ่ายลูกค้าสมั พันธ์ 16. พนักงานฝา่ ยส่ือสารการตลาด

30 หลักสูตรประกาศนยี บตั ร (Non-Degree) มหาวิทยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์ การพฒั นาผปู้ ระกอบการดิจิทลั บนฐานนวัตกรรมและวถิ ชี ีวิตใหม่ (Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation) 1. ชอื่ หลกั สูตรท่ี 2 (ภาษาไทย) การบริหารจัดการตลาดดิจิทลั (ภาษาอังกฤษ) (Digital Marketing Management) 2. กลุ่มหลกั สูตร รายวชิ าท่ี 2 การบรหิ ารจัดการร้านคา้ ออนไลน์ (Online Shop Management) 3. หน่วยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ มหาวิทยาลยั ราชภัฏราชนครินทร์ 4. รูปแบบการอบรม ภาคทฤษฎี ตอนท่ี 1 แนะนำรายวิชา ตอนที่ 2 การทำการตลาดผ่าน Search Engine Optimization (SEO) และ Search Engine Marketing (SEM), การทำการตลาดผา่ นวิดีโอ ตอนที่ 3 ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้เครื่องมือดิจิทัลเพื่อการทำโฆษณา ออนไลน์ ใหค้ ำนงึ ถึงผลลัพธ์ท่ีตรงตามเป้าหมายทต่ี ้ังไวแ้ ละเขา้ ถงึ ผูบ้ ริโภค ตอนที่ 4 เทคนิคการบริหารสินค้าสำหรับร้านค้าออนไลน์โดยใช้เครื่องมือดิจิทัล (Product Management Techniques for Online Business) ภาคปฏบิ ัติ Workshop Detail : การบริหารจดั การร้านคา้ ออนไลน์ (Online Shop Management) แนะนำเครือ่ งมอื การสรา้ งร้านคา้ ออนไลน์ (Online Shop Management) • Facebook, YouTube, Instagram, Lazada, etc • แนะนำ Use Case การจัดการรา้ นค้าออนไลน์ แบง่ กลุ่มทำ Workshop โดยมีกจิ กรรม ดังตอ่ ไปน้ี • ความเข้าใจและการจดั การรา้ นค้าออนไลน์ • Search Engine Optimization (SEO) และ Search Engine Marketing (SEM), การทำ การตลาดผ่านวดิ โี อ (Youtube, Streaming Video, Live) • Workshop รา้ นคา้ ออนไลน์ • Presentation 5. ระยะเวลาหลักสูตร 10 ชว่ั โมง ภาคทฤษฎี จำนวน 3 ช่ัวโมง ภาคปฏิบตั ิ จำนวน 7 ชัว่ โมง 6. ชว่ งเวลาจดั อบรม เวลา 09.00 น. – 21.00 น. (วันละ 10 ชั่วโมง)

31 7. คณุ สมบัตผิ สู้ มคั ร คุณสมบัตขิ องผู้สมคั ร Intermediate (ระดับ 2) 1. ผบู้ ริหาร/หรอื ตัวแทน ที่สามารถนำความรู้ทไี่ ด้ไปประยกุ ตใ์ ช้กับงานได้ 2. องค์กรทตี่ ้องการปรบั เปลย่ี นส่กู ารเปน็ องค์กรดิจิทัลแบบเปน็ รปู ธรรม โดยในองค์กรตอ้ งมี การใช้งานดิจทิ ัลมาแล้วบางสว่ นงานขององค์กร 3. มที ักษะความรู้อยา่ งน้อยตามระดับ 1 4. มคี อมพิวเตอร์โน๊ตบุคสว่ นตวั 5. ต้องยินยอมใหท้ างผู้จดั อบรมไดต้ ดิ ตามผลงานจากความรทู้ ไี่ ด้รับการอบรมไปปรบั ใช้ใน องค์กร 6. สามารถอบรมได้ครบเต็มเวลาตามหลกั สูตร 8. ชอ่ งทางการสมัคร Facebook มหาวิทยาลัยราชภฏั ราชนครินทร์, เวบ็ ไซตม์ หาวทิ ยาลัย 9. ช่องทางประชาสัมพนั ธ์ Facebook, Line 10. จำนวนทรี่ ับสมคั ร 30 คน 11. สถานทจ่ี ดั อบรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏราชนครนิ ทร์ 12. ภาค/ี หนว่ ยงานความร่วมมือ ลำดบั ชือ่ หนว่ ยงานความรว่ มมือ หมายเหตุ 1 อุตสาหกรรมพฒั นามลู นิธสิ ถาบันพลาสติก 2 บริษัท สรุ พล ฟดู้ ส์ จำกัด มหาชน 3 บริษทั เอกตรงเคมภี ณั ฑ์ (1985) จำกดั 4 บริษัท ISS Consulting (Thailand) Ltd 5 บริษทั พนสั แอสเซมบลยี ์ จำกดั 6 บมจ.พที ีที โกลบอล เคมิคอล 7 บ.เคทีไทยโลคอลโพรดคั ส์ จก. 8 บรษิ ทั ปราโมทฟารม์ ไกไ่ ข่ จำกัด 9 บจก.สนามชัยเสาเข็ม 10 บรษิ ัท มารีนฟายนฟ์ ูดส์ จำกัด 11 บรษิ ทั จที ี ออโตค้ าร์ จำกัด 12 บจก.ดิลเิ ชยี ส สตอร่ี (ขนมบ้านอุ๋ม) 13 บรษิ ัท โรงสเี จริญทรพั ย์ จำกดั 14 Centara Sonrisa Residence & Suites Sriracha 15 บรษิ ทั เฮอรเิ ทจ ฮอนดา้ ออโตโมบิล จำกัด 16 บริษทั จิตรกรเสรมิ ทรัพยล์ สิ ซิ่ง จำกัด

32 ลำดับ ชอื่ หน่วยงานความร่วมมือ หมายเหตุ 17 อาทร ฟารม์ 18 ภิณทสุ จำกดั 19 บ.เจ ที โลจสิ ตกิ ส์ เซอร์วสิ จก. 20 บจก.เอม็ เอน็ คอมพวิ ออฟเซท 21 บรษิ ทั เสือ ออรก์ าไนเซอร์ จำกดั 22 นำ้ พริกเกลือแมส่ าคร 23 พมิ พพ์ ักตร์ 24 บจก. ผลไมแ้ ปรรูปวรพร 25 หา้ งหุ้นสว่ นจำกดั อินโี ค 26 Purac (Thailand) Ltd. 27 บจ.ระยองทววี ัฒนา 28 ห้างเพชรบวั สุวรรณ 29 บริษัทแก้วเมอื งเพชรขนส่งและการโยธา จำกดั 30 บรษิ ทั สมบรู ณ์แอด๊ วานซเ์ ทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) 31 บจ.ไฮเทคเกลสเซอร์ 32 บริษัท วัจณสรุ ัตน 33 บรษิ ทั อมรสินเจรญิ จำกัด 13. หลักการและเหตผุ ล การบริหารจัดการร้านค้าออนไลน์ (Online Shop Management) เป้าหมายที่ตั้ง ไว้และเข้าถึงผู้บริโภค ว่าด้วย แนวคิดทฤษฎีเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทฤษฎีการกระทำที่มีเหตุผล แนวคิดและทฤษฎีการคิดสร้างสรรค์การทำโฆษณา องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ ประเภท ของความคิดสร้างสรรค์ กระบวนการโฆษณา ส่ือโฆษณาออนไลน์คืออะไร และประเภทของสอื่ โฆษณา ออนไลน์ ตอนที่ 4 เทคนิคการบริหารสินค้าสำหรับร้านค้าออนไลน์โดยใช้เครื่องมือดิจิทัล (Product Management Techniques for Online Business) วา่ ด้วย ร้านค้าออนไลนค์ อื อะไร หลกั การสำคญั ของการบริหารสินค้าสำหรบั ร้านคา้ ออนไลน์ ปจั จัยท่มี ผี ลตอ่ การบรหิ ารสนิ ค้าสำหรับร้านค้าออนไลน์ ประเภทและการแบ่งหมวดหมู่ของสินค้า แนวทางในการเลือกซื้อสินค้าสำหรับร้านค้าออนไลน์ วิธีการสั่งซื้อสินค้าสำหรับร้านค้าออนไลน์ และรูปแบบและเทคนิคการนำเสนอสำหรับร้านค้า ออนไลน์

33 14. ความต้องการอาชีพน้ใี นปัจจบุ นั และอนาคต การพัฒนาแรงงานในสถานประกอบการดิจิทัล (Digital Workforce Development for Entrepreneur) ต้องมุ่งเน้นการสร้างและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วัยทำงานให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์ใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพในการประกอบอาชพี รวมถงึ การพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยดี ิจิทลั ในบุคลากร ภาครัฐ ภาคเอกชน ในทุกสาขาอาชีพ ให้มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญในระดับมาตรฐานสากล เพื่อ รองรับการพัฒนาประเทศในยุคเศรษฐกิจและสังคมที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลือ่ น นอกจาก การอบรมให้ความรเู้ พ่ิมทักษะด้านไอทีแล้ว ในหลายประเทศทว่ั โลกรวมถึงสหประชาชาติและยูเนสโก ยังมีการสอบ วัดมาตรฐานความรู้ความสามารถด้านไอที เป็นเกณฑ์สำหรับคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณภาพสำหรับนุคดิจิทัลใน ขณะเดยี วกันกเ็ ป็นเสมอื นอีกใบเบิกทางสโู่ อกาสงานและโอกาสความก้าวหน้าและรายได้ทีด่ ีกว่าสำหรับนักศึกษาจบ ใหมแ่ ละผู้ท่ีกำลงั มองหาโอกาสงานใหม่ ๆ สำหรับประเทศไทยนั้นตอ้ งอาศยั ความรว่ มมอื จากทกุ ภาคสว่ น ทงั้ ภาครัฐ ภาคการศึกษา ภาคเอกชน รวมทั้งภาคบุคคลคนทั่วไป มุ่งเพิ่มคุณค่าและสร้างบุคลากรที่มีประสิทธิภาพสอดรับ นโยบาย Digital Thailand และ Thailand 4.0 เพอื่ นำประเทศไทยไปสกู่ ารเปน็ ดิจิทลั อยา่ งเตม็ รปู แบบ ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการประกอบธุรกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคตจะยิ่งมีความจำ เป็นมากเนื่องจากทำให้การดำเนินงาน การติดต่อส่ือสาร การประสานงาน มีความรวดเร็วขึ้น ส่งผ่านข้อมูลไดอ้ ย่าง แม่นยำ อำนวยความสะดวกทง้ั ผู้ประกอบการและผบู้ ริโภค ผู้ทีม่ คี วามรูแ้ ละทกั ษะดา้ นดิจทิ ัลจะไดเ้ ปรยี บและจะเป็น ทต่ี อ้ งการของตลาดแรงงานเป็นอย่างมาก 15. คำอธิบายหลกั สูตร รายวิชาการบริหารจัดการรา้ นคา้ ออนไลน์ (Online Shop Management) เปน็ ส่วนหนึง่ ของหลกั สตู รการ บริหารจัดการบนฐานวิถีชีวิตผู้ประกอบการสมัยใหม่ ( New Normal Management for Entrepreneur Lifestyles) จัดทำขน้ึ เพื่อสง่ เสรมิ ความรคู้ วามเขา้ ใจและทกั ษะด้านการบริหารร้านคา้ สำหรับธรุ กจิ ออนไลน์ โดยแบ่ง เนื้อหาออกเป็น 4 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 แนะนำรายวิชา ตอนที่ 2 การทำการตลาดผ่าน Search Engine Optimization (SEO) และ Search Engine Marketing (SEM), การทำการตลาดผา่ นวิดโี อ วา่ ด้วย การทำการตลาด ผ่าน Search Engine Optimization (SEO) การทำการตลาดผา่ น Search Engine Marketing (SEM) และการทำ

34 การตลาดผ่านวิดีโอ (YouTube, Streaming Video, Live) ตอนที่ 3 ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้เครื่องมือ ดิจิทัลเพื่อการทำโฆษณาออนไลน์ ให้คำนึงถึงผลลัพธ์ที่ตรงตามเป้าหมายท่ีตัง้ ไวแ้ ละเข้าถงึ ผูบ้ ริโภค ว่าด้วย แนวคิด ทฤษฎีเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทฤษฎีการกระทำที่มีเหตุผล แนวคิดและทฤษฎีการคิดสร้างสรรค์การทำโฆษณา องค์ประกอบของความคดิ สร้างสรรค์ ประเภทของความคิดสร้างสรรค์ กระบวนการโฆษณา สื่อโฆษณาออนไลน์คอื อะไร และประเภทของส่อื โฆษณาออนไลน์ ตอนท่ี 4 เทคนิคการบรหิ ารสนิ ค้าสำหรบั ร้านค้าออนไลนโ์ ดยใชเ้ ครือ่ งมือ ดิจิทัล (Product Management Techniques for Online Business) ว่าด้วย ร้านค้าออนไลน์คืออะไร หลักการ สำคัญของการบริหารสินค้าสำหรับร้านค้าออนไลน์ ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารสินค้าสำหรับร้านค้าออนไลน์ ประเภทและการแบ่งหมวดหมู่ของสินค้า แนวทางในการเลือกซื้อสินค้าสำหรบั รา้ นค้าออนไลน์ วิธกี ารส่ังซื้อ สนิ คา้ สำหรับร้านค้าออนไลน์ และรูปแบบและเทคนคิ การนำเสนอสำหรบั รา้ นค้าออนไลน์ 16. สมรรถนะของผผู้ า่ นการอบรม 13. ทกั ษะดา้ นความฉลาดทางดิจิทลั สำหรับผู้ประกอบการและการใช้เครื่องมือทางการตลาด ดิจทิ ัล 14. ทกั ษะการคดิ เชิงสร้างสรรคโ์ ดยใชเ้ ครอ่ื งมือดิจิทัลเพ่ือการทำโฆษณาออนไลน์ ใหค้ ำนงึ ถงึ ผลลัพธ์ที่ตรงตามเปา้ หมายท่ีตงั้ ไวแ้ ละเขา้ ถงึ ผ้บู ริโภค 15. ทกั ษะใช้เครื่องมือดิจทิ ัลสำหรับการบริหารสินคา้ สำหรบั ร้านคา้ ออนไลน์ 17. โครงสรา้ งหลักสตู ร 17.1 การบรหิ ารจดั การร้านค้าออนไลน์ (Online Shop Management) - การทำการตลาดผา่ น Search Engine Optimization (SEO) และ Search Engine Marketing (SEM), การทำการตลาดผา่ นวิดโี อ - ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้เครื่องมือดิจิทัลเพื่อการทำโฆษณาออนไลน์ ให้คำนึงถึง ผลลพั ธท์ ีต่ รงตามเป้าหมายทีต่ ั้งไว้และเขา้ ถึงผูบ้ รโิ ภค - เทคนิคการบริหารสินค้าสำหรับร้านค้าออนไลน์โดยใช้เครื่องมือดิจิทัล ( Product Management Techniques for Online Business)

17.2 เนอ้ื หาหลักสตู ร 35 เน้อื หาหลักสตู ร จำนวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏบิ ัติ - การทำการตลาดผา่ น Search Engine Optimization (SEO) และ Search 60 นาที Engine Marketing (SEM), การทำการตลาดผ่านวดิ ีโอ 60 นาที - ทกั ษะการคิดเชิงสรา้ งสรรค์โดยใช้เคร่ืองมือดจิ ิทัลเพอื่ การทำโฆษณาออนไลน์ 60 นาที ใหค้ ำนึงถึงผลลัพธท์ ่ีตรงตามเป้าหมายท่ตี ง้ั ไว้และเข้าถงึ ผูบ้ ริโภค - เทคนคิ การบรหิ ารสนิ ค้าสำหรับร้านค้าออนไลน์โดยใช้เครื่องมือดิจิทลั 420 นาที (Product Management Techniques for Online Business) Workshop เครื่องมือทางด้านดจิ ทิ ัลที่ใช้ในการบริหารจดั การบนฐานวถิ ีชวี ติ 3 ชั่วโมง 7 ชว่ั โมง สำหรับ ผู้ประกอบการสมยั ใหม่ - การทำการตลาดผ่าน Search Engine Optimization (SEO) - Google Search , Social Media - Interactive VDO Content - Video Clip & Use Case รวมจำนวนชัว่ โมง 18. การประเมนิ ผลการฝกึ อบรม/การรบั รองผลการฝึกอบรม จำนวนช่ัวโมงในการเข้ารบั การฝึกอบรม แบบทดสอบ ก่อนเรยี น/หลงั เรยี น 19. อาชพี ที่รองรับ 17. สถานประกอบการธรุ กจิ ดิจิทัล 18. พนกั งานฝ่ายการตลาด/ฝา่ ยขาย 19. พนกั งานฝ่ายลูกคา้ สัมพันธ์ 20. พนกั งานฝา่ ยส่ือสารการตลาด

36 หลักสตู รประกาศนยี บตั ร (Non-Degree) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ การพฒั นาผู้ประกอบการดจิ ิทลั บนฐานนวัตกรรมและวถิ ชี วี ติ ใหม่ (Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation) 1. ชือ่ หลักสูตร (ภาษาไทย) การบรหิ ารจัดการตลาดดิจิทลั (ภาษาอังกฤษ) (Digital Marketing Management) 2. กลมุ่ หลักสูตร รายวิชาท่ี 3 การสรา้ งร้านค้าดิจิทัลผา่ นสอ่ื สงั คมออนไลน์ (Social Media Digital Marketing) 3. หน่วยงานทีร่ ับผดิ ชอบ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์ 4. รูปแบบการอบรม ภาคทฤษฎี ตอนที่ 1 ความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกับการสรา้ งรา้ นคา้ ดจิ ทิ ลั ผา่ นสือ่ สงั คม (Social Media Digital Marketing) ตอนที่ 2 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาการวางแผนการดำเนินงานสร้าง ร้านค้าดจิ ทิ ัลผา่ นสอ่ื สังคมออนไลน์ ตอนท่ี 3 ความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับหลกั การบรหิ ารจดั การร้านค้าดจิ ทิ ลั ตอนที่ 4 ความรูค้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับเทคนคิ การประชาสมั พนั ธเ์ พอื่ การตลาดเชิงรกุ ตอนที่ 5 ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั การสร้างร้านขายสินค้าบนเพจ Facebook, Instagram, การเปิดบญั ชีรา้ นคา้ บน LINE official Account, การสง่ เสริมการขาย สินค้าผ่านชอ่ ง YouTube ภาคปฏิบตั ิ Workshop Detail : การสรา้ งร้านค้าดจิ ิทัลผา่ นสือ่ สังคมออนไลน์ (Social Media Digital Marketing) แนะนำเคร่อื งมือการสรา้ งร้านค้าออนไลน์ (Online Shop Management) YouTube, Website สำเรจ็ รปู , etc แนะนำ Use Case การสรา้ งร้านค้าออนไลน์, การขายสินคา้ บนร้านคา้ Online แบ่งกลุ่มทำ Workshop โดยมกี จิ กรรม ดังตอ่ ไปนี้ Website เบ้อื งตน้ การสรา้ ง Website สำเรจ็ รูป การสรา้ ง Content บน Website Presentation 5. ระยะเวลาหลักสูตร 10 ช่ัวโมง ภาคทฤษฎี จำนวน 3 ชัว่ โมง ภาคปฏบิ ตั ิ จำนวน 7 ชั่วโมง 6. ช่วงเวลาจดั อบรม เวลา 09.00 น. – 21.00 น. (วนั ละ 10 ชั่วโมง)

37 7. คณุ สมบตั ิผู้สมคั ร คุณสมบัติของผู้สมัคร Intermediate (ระดับ 2) 1. ผูบ้ ริหาร/หรอื ตวั แทน ท่สี ามารถนำความรู้ท่ีได้ไปประยกุ ตใ์ ช้กบั งานได้ 2. องคก์ รท่ีต้องการปรับเปลี่ยนสู่การเปน็ องค์กรดิจิทัลแบบเปน็ รูปธรรม โดยในองค์กรตอ้ งมี การใชง้ านดิจทิ ลั มาแล้วบางส่วนงานขององค์กร 3. มที กั ษะความรู้อย่างน้อยตามระดับ 1 4. มคี อมพวิ เตอร์โน๊ตบุคส่วนตัว 5. ต้องยนิ ยอมใหท้ างผู้จดั อบรมได้ติดตามผลงานจากความรทู้ ไี่ ด้รบั การอบรมไปปรบั ใชใ้ น องค์กร 6. สามารถอบรมไดค้ รบเตม็ เวลาตามหลกั สตู ร 8. ชอ่ งทางการสมัคร Facebook มหาวิทยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์, เว็บไซตม์ หาวิทยาลยั 9. ชอ่ งทางประชาสมั พันธ์ Facebook, Line 10. จำนวนทีร่ บั สมคั ร 30 คน 11. สถานท่ีจดั อบรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏราชนครินทร์ 12. ภาค/ี หน่วยงานความรว่ มมอื อตุ สาหกรรมพัฒนามูลนิธสิ ถาบนั พลาสตกิ บริษัท สุรพล ฟู้ดส์ จำกัด มหาชน บริษัท เอกตรงเคมภี ัณฑ์ (1985) จำกดั บริษทั ISS Consulting (Thailand) Ltd 13. หลกั การและเหตผุ ล ปจั จบุ ันการดําเนินงานประชาสมั พันธ์ ไมเ่ พียงแตเ่ ปน็ สรา้ งความเข้าใจอนั ถกู ต้องส่งเสริมความสัมพันธ์อัน ดีระหว่างหน่วยงานและบุคคลทั้งภายในและภายนอก หรือดําเนินงานประชาสัมพนั ธ์ในเชิงรับ เพื่อแก้ไขปัญหาตา่ ง ๆ ท่ีส่งผลกระทบตอ่ ภาพลักษณข์ ององค์กรเทา่ น้ัน แต่หากเปน็ การดาํ เนินงานประชาสมั พนั ธโ์ ดยมกี ารออกแบบและ วางแผนล่วงหน้า เพื่อเป็นการสร้างข่าวดึงดูดความสนใจ กับกลุ่มเป้าหมาย อันเป็นการประชาสัมพันธ์ที่นัก ประชาสัมพันธ์คิดสร้างสรรค์สื่อและกิจกรรมขึ้น หรือเรียกว่า การประชาสัมพันธ์เชิงรุก ซึ่งเป็นการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายขนาดใหญ่ภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว การสื่อสารในยุคปัจจุบันนับว่าเป็นยุคความ เจริญทางด้านเทคโนโลยีสื่อสาร การประชาสัมพันธ์จึงต้องสามารถตอบรับต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ทั่วโลกได้อย่างไร้ พรมแดน 14. ความตอ้ งการอาชพี นีใ้ นปัจจุบนั และอนาคต การพัฒนาแรงงานในสถานประกอบการดิจิทัล (Digital Workforce Development for Entrepreneur) ต้องมุ่งเน้นการสร้างและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วัยทำงานให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์ใช้ เทคโนโลยดี ิจิทลั อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพในการประกอบอาชพี รวมถงึ การพฒั นาทักษะด้านเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลในบคุ ลากร ภาครัฐ ภาคเอกชน ในทุกสาขาอาชีพ ให้มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญในระดับมาตรฐานสากล เพ่ือ รองรับการพัฒนาประเทศในยุคเศรษฐกิจและสังคมที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อน นอกจาก การอบรมให้ความรเู้ พ่ิมทักษะด้านไอทแี ล้ว ในหลายประเทศทั่วโลกรวมถึงสหประชาชาติและยูเนสโก ยังมีการสอบ วัดมาตรฐานความรู้ความสามารถด้านไอที เป็นเกณฑ์สำหรับคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณภาพสำหรับนุคดิจิทัลใน

38 ขณะเดยี วกันกเ็ ป็นเสมอื นอีกใบเบิกทางสู่โอกาสงานและโอกาสความก้าวหนา้ และรายได้ท่ีดีกว่าสำหรับนักศึกษาจบ ใหมแ่ ละผู้ทก่ี ำลังมองหาโอกาสงานใหม่ ๆ สำหรับประเทศไทยนั้นต้องอาศัยความรว่ มมอื จากทุกภาคสว่ น ทั้งภาครัฐ ภาคการศึกษา ภาคเอกชน รวมทั้งภาคบุคคลคนทั่วไป มุ่งเพิ่มคุณค่าและสร้างบุคลากรที่มีประสิทธิภาพสอดรับ นโยบาย Digital Thailand และ Thailand 4.0 เพอ่ื นำประเทศไทยไปสกู่ ารเป็นดจิ ิทัลอยา่ งเตม็ รูปแบบ ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการประกอบธุรกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคตจะยิ่งมีความจำ เป็นมากเนือ่ งจากทำใหก้ ารดำเนินงาน การติดต่อสื่อสาร การประสานงาน มีความรวดเร็วขึน้ ส่งผ่านข้อมูลไดอ้ ย่าง แมน่ ยำ อำนวยความสะดวกทัง้ ผู้ประกอบการและผู้บรโิ ภค ผู้ท่มี ีความรแู้ ละทักษะด้านดิจทิ ัลจะได้เปรยี บและจะเป็น ที่ต้องการของตลาดแรงงานเป็นอยา่ งมาก 15. คำอธิบายหลักสูตร รายวิชาการสร้างร้านค้าดิจิทัลผ่านสื่อสังคม (Social Media Digital Marketing) เป็นส่วนหนึ่งของ หลักสูตรการบริหารจัดการบนฐานวิถีชีวิตผู้ประกอบการสมัยใหม่ ( New Normal Management for Entrepreneur Lifestyles) จดั ทำข้ึนเพอื่ ใหผ้ ปู้ ระกอบการทราบถงึ หลักการ แนวคดิ และทฤษฎเี กย่ี วกบั การร้านค้า ดิจิทัลผ่านสื่อสังคมออนไลน์ แนวทางการวางแผนดำเนินงานประชาสัมพันธ์ การโฆษณา และติดตามผลดำเนินงาน การใช้เทคโนโลยีการถ่ายภาพรวมกับการตกแต่งภาพด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับสร้างเว็บไซต์เบื้องต้น โดย เนื้อหาแบ่งออกเป็น 6 ตอน ได้แก่ 1) หลักการประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาดเชิงรุก 2) การพัฒนาการวางแผนการ ดำเนินงานสร้างร้านค้าดิจิทัลผ่านสื่อสังคมออนไลน์ 3) หลักการบริหารจัดการร้านค้าดิจิทัล 4) เทคนิคการ ประชาสัมพันธเ์ พอ่ื การตลาดเชิงรุก 5) การสร้างร้านขายสนิ ค้าบนเพจ Facebook, Instagram, การเปิดบญั ชีร้านคา้ บน LINE official Account, การสง่ เสรมิ การขายสินค้าผา่ นชอ่ ง YouTube

39 16. สมรรถนะของผู้ผา่ นการอบรม 16. ทกั ษะด้านความฉลาดทางดิจิทลั สำหรับผปู้ ระกอบการและการใช้เครอื่ งมือทางการตลาด ดจิ ทิ ัล 17. ทกั ษะการวางแผนดำเนนิ งานประชาสมั พันธ์ การโฆษณา และตดิ ตามผลดำเนินงาน การใช้ เทคโนโลยกี ารถา่ ยภาพรวมกับการตกแตง่ ภาพด้วยโปรแกรมสำเรจ็ รูปสำหรบั สร้างเวบ็ ไซต์ เบ้อื งตน้ 18. ทักษะการสร้างรา้ นค้าดจิ ิทลั ผ่านสอื่ สงั คม (Social Media Digital Marketing) 17. โครงสรา้ งหลักสูตร 17.1 การสรา้ งรา้ นค้าดจิ ทิ ลั ผา่ นส่อื สงั คม (Social Media Digital Marketing) 1. ความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั การสรา้ งรา้ นคา้ ดิจิทลั ผา่ นสอ่ื สงั คม (Social Media Digital Marketing) 2. ความรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั การพัฒนาการวางแผนการดำเนินงานสร้างร้านค้า ดจิ ทิ ลั ผา่ นสอื่ สงั คมออนไลน์ 3. ความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกบั หลักการบรหิ ารจัดการร้านคา้ ดิจิทลั 4. ความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการประชาสมั พนั ธเ์ พ่ือการตลาดเชิงรุก 5. ความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกับการสร้างร้านขายสนิ ค้าบนเพจ Facebook, Instagram, การเปิดบญั ชี ร้านค้าบน LINE official Account, การส่งเสรมิ การขายสินค้าผ่านช่อง YouTube 17.2 เนอ้ื หาหลกั สตู ร เนือ้ หาหลักสตู ร จำนวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ ตอนที่ 1 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั การสรา้ งร้านคา้ ดิจทิ ัลผ่านส่ือสงั คม (Social Media Digital Marketing) 60 นาที ตอนที่ 2 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั การพัฒนาการวางแผนการดำเนนิ งานสร้าง ร้านค้าดิจิทัลผา่ นส่ือสงั คมออนไลน์ ตอนท่ี 3 ความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั หลักการบรหิ ารจัดการร้านค้าดจิ ทิ ัล 30 นาที 30 นาที ตอนที่ 4 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั เทคนิคการประชาสมั พันธ์เพ่ือการตลาด เชงิ รกุ ตอนท่ี 5 ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการสร้างรา้ นขายสินค้าบนเพจ 60 นาที Facebook, Instagram, การเปดิ บัญชรี ้านคา้ บน LINE official Account, การส่งเสริมการขายสนิ คา้ ผา่ นช่อง YouTube

40 Workshop Detail : การสร้างร้านคา้ ดจิ ิทัลผา่ นสือ่ สงั คมออนไลน์ (Social Media 3 ชั่วโมง 420 นาที Digital Marketing) 7 ช่วั โมง แนะนำเครือ่ งมือการสรา้ งรา้ นค้าออนไลน์ (Online Shop Management) YouTube, Website สำเรจ็ รปู , etc แนะนำ Use Case การสรา้ งร้านคา้ ออนไลน์, การ ขายสินค้าบนร้านค้า Online แบง่ กลุ่มทำ Workshop โดยมกี ิจกรรม ดงั ต่อไปนี้ Website เบ้อื งต้น การสรา้ ง Website สำเร็จรปู การสรา้ ง Content บน Website Presentation รวมจำนวนชว่ั โมง 18. การประเมนิ ผลการฝึกอบรม/การรบั รองผลการฝกึ อบรม จำนวนชว่ั โมงในการเข้ารบั การฝกึ อบรม แบบทดสอบ ก่อนเรียน/หลังเรียน 19. อาชพี ทรี่ องรับ สถานประกอบการธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล พนักงานฝา่ ยการตลาด/ฝา่ ยขาย พนกั งานฝา่ ยลูกค้าสมั พันธ์ พนักงานฝา่ ยส่ือสารการตลาด

41 หลักสูตรประกาศนียบตั ร (Non-Degree) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครินทร์ การพฒั นาผปู้ ระกอบการดิจทิ ัลบนฐานนวัตกรรมและวถิ ชี วี ิตใหม่ (Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation) 1. ชือ่ หลักสูตร (ภาษาไทย) ความฉลาดทางดิจทิ ลั สำหรบั ผู้ประกอบการ (ภาษาอังกฤษ) Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur 2. กลมุ่ หลกั สตู รท่ี 3 รายวชิ าที่ 1 ความฉลาดทางดิจิทัลสำหรบั ผู้ประกอบการสมยั ใหม่ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur : DQE) 3. หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ มหาวิทยาลยั ราชภัฏราชนครินทร์ 4. รูปแบบการอบรม ภาคทฤษฎี ตอนที่ 1 ความฉลาดทางดิจิทลั สำหรบั ผู้ประกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur : DQE) 1) ทักษะในการรักษาอัตลักษณท์ ี่ดขี องตนเอง (Digital Citizen Identity) 2) ทกั ษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) 3) ทกั ษะในการรับมือกับการคกุ คามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) 4) ทักษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลก ออนไลน์ (Cybersecurity Management) 5) ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว (Privacy Management) 6) ทกั ษะการคิดวิเคราะห์มีวจิ ารณญาณทด่ี ี (Critical Thinking) 7) ทักษะในการบรหิ ารจดั การข้อมูลทีผ่ ู้ใชง้ านมีการทงิ้ ไวบ้ นโลกออนไลน์ (Digital Footprints) 8) ทกั ษะการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจริยธรรม (Digital Empathy) ตอนท่ี 2 จรยิ ธรรมของผ้ปู ระกอบการและกฎหมายทเี่ กีย่ วข้องกบั การ ดำเนินธุรกจิ ในยุคดิจทิ ัล ตอนท่ี 3 การทำ Crowdfunding ตลาดของการระดมทุนในรปู แบบใหม/่ รูปแบบวิธีการระดมทุนแบบ Crowdfunding ภาคปฏบิ ัติ Workshop Detail : ความฉลาดทางดจิ ทิ ัลสำหรบั ผ้ปู ระกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur) แนะนำระบบบรหิ ารการจัดการองคก์ รรวม (Enterprise Resource Planning) SAP Business One : VDO Clip Power Point ระบบ ERP : SAP Business One

42 5. ระยะเวลาหลกั สูตร Software for Personal Data Protection Act (PDPA) 6. ชว่ งเวลาจัดอบรม แนะนำ Use Case ของผู้ใชร้ ะบบ ERP ท่ีสร้างมลู คา่ ทางธุรกิจสำหรบั ผ้ปู ระกอบการ ระบบ ERP Business Process แบง่ กลมุ่ ทำ Workshop โดยมกี ิจกรรม ดังตอ่ ไปนี้ ความเขา้ ใจและใช้งานระบบ ERP เบ่อื งต้น การใช้งานระบบ ERP : SAP Business One Presentation 10 ชั่วโมง ภาคทฤษฎี จำนวน 3 ช่ัวโมง ภาคปฏิบตั ิ จำนวน 7 ช่วั โมง เวลา 09.00 น. – 21.00 น. (วนั ละ 10 ชัว่ โมง) 7. คณุ สมบัตผิ สู้ มัคร คุณสมบัติของผ้สู มัคร Advanced (ระดบั 3) 1. ผบู้ ริหาร/หรอื ตัวแทน ที่สามารถนำความรู้ท่ีได้ไปประยกุ ต์ใชก้ บั งานได้ 2. องค์กรทีต่ ้องการปรบั เปลย่ี นสกู่ ารเปน็ องคก์ รดจิ ิทลั แบบเปน็ รปู ธรรม โดยในองคก์ รต้องมี การใชง้ านดิจทิ ลั มาแล้วบางสว่ นงานขององค์กร 3. มที กั ษะความรู้อยา่ งน้อยตามระดับ 1 /ระดบั 2 4. มคี อมพิวเตอร์โน๊ตบุคส่วนตวั 5. ตอ้ งยินยอมใหท้ างผู้จัดอบรมได้ตดิ ตามผลงานจากความรทู้ ่ีได้รบั การอบรมไปปรับใช้ใน องค์กร 6. สามารถอบรมไดค้ รบเตม็ เวลาตามหลกั สูตร 8. ชอ่ งทางการสมัคร Facebook มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์, เวบ็ ไซต์มหาวิทยาลยั 9. ช่องทางประชาสมั พนั ธ์ Facebook, Line 10. จำนวนท่รี บั สมคั ร 30 คน 11. สถานท่จี ดั อบรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ 12. ภาค/ี หน่วยงานความรว่ มมือ อุตสาหกรรมพฒั นามูลนิธิสถาบันพลาสตกิ บรษิ ัท สรุ พล ฟดู้ ส์ จำกัด มหาชน บริษัท เอกตรงเคมภี ัณฑ์ (1985) จำกัด บรษิ ัท ISS Consulting (Thailand) Ltd

43 13. หลักการและเหตผุ ล การจัดทำหลกั สูตรการบรหิ ารจดั การบนฐานวถิ ชี ีวิตผู้ประกอบการสมยั ใหม่ รายวชิ า ความฉลาด ทางดจิ ิทลั สำหรบั ผูป้ ระกอบการ เปน็ ผลจากศึกษาและพัฒนาของ DQ institute หนว่ ยงานที่เกิดจากความร่วมมือ กันของภาครัฐและเอกชนทัว่ โลกประสานงานร่วมกับ เวิลด์อโี คโนมิกฟอรั่ม (World Economic Forum) ที่มุ่งม่ัน ให้เด็ก ๆ ทุกประเทศได้รับการศึกษาด้านทักษะพลเมืองดิจิทัลที่มีคุณภาพและใช้ชีวิตบนโลกออนไลน์อย่าง ปลอดภัยด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสมัยใหม่ ความฉลาดทางดิจิทัล เป็นกรอบแนวคิดที่ครอบคลุมของ ความสามารถทางเทคนิคความรู้ความเข้าใจและความคิดทางสังคมที่มีพื้นฐานอยู่ในค่านิยมทางศีลธรรมที่ช่วยให้ บุคคลที่จะเผชิญกับความท้าทายทางดิจิทัล ความฉลาดทางดิจิทัล มีสามระดับ 8 ด้าน และ 24 สมรรถนะที่ ประกอบด้วย ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคตแิ ละค่านิยม โดยบทความนีจ้ ะกล่าวถึงทักษะ 8 ด้านของความฉลาดดิจิทัลใน ระดับพลเมืองดจิ ิทัล ซง่ึ เปน็ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัลและสือ่ ในรูปแบบทีป่ ลอดภยั รับผิดชอบ และมี จริยธรรมโดยเน้นเนื้อหาทฤษฏีเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในบทเรีย นและการฝึกปฏิบัติเพื่อนำไปสู่การเป็นผู้ ประกอบยุคใหม่ 14. ความตอ้ งการอาชีพนใ้ี นปัจจุบันและอนาคต การพัฒนาแรงงานในสถานประกอบการดิจิทัล (Digital Workforce Development for Entrepreneur) ต้องมุ่งเน้นการสร้างและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วัยทำงานให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์ใช้ เทคโนโลยดี ิจทิ ัลอยา่ งมีประสิทธิภาพในการประกอบอาชีพ รวมถึงการพัฒนาทกั ษะดา้ นเทคโนโลยีดิจทิ ลั ในบุคลากร ภาครัฐ ภาคเอกชน ในทุกสาขาอาชีพ ให้มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญในระดับมาตรฐานสากล เพ่ือ รองรับการพัฒนาประเทศในยุคเศรษฐกิจและสังคมที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อน นอกจาก การอบรมใหค้ วามรูเ้ พิ่มทักษะด้านไอทแี ล้ว ในหลายประเทศทว่ั โลกรวมถึงสหประชาชาติและยูเนสโก ยังมีการสอบ วัดมาตรฐานความรู้ความสามารถด้านไอที เป็นเกณฑ์สำหรับคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณภาพสำหรับนุคดิจิทัลใน ขณะเดียวกันกเ็ ปน็ เสมอื นอีกใบเบิกทางสู่โอกาสงานและโอกาสความก้าวหน้าและรายได้ทีด่ ีกวา่ สำหรับนักศึกษาจบ ใหมแ่ ละผู้ทกี่ ำลังมองหาโอกาสงานใหม่ ๆ สำหรบั ประเทศไทยน้ันตอ้ งอาศัยความรว่ มมือจากทกุ ภาคส่วน ท้ังภาครัฐ ภาคการศึกษา ภาคเอกชน รวมทั้งภาคบุคคลคนทั่วไป มุ่งเพิ่มคุณค่าและสร้างบุคลากรที่มีประสิทธิภาพสอดรับ นโยบาย Digital Thailand และ Thailand 4.0 เพื่อนำประเทศไทยไปสู่การเปน็ ดิจิทลั อยา่ งเต็มรปู แบบ ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการประกอบธุรกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคตจะยิ่งมีความจำ เป็นมากเนื่องจากทำให้การดำเนินงาน การติดต่อสื่อสาร การประสานงาน มีความรวดเร็วขึ้น ส่งผ่านข้อมูลไดอ้ ย่าง แมน่ ยำ อำนวยความสะดวกทัง้ ผู้ประกอบการและผ้บู ริโภค ผู้ท่ีมคี วามรูแ้ ละทักษะด้านดจิ ิทลั จะไดเ้ ปรยี บและจะเปน็ ทตี่ อ้ งการของตลาดแรงงานเป็นอย่างมาก

44 15. คำอธบิ ายหลักสตู ร มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางด้านความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur : DQE) ประกอบด้วย ทักษะในการรักษาอัตลักษณ์ที่ดีของ ตนเอง (Digital Citizen Identity) ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว (Privacy Management) ทักษะในการคิด วิเคราะห์มีวิจารณญาณที่ดี (Critical Thinking) ทักษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) ทักษะในการจัดการข้อมูลที่ ผู้ใช้งานทิ้งไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) ทักษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างมีจริยธรรม (Digital Empathy) จริยธรรมของ ผ้ปู ระกอบการและกฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การดำเนินธรุ กจิ ในยุคดจิ ทิ ัล 1. วัตถุประสงคข์ องบทเรียน 1) มคี วามร้แู ละเข้าใจทักษะความฉลาดทางดิจทิ ัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur : DQE) 2) มีความรู้และเข้าใจจรยิ ธรรมของผู้ประกอบการและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกบั การดำเนนิ ธุรกจิ ในยคุ ดจิ ทิ ลั 2. ขอบเขตบทเรียน 1) ความฉลาดทางดิจิทลั สำหรับผ้ปู ระกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur : DQE) 2) จรยิ ธรรมของผปู้ ระกอบการและกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกจิ ในยุคดิจทิ ลั

45 16. สมรรถนะของผู้ผ่านการอบรม 19. ทักษะด้านความฉลาดทางดิจิทัลสำหรบั ผู้ประกอบการและการใชเ้ คร่อื งมือทางการตลาด ดิจิทลั 20. ทกั ษะการพัฒนาความคิดสร้างสรรคแ์ ละการสรา้ งนวตั กรรม 21. มคี ุณธรรมจริยธรรมของผู้ประกอบการและกฎหมายทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับการดำเนนิ ธุรกจิ ในยุค ดิจิทลั 17. โครงสรา้ งหลักสตู ร 17.1 ความฉลาดทางดิจิทัลสำหรบั ผูป้ ระกอบการ 1) ทักษะในการรกั ษาอตั ลกั ษณ์ที่ดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) 2) ทกั ษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) 3) ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) 4) ทักษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) 5) ทกั ษะในการรักษาข้อมูลส่วนตวั (Privacy Management) 6) ทกั ษะการคดิ วิเคราะหม์ วี จิ ารณญาณทด่ี ี (Critical Thinking) 7) ทกั ษะในการบรหิ ารจัดการข้อมลู ทีผ่ ู้ใชง้ านมกี ารทิ้งไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) 8) ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งมจี รยิ ธรรม (Digital Empathy) 17.2 เน้อื หาหลักสูตร เนอื้ หาหลักสูตร จำนวนชวั่ โมง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 1) ทกั ษะในการรักษาอัตลกั ษณ์ทดี่ ีของตนเอง (Digital Citizen Identity) 180 นาที 2) ทักษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) 3) ทักษะในการรับมอื กบั การคุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) 4) ทักษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) 5) ทักษะในการรักษาข้อมลู สว่ นตวั (Privacy Management) 6) ทักษะการคดิ วเิ คราะห์มวี ิจารณญาณทีด่ ี (Critical Thinking) 7) ทักษะในการบริหารจัดการข้อมูลที่ผู้ใช้งานมีการทิ้งไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) 8) ทกั ษะการใช้เทคโนโลยอี ยา่ งมจี ริยธรรม (Digital Empathy)

46 Workshop Detail : ความฉลาดทางดจิ ทิ ัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Intelligence 420 นาที Quotient for Entrepreneur) แนะนำระบบบริหารการจดั การองคก์ รรวม (Enterprise Resource Planning) 3 ชวั่ โมง 7 ชว่ั โมง SAP Business One : VDO Clip Power Point ระบบ ERP : SAP Business One Software for Personal Data Protection Act (PDPA) แนะนำ Use Case ของผู้ใชร้ ะบบ ERP ทีส่ ร้างมลู ค่าทาง ธรุ กิจสำหรับผู้ประกอบการ ระบบ ERP Business Process แบ่งกลุ่มทำ Workshop โดยมกี จิ กรรม ดังต่อไปน้ี ความเขา้ ใจและใชง้ านระบบ ERP เบ่อื งต้น การใชง้ านระบบ ERP : SAP Business One Presentation รวมจำนวนชั่วโมง 18. การประเมินผลการฝึกอบรม/การรบั รองผลการฝึกอบรม จำนวนช่ัวโมงในการเขา้ รับการฝกึ อบรม แบบทดสอบ ก่อนเรยี น/หลังเรียน 19. อาชพี ท่ีรองรบั 21. สถานประกอบการธุรกจิ ดจิ ทิ ัล 22. พนกั งานฝา่ ยการตลาด/ฝ่ายขาย 23. พนกั งานฝา่ ยลูกคา้ สมั พันธ์ 24. พนักงานฝ่ายส่ือสารการตลาด

47 หลกั สูตรประกาศนยี บตั ร (Non-Degree) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ราชนครินทร์ การพฒั นาผู้ประกอบการดจิ ิทลั บนฐานนวัตกรรมและวิถชี วี ติ ใหม่ (Next Normal Digital Entrepreneur & Innovation) 1. ชอื่ หลกั สตู ร (ภาษาไทย) ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั สำหรับผ้ปู ระกอบการ (ภาษาอังกฤษ) Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur 2. กลุ่มหลักสตู รท่ี 3 รายวชิ าท่ี 2 นวตั กรรมสรา้ งสรรคส์ ำหรับผู้ประกอบการทางดา้ นดจิ ิทัล (Creative & Innovation for Digital Entrepreneur) 3. หน่วยงานท่รี ับผิดชอบ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ราชนครินทร์ 4. รปู แบบการอบรม ภาคทฤษฎี 1) หลักการสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม: จากทฤษฏีส่ปู ฏิบัติ 2) การค้นหาความแตกตา่ งของธุรกจิ และบริการ 3) การสำรวจความต้องการของลูกค้า 4) การพัฒนาความคิดสร้างสรรคส์ ่นู วัตกรรม 5) แนวโนม้ นวตั กรรมธุรกจิ อนาคต ภาคปฏบิ ัติ Workshop Detail : นวตั กรรมสร้างสรรคส์ ำหรบั ผ้ปู ระกอบการ (Creative Innovation) แนะนำ กระบวนการคดิ เชิงออกแบบ (Design Thinking) ซง่ึ เป็นเครือ่ งมอื สำคัญของการสรา้ ง ความสำเรจ็ ใหอ้ งคก์ รแบ่งกลมุ่ ทำ Workshop โดยมกี ิจกรรม ดงั ต่อไปน้ี แบ่งกลุ่ม กระบวนการคดิ เชิงออกแบบ (Design Thinking) Presentation 5. ระยะเวลาหลักสูตร 10 ชว่ั โมง ภาคทฤษฎี จำนวน 3 ชว่ั โมง ภาคปฏิบตั ิ จำนวน 7 ช่ัวโมง 6. ช่วงเวลาจดั อบรม เวลา 09.00 น. – 21.00 น. (วนั ละ 10 ชั่วโมง) 7. คณุ สมบัตผิ ู้สมัคร คณุ สมบัตขิ องผสู้ มคั ร Advanced (ระดบั 3) 1. ผ้บู รหิ าร/หรอื ตัวแทน ท่สี ามารถนำความรู้ท่ีได้ไปประยกุ ต์ใชก้ บั งานได้ 2. องค์กรทีต่ ้องการปรับเปลยี่ นสกู่ ารเปน็ องค์กรดจิ ิทลั แบบเป็นรปู ธรรม โดยในองคก์ รต้องมี การใชง้ านดิจิทลั มาแลว้ บางส่วนงานขององค์กร 3. มีทกั ษะความรู้อย่างน้อยตามระดับ 1 /ระดับ 2 4. มคี อมพิวเตอร์โน๊ตบุคสว่ นตัว 5. ต้องยินยอมให้ทางผู้จัดอบรมได้ตดิ ตามผลงานจากความรูท้ ีไ่ ด้รบั การอบรมไปปรบั ใชใ้ น องค์กร 6. สามารถอบรมได้ครบเตม็ เวลาตามหลักสูตร

48 8. ชอ่ งทางการสมคั ร Facebook มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏราชนครนิ ทร์, เว็บไซตม์ หาวิทยาลยั 9. ชอ่ งทางประชาสัมพนั ธ์ Facebook, Line 10. จำนวนที่รับสมคั ร 30 คน 11. สถานท่ีจัดอบรม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์ 12. ภาค/ี หนว่ ยงานความร่วมมือ อตุ สาหกรรมพัฒนามลู นธิ ิสถาบันพลาสตกิ บริษทั สุรพล ฟดู้ ส์ จำกัด มหาชน บริษัท เอกตรงเคมภี ัณฑ์ (1985) จำกัด บริษัท ISS Consulting (Thailand) Ltd 13. หลักการและเหตผุ ล รายวิชานวัตกรรมสร้างสรรค์สำหรับผู้ประกอบการ (Creative Innovation) เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร การบริหารจัดการบนฐานวิถีชีวิตผู้ประกอบการสมัยใหม่ (New Normal Management for Entrepreneur Lifestyles) จัดทำขึน้ เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถนำเปน็ แนวทางในการสร้างสรรค์นวตั กรรมเพือ่ พฒั นาธรุ กจิ และ บริการ รวมถึงการใช้เทคนิค Crowdsourcing สำหรับส่งเสริมสินค้าและบริการให้สอดคล้องกับความต้องการของ ลูกค้า โดยเนื้อหาแบ่งออกเป็น 6 ตอน ได้แก่ 1) หลักการสร้างสรรค์นวัตกรรม: จากทฤษฏีสู่ปฏิบัติ 2) การค้นหา ความแตกต่างของธุรกิจและบริการ 3) การสำรวจความต้องการของลูกค้า 4)การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สู่ นวัตกรรม 5) แนวโน้มนวัตกรรมธุรกจิ อนาคต 14. ความต้องการอาชพี นใ้ี นปัจจบุ ันและอนาคต การพัฒนาแรงงานในสถานประกอบการดิจิทัล (Digital Workforce Development for Entrepreneur) ต้องมุ่งเน้นการสร้างและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วัยทำงานให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์ใช้ เทคโนโลยดี ิจิทลั อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพในการประกอบอาชพี รวมถงึ การพฒั นาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในบุคลากร ภาครัฐ ภาคเอกชน ในทุกสาขาอาชีพ ให้มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญในระดับมาตรฐานสากล เพ่ือ รองรับการพัฒนาประเทศในยุคเศรษฐกิจและสังคมที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อน นอกจาก การอบรมให้ความรเู้ พิ่มทักษะด้านไอทแี ล้ว ในหลายประเทศทวั่ โลกรวมถึงสหประชาชาติและยเู นสโก ยังมีการสอบ วัดมาตรฐานความรู้ความสามารถด้านไอที เป็นเกณฑ์สำหรับคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณภาพสำหรับนุคดิจิทัลใน ขณะเดียวกนั ก็เปน็ เสมือนอีกใบเบิกทางสูโ่ อกาสงานและโอกาสความก้าวหนา้ และรายไดท้ ีด่ ีกวา่ สำหรับนักศึกษาจบ ใหมแ่ ละผทู้ ี่กำลงั มองหาโอกาสงานใหม่ ๆ สำหรับประเทศไทยนัน้ ตอ้ งอาศยั ความรว่ มมอื จากทุกภาคส่วน ทง้ั ภาครัฐ ภาคการศึกษา ภาคเอกชน รวมทั้งภาคบุคคลคนทั่วไป มุ่งเพิ่มคุณค่าและสร้างบุคลากรที่มีประสิทธิภาพสอดรับ นโยบาย Digital Thailand และ Thailand 4.0 เพ่อื นำประเทศไทยไปสู่การเปน็ ดจิ ิทัลอยา่ งเต็มรปู แบบ ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการประกอบธุรกิจทั้งในปัจจุบันและอนาคตจะยิ่งมีความจำ เป็นมากเนือ่ งจากทำให้การดำเนินงาน การติดต่อสื่อสาร การประสานงาน มีความรวดเร็วขึน้ ส่งผ่านข้อมูลได้อย่าง แมน่ ยำ อำนวยความสะดวกทั้งผู้ประกอบการและผูบ้ ริโภค ผู้ทม่ี คี วามรู้และทักษะด้านดจิ ทิ ลั จะได้เปรยี บและจะเป็น ทตี่ ้องการของตลาดแรงงานเป็นอยา่ งมาก

49 15. คำอธิบายหลักสตู ร มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางด้านความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบการ (Digital Intelligence Quotient for Entrepreneur : DQE) ประกอบด้วย หลักการสร้างสรรค์นวัตกรรม : จาก ทฤษฎีสู่ปฏิบัติการค้นหาความแตกต่างของธุรกิจและบริการ, การสำรวจความต้องการของลูกค้าทั้งปัจจุบันและ อนาคต การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สู่นวัตกรรม, การประเมินนวัตกรรมสร้างสรรค์ แนวโน้มนวัตกรรมธุรกิจ อนาคตเกยี่ วข้องกับการดำเนินธรุ กิจในยุคดจิ ทิ ัล วตั ถุประสงคข์ องบทเรียน 1. มคี วามร้คู วามเข้าใจในการค้นหาความคดิ สรา้ งสรรค์มีความรู้ความเข้าใจ 2. เขา้ ใจในการสรา้ งความแตกตา่ งในสินค้าและบรกิ าร 3. รจู้ กั การพัฒนาความคิดสร้างสรรคส์ ่นู วัตกรรม 4. เขา้ ใจการทดสอบไอเดีย และความตอ้ งการของตลาด 5. ทราบการสรา้ งช้นิ งานเพิ่อทดลองตลาด 6. ทราบแนวโนม้ นวัตกรรมธรุ กิจในอนาคต ขอบเขตบทเรยี น 4. หลกั การสร้างสรรคน์ วตั กรรม: จากทฤษฏสี ู่ปฏิบตั ิ 5. การคน้ หาความแตกต่างของธุรกิจและบรกิ าร 6. การสำรวจความตอ้ งการของลกู คา้ 7. การพัฒนาความคดิ สรา้ งสรรค์สนู่ วตั กรรม 8. แนวโน้มนวัตกรรมธุรกิจในอนาคต

50 16. สมรรถนะของผผู้ ่านการอบรม ทกั ษะด้านความฉลาดทางดิจิทัลสำหรบั ผปู้ ระกอบการและการใช้เครือ่ งมือทางการตลาด ดิจิทลั ทกั ษะการพัฒนาความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละการสร้างนวัตกรรม มีคุณธรรมจริยธรรมของผปู้ ระกอบการและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกบั การดำเนินธรุ กิจในยุค ดิจิทลั 17. โครงสรา้ งหลักสตู ร 17.1 นวตั กรรมสรา้ งสรรค์สำหรบั ผ้ปู ระกอบการ (Creative Innovation) 1) หลักการสร้างสรรค์นวัตกรรม: จากทฤษฏสี ูป่ ฏิบัติ 2) การค้นหาความแตกตา่ งของธุรกจิ และบรกิ าร 3) การสำรวจความตอ้ งการของลูกคา้ 4) การพฒั นาความคิดสร้างสรรค์สนู่ วัตกรรม 5) แนวโนม้ นวัตกรรมธุรกิจอนาคต 17.2 เนื้อหาหลกั สูตร จำนวนช่วั โมง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ เนื้อหาหลักสตู ร 180 นาที 1) หลกั การสร้างสรรค์นวตั กรรม: จากทฤษฏสี ู่ปฏิบัติ 2) การค้นหาความแตกตา่ งของธุรกิจและบรกิ าร 3) การสำรวจความต้องการของลกู ค้า 4) การพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์สนู่ วัตกรรม 5) แนวโน้มนวตั กรรมธุรกจิ อนาคต 6) รูปแบบการคิดเชิงออกแบบ ในการไปประยุกต์ใช้กับการแก้ปัญหาธุรกิจ (Design Thinking) - หลักการ Design Thinking Process 5 ขั้นตอน กระบวนการคดิ เชิง ออกแบบ o Empathize เขา้ ใจ o Define นิยาม o Ideate สรา้ งสรรค์ o Prototype จำลอง o Test ทดสอบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook