Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัย พัฒนาฯ โดยกระบวนการกลุ่ม ปวช.1

วิจัย พัฒนาฯ โดยกระบวนการกลุ่ม ปวช.1

Published by kanyanut.buato, 2022-08-14 04:26:51

Description: วิจัย พัฒนาฯ โดยกระบวนการกลุ่ม ปวช.1

Search

Read the Text Version

งานวิจยั ในชั้นเรียน การพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าบญั ชเี บ้ืองตน ของนักเรียนระดบั ชนั้ ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ปท่ี 1 โดยใชกระบวนการแบบทาํ งานรับผิดชอบรวมกัน ผวู ิจยั นางสาวกญั ญาณัฐ บัวโต ครูชํานาญการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห 33 จังหวัดลพบุรี สาํ นกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

2 คํานํา การวิจัยในชั้นเรียนเปนการตรวจสอบสภาพปญหาการเรียนของผูเรียน โดยครูผูสอนเปนผูสังเกต ทดสอบแลว นาํ ผูเรียนที่มีปญ หาทางการเรียนในเร่ืองนั้นมาแกปญหา โดยการวิจัยในช้ันเรียน เร่ืองการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าบัญชีเบือ้ งตน ของนกั เรยี นชัน้ ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ปท่ี 1 โดยใชก ระบวนการแบบ ทํางานรับผดิ ชอบรว มกนั งานวิจัยในชั้นเรยี นน้ีจงึ เปน สวนหน่ึงท่ีจะสงเสริมใหผูเรียนเกิดการพัฒนาตนเองดาน ภาวะผนู าํ ผตู ามและฝก ความสามารถของตนเอง รวมถึงเปน แนวทางในการทาํ วิจัยในชั้นเรียนของช้ันอื่นๆ ตอไป ผูวิจัยหวังวา วิจัยในชั้นเรียนเลมนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนไมมากก็นอย หากงานวิจัยเลมนี้มี ขอบกพรอ งประการใดตอ งขออภยั ไว ณ ทน่ี ี้ นางสาวกัญญาณฐั บวั โต

สารบญั 3 เรอ่ื ง หนา 1 บทท่ี 1 บทนาํ 4 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ยี วของ 13 บทที่ 3 วธิ กี ารดาํ เนินการวิจยั 17 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมลู 18 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผลและขอ เสนอแนะ

4 บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสาํ คัญของปญหา การเรยี นการสอนระดับชัน้ ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ปท ่ี 1 เปน ไปตามมาตรฐานการเรียนรูของระดับชั้น ชว งชน้ั ที่ 4 จากการจัดกระบวนการเรยี นรแู ละวดั ประเมินผลตามจดุ ประสงคการเรียนรูของนักเรียนในรายวิชา อื่นๆทผ่ี า นมา พบวานกั เรยี นระดับชน้ั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพปท ี่ 1 สวนใหญมผี ลการเรียนคอนขางต่ํา รอยละ 60 ของนักเรยี นไมผ า นจดุ ประสงคก ารเรยี นรู และจากการสังเกตพบวา คนทผ่ี า นมักเปนนกั เรยี นกลมุ ท่ตี ้ังใจเรียน สวนนักเรียนท่ไี มผา นจะเปนนกั เรียนที่ไมต ั้งใจเรียน เนือ่ งจากวาผูวจิ ยั ไดรับผดิ ชอบการจัดการเรียนรายวิชาบัญชีเบ้ืองตน จึงเลือกวิจัยในชั้นเรียน ในการ เรียนกระบวนวิชาดังกลาว จึงไดสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนระหวางที่จัดการเรียนการสอน และ พฤตกิ รรมการทาํ งานเม่ือมีการสัง่ งานทําแบบฝก หัดหรอื ปฏบิ ัติเครอื่ งดนตรี โดยพบวา นักเรยี นทตี่ ง้ั ใจเรียนจะให ความสนใจกับการเรียน และลงมือทํางานใหแลวเสร็จกอนท่ีจะขออนุญาตทํางานอ่ืน หรือกิจกรรมอื่นๆ แต นักเรียนท่ีไมมีความสนใจในการเรียนจะหากิจกรรมอ่ืนมาทําระหวางเรียน หรือไมใหความสนใจในการเรียน เทาทค่ี วร ตอ งมีการย้ําใหนกั เรยี นสนใจอยูตลอดการจดั การเรยี นการสอน ทําใหก ารจัดการเรยี นการสอนมีความ ลาชา และนกั เรียนเกิดการเรยี นรไู ดไมด ีเทา ท่คี วร ดงั นั้นเพ่ือแกป ญ หาเรือ่ งผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น และกระตนุ ใหน กั เรยี นหนั มาสนใจบทเรียนมากขนึ้ จึง จําเปน ตองมกี ารปรบั ปรุง พัฒนารูปแบบการสอน วิธีการสอนเพ่ือเนนผูเรียนเปนสําคัญและเพิ่มกิจกรรมการ เรียนรูท ี่หลากหลาย ผวู ิจยั จงึ เห็นวาการจัดการเรียนรูโดยใชกระบวนการกลุม เปนกระบวนการเรียนรูท่ีทําให ผูเรียนไดร บั ความรจู ากการลงมือรวมกนั ปฏบิ ัติเปนกลุม นักเรียนแตละคนในกลุมมีบทบาทหนาท่ีรับผิดชอบที่ แนนอน เพือ่ นคนเกงชว ยเหลือเพ่ือนทอ่ี อนกวา โดยถอื ความสําเรจ็ ของบุคคลเปนความสําเรจ็ ของกลุม ท้ังนี้เพ่ือ เปด โอกาสใหผูเรียนเขารวมกิจกรรมกลุม และมีบทบาททางการเรียน จะชวยใหผูเรียนมีความพรอม มีความ กระตือรอื รน เสรมิ สรา งปฏสิ มั พนั ธและมีความสขุ ในการเรียน และเพื่อใหการจัดการเรียนการสอนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และใหผูเรียนไดรับประสิทธิผลมาก ที่สุด ผวู จิ ยั จึงเลอื กศกึ ษาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรียนรายวิชาบัญชีเบื้องตน ระดับชั้นประกาศนียบัตร วชิ าชพี ปที่ 1 โดยใชก ระบวนการแบบทํางานรบั ผดิ ชอบรวมกนั

5 วตั ถุประสงคก ารวจิ ัย 1. เพือ่ พฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาบญั ชเี บ้ืองตนของนักเรยี นระดบั ชั้นประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ ปท่ี 1 โดยใชกระบวนการแบบทํางานรับผิดชอบรว มกัน กอนเรยี นและหลงั เรยี น โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห 33 จังหวดั ลพบุรี ภาคเรียนท่ี 2 ปการศกึ ษา 2563 ขอบเขตของการวจิ ยั 1. กลมุ เปาหมาย วิชาบัญชีเบื้องตนของนักเรียนระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 โรงเรียนราชประชา- นเุ คราะห 33 จังหวัดลพบรุ ี ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2563 จาํ นวน 14 คน 2. เนอื้ หา 2.1 เนอ้ื หาท่ีใชในการสอน วิชาบัญชีเบ้ืองตน ในกลมุ สาระการเรียนรอู าชพี และเทคโนโลยี 2.2 นวตั กรรมท่ใี ชใ นการวจิ ยั ครง้ั นเ้ี ปนกระบวนแบบทาํ งานรวมเปน ทีม 3. ขอบเขตดานตวั แปร ตวั แปรตน วธิ ีการใชกระบวนการทาํ งานรวมเปน ทมี ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าบญั ชีเบื้องตน 4. ระยะเวลาท่ใี ชใ นการวิจัย ธันวาคม 2563 - มีนาคม 2564 สมมตุ ิฐานงานวจิ ยั 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีผานการเรียนวิชาบัญชีเบ้ืองตนของนักเรียนระดับช้ัน ประกาศนียบตั รวชิ าชีพปที่ 1 โดยใชกระบวนการแบบทาํ งานรบั ผิดชอบรวมกนั มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกวา กอนเรยี น นิยามศพั ทเ ฉพาะ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น หมายถึง นักเรียนมีความรู ความเขาใจ และสามารถวิเคราะหเนื้อหา ลําดับ ความสาํ คัญในวิชาบญั ชเี บ้ืองตน ของนักเรียนระดับช้นั ประกาศนียบัตรวิชาชีพปท ่ี 1 การทํางานรับผิดชอบรวมกัน หมายถึง การท่ีบุคคลรวมกัน เพ่ือทํางานรวมกันอยางเปนข้ันตอน ใน เร่ืองใดเร่ืองหน่ึง เพ่ือที่จะแกไขปญหาน้ันๆ ใหหมดไปโดยแตละข้ันตอนจะมีความสัมพันธเชื่อมโยงกันเปน แนวทางในการปฏิบตั ิเพื่อใหบรรลผุ ลท่วี างไว แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น หมายถงึ เครอ่ื งมอื ที่ใชในการวดั ผลกอนเรียนและหลงั เรียนดวย ชดุ การสอนทผี่ ูวจิ ัยสรางข้ึนทั้งหมด เพื่อวัดผลการเรียน ซึ่งจะวัดในดานความรู ความจํา ความเขาใจและการ นําไปใชจากการเรียนรโู ดยใหค รอบคลุมตามจดุ ประสงคเ ชงิ พฤตกิ รรมเปนรายขอ ของแตล ะชุดกจิ กรรม

6 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดร ับ 1. ทาํ ใหทราบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรียน หลงั การจัดการเรยี นการสอนวิชาบญั ชีเบ้ืองตนของ นักเรียนระดบั ชน้ั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ปท ่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห 33 จังหวัดลพบรุ ี 2. ทาํ ใหผ สู นใจ เชน ครผู สู อนรายวชิ าคณิตศาสตร หรอื ครผู ูสอนท่มี ปี ญ หาคลายกัน ไดนําแนวทางที่ ผูวจิ ัยไดศึกษาไปเปนแนวทางในการแกไ ขตอไป

7 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกย่ี วของ การวจิ ยั เร่อื ง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาบัญชีเบ้ืองตน ของนักเรยี นระดับชน้ั ประกาศนียบตั ร วิชาชพี ปท ่ี 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห 33 จงั หวัดลพบุรี ครั้งน้ี ผูวจิ ยั ไดศึกษาตํารา เอกสารและงานวิจัยท่ี เกีย่ วขอ ง โดยนําเสนอแนวคดิ ตามลําดบั หัวขอตอ ไปน้ี 1. การวิจัยเชิงปฏบิ ตั ิการในชั้นเรียน - ความหมายของการวจิ ัยในช้ันเรยี น - ความสําคญั ของการวจิ ัยในช้ันเรียน - กระบวนการในการทาํ วจิ ยั ชนั้ เรยี น - รปู แบบของการวจิ ยั เชิงปฏิบัตกิ าร 2. การเรียนรเู ปนรายบุคคล - เทคนคิ การใช Concept Mapping - เทคนคิ Learning Contracts - เทคนคิ Know-Want-Learned - เทคนิคกระบวน (Group Process) 3. ทฤษฎกี ระบวนการกลุม - หลกั การและแนวคดิ ทฤษฎกี ระบวนการกลุม - หลกั การเรยี นรแู บบกระบวนการกลุม - หลักการสอนแบบกระบวนการกลุม - รปู แบบและขน้ั ตอนการสอนแบบกระบวนการกลุม - ขนาดของกลมุ และการแบง กลุม - วิธกี ารสอนทส่ี อดคลอ งกบั หลักการการสอนแบบกระบวนการกลมุ - การประเมินผลการสอนแบบกระบวนการกลมุ - บทบาทของครูและนักเรียนในการสอนแบบกระบวนการกลมุ 4. งานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ ง

8 การวจิ ัยในชน้ั เรียน ความหมายของการวจิ ยั ในชนั้ เรยี น ผูวิจัยไดทําการศึกษาคนควาเกี่ยวกับความหมายของการวิจัยในชั้นเรียน โดยมีนักวิชาการและ หนวยงานตางๆใหความหมายไวหลากหลาย ดงั ตอไปนี้ สวุ ัฒนา สุวรรณเขตนิคม (2538, 6) ใหค วามหมายของการวิจัยในช้ันเรียนวา การวิจัยในช้ันเรียนคือ กระบวนการแสวงหาความรูอันเปนความจริงท่ีเชื่อถือไดในเน้ือหาเกี่ยวกับการพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อ พฒั นาการเรยี นรูข องนักเรียนในบริบทของชัน้ เรยี น อุทุมพร (ทองอไุ ทย) จามรมาน (2544, 1) ใหค วามหมายของการวจิ ยั ในช้นั เรยี นวา การวจิ ัยในชน้ั เรยี นคือ การแกป ญหานกั เรียนบางคน บางเรือ่ ง เพื่อพฒั นา (ปรบั ปรุงนกั เรียนออ น เสริมนกั เรียน เกง ) นกั เรียนคนนั้น กลุมน้ัน เพื่อจะไดเ รียนทนั เพ่อื นกลุมใหญ หรอื ไดรับการพฒั นาเต็มศักยภาพของเขา สุวิมล วองวาณชิ (2544, 11) ไดน ยิ ามเกยี่ วกบั เรอ่ื งน้ไี ววา การวิจยั ปฏิบตั ิการในช้ันเรยี นคือ การวิจัยท่ี ทาํ โดยครูผสู อนในหองเรียน เพอ่ื แกไขปญหาท่เี กดิ ขึ้นในหองเรียน และนาํ ผลไปใชในการปรับปรุงการเรียนการ สอน เพอื่ ใหเกดิ ประโยชนส ูงสุดกบั ผเู รียน เปน การวจิ ยั ท่ีตองทําอยา งรวดเร็ว นาํ ผลไปใชท ันที และสะทอนขอ มลู เก่ียวกับการปฏิบัติงานตางๆของตนเอง ใหทั้งตนเองและกลุมเพื่อนรวมงานในโรงเรียนไดมีโอกาสอภิปราย แลกเปล่ียนความคดิ เห็นในแนวทางทไี่ ดป ฏบิ ัติ และผลท่ีเกดิ ขน้ึ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนตอ ไป สาํ นกั งานสภาสถาบันราชภฏั (2544, 3) ไดใหความหมายและลักษณะสาํ คัญของการวิจัยในช้ันเรียนวา การวิจัยในช้ันเรียน หมายถึง การวิจัยท่ีเกิดข้ึนในชั้นเรียนกระทําโดยครูผูสอน โดยมีเปาหมายหลักเพ่ือแกไข ปญหาที่เกิดข้ึนในหองเรียน และนําผลการวิจัยไปใชในการปรับปรุงการเรียนการสอนของตน เพ่ือใหเกิด ประโยชนส งู สดุ ตอ นกั เรียนในช้ันท่ีครูสอนอยู และสามารถเผยแพรเปน ประโยชนตอวงการศึกษาได การวิจัยในชนั้ เรยี นจากการนยิ ามขา งตนสามารถสรปุ เพ่ือใชในการวิจัยครัง้ นวี้ า หมายถงึ กระบวนการที่ ครูผูสอนตอ งการแกไขปญหาทีเ่ กิดขน้ึ กับนกั เรยี นในช้นั เรียนท่สี อน โดยปญ หาที่เกิดอาจเกิดขึ้นแกนักเรียนบาง คน หรอื อาจเกดิ ปญ หาขน้ึ บางเร่อื งในช้ันเรียน และนําผลการวิจยั ที่ไดไปปรบั ปรุงกิจกรรมการเรยี นการสอนของ ผสู อน เพ่ือใหเ กิดประโยชนส ูงสุดแกน ักเรียนในชั้นเรยี น ความสาํ คัญของการวจิ ัยในช้นั เรียน การวิจยั ในชั้นเรียนมคี วามสาํ คัญตอการปฏิบัติงานของครู ดังที่วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา (2555) ไดกลาววา การวิจัยในชัน้ เรยี นมคี วามสาํ คัญตองวงการวิชาชีพครูเปนอยางย่ิง เนื่องจากครูอาจารยจําเปนตอง พัฒนาวธิ กี ารเรียนการสอน การจงู ใจใหผูเรียนเกิดความอยากรูอยากเรยี น การพัฒนาพฤตกิ รรมผูเรยี น การเพิ่ม สมั ฤทธิผลการเรียน และการสรางบรรยากาศการเรียนรูเพื่อใหเกิดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ (2555, อางองิ จากสนิ ธะวา คามดษิ ฐ, 2557 : 4) นอกจากนนั้ มณีโรจน (2544 : 2) ยังไดกลาววา การวิจัยในช้ันเรียนมี ความสําคัญคือ ชว ยใหค รูไดพฒั นาวธิ กี ารจดั การเรยี นการสอนใหมีประสิทธิภาพ ชวยใหผูเรียนไดเรียนรูอยางมี คณุ ภาพสูงขึ้น ชว ยใหงานวชิ าการของการเรยี นการสอนกา วหนา มีนวัตกรรมในการจดั การเรียนการสอนเพ่ิมขึ้น สงผลตอเนอ่ื งตอการจดั การเรยี นการสอนของครู ชว ยใหงานวิชาครูเปนวิชาชีพชั้นสูงมากขึ้นเปนที่ยอมรับของ สงั คมท่ัวไป ชวยพัฒนาตวั ครูและวิชาชพี ครไู ปพรอมๆกนั

9 การวิจัยในช้ันเรียนมีความสําคัญตอการพัฒนางานของครู รวมถึงการพัฒนาตัวครูและผูเรียน จาก การศึกษาขางตน ผูวิจัยสรุปความสําคัญของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนไดวา การวิจัยในชั้นเรียนถือวามี ความสาํ คัญมากทั้งในสว นของผเู รยี น ทไี่ ดม กี ารปรับปรุงพฤติกรรมการเรยี นของตัวผูเรียนเองแลว การวจิ ัยในชน้ั เรยี นยงั มคี วามสาํ คัญตอ ครูผูส อน โดยทําใหการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนมีประสิทธิภาพมากยิง่ ข้นึ กระบวนการในการทําวิจัยในชัน้ เรียน ขั้นตอนท่ีสําคัญของกระบวนการวิจัยในช้ันเรียน (อางอิงจากกรมวิชาการ 2562, 7-10) มีการ ดําเนนิ การวิจยั เปน 5 ขั้นตอนดังน้ี ขน้ั ที่ 1 สาํ รวจและวิเคราะหป ญหาการเรียนการสอน การสํารวจและวิเคราะหปญหา เปนจุดเร่ิมตนท่ีสําคัญในการวางแผนแกปญหาหรือพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอน ซึ่งจะทําใหครูพบปญหาท่ีจะตองแกไขหรือพัฒนาจนสามารถดําเนินการสอนได สอดคลอ งกับเปา หมายทค่ี วรจะเปน และเม่ือครูพบปญ หาจากการสํารวจและวิเคราะหปญหาแลว หากมีหลายปญหาครูอาจตอง จัดลําดบั ความสําคัญของปญหา โดยพิจารณาจากความรุนแรงของปญหาวาปญหาใดควรไดรับการแกไขหรือ พฒั นากอน หรอื อาจจาํ เปนตองแกไ ขหรือพัฒนาหลายปญ หาพรอมกนั ขั้นท่ี 2 ศึกษาคน ควาวิธีการหรือนวัตกรรมในการแกปญหานน้ั เมื่อวเิ คราะหปญหาทจี่ ะหาแนวทางในการแกป ญ หาแลว ในขน้ั นผี้ สู อนจะตองศึกษาเอกสารที่ เก่ียวของ เชน วารสาร บทความ หลักสูตร ผลงานวิจัย หนังสือ ตําราคูมือ แนวคิดทฤษฎีตางๆ ตลอดจน ประสบการณของผสู อนเอง เพ่อื ทาํ ใหผสู อนทราบวา ปญ หาทีค่ ลายกับปญ หาของผูสอนเองนนั้ มผี ูใดศึกษาไวบ าง ใชวธิ ีการใดในการแกป ญหาและผลการแกป ญ หาอยางไร วธิ ีการนี้จะทาํ ใหผูสอนเห็นแนวทางในการแกปญ หาได ชดั เจน ซง่ึ อาจเปนวธิ สี อนแบบใหม หรือการใชน วตั กรรมเขามาชวยในการจัดประสบการณการเรียนการสอน ไดแก บทเรียนสําเร็จรูป ชุดการสอน เอกสารประกอบการสอน คูมือครู บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) หรือการเรียนแบบรวมมือ เปนตน ข้ันที่ 3 พัฒนาวธิ กี ารหรือนวตั กรรมทีเ่ ลอื กใชสาํ หรบั การแกปญหานัน้ เม่อื ผูสอนไดท างเลือกในการแกป ญ หาหรือพัฒนา ซ่งึ อาจเปน วิธีการหรือนวัตกรรมทเี่ ปน ไปได ในข้ันนี้ผูสอนตองกําหนดรายละเอียดของวิธีการและจัดสรางนวัตกรรมท่ีใชในการแกปญหาตามที่กําหนดไว แลว ดาํ เนินการตรวจสอบคณุ ภาพของวิธกี ารหรอื นวัตกรรมโดยผูรใู นเร่ืองนนั้ ๆ เชน หากผสู อนสรางบทเรียน คอมพิวเตอรชว ยสอน ผูสอนตองศึกษาคน ควาวิธีการจัดทําบทเรยี นคอมพิวเตอรช ว ยสอน แลวจดั ทาํ ตน แบบให เสร็จสมบูรณ นําไปใหเ พือ่ นผสู อน ศกึ ษานิเทศกหรือนักวชิ าการท่ีเกีย่ วขอ งกบั เรอื่ งทศี่ ึกษาใหความคดิ เหน็ เพ่อื นําขอคดิ เห็นทไ่ี ดม าปรับปรุงแกไ ขตนแบบของนวัตกรรมหรอื วธิ ีการและในบางครั้งอาจจําเปนตองนําไปทดลอง ใช( Tryout)กบั นักเรยี นกลุม เลก็ ๆ กอ น

10 ข้นั ที่ 4 นําวิธีการหรอื นวตั กรรมไปใชในช้นั เรียนและเกบ็ รวบรวมขอ มูล ขั้นน้ีผูสอนจะนาํ วิธกี ารหรือนวตั กรรมท่สี รางขึ้นไปใชกบั นกั เรียนท่ีเปนกลุมเปาหมายแลวเก็บ รวบรวมขอ มูลตามทีก่ ําหนดดวยเคร่อื งมือชนิดตางๆ เชน สังเกตพฤตกิ รรม เริ่มตนของผูเรียนกอนนําไปใช เมื่อ นําไปใชแลว สังเกตพฤติกรรมอีกระยะหนึ่ง เพ่อื นาํ ขอ มลู มาวิเคราะหการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผูเรียนตอไป หรือใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์เิ พ่อื เก็บขอมูลในสว นของความรคู วามสามารถในเรื่องท่ีเรยี น เปน ตน ขัน้ ท่ี 5 วิเคราะหข อ มูลและสรปุ ผลการแกไขปญหา ภายหลังจากการนําวิธีการหรือนวัตกรรมไปใชและมีการรวบรวมขอมูลไดแลว ผูสอนจะนํา ขอมลู มาวเิ คราะหโดยเลอื กใชส ถิติที่เหมาะสมกับขอ มูลท่ีรวบรวมได แลว สรุปผลการวเิ คราะหขอมูล หากยังไม สามารถแกไขปญ หาไดตามที่ตอ งการก็จะตองทาํ การปรบั ปรงุ แกไ ข โดยยอ นกลบั ไปคน หาวิธีการหรือนวัตกรรม ใหม แลวพัฒนาวิธีการหรือนวัตกรรม ตลอดจนนําวิธีการหรือนวัตกรรมไปใชอีก คือดําเนินการข้ันที่ 2-4 ใหม จนกระทง่ั สามารถแกไ ขปญ หาไดตามท่ีตอ งการ แลว จงึ เขียนสรุปผลการดาํ เนนิ งาน การเรยี นรูเปนรายบคุ คล (Individual Study) เน่อื งจากผเู รียนแตละบุคคลมีความสามารถในการเรียนรู และความสนใจในการเรียนรูที่แตกตางกัน ดังนนั้ จึงจําเปนที่จะตอ งมีเทคนิคหลายวิธี เพอ่ื ชว ยใหการจดั การเรียนในกลุมใหญสามารถตอบสนองผูเรียนแต ละคนทีแ่ ตกตา งกันไดดวย อาทิ 1. เทคนิคการใช Concept Mapping ท่มี หี ลักการใชตรวจสอบความคิดของผเู รยี นวาคิดอะไร เขาใจสิ่ง ท่ีเรียนอยางไรแลว แสดงออกมาเปนกราฟก 2. เทคนคิ Learning Contracts คอื สัญญาที่ผูเรยี นกับผสู อนรวมกนั กําหนด เพือ่ ใชเ ปนหลักยดึ ในการ เรียนวาจะเรยี นอะไร อยา งไร เวลาใด ใชเกณฑอะไรประเมนิ 3. เทคนิค Know-Want-Learned ใชเชื่อมโยงความรูเดิมกับความรูใหม ผสมผสานกับการใช Mapping ความรูเดมิ เทคนคิ การรายงานหนาช้ันท่ีใหผูเรียนไปศึกษาคนควาดวยตนเองมานําเสนอหนาชั้นซึ่ง อาจมกี ิจกรรมทดสอบผูฟ งดว ย 4. เทคนิคกระบวนการกลุม (Group Process) เปนการเรียนที่ทําใหผูเรียนไดรวมมือกัน แลกเปลี่ยน ความรคู วามคดิ ซงึ่ กนั และกัน เพอ่ื ใหบ รรลุเปาหมายเดยี วกนั เพอื่ แกปญ หาใหส าํ เรจ็ ตามวัตถุประสงค ทฤษฎีกระบวนการกระบวนการแบบทํางานรบั ผดิ ชอบรวมกนั (Group Process) กระบวนการแบบทาํ งานรบั ผดิ ชอบรวมกันเปนวทิ ยาการที่ศกึ ษาเกี่ยวกับกลุมคนเพื่อนําความรูไปใชใน การปรบั เปลีย่ นเจตคตแิ ละพฤติกรรมของคน ซึ่งจะนาํ ไปสกู ารเสริมสรา งความสัมพนั ธแ ละการพัฒนาการทาํ งาน ของกลมุ คนใหมปี ระสทิ ธภิ าพ จดุ เริม่ ตนของคน ควาวจิ ัยเกีย่ วกบั เรอ่ื งน้ีก็คือ การศกึ ษากลุมคนดานพลังกลุมและผูท่ีไดเช่ือวาเปนบิดา ของกระบวนการกลมุ ก็คือ เคริรทเลวิน (Kurt Lewin) นักจิตวิทยาสงั คมและนักวิทยาศาสตรชาวเยอรมัน โดย เร่ิมศึกษาตั้งแตประมาณป ค.ศ 1920 เปนตนมา และไดมีผูนําหลักการของพลังกลุมไปใชในการพัฒนา พฤติกรรมการทาํ งานกลุม การพัฒนาบุคลิกภาพและจดุ ประสงคอ ื่นๆ วงการ รวมทงั้ ในวงการศกึ ษา

11 1.หลักการและแนวคิดทฤษฎีกระบวนการแบบทาํ งานรับผดิ ชอบรว มกัน แนวคิดพ้ืนฐานของ กระบวนการแบบทํางานรบั ผิดชอบรว มกันกค็ อื แนวคิดในทฤษฎีภาคสนาน ของเคริ ท เลวนิ ทก่ี ลา วโดยสรุปไว ดังนี้ 1.1 พฤติกรรมของบคุ คลเปนผลมาจากความสมั พันธข องสมาชิกในกลุม 1.2 โครงสรางของกลุมจะเกิดจากการรวมกลุมของบุคคลท่ีมีลักษณะแตกตางกัน และจะมี ลกั ษณะแตกตางกันออกไปตามลักษณะของสมาชิกกลมุ 1.3 การรวมกลุมจะเกดิ ปฏิสัมพันธระหวางสมาชิกในกลุมในดานการกระทํา ความรูสึก และ ความคิด 1.4 สมาชิกกลุมจะมีการปรับตัวเขาหากันและจะพยายามชวยกันทํางานโดยอาศัย ความสามารถของแตล ะบคุ คลซึ่งจะทําใหก ารปฏิบตั ิงานลุลว งไปไดต ามเปาหมายของกลุม 2.หลักการเรยี นรแู บบกระบวนการกลมุ ท่สี ําคัญมดี งั น้ี 2.1 การเรียนรูเปน กระบวนการที่เกดิ จากแหลงความรทู ีห่ ลากหลาย การเรยี นรทู ่ีเกิดจากการ บรรยายเพยี งอยา งเดยี วไมพอท่ีจะทาํ ใหผูเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาพฤติกรรม แตการจัดการเรียน การสอนเพ่ือพฒั นาพฤตกิ รรมผเู รยี นโดยกระบวนการกลุมจะเปดโอกาสใหผูเรียนไดใชศ ักยภาพของแตละคนท้ัง ในดานความคิด การกระทาํ และความรสู กึ มาแลกเปลี่ยนความคิดและประสบการณซ ่ึงกันและกัน 2.2 การเรียนรคู วรจะเปนกระบวนการกลมุ ทสี่ รา งสรรคบ รรยากาศการทาํ งานการทํางานกลุม ทีใ่ หผูเรยี นมีอสิ ระในการแสดงความรสู ึกนกึ คิด มีบทบาทในการรบั ผดิ ชอบตอการเรียนรูของตนโดยมสี วนรว มใน กิจกรรมการเรียนการสอนจะชวยใหการเรียนรูเปนไปอยางมีชีวิตชีวาและชวยกระตุนใหผูเรียนเกิ ดความ กระตอื รอื รน ในการเรยี น 2.3 การเรียนรูควรเปนระบวนการท่ีผูเรียนคนพบดวยตนเอง การเรียนรูดวยการกระทํา กิจกรรมดว ยตนเองจะชว ยใหผ เู รียนมีโอกาสเรยี นรเู นือ้ หาวชิ าหรือสาระจากการมีสว นรวมในกจิ กรรม ซง่ึ จะชว ย ใหผ เู รยี นเกิดความใจอยางลึกซ้ึง จดจําไดด ี อนั จะนาํ ไปสกู ารปรับเปลยี่ นเจตคตแิ ละพฤติกรรมของตนไดรวมทั้ง สามารถนาํ ไปสกู ารนําไปพัฒนาบคุ ลิกภาพทุกดา นของผเู รยี น 2.4 การเรียนรูกระบวนการเรียนรู กระบวนการเยนรูเปนเคร่ืองมือท่ีจําเปนในการแสวงหา ความรทู ่เี ปนตอ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตทกุ ดาน ดังนั้นถา ผูเรียนไดเ รียนรอู ยางมรี ะและมีขัน้ ตอนจะชวยใหผ เู รียน สามารถใชเปนเครอ่ื งมือในการแสวงหาความรูหรือตอบคําถามการรไู ดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ 3. หลักการสอนแบบกระบวนการกลุมการเรียนแบบกระบวนการกลุม คือ ประสบการณทางการ เรยี นรทู ี่นกั เรียนไดร ับจากการลงมอื รวมปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเปน กลมุ กลุมจะมอี ทิ ธพิ ลตอ การเรยี นรูของแตล ะคนแต ละคนในกลมุ มีอทิ ธพิ ลและมีปฏสิ ัมพันธต อ กนั และกนั หลักการสอนโดยวธิ ีกระบวนการกลุม มีหลักการเพื่อเปน แนวทางในการจัดการเรียนการสอน สรปุ ไดด ังนี้ ( คณะกรรมการศกึ ษาแหง ชาติ สาํ นกั งาน 2540 ) 3.1 เปนการเรยี นการสอนที่ยึดนักเรียนเปน ศูนยก ลางของการเรยี นโดยใหผ เู รียนทกุ คนมีโอกาส เขารวมกจิ กรรมมากท่ีสุด

12 3.2 เปนการเรยี นการสอน ที่เนนใหนักเรียนไดเรียนรูจากกลุมใหมากที่สุด กลุมจะเปนแหลง ความรูสาํ คญั ท่จี ะฝกใหผูเกิดความรูความใจ และสามารถปรบั ตัวและเขากับผูอน่ื ได 3.3เปน การสอนท่ยี ึดหลกั การคนพบและสรา งสรรคความรูดวยตัวเองของนักเรียนเอง โดยครู เปน ผจู ดั การเรียนการสอนทส่ี ง เสริมใหผูเรียนพยายามคน หา และพบคําตอบดว ยตนเอง 3.4 เปนการสอนท่ีใหความสําคัญของกระบวนการเรียนรู วาเปนเคร่ืองมือที่จําเปนในการ แสวงหาความรู และคําตอบตาง ๆ ครจู ะตองใหความสาํ คัญของกระบวนการตา ง ๆ ในการแสวงหาคําตอบ 4. รปู แบบและขน้ั ตอนการสอนแบบกระบวนการแบบทํางานรบั ผิดชอบรว มกนั รูปแบบการสอนแบบกระบวนการแบบทํางานรับผดิ ชอบรว มกัน รปู แบบการสอนแบบกระบวนการ กลุม (คณะกรรมการศึกษาแหง ชาติ สาํ นกั งาน 2540 ) มีขัน้ ตอนดงั นี้ 4.1 ตงั้ จดุ มุงหมายของการเรยี นการสอน ทั้งจดุ มงุ หมายท่วั ไปและจุดมงุ หมายเชิงพฤตกิ รรม 4.2 การจัดประสบการณก ารเรียนรู โดยเนน ใหผ เู รียนลงมือประกอบกจิ กรรมดว ยตนเองและมี การเพ่ือทาํ งานเปน กลุม เพอ่ื ใหม ปี ระสบการณใ นการทํางานกลุม ซึ่งมขี นั้ ตอนดังนี้ 1) ข้ันนํา เปนกรสรางบรรยากาศและสมาธิของผูเรียนใหมีความพรอมในการเรียนการสอน การจดั สถานท่ี การแบงนักเรียนออกเปนกลุมยอย แนะนําวิธีดําเนินการสอน กติกาหรือกฎเกณฑการทํางาน ระยะเวลาการทาํ งาน 2) ขนั้ สอน เปนขั้นที่ครลู งมือสอนโดยใหนกั เรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมเปนกลุม ๆ เพ่ือใหเกิด ประสบการณต รง โดยทก่ี จิ กรรมตา ง ๆ จะตองคัดเลือกใหเหมาะสมกับเน้ือเรื่องในบทเรียน เชนกิจกรรม เกม และเพลง บทบาทสมมติ สถานการณจ าํ ลอง การอภิปรายกลุม เปนตน 3) ขน้ั วเิ คราะห เมอ่ื ดําเนนิ การจดั ประสบการณเ รียนรูแลว จะใหนักเรียนวิเคราะหและแสดง ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั พฤตกิ รรมตา ง ๆ ความสมั พนั ธกนั ในกลมุ ตลอดจนความรวมมอื ในการทํางานรวมกัน โดย วเิ คราะหประสบการณทีไ่ ดรบั จาการทาํ งานกลุมใหค นอื่นไดร บั รู เปน การถายทอดประสบการณการเรียนรูของ กันแนะกัน ข้ันวิเคราะหจะชวยใหผูเรียนเขาใจตนเอง เขาใจผูอื่น และมองเห็นปญหาและวิธีการทํางานที่ เหมาะสม เพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงการทํางาน เปนการถายโอนประสบการณการเรียนที่ดี จะชวยให ผเู รียนสามารถคนแนวคดิ ทต่ี อ งการดวยตนเอง เปน การขยายประสบการณการเรียนรใู หถูกตองเหมาะสม 4) ขัน้ สรุปและนําหลกั การไปประยกุ ตใช นักเรียนสรุป รวบรวมความคิดใหเปนหมวดหมู โดย ครูกระตนุ ใหแนวทางและหาขอสรุป จากนั้นนําขอสรุปท่ีคนพบจากเนื้อหาวิชาที่เรียนไปประยุกตใชใหเขากับ ตนเองและนําหลกั การทไ่ี ดไปใชเพ่อื การปรับปรุงตนเอง ประยุกตใชใ หเขากับคนอ่ืนประยุกตเพื่อแกปญหาและ สรางสรรคสง่ิ ทีเ่ กิดประโยชนต อ สงั คม ชมุ ชน และดํารงชีวิตประจาํ วนั เชน การปรับปรงุ บุคลิกภาพ เกิดความเหน็ อกเห็นใจ เคารพสทิ ธขิ องผูอื่น แกปญ หา ประดษิ ฐส ่งิ ใหม เปน ตน 5) ขนั้ ประเมนิ ผล เปนการประเมินผลวา ผูเ รยี นบรรลุผลตามจุดมงุ หมายมากนอยเพียงใด โดย จะประเมินทั้งดานเนื้อหาวชิ าและดานกลุม มนษุ ยส ัมพันธ ไดแ ก ประเมนิ ดา นมนษุ ยส มั พันธ ผลสัมฤทธิ์ของกลุม เชน ผลการทํางาน ความสามคั คี คณุ ธรรมหรือคา นิยมของกลมุ ประเมินความสัมพนั ธในกลมุ จากการใหส มาชกิ ติชมหรือวิจารณแกกันโดยปราศจากอคติ จะทําใหผูเรียนสามารถประเมินตนเองไดและจะทําผูสอนเขาใจ

13 นักเรยี นได อันจะทาํ ใหผเู รยี นผสู อนเขาใจปญ หาซงึ่ กันและกนั อันจะเปนหนทางในการนําไปพิจารณาแกปญหา และจัดประสบการณการเรยี นรูใ หแ กน กั เรียน 5. ขนาดของกลุมและการแบงกลุมการแบงกลุมเพ่ือใหนักเรียนปฏิบัติงานรวมกันน้ัน ผูสอนอาจจะ แบงกลมุ โดยคํานึงถึงวัตถุประสงคก ารจดั การเรียนการสอน (คณะกรรมการการประถมศึกษาแหง ชาติ สาํ นักงาน 2534 : 230) เชน 1. แบงกลุม ตามเพศ ใชในกรณคี รุมวี ตั ถปุ ระสงคท ช่ี ้ีเฉพาะลงไป เชน ตองการสํารวจความระหวางเพศ หญงิ และชาย ในดา นตาง ๆ เชน ทัศนคติ คานยิ ม ฯลฯ 2. แบง ตามความสามารถ ใชใ นกรณที ีค่ รูมีภาระงานมอบหมายใหแตละกลุมแตกตางไปตามความสาม รถ หรือตอ งการศึกษาความแตกตา งในการทํางานระหวางกลมุ ทีม่ ีความสามารถสงู และตาํ่ 3. แบง ตามความถนดั โดยแบงกลมุ ทม่ี ีความถนัดเรือ่ งเดยี วกนั ไวด วยกัน 4. แบงกลุมตามความสมัครใจ โดยใหส มาชิกเลอื กเขากลุม ดบั คนที่ตนเองพอใจ ซึง่ ครทู ําไดแตไมควรใช บอยนกั เพราะจะทาํ ใหนกั เรียนขาดประสบการณในการทาํ งานกับบุคคลที่หลายหลาย 5. แบง กลมุ แบบเจาะจง ครูเจาะจงใหเด็กบางคนอยูในกลุมเดียวกนั เชน ใหเดก็ เรียนเกงกับเด็กที่เรียน ออนเพือ่ ใหเดก็ เรยี นเกงชวยเด็กที่เรยี นออน หรือใหเ ด็กปรับตวั เขา หากัน 6. แบงกลุมโดยการสุม ไมเปน การเจาะจงวาใหใ ครอยูใครกบั ใคร 7. แบงกลมุ ตามประสบการณ คอื การรวมกลุม โดยโดยพิจารณาเด็กที่มีประสบการณคลายคลึงกันมา อยดู วยกันเพ่อื ประโยชนในการชว ยกันวเิ คราะหห รอื แกปญหาใดปญหาหนึง่ โดยเฉพาะ 6. วิธีการสอนทส่ี อดคลองกบั หลักการการสอนแบบกระบวนการแบบทํางานรบั ผิดชอบรวมกนั 1. การระดมความคดิ เปน การรวมกลุม ท่ปี ระกอบดวยสมาชกิ 4 -5 คน และใหท ุกคนแสวงความคดิ เหน็ อยา งทั่วถึง เพือ่ รวบรวมความคิดในเรือ่ งใดเรือ่ งหนงึ่ ใหไ ดหลายแงม ุม ทกุ ความคิดไดรับการยอมรับโดยไมมีการ โตแ ยง กน แลว นาํ ความคดิ ทัง้ มวลมาผสานกัน 2. ผูสอนสรางสถานการณสมมติข้ึนโดยใหผูเรียนตัดสินใจทําอยางใดอยางหนึ่งซึ่งมีการสรุปผลใน ลักษณะของการแพการชนะ วิธีการนจ้ี ะชวยใหผูเรียนไดวิเคราะหความรูสกึ นกึ คิด และพฤติกรรมตาง ๆ วิธีการ สอนนี้จะชว ยใหผ เู รียนมคี วามสุขในการเรียนและเกิดความสนุกสนาน 3. บทบาทสมมติ เปนวธิ กี ารสอนทีม่ กี ารกาํ หนดบทบาทของผเู รียนในสถานการณท่ีสมมติข้ึนมาโดยให ผเู รยี นสวมบทบาทและแสดงออกโดยใชบุคลิกภาพประสบการณและความรูสึกนึกคิดของตนเปนหลัก วิธีการ สอนนี้เปด โอกาสใหผูเรยี นมีโอกาสศึกษาวิเคราะหความรูสึกและพฤติกรรมของตนอยางลึกซ้ึง ทั้งยังชวยสราง บรรยากาศการเรยี นรทู ่ีมีชีวติ ชีวา 4. สถานการณจ ําลอง เปนวิธกี าสอนโดยการจําลองสถานการณจริงหรือสรางสถานการณใหใกลเคียง กับความเปนจรงิ แลว ใหผเู รยี นอยูในสถานการณนนั้ พรอมทงั้ แสดงพฤติกรรมเม่ืออยูในสถานการณท่ีกําหนดให วิธนี จี้ ะชว ยใหผูเ รียนฝก ทกั ษะการแสดงพฤติกรรมตาง ๆ ซง่ึ ในสถานการณจริงผเู รียนอาจจะไมกลา แสดงออก 5. กรณีตัวอยาง เปนวิธีการสอนที่ใชการสอนเรื่องราวตาง ๆ ที่เกิดขั้นจริง แตนํามาดัดแปลงเพื่อให ผเู รียนใชเ ปนแนวทางในการศกึ ษาวิเคราะหแ ละอภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันอนั จะนาํ ไปสกู าร

14 สรางความเขา ใจและฝกทักษะการแกปญหา การรับฟง ความคดิ เห็นซึ่งกนั และกันซึ่งจะชว ยใหเ กิดการเรียนรูที่มี ความหมายสําหรับผูเ รียนยง่ิ ข้ึน 6. การแสดงละคร เปนวธิ ีการสอนที่ใหผูเรียนแสดงบทบาทตามบทท่ีมีผูเขียนหรือกําหนดไวให โดยผู แสดงจะตองแสดงบทบาทตามที่กําหนดโดยไมนําเอาบุคลิกภาพและความรูสึกนึกคิดเขามาใสในการแสดง บทบาทน้ัน ๆ วิธนี ี้จะชว ยใหมปี ระสบการณใ นการรับรเู หตุผล ความรสู ึกนกึ คิดและพฤติกรรมของผูอ น่ื ซึ่งจะชว ย ฝก ทักษะการทาํ งานรว มกันและรบั ผิดชอบรวมกนั 7. เปน วธิ กี ารสอนโดยการจดั ผูเ รียนเปนกลมุ ยอยทมี่ ีสมาชิกประมาณ 6 -12 คน และมีกากําหนดใหมี ผูนาํ กลุมทาํ หนา ที่เปน ผูดาํ เนนิ การอภปิ ราย สมาชกิ ทกุ คนมีสวนรว มในการแลกเปล่ียนความคดิ เห็นแลวสรุปหรือ ประมวลสาระที่ไดจากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน วิธีการน้ีเปดโอกาสใหผูเรียนทุกคนไดมีสวนรวมในการ เสนอขอมลู หรือประสบการณข องตนเองเพื่อใหกลมุ ไดขอมูลมากข้นึ วิธีการสอนที่สนับสนุนหลักการสอนแบบกระบวนการกลุมเหลาน้ี เปนวิธีการสอนที่ชวยใหการจัด ประสบการณการสอนท่ีหลากหลายแลผูสอนอาจใชวิธีสอนอ่ืน ๆ ไดอีก โดยยึดหลักสําคัญ คือ การเลือกใช วธิ ีการสอนท่สี อดคลอ งกบั จดุ ประสงคของการสอนแตล ะครัง้ 7. การประเมนิ ผลการสอนแบบกระบวนการแบบทาํ งานรับผิดชอบรวมกัน (ทิศนา แขมมณี และคณะ 2522) มดี ังนี้ 1. การใหผูเรียนประเมินผลการเรียนรูของตนเอง ซ่ึงผูสอนควรสนับสนุน สงเสริมใหผูเรียนมีโอกาส ประเมินผลการเรียนรูของตนเองจะชว ยใหก ารเรยี นรูมคี วามหมายและมีประโยชนต อผเู รียนยงิ่ ข้นึ 2. การใหผเู รยี นรว มประเมนิ ผลการเรียนรจู ากการทํางานรว มกัน ซึ่งสามารถประเมินผลได 2 ลักษณะ คือ 1. การประเมินผลสมั ฤทธิ์ของกลมุ 2. การประเมนิ ผลความสัมพันธภ ายในกลุม 8. บทบาทของครูและนกั เรียนในการสอนแบบกระบวนการแบบทํางานรับผดิ ชอบรว มกัน บทบาทครู (คณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติ สาํ นักงาน 2540) มดี งั นี้ 1. มคี วามเปนกนั เอง มคี วามเห็นอกเห็นใจนกั เรยี น สรางบรรยากาศท่ีดีตอการเรียน สนใจ ใหกําลังใจ สนทนา ไถถ าม 2. พดู นอ ย และจะเปนเพยี ง ผูประสานงาน แนะนํา ชว ยเหลอื เมือนักเรียนตอ งการเทานั้น 3. ไมช น้ี าํ หรอื โนม นาวความคดิ ของนกั เรียน 4. สนับสนุน ใหกาํ ลงั ใจ กระตุนใหน ักเรียนเกิดความกระตือรือรนในการทํางานแสดงออกอยางอิสระ และแสดงออกซึ่งความสามารถของนกั เรยี นแตละคน 5. สนับสนนุ ใหนักเรยี นสมารถวเิ คราะห สรุปผลการเรยี นรแู ละประเมนิ ผลการกระทาํ งานใหเ ปนไปตาม จดุ มงุ หมายที่วางไว

15 งานวิจัยที่เกย่ี วขอ ง ปราณี รตั นชศู ร(ี พ.ศ. 2556) ไดท าํ วจิ ยั เรอ่ื ง เสริมสรางทกั ษะการทํางานเปนทีม โดยวิธีการ สอนแบบ การปฏิบัติงานกลุม นักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 2 วชิ าดนตรีไทยในกลุมสาระการเรียนรูวิชาศิลปะ การวิจัย ครั้งนม้ี ีวัตถุประสงคเ พือ่ การทาํ งานเปนทีม โดยวธิ ีการสอนแบบการปฏิบัติงานกลุม ของนกั เรียนระดับ ป.2 วิชา ดนตรีไทย ประชากรเปาหมายท่ีผูวิจัยใชในการศึกษาคนควาครั้งน้ี คือ นักเรียนนักเรียนระดับ ป.2 วิชาดนตรี ไทยจาํ นวน 33 คน เครอ่ื งมอื ที่ใชในการเกบ็ รวบรวมขอมูล ไดแก แบบสอบถามความคิดเห็นในการทํางานกลุม และแบบประเมนิ คณุ ภาพการทํางานเปนทีม สถิติที่ใชใน การวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอยละ (Percentage) และคาเฉลี่ยเลขคณติ (x) ผลการวิจยั พบวา 1. นกั เรียนมี ความคดิ เห็นวา ชอบทํางานกลุม คิดเปนรอยละ 70 นักเรียนสวนใหญ ชอบทํางานกลมุ เพราะสาเหตทุ ่ีสามารถ ระดมความคิดเห็นไดหลากหลาย คิดเปนรอยละ 57.14 รองลงมาคือ แกปญหาไดอยางรวดเร็ว คิดเปนรอยละ 28.57 และชวยกันจัดหาวัสดุอุปกรณหรือปจจัยตาง ๆ ที่ใชในการ ทํางานรวมกัน คิดเปนรอยละ 14.29 ตามลําดับ นักเรียนสวนใหญไมชอบการทํางานเปนกลุมเพราะสาเหตุท่ี เพือ่ นในกลุม เกยี จครา นเห็นแกตัว คดิ เปน รอยละ 71.43 และรองลงมาคืออื่นๆ ไดแก เพ่ือนในกลุมไมใหความ รวมมือตามเวลานัดหมาย และไมชอบทํางานกลมุ เพราะมคี วามรสู ึกวาตนเองไมไ ดช วยงานเพื่อน คิดเปนรอยละ 28.57 ตามลาํ ดบั และนกั เรียน สว นใหญชอบทํางานในลักษณะรายบุคคล คิดเปนรอยละ 78.57 รองลงมาคือ เปนคู คิดเปนรอยละ 14.29 และรายกลมุ คดิ เปนรอ ยละ 7.14 ตามลาํ ดบั 2. ระดบั ทกั ษะการทาํ งานเปน ทมี ของ นักเรยี นสวนใหญอ ยูใน ระดับมาก คา เฉลย่ี 4.35 โดยประเดน็ การประเมินท่มี ีคา เฉล่ียสูงสุด คือการแบงงานกัน ทํา คาเฉล่ีย 4.85 รองลงมาคือการรวมกันระดมความคิด คาเฉลี่ย 4.57 และความพรอมภายในกลุม คาเฉลี่ย 4.21 ตามลําดับ 3. ขอเสนอแนะในการวิจัย 1.) ครูผูสอนสามารถคนหาวิธีการสอนที่สามารถพัฒนาหรือ เสริมสรางทกั ษะการ ทาํ งานเปนทีมวธิ อี ่ืนๆ ไดอ กี อาทเิ ชน การสอนแบบบทบาทสมมติ การอภิปรายกลุม การ ใชทีมหอง หรือการ สัมมนา เปนตน 2.) ครูผูสอนควรใหความรูความเขาใจแกนักเรียน และใหนักเรียนเห็น ความสําคัญของ การทาํ งานเปนทมี หรอื การทํางานรว มกับผูอื่น มทั นิน วรมาลา (พ.ศ. 2558) ไดทําวิจัยเร่ือง การจัดการเรียนการสอนโดยใชนักศึกษาเปนศูนยกลาง รายวชิ า SDM452 การวจิ ยั คร้ังนี้มวี ัตถปุ ระสงคคือ 1) เพอื่ ศึกษาประสิทธิภาพของการสงงานของนักศึกษาท่ีใช การจัดการเรยี นการสอนโดย ใหนกั ศึกษาเปน ศูนยกลาง 2) เพอื่ ศกึ ษาคณุ ภาพของงานสรุปปลายเทอมหลังจาก ใชการจัดการเรียนการสอนโดยใหนกั ศึกษาเปนศูนยกลางจากกลุมนักศึกษาในรายวิชา SDM 452 สาขาดนตรี คลาสสิกจาํ นวน 17 คน โดยใชเ ครือ่ งมอื ประเมนิ ชัน้ เรยี น ประกอบดว ย 1) ตารางการสง งานของนกั ศึกษาแตละ คน 2) แบบประเมนิ การสงงาน 3) แบบประเมนิ คุณภาพของงาน ผลการวจิ ัยพบวา 1) นักศึกษามีความเคารพกบั ตารางของแตล ะคนท่กี ําหนดไวเองโดยสงงานตามเวลาท่ี กําหนดมากกวา เทอมกอน แตย ังมปี จ จยั ภายนอกอืน่ ๆ ที่ทาํ ใหนักศกึ ษาบางรายทบ่ี างคร้ังสงงานลาชา เชน การ สง งานวชิ าอน่ื ในเวลาใกลเ คยี งกนั 2) จากเหตผุ ลขอ แรกเหตุผลหลักที่ทาํ ใหนกั ศกึ ษาสงงานลา ชา คือ การทมี งาน ในวชิ าปฏิบัติซง่ึ นกั ศกึ ษาเองจะใหความสําคัญกับวิชาเหลานั้นมากกวาวิชาทฤษฎี 3) นักศึกษาท่ีรับผิดชอบสง งานครบทุกคร้ังจะมีงานสรปุ ปลายเทอมท่ีมคี ุณภาพตรงตามทก่ี าํ หนดไว

16 บทท่ี 3 วิธกี ารดําเนนิ การวิจัย สําหรบั การดําเนินการวจิ ยั ในครั้งนี้ ผวู จิ ัยไดต ้ังวัตถปุ ระสงคไ ว คอื เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนของนักเรยี นหลงั จากทเ่ี รยี น วชิ าบญั ชีเบือ้ งตน ของนกั เรยี นระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 โดยใช กระบวนการแบบทํางานรับผิดชอบรวมกันโรงเรียนราชประชานุเคราะห 33 จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 2 ป การศึกษา 2563 โดยวธิ ีการดาํ เนินการซง่ึ จะทาํ ใหไ ดค าํ ตอบของผลวจิ ยั นัน้ สรา งได ดังนี้ กลุมเปาหมาย นักเรียนระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 จํานวน14 คน โรงเรียนราชประชานุเคราะห 33 จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2563 เครือ่ งมือทีใ่ ชใ นการวจิ ัย มดี ังตอไปน้ี 1. แผนจดั การเรียนรู รายวิชาวชิ าบัญชีเบื้องตน ของนกั เรยี นระดบั ชนั้ ประกาศนยี บัตรวิชาชีพปท ่ี 1 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห 33 จงั หวดั ลพบุรี ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2563 2. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาบัญชีเบื้องตน กอ นเรยี นและหลงั เรียน จํานวน 20 ขอ ข้ันตอนการสรา งเครื่องมอื ในการทําวจิ ยั 1. การสรางแผนการจดั การเรียนรู รายวิชาบญั ชเี บื้องตน ของนกั เรียนระดบั ชัน้ ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพป ท่ี 1 โดยใชกระบวนการแบบทํางานรบั ผดิ ชอบรว มกันโรงเรียนราชประชานุเคราะห 33 จังหวัดลพบรุ ี ภาคเรียน ที่ 2 ปก ารศึกษา 2563 ผวู ิจัยไดศึกษาคน ควาตามขัน้ ตอน ดังนี้ 1.1. ศกึ ษาเนอื้ หาท่ีตอ งการสอนโดยอางอิงเนื้อหาจากหลักสูตรแกนกลางขั้นพืน้ ฐาน 2551 ใน สวนของสาระการเรียนรศู ลิ ปะ และขอบเขตเนือ้ หาการเรยี นการสอนของทางโรงเรียน 1.2. กําหนดเนื้อหาในวิชาบัญชีเบื้องตนของนักเรียนระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพปท่ี 1 โดยใชกระบวนการแบบทํางานรบั ผิดชอบรว มกนั โรงเรียนราชประชานเุ คราะห 33 จงั หวดั ลพบรุ ี 1.3. สรางแผนการจัดการเรียนรู เพอ่ื เปล่ียนพฤติกรรมระหวางเรยี นของนกั เรียนท่ีเรียน 1.4. ใหผเู ชย่ี วชาญตรวจสอบความถูกตอ งของแผนการจัดการเรียนรู 1.5. ผวู ิจยั ไดทาํ การปรับแผนการสอนตามความเหมาะสม และตามคาํ แนะนาํ ของผเู ชี่ยวชาญ 1.6. นาํ แผนการสอนพฤติกรรมระหวางเรียนของนกั เรยี น ไปใชจริงกับนักเรยี น 2. การสรา งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผวู ิจัยไดค นควา ดาํ เนนิ การตามลาํ ดบั ดังน้ี 2.1 ศกึ ษาทฤษฎีและวธิ กี ารสรา งแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนแบบอิงเกณฑ 2.2 ศกึ ษาเนอ้ื หารายวชิ า และเขียนผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั ใหส อดคลองกบั เนื้อหา

17 2.3 สรางแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนแบบปรนยั ชนิดเลอื กตอบ 4 ตัวเลือก โดยให ครอบคลุมเน้ือหาและผลการเรียนรทู ี่คาดหวัง จาํ นวน 20 ขอ 2.4 นาํ แบบทดสอบที่สรา งขน้ึ ไปทดลองกบั กลุมเปาหมาย คือ นักเรียนวิชาบัญชีเบ้ืองตนของ นกั เรยี นระดับชน้ั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ปท ่ี 1 โดยใชกระบวนการแบบทํางานรับผิดชอบรวมกันโรงเรียนราช ประชานเุ คราะห 33 จังหวัดลพบุรี ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศึกษา 2563จํานวน 14 คน แลวนํามาตรวจใหคะแนน โดยตอบถกู ตอ งให 1 คะแนน ตอบผดิ หรือไมต อบให 0 คะแนน ระยะเวลาในการดาํ เนินการวิจยั ระยะเวลาในการดําเนินการวิจยั เดอื น ธันวาคม 2563 - มีนาคม 2564 เดอื น พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. รายการ/กิจกรรม 1. วเิ คราะหปญหาการเรยี นรู 2. สงช่ือเร่อื งท่จี ะวจิ ัย 3. เขยี นเคา โครงการวิจัย 4. เตรยี มการสอน 5. ใหความรู 6. รวบรวมขอ มูล 7.วิเคราะหขอมูล

18 การเก็บรวบรวมขอ มลู ผวู ิจยั ไดดําเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ มลู ดังตอไปน้ี 1. ขน้ั วางแผน (P) ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวของกับการจัดการเรียนการสอนเพ่ือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของ ผูเ รยี นทไ่ี มพ ึงประสงค รวมทงั้ จัดหากจิ กรรมตางๆท่ีสามารถนํามาประยุกตใชใ นการจดั การเรยี นการสอนเพ่ือทํา การปรับพฤตกิ รรมของผเู รียน และเปนแนวทางในการดาํ เนินการวจิ ยั กาํ หนดทิศทางของแผนการจัดการเรียนการสอนที่มุงการปรับเปล่ียนพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงคของ ผเู รียน โดยการจัดการเรยี นการสอนแบบบรรยายโดยนําเอากระบวนการกลุมมาชว ยในการสอนอีกรปู แบบหนึง่ 2. ขนั้ ปฏิบตั แิ ละสงั เกตผลการปฏิบตั ิ (A) 2.1 กอนทาํ การทดลองผวู จิ ยั ไดทําการทดสอบกอนเรียน โดยใชแบบทดสอบที่ผูวิจัยสรางข้ึน ใชเ วลาในการทดสอบ 20 นาที 2.2 ผวู ิจยั ดําเนนิ การทดลองสอนโดยใชก ระบวนการกลุม รายวชิ าบัญชเี บอื้ งตน 2.3 ทําการทดสอบหลังเรียน หลังจากการทดลองสิ้นสุดลง โดยใชแบบทดสอบแบบคูขนาน แบบเดยี วกับที่ใชท ดสอบกอ นการทดลอง 3. ขัน้ รวบรวมขอ มลู ตรวจสอบ วเิ คราะห (R) ผวู ิจยั นาํ ผลที่ไดจากการทดลองมาวิเคราะหขอ มูล โดยวธิ ีทางสถิติ ดงั น้ี 3.1 วิเคราะหหาคุณภาพของเครื่องมอื 3.2 หาคาเฉล่ีย และสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานของคะแนนทดสอบกอ นและหลังเรียน และหาคา ความแปรปรวนของคะแนน 3.3 เปรียบเทยี บความกา วหนาของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นจากแบบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ท้ังกอนเรียนและหลงั เรียน ดว ย t-test (Dependent Sample) 4. สรปุ เปนองคความรู 5. จัดทาํ รายงานการวจิ ยั ตามแบบแผนการจัดทําการวจิ ยั

19 สถิตทิ ีใ่ ชในการวิเคราะหขอมลู ผวู ิจัยวางแผนในการวิเคราะหใ นการวเิ คราะหขอมูล โดยแยกตามลักษณะของขอ มลู ดงั น้ี 1. สถิติทีใ่ ชใ นการวิเคราะหข อมลู สถติ ิพื้นฐาน ไดแ ก 1.1 รอ ยละ รอยละ P = x 100 ความถท่ี ่ีตองการแปลงใหเปน รอ ยละ เมอ่ื P แทน จํานวนความถ่ที ง้ั หมด แทน N แทน 1.2 คา เฉล่ีย ̅= ∑ เมอ่ื ̅ แทน คาเฉลยี่ แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลมุ N แทน จาํ นวนคะแนนในกลมุ โดยมคี า อยรู ะหวา ง 1.00 ถงึ 5.00 ซึ่งมีความหมายตา ง ๆ ดังน้ี คา อยรู ะหวาง 4.50 ถึง 5.00 หมายถึงดีมาก คาอยรู ะหวา ง 3.50 ถงึ 4.49 หมายถงึ ดี คาอยูระหวา ง 2.50 ถึง 3.49 หมายถึงพอใช คาอยูระหวาง 1.50 ถึง 2.49 หมายถึงควรปรับปรุง คาอยูระหวา ง 1.00 ถึง 1.49 หมายถึงตองปรบั ปรุง

20 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอ มูล ผวู จิ ยั ขอนาํ เสนอผลการวจิ ัยตามวัตถุประสงคท่ีไดกําหนดไว คือ เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี นของนกั เรยี น โดยการใชวิชาบัญชเี บือ้ งตนของนักเรียนระดบั ชัน้ ประกาศนียบัตรวชิ าชีพปท ี่ 1 กอ นเรยี นและ หลงั เรียน สาํ หรับนักเรียนช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพปท่ี 1 โดยใชกระบวนการแบบทํางานรับผิดชอบรวมกัน โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห 33 จงั หวดั ลพบุรี ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา 2563 โรงเรียนราชประชานุเคราะห 33 จังหวดั ลพบุรีโดยแบง เปน 3 ตอน ดงั นี้ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนดวยกระบวนการกลุม ผูวิจัยไดจัดการเรียนการสอนโดยการใชกระบวนการวิชาบัญชีเบื้องตนของนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ปที่ 1 โดยใชก ระบวนการแบบทํางานรับผิดชอบรวมกันโรงเรียนราชประชานุเคราะห 33 จงั หวดั ลพบรุ ี ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา 2563 วชิ า จาํ นวน 14 คน โดยทําแบบทดสอบกอนเรียนและหลัง เรียนดว ยกระบวนการกลุม และทําการวิเคราะหเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนของ นักเรียนโดยคาํ นวณดวยสถิติ t-test (Dependent Samples) ผลการวิเคราะห ดงั ตาราง ตารางท่ี 1 แสดงการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนกอนเรียนและหลงั เรียนโดยใชกระบวนการกลมุ คะแนนผลสมั ฤทธ์ิ จาํ นวนนักเรียน คะแนนเตม็ x̅ ทางการเรียน กอนเรียน 14 20 14 หลังเรียน 14 20 17 จากตารางที่ 1 พบวา คะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนเรียนและหลงั เรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช กระบวนวิชาบญั ชีเบอื้ งตน ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 โดยใชกระบวนการแบบทํางาน รับผิดชอบรว มกนั โรงเรยี นราชประชานุเคราะห 33 จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2563 มีคะแนน เฉลย่ี หลงั เรียน =̅ 17.00 สงู กวา คะแนนเฉลย่ี กอนเรยี น ̅= 14.00 จึงสรปุ ไดว า ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนหลังเรียน สงู กวา กอ นเรียน

21 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ งานวจิ ัยในครัง้ น้ีมีวตั ถปุ ระสงคคือ 1. เพอ่ื เปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรียน โดยการใช วชิ าบญั ชเี บือ้ งตนของนักเรียนระดบั ชน้ั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ปท่ี 1 โดยใชก ระบวนการแบบทาํ งานรับผดิ ชอบ รว มกัน กอ นเรียนและหลังเรียน สําหรับนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห 33 จงั หวัดลพบุรีจํานวน 14 คน และเครอื่ งมอื ท่ใี ช ไดแ ก 1.แผนจัดการเรียนร2ู . แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอ นเรยี นและหลังเรยี น จาํ นวน 20 ขอ มกี ารเก็บรวบรวมขอ มูลโดยใช 1.ทําการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทกั ษะดว ยแบบทดสอบ ซง่ึ เปน ไปตามผลการวิเคราะหขอมูล สรุป อภปิ รายผล และ ขอเสนอแนะ ดงั น้ี สรปุ ผลการวิจยั หลังจากทไี่ ดดําเนนิ การสอนตามแผนการสอนเพือ่ ศกึ ษาพฤติกรรมของนักเรยี นที่เรียนโดยใชวิชาบัญชี เบื้องตนของนกั เรียนระดบั ช้นั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ปที่ 1 โดยใชกระบวนการแบบทาํ งานรับผิดชอบรว มกนั จํานวน 14 คนโรงเรยี นราชประชานุเคราะห 33 จังหวดั ลพบรุ ี สามารถสรุปผลตามวตั ถุประสงคท่ีผวู ิจัยได กาํ หนดไว ดังน้ี 1. ผลการวเิ คราะหผ ลสมั ฤทธิข์ องนกั เรียน กอนเรียนและหลังเรียนดวยวิชาบัญชีเบ้ืองตนของนักเรียน ระดับช้นั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพปที่ 1 โดยใชก ระบวนการแบบทํางานรับผิดชอบรวมกัน โรงเรียนราชประชา- นุเคราะห 33 จงั หวัดลพบุรี พิจารณาทางสถิติ t-test (Dependent Samples) พบวา คา ทค่ี ํานวณได t=21.01 และเมื่อพิจารณาคา Sig. พบวานอยกวา 0.5 จึงสรุปไดวาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสาํ คญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ 0.5 อภิปรายผล การวจิ ัยในคร้งั น้ี เปนการศึกษาถึงวิธีการจัดการสอนเพื่อศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาของนักเรียน กอนและหลังเรยี น โดยผวู ิจยั ไดเ ลือกเอาวิธกี ารสอนโดยใชก ระบวนการแบบรวมทาํ งานรบั ผดิ ชอบรว มกนั เพอ่ื ให นกั เรียนเกิดพฤตกิ รรมเพอื่ นชวยเพือ่ น สง ผลใหนักเรียนมีความสนใจและตั้งใจเรียนมากข้ึน เปนการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของนกั เรยี น ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นกอ นเรยี นและหลังเรียนโดยใชกระบวนการกลุม ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห 33 จงั หวัดลพบุรี พิจารณาทางสถิติ t-test (Dependent Samples) พบวาคาท่ี คํานวณได t= 21.01 และเม่ือพิจารณาคา Sig. พบวานอยกวา 0.5 จึงสรุปไดวาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลัง เรยี นสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.5 โดยกลุมเปาหมายมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน 33.88 คะแนน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.41 มีคามากกวาคะแนนเฉล่ียกอนเรียน 18.00 คะแนน สวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 0.88 เหตุท่ีเปน เชนนอ้ี าจเปน ผลเนอ่ื งจากการจัดการเรยี นการสอนท่ีนําเอากระบวนการกลุมแบบทีม

22 เขามาปรับใชรว มดวย โดยการศึกษาจติ วิทยาการเรียนรู การวิเคราะหเน้ือหาบทเรียน การออกแบบการเรียน การสอน ซึง่ ผลเปน ไปตามสมมติฐานทว่ี างไววา โดยนักเรยี นท่เี รยี นโดยใชว ชิ าบญั ชเี บือ้ งตน ของนักเรียนระดับช้ัน ประกาศนียบตั รวิชาชีพปท ี่ 1 โดยใชกระบวนการแบบทํางานรับผิดชอบรวมกัน โรงเรียนราชประชานุเคราะห 33 จังหวดั ลพบรุ ี ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2563 มีคะแนนผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกวากอน เรียน สอดคลองกับงานวิจัยของนฤนาท จั่นกลา (2553) ที่ไดศึกษาถึงเร่ืองผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ พฤติกรรมการทาํ งานกลุม เรื่อง คอนกรเู อนซ สําหรับนักศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ท่ีเรียน โดยใชการเรยี นแบบรวมมือ ซ่ึงผลการวิจัยพบวาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนโดยใชการเรียน แบบรว มมือสงู กวานกั ศึกษาทเ่ี รียนโดยใชการเรยี นแบบบรรยายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเปนไป ตามสมมตฐิ าน และผลการสังเกตพฤตกิ รรมการทํางานกลุมของนักศึกษาที่เรียนโดยใชการเรียนแบบรวมมือมี พฤตกิ รรมการทาํ งานอยูในระดับสูงมาก ขอเสนอแนะ จากการศึกษาครั้งน้ผี ูว ิจยั มขี อเสนอแนะสําหรับผูที่สนใจจะวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 โดยใชกระบวนการแบบทํางานรับผิดชอบรวมกัน ดงั ตอ ไปน้ี ขอ เสนอแนะจากการศึกษา 1. ผลการศึกษาสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชไดก ับกลุมสาระอ่นื ๆท่นี ักเรียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นตา่ํ 2. ควรมีการนําเกมหรือกิจกรรมอ่ืนๆ ที่หลากหลายมาใชในแผนการสอนดวย เพื่อใหผูเรียนเกิดการ เรยี นรูท ี่มากยง่ิ ขึ้น 3. ในการจดั การเรยี นการสอนควรใหน กั เรียนไดใ ชก ระบวนการคดิ วิเคราะหค วบคูกันกบั การทํางานกลุม ไปเพ่อื สงเสริมใหน กั เรียนเกิดการแลกเปล่ยี นความคดิ ซึง่ กนั และกนั เพมิ่ ขึน้ ขอ เสนอแนะในการทําวจิ ัยคร้งั ตอ ไป 1. ควรมีการศึกษาในวิธกี ารเดียวกันกับกลุม ประชากร ระดับชัน้ อ่นื ๆ 2. หากตองการพัฒนางานวิจัยน้ีตอเพ่ือศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาของนักเรียนโดยการใช กระบวนการกลมุ ควรมกี ารจดั กลมุ ท่หี ลากหลาย ทง้ั ขนาดของกลุม และการเปล่ียนสมาชิกกลมุ ไปเร่ือย ๆ

23 เอกสารอา งองิ กาญจนาวัฒาย.ุ (2554). การวิจัยในช้ันเรยี นเพอ่ื พัฒนการเรียนการสอน.กรุงเทพมหานคร : ม.ป.พ. โฆษติ จตั รุ ัสวฒั นากลุ .(2549). การเรียนแบบรวมมอื โดยใชเทคนคิ การสอนเปนกลุมที่ชวยเหลือเปนรายบุคคล ที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสามารถในการถายโยงความรูในวิชาวิทยาศาสตรของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5.วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร. จิตจํานง กิติกีรติ. (2552). การพัฒนาชุมชน : การมีสวนรวมของประชาชนในงานพัฒนาชุมชม. กรุงเทพมหานคร : สถาบันชุมชนทองถน่ิ พัฒนา. ฉลาดสมพงษ. (2547). การสอนโดยใชป บบฝก ทักษะการเขียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนสายธารวิทยา อําเภอกันทรลักษณ จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.การศึกษา คนควาอิสระปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. ชมรมวิชาชีพครลู ุมแมน้ําทา จนี . (ม.ป.ป.). การพัฒนาทกั ษะการเขยี นเชิงสรางสรรค โดยใชแบบฝกเสรมิ ทักษะ การเขียนเชงิ สรางสรรค สาํ หรับนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 5, สบื คนเมื่อ 13 พฤษภาคม 2562, จาก http://www.kruthacheen.com/index.php?lay=show&ac=article&Id= 300970&Ntype=2. ทิศนา แขมมณี.(2560). กลุมสัมพันธเพ่ือการทํางานทีมและการจัดการเรียนการสอน.กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย. นธิ ธิ ัช กิตตวิ ิสาร. (2561). หลักการจัดการศึกษายคุ ใหม. กรงุ เทพมหานคร : สถาบันพฒั นาผูบริหารการศึกษา. บุญชม ศรสี ะอาด. (2562). วธิ ีการทางสถติ สิ าํ หรบั การวจิ ัย.พมิ พคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : เจรญิ ผลการพิมพ. ประทปี แสงเปย มสขุ . (2560). รปู แบบการสอนความเขา ใจในการอาน.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. พธู ท่ังแดง. (2562). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเขยี นสะกดคําของนกั เรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพป ท่ี 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาที่ใชแบบฝกและไมใชแบบฝก.วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร. พิมพพันธเดชะคุปต. (2549). การเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ : แนวคิดวิธีและเทคนิคการสอน2. กรงุ เทพมหานคร : สถาบันพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ. วฒั นาพรระงบั ทุกข. (2554). เทคนคิ และกจิ กรรมการเรยี นรูทเี่ นน ผเู รียนเปนสาํ คัญ.กรงุ เทพฯ,สํานักพิมพพริก หวานกราฟฟค .

24 ลกั ษณสภุ า บังบางพลู. (2553). การจัดการเรียนการสอนโดยใชกระบวนการรวมทาํ งานเปนทีมมและบทเรียน สําเร็จรูป ในรายวิชาการประมวลผลการวิจัยทางธุรกิจดวยคอมพิวเตอร.กรุงเทพฯ : คณะ วิทยาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดสุ ติ . ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2551). หลกั การวิจัยทางการศึกษา.พิมพค ร้ังที่ 2. กรงุ เทพฯ : ศกึ ษาพร. ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2552). เทคนิคการวจิ ัยทางการศกึ ษา.พิมพครงั้ ท่ี 4. กรุงเทพฯ : สุวริ ยิ าสาสน . สจิ ติ รา บางโรย. (2562). แบบฝก มคี วามสําคญั อยางไร. สืบคนเมอ่ื 13 พฤษภาคม 2563, จาก http://www.gotoknow.org/blogs/books/0?address=bmm02&. สาํ นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ). (ม.ป.ป.). การเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ. สืบคนเมื่อ 15 พฤษภาคม 2561, จาก http://www.obec.go.th. เสาวนีย สิกขาบัณฑิต. (2562). เทคโนโลยีการศกึ ษา.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกลา พระนครเหนอื . Kagan,S.Cooperative Learning & Wee Science. San Clemento: Kagan Cooperative Learning, 1995. ________. Cooperative Learning and Mathematics. San Juan Capistrano :Kagan Cooperative Learning, 1996 a. Slavin, R.E. (1990). Cooperative Learning :Research and Practice. Englewood Cliffs, NJ :Prentice-Hall.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook