Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การละเล่นไฟล์ต้นฉบับ-e-book

การละเล่นไฟล์ต้นฉบับ-e-book

Published by Guset User, 2021-09-24 09:13:39

Description: การละเล่นไฟล์ต้นฉบับ-e-book

Search

Read the Text Version

การละเล่นพื้นบ้าน

ก คำนำ สมุดเล่มเล็กเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ETI1101 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสานสนเทคเพื่อการสื่อสารการศึกษา และการเรียนรู้ ในสมุดเล่มเล็กเล่มนี้ได้นำข้อมูลเกี่ยวกับการละ เล่นพื้นบ้านของแต่ละภาค ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะมี ประโยชน์ไม่มากก็น้อยต่อผู้ที่เข้ามาศึกษา หากผิดพลาดประการ ใดขออภัย ณ ที่นี้ด้วย จัดทำโดย นางสาวสุชานาถ พิมพารุ่งโรจน์ รหัสนักศึกษา 64151040

ข สารบัญ เรื่อง หน้า ความหมายของการละเล่นพื้นบ้าน 1 การละเล่นพื้นบ้านของบ้านกลาง 2 การละเล่นพื้นบ้านของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 การละเล่นพื้นบ้านของภาคเหนือ 7 การละเล่นพื้นบ้านของภาคใต้ 9 บรรณานุกรม 10

1 การละเล่นพื้นบ้าน การละเล่นพื้นบ้าน เป็นการละเล่นที่สืบทอดจาก ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่น หนึ่ง เป็นกิจกรรมที่เน้นความสนุกสนาน ไม่เน้นการแพ้ชะ และมีส่วนสำคัญในการหล่อหลอมพฤติกรรมเห็นคุณค่า ของตนเองกล้าคิด กล้าแสดงออก รู้จักปรับตัวให้อยู่ร่วม กันอย่างมีความสุข เกิดความคล่องแคล่วว่องไง ฝึกความ อดทน ฝึกการเป็นผู้นะและผู้ตามที่ดี ฝึกการสังเกตมี ปฏิภาณไหวพริก สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ

2 การละเล่นพื้นบ้านของ ภาคกลาง การเล่นมอญซ่อนผ้า เพลงประกอบการเล่น \"มอญซ่อนผ้า ตุ๊กตาอยู่ข้างหลัง ใครเผลอคอย ระวัง ใครเผลอคอยระวัง ตุ๊กตาอยู่ข้างหลังระวังจะ ถูกตี” อุปกรณ์ ผ้าเช็ดหน้าขนาดใหญ่หนึ่งผืน ไม่ต้อง ขมวดหรือพันให้เป็นเกลียว เพราะถ้าฟาดถูกผู้ ใดเข้าแล้วจะเจ็บ

3 การเล่นชักเย่อ โอกาสที่เล่น ชักเย่อเป็นการละเล่นประกอบเพลงระบำ เช่นเดียวกันช่วงรำ ที่ชาวบ้านหัวสำโรงเล่นใน วันสงกรานต์เช่นกัน คุณค่า ในอดีตกิจกรรมที่สามารถเป็นสื่อ ชักนำให้หนุ่มสาวได้มาพบกัน ก็คืองานบุญ และการละเล่นหลังทำบุญการเล่นชักเย่อก็ เช่นกัน ทำให้หนุ่มสาวได้พบหน้าเกี้ยว พาราสีและสนุกสนานด้วยกัน แต่ปัจจุบัน คนหนุ่มสาวมีโอกาสพบกันโดยไม่มีข้อ จำกัด

4 การเล่นตี่จับ โอกาสหรือเวลาที่เล่น มักจะเล่นในเวลาว่างจากภารกิจทั้งปวง เช่น เวลาพักหลังเลิกเรียน หรือภายหลังจากทำงานบ้าน เสร็จเรียบร้อยแล้ว สาระ การเล่นตี่จับเป็นการฝึกการใช้กำลัง ฝึก ความว่องไว และความอดทน นอกเหนือไป จากความสนุกสนานเพลิดเพลิน

การละเล่นพื้นบ้านของภาค 5 ตะวันออกเฉียงเหนือ การเล่นวิ่งขาโถกเถก นอกเหนือจากความสนุกสนานแล้ว ยังเป็นเครื่องมือในการออก กำลังกาย บริหารส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้เป็นอย่างดี เดิมผู้ที่ใช้ ขาโถกเถกเป็นชายหนุ่มไปเกี้ยวสาว เสียงเดินจากไม้เมื่อสาวได้ยินก็ จะมาเปิดประตูรอเพื่อพูดคุยกันตามประสาหนุ่มสาว หรือบ้านสาว เลี้ยงสุนัขไม้โถกเถกยังเป็นอุปกรณ์ไล่สุนัขได้ด้วย

6 การเล่นงูกินหาง เพลง พ่องู \"แม่งูเอ๋ยกินน้ำบ่อไหน\" แม่งู \"กินน้ำบ่อโสกโยกไปโยกมา\" พร้อมแสดงอาการส่ายตัวไปมา พ่องู \"แม่งูเอ๋ยกินน้ำบ่อไหน\" แม่งู \"กินน้ำบ่อหินบินไปบินมา\" พร้อมแสดงอาการบินไปบินมา พ่องู \"แม่งูเอ๋ยกินน้ำบ่อไหน\" แม่งู \"กินน้ำบ่อทรายย้ายไปย้ายมา\" พร้อมแสดงอาการส่ายตัวไปมา พ่องู \"กินหัวกินหางกินกลางตลอดตัว\" สาระ ๑. ให้ความสนุกสนานในกลุ่มผู้เล่น ๒. ฝึกให้เกิดความสามัคคีในกลุ่มผู้เล่น ๓. ฝึกฝนการต่อสู้และการหลบหลีกภัยที่จะเกิดกับตน ๔. ฝึกการทำงานเป็นกลุ่มตั้งแต่วัยเด็ก ๕. ได้ออกกำลังกาย ทำให้ร่างกายแข็งแรง

การละเล่นพื้นบ้าน 7 ของภาคเหนือ การเล่นอีตัก วิธีเล่น แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย ๆ ละเท่ากัน เป่ายิงฉุบกันใคร ชนะเล่นก่อน ขุดหลุมน้อย ๆ เอาลูกพาดกลางหลุมไว้ใช้ ไม้ยาว ๕๐ เซ็นติเมตร (ไม้วุด) งัดไม้ที่เป็นลูกหรือที่ยาว ๒๐ เซ็นติเมตรไปให้ไกลที่สุด แล้ววางไม้วุดปากหลุม ให้ อีกฝ่ายที่ไม่ได้งัดโดยไม้ที่วุดไปให้มาถูกที่พาดไว้บนปาก หลุม ถ้าวุดไม่ถูกก็ให้วุดไม้อีกครั้งจนกว่าจะถูก ถ้าถูกให้ ผู้ที่เป็นฝ่ายโยนไม้มาปากหลุมแทน โอกาสในการละเล่น เป็นการละเล่นพื้นบ้านที่เด็ก ๆ เล่นกันโดยทั่วไป

8 การเล่นตากระโดด อุปกรณ์ ก้อนหิน หรือกระเบื้อง จำนวนผู้เล่น ๔ คนขึ้นไป โอกาส เป็นการละเล่นพื้นบ้านที่เด็ก ๆ เล่นกันโดยทั่วไป

การละเล่นพื้นบ้านของภาคใต้ 9 การเล่นกระโดดเชือก อุปกรณ์ เป็นการเล่นที่หัดให้ผู้เล่นใช้กำลังแขน กำลังขา เป็นคน ตาไว และคล่องแคล่ว เครื่องใช้ในการเล่น คือ เชือกเส้น หนึ่งขนาดโตเท่าปลายนิ้วก้อยยาววาศอก ถ้ากระโดดมาก คนด้วยกันต้องยาวประมาณ ๔-๕ วา โอกาสหรือเวลาที่เล่น เล่นได้ทุกโอกาสไม่จำกัดเวลา สาระ เป็นการฝึกกล้ามเนื้อและความว่องไว

ค บรรณานุกรม รูปภาพประกอบ เข้าถึงได้จาก https://www.google.com/search? q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A5%E0 %B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%9 9%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0% B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99&sxsrf=AOae mvL2nb0Wdc- LawRZCgitBa2abAKbaQ:1632399087387&source=lnms&tb m=isch&sa=X&ved=2ahUKEwjGy_C9iJXzAhVJxDgGHRYDDE UQ_AUoAXoECAEQAw&biw=1280&bih=577&dpr=1.5 (วันที่ค้น ข้อมูล: 14 กันยายน 2564) เนื้อหา เข้าถึงได้จาก https://sites.google.com/site/yupawadeenwschool/ka r-la-lenก -phun-ban(วันที่ค้นข้อมูล: 14 กันยายน 2564)

จ จัดทำโดย นางสาวสุชานาถ พิมพารุ่งโรจน์ รหัสนักศึกษา 64151040 หมู่เรียน นศ.64 ค.บ.4.2 sec.53 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ คณะครุศาสตร์ สาขา นาฏศิลป์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook