Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการเขียนรายงานSAR

แนวทางการเขียนรายงานSAR

Published by karantha.umput, 2019-05-07 23:22:45

Description: แนวทางการเขียนรายงานSAR

Search

Read the Text Version

แนวทางการเขียนรายงาน การประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) สำ� นกั ทดสอบทำงกำรศกึ ษำ ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พนื้ ฐำน

แนวทางการเขยี นรายงาน การประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ส�ำนักทดสอบทางการศกึ ษา สำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

เร่อื ง แนวทางการเขียนรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR) ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา ผจู้ ดั พิมพ์ สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ๓๕,๐๐๐ เล่ม ๒๕๕๙ จ�ำนวนพมิ พ์ โรงพมิ พส์ ำ� นกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ ปีที่พมิ พ ์ พมิ พ์ท ่ี

ค�ำน�ำ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นการสรุปผลการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาท่ีสะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ซ่ึงเป็นผลส�ำเร็จจากการบริหาร จัดการศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน ๔ มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหาร สถานศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ และระบบการประกัน คุณภาพภายในท่ีมีประสิทธิผล ผลการวิเคราะห์จุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนา และระบุแนวทาง การพฒั นาสถานศึกษาในอนาคต โดยมมี ีวตั ถุประสงคเ์ พื่อนำ� เสนอรายงานผลการจัดการศกึ ษา ในรอบปีที่ผ่านมาให้ต้นสังกัดและสาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับ การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกต่อไป แนวทางการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาเล่มน้ี จัดท�ำข้ึน เพ่ือให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าข้อสรุปจากการน�ำเสนอในรายงานการประเมินตนเอง จะเป็น สารสนเทศส�ำคัญที่สถานศึกษาจะน�ำไปใช้พัฒนาสถานศึกษาให้ได้คุณภาพตามมาตรฐาน และดีย่งิ ขนึ้ ตอ่ ไป (นายการณุ สกุลประดิษฐ)์ เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน แนวทางการเขยี นรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsนิ sตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSกึ AษRา) ก

สารบญั เรื่อง หนา้ ค�ำน�ำ.................................................................................................................................... ก สารบญั ................................................................................................................................. ข บทน�ำ................................................................................................................................... ๑ ขั้นตอนการจัดทำ� รายงานประเมินตนเองของสถานศกึ ษา.................................................... ๒ โครงสรา้ งรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา.......................................................... ๔ ตัวอยา่ งการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา.............................................. ๕ ตวั อยา่ งสว่ นท่ี ๑ ข้อมลู พ้นื ฐาน.................................................................................. ๕ ตัวอย่างสว่ นท่ี ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา........................................... ๑๕ มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น....................................................................... ๑๕ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การของผู้บรหิ ารสถานศึกษา...... ๒๒ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ ส�ำคญั ............ ๒๘ มาตรฐานท่ี ๔ ระบบประกันคุณภาพภายในทีม่ ีประสิทธิผล................................ ๓๒ สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวม........................................................................... ๓๗ ตัวอยา่ งส่วนที่ ๓ สรุปผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการการช่วยเหลอื ......... ๓๘ ตวั อยา่ งส่วนที่ ๔ ภาคผนวก....................................................................................... ๔๒ คณะท�ำงาน.......................................................................................................................... ๔๓ ข (แSนeวlfท-างAกsาsรeเsขsยี mนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRิน) ตนเองของสถานศึกษา

แนวทางการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR) บทนำ� การจัดท�ำรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา เป็นการน�ำเสนอผลการด�ำเนินงาน ในการพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาในรอบปที ีผ่ า่ นมาซ่งึ เปน็ ผลมาจากการดำ� เนนิ งาน ทั้งหมดของสถานศึกษาทค่ี รอบคลุมมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา และน�ำเสนอรายงาน ตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษา หน่วยงานตน้ สังกดั หน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้อง เปิดเผยตอ่ สาธารณชน ซึ่งรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษาจะเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนาสถานศึกษา และ รบั การประเมินคณุ ภาพภายนอกตอ่ ไป รายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา อาจมีชื่อเรียกแตกต่างกันไป เช่น รายงาน การพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำ� ปี รายงานประจำ� ปี รายงานประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา รายงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา แต่ทั้งน้ีจะมีเนื้อหาสาระ องค์ประกอบ ของรายงาน และจุดมุ่งหมายไม่แตกต่างกัน คือ เพ่ือสะท้อนภาพความส�ำเร็จของการพัฒนา คณุ ภาพสถานศกึ ษาในรอบปกี ารศกึ ษาทผี่ ่านมาภายใต้บรบิ ทของสถานศึกษา ทัง้ นี้ ประโยชน์ ในการจัดทำ� รายงานประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ดงั น้ี ๑. ท�ำให้สถานศึกษามีฐานข้อมูลการด�ำเนินงานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ท้ังในด้านจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แนวทางการพัฒนาในอนาคต ที่น�ำไปใช้ประโยชน์ต่อ การปรบั ปรุงและพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาในปถี ดั ไป ๒. ท�ำให้สถานศึกษามีข้อมูลสารสนเทศเชิงประจักษ์ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้ผู้บริหาร สถานศึกษา ครูและผู้เก่ียวข้องให้ความส�ำคัญและปรับเปล่ียนพฤติกรรมการปฏิบัติงาน เพ่ือเปา้ หมายท่กี ำ� หนดไว้ร่วมกนั ๓. ท�ำให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้รับทราบผล การพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทั้งในส่วนที่ดีและส่วนท่ีควรพัฒนา โดยมี การประชาสัมพันธใ์ นวงกว้างและใหก้ ารชว่ ยเหลอื สนับสนนุ อยา่ งเหมาะสม ๔. หน่วยงานต้นสังกัด ได้แก่ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และ ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มีฐานข้อมูลในการก�ำหนดนโยบายการพัฒนาการจัดการศึกษา ทงั้ ระดับประเทศและระดบั เขตพนื้ ที่ ๕. สถานศึกษาใช้รายงานประเมินตนเองเพ่ือรับรองการประเมินคุณภาพภายใน โดยหน่วยงานต้นสังกัด และรับการประเมินคุณภาพภายนอก จากส�ำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) แนวทางการเขยี นรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsินsตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSึกAษRา) 1

ข้ันตอนการจดั ทำ� รายงานประเมินตนเองของสถานศกึ ษา การจัดท�ำรายงานประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา มีขน้ั ตอนโดยสรุปได้ดังน้ี แผนภาพท่ี ๑ ขั้นตอนการจัดท�ำรายงานการประเมินตนเอง จากแผนภาพที่ ๑ แสดงข้ันตอนการจัดท�ำรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา โดยมีรายละเอียดในแตล่ ะขน้ั ตอนดงั น้ี ๑. แต่งต้งั คณะท�ำงาน สถานศึกษาควรแต่งต้ังคณะท�ำงานจัดท�ำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร ครู และบุคลากรผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และในกรณที ีเ่ ป็นสถานศกึ ษาขนาดเล็กอาจก�ำหนดให้มีผูร้ ับผดิ ชอบการจดั ทำ� รายงานประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาไดต้ ามความเหมาะสม ๒. รวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศ การรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ เป็นข้ันตอนส�ำคัญท่ีจะท�ำให้รายงานประเมิน ตนเองมีความสมบูรณ์ มีคุณภาพตรงตามสภาพของสถานศึกษา ซึ่งข้อมูลสารสนเทศท่ีจะต้อง รวบรวมแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน ได้แก่ ๑) ข้อมลู ทวั่ ไปของสถานศกึ ษา เช่น จำ� นวนครู บุคลากร นักเรียน แหล่งเรียนรู้ ข้อมูลงบประมาณ ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม ฯลฯ ๒) ข้อมูลที่เป็น ผลการประเมิน เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ข้อมูล ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนระดับสถานศึกษา ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ของผู้เรยี น ผลการทดสอบระดับชาติของผู้เรียน หรือผลการทดสอบอ่ืน ๆ สรุปผลการประเมินจาก หน่วยงานภายนอกและข้อเสนอแนะ ผลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา 2 (แSนeวlfท-างAกsาsรeเsขsยี mนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRิน) ตนเองของสถานศึกษา

ผลการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ผลการจัดกิจกรรมพัฒนาสภาพแวดล้อม ทางกายภาพและสังคม ฯลฯ ๓. เขียนรายงานประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถก�ำหนดรูปแบบรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ท้ังในเชิงปริมาณ และคุณภาพตามความเหมาะสม การน�ำเสนออาจเป็นความเรียง ตาราง ประกอบความเรียง การบรรยายประกอบแผนภูมิ รูปภาพ หรือกราฟ ฯลฯ ตามบริบทของ สถานศึกษา โดยใช้ภาษาท่ีอ่านเข้าใจง่าย น�ำเสนอท้ังข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ สาระ สำ� คญั อาจแบ่งออกเป็น ๔ สว่ น ดังน้ี ส่วนที่ ๑ ข้อมลู พื้นฐาน น�ำเสนอข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษาให้เหมาะสมเป็นไปตามสภาพจริง ประกอบด้วย จ�ำนวนบุคลากร จ�ำนวนนักเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกระดับชั้น ผลการทดสอบระดับชาติ ฯลฯ อาจนำ� เสนอในรูปของตาราง แผนภูมิภาพ กราฟ ฯลฯ สว่ นท่ี ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา น�ำเสนอผลการประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษา ๔ มาตรฐาน โดยแต่ละ มาตรฐานน�ำเสนอในประเด็น กระบวนการพัฒนา ผลการด�ำเนินงาน จุดเด่น และจุดควร พัฒนา ซ่ึงในการเขียนจุดเด่นของสถานศึกษา จะแสดงถึงผลส�ำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ ตามมาตรฐานของสถานศึกษา เช่น ด้านคุณภาพผูเ้ รียน ดา้ นกระบวนการบรหิ ารจดั การศกึ ษา ของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ ด้านระบบประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล ที่มีความโดดเด่น ภาคภูมิใจ เป็นท่ียอมรับ ของชมุ ชน และสงั คม ส่วนการเขียนจดุ ที่ควรพัฒนาของสถานศกึ ษา จะแสดงถงึ การด�ำเนินงาน ในด้านต่างๆ เพ่ือพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษาท่ีต้องได้รับการส่งเสริม สนบั สนนุ และพัฒนาให้มคี ุณภาพสูงข้นึ ส่วนที่ ๓ สรุปผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการการชว่ ยเหลือ น�ำเสนอสรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โดยน�ำภาพรวมจากการ ประเมนิ ทัง้ ๔ มาตรฐาน มาน�ำเสนอในรูปแบบของจดุ เดน่ จดุ ควรพัฒนาของแตล่ ะมาตรฐาน พรอ้ มทง้ั น�ำเสนอ แนวทางการพฒั นาในอนาคตและความต้องการการช่วยเหลือ สว่ นท่ี ๔ ภาคผนวก นำ� เสนอหลักฐานขอ้ มลู ส�ำคัญ หรือเอกสารอา้ งองิ ตา่ ง ๆ แบบย่อ ๆ ๔. นำ� เสนอคณะกรรมการสถานศกึ ษาพิจารณาให้ความเหน็ ชอบ หลังจากเขียนรายงานประเมินตนเองเสร็จสมบูรณ์ สถานศึกษาจะต้องน�ำเสนอ คณะกรรมการสถานศึกษาและหรือคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาพิจารณาให้ความเห็นชอบ เพอ่ื รบั รองผลการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ๕. รายงานและเปิดเผยต่อผ้เู ก่ียวข้อง เมื่อรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษาหรือคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาแล้ว สถานศึกษาจะต้อง แนวทางการเขยี นรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsินsตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSึกAษRา) 3

รายงานและเปิดเผยผลการประเมินต่อผู้เก่ียวข้อง ได้แก่ ครู ผู้ปกครอง หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้อง ชุมชน ท้องถ่ิน ซ่ึงสามารถด�ำเนินการได้หลากหลายวิธีตามความ เหมาะสม เชน่ การลง Website ของสถานศกึ ษา จุลสาร อนสุ าร แผน่ พับ รายงานเสียงตามสาย และชี้แจงในการประชุม เปน็ ตน้ โครงสรา้ งรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา เอกสารรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา แบง่ ออกเปน็ ๔ สว่ น โดยแต่ละส่วน อาจประกอบด้วยเน้อื หา ดังน้ี สว่ นท่ี ๑ ขอ้ มูลพ้นื ฐาน • ขอ้ มูลทั่วไป • ข้อมูลครูและบคุ ลากร • ข้อมลู นกั เรียน • สรปุ ข้อมลู ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นระดับสถานศึกษา • ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ องผู้เรียน • สรุปการใช้แหล่งเรยี นรภู้ ายในและภายนอกสถานศกึ ษา • ข้อมลู งบประมาณ • สภาพชมุ ชนโดยรวม • สรปุ ผลการประเมนิ จากหน่วยงานภายนอกและข้อเสนอแนะ • ฯลฯ สว่ นท่ี ๒ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา • มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน • มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผู้บรหิ ารสถานศึกษา • มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นส�ำคญั • มาตรฐานท่ี ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในทีม่ ีประสทิ ธิผล • ผลการประเมนิ ภาพรวม สว่ นท่ี ๓ สรุปผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการการชว่ ยเหลือ • จดุ เดน่ • จดุ ควรพฒั นา • แนวทางการพฒั นาในอนาคต • ความตอ้ งการการช่วยเหลือ ส่วนท่ี ๔ ภาคผนวก • หลักฐานข้อมูลส�ำคญั เอกสารอ้างอิงต่างๆ 4 แ(Sนeวlfท-างAกsาsรeเsขsียmนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRนิ ) ตนเองของสถานศึกษา

ตวั อยา่ งการเขยี นรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self - Assessment Report : SAR) แนวทางการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาฉบับน้ี ได้เสนอ ตัวอย่างรูปแบบการน�ำข้อมูลที่เป็นส่วนของข้อมูลพื้นฐาน และข้อมูลท่ีได้จากการประเมิน ตนเองของสถานศึกษา ซ่ึงเป็นข้อมูลท่ีได้จากการเก็บรวบรวมมาจากหลายแหล่ง เช่น ข้อมูล จากการสังเกต การสัมภาษณ์ ร่องร่อยการท�ำงานเชิงประจักษ์ ฯลฯ โดยน�ำเสนอในรูปแบบ ตาราง กราฟ แผนภาพ หรอื การสรปุ เนือ้ หาสาระทส่ี ำ� คัญ ซึ่งจะเน้นการเขียนให้มคี วามกระชบั ชัดเจน และสื่อความหมายได้เข้าใจง่าย รวมทั้งการน�ำเสนอสรุปผลการวิเคราะห์คุณภาพ การจัดการศกึ ษา ในรอบปที ี่ผา่ นมา ท้งั ในดา้ นจดุ เด่น จุดควรพฒั นา แนวทางการพัฒนา และ ความต้องการการช่วยเหลือ ซ่ึงจะท�ำให้น�ำไปใช้ประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ การจดั การศึกษาในปถี ัดไป ตัวอย่างท่ีน�ำเสนอในรายงานการประเมินตนเองในเอกสารฉบับนี้ ประกอบด้วย ๔ ส่วน คือ สว่ นท่ี ๑ ขอ้ มูลพืน้ ฐานของสถานศกึ ษา ส่วนท่ี ๒ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ๔ มาตรฐาน และภาพรวมของสถานศึกษา ส่วนที่ ๓ สรุปผล แนวทางการพัฒนา และ ความต้องการการช่วยเหลือ และส่วนท่ี ๔ ภาคผนวก ตัวอย่างการน�ำเสนอมีทั้งในลักษณะ ที่เป็นความเรียง แผนภูมิ รูปภาพ กราฟ ทั้งนี้ สถานศึกษาสามารถปรับประยุกต์วิธีการ เขียนรายละเอียดในเนื้อหาสาระของรายงานการประเมินตนเองได้อย่างหลากหลาย เพ่ือความสอดคล้องกับการด�ำเนินงานและข้อมูลส�ำคัญท่ีควรน�ำเสนอของสถานศึกษาได้ ตามความเหมาะสม ตวั อย่างสว่ นท่ี ๑ ข้อมูลพน้ื ฐานของสถานศกึ ษา ๑.๑ ขอ้ มลู ท่วั ไป ช่ือโรงเรียน..................................................ท่อี ย.ู่ ................................................................ สงั กัด..............................................โทรศพั ท.์ ............................โทรสาร.............................. เปดิ สอนระดับชน้ั ..........................ถงึ ระดับช้นั .............................. ๑.๒ ขอ้ มูลบคุ ลากรของสถานศกึ ษา ๑) จ�ำนวนบคุ ลากร บคุ ล ากร ผบู้ ร ิหาร ครูผู้ส อน พนักงาน ครอู ัตราจ้าง เจา้ หน้าท่อี น่ื ๆ ราชการ ป ีการศึกษา ๒๕๕๙ ๑ ๑๓ ๑ ๒ - แนวทางการเขียนรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsนิ sตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSกึ AษRา) 5

๖ 2) วฒุ กิ ารศกึ ษาสงู สดุ ของบคุ ลากร ๒) วฒุ กิ ารศึกษาสงู สุดของบุคลากร ๑๑๑,,, ๕๕.๕..๕๕๕๖๖๖%%% ๓, ๑๖.๖๗% ๑๐, ๕๕.๕๖% ๒, ๑๑.๑๑% ปวช. ปวส. ปรญิ ญาตรี ประกาศนยี บัตรบณั ฑิต ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก 3) สาข๓า)ว ิชสาาขทาจี่ วบิชากทาีจ่รบศกกึ าษราศแึกลษะาภแลาะรภะงาาระนงสาอนนสอน สาขาวชิสาาขาวชิ า จําจน�ำนวนวน(ค(คนน)) ภาภระางราะนงสาอนนสเอฉนลเย่ี ฉขลอย่ี งขครอูง๑ครคูน1 คน ในแในตแล่ ะตสล่ าะขสาาวขิชาาว(ิชชาม.(/ชสมปั .ด/สาหปั )์ดาห)์ 1. วคบสภภทิังณาาร๑๕๔๓๒คษษิหย.....ิตมาาาาบภภวคศศศอไริทณาาราทกาึกังษษิหยสติยสกาษาาาาตศรตฤศรอไาราศทกษราังส์ ึกสยก์าตรตฤษรศรษา์กึ์ ษา 32321๑๓๒๓ - 2. 2๒ - 19 3. 1๒ ๑๙ 18 4. ๑๘ 19 5. ๑ ๑๙ 24 6. 7. กา๖ร.งสาังนคอมาศชกึ ีพษแาละ 1๑5๕ ๒๔ 20 ๒๐ 18 เท๗ค.โกนาโรลงยาี นอาชีพและเทคโนโลยี ๑๘ 8. ...๘.......................... รวม รวม 6 (แSนeวlfท-างAกsาsรeเsขsยี mนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRนิ ) ตนเองของสถานศึกษา

1.3 ข้อมูลนกั เรยี น 1.3 ขอ มูลนกั เรียน ๗ 2559 จาํ นวนนักเรียนปกี ารศึกษา 2559 จาํ นวนนักเรยี นปีการศกึ ษา 2559 .๒ รวม ป.๑ เจรเเจพฉจ1วพําาํ2๑จลปรศมนํารศน.0ะี่ย.3ะวเำ�๑๒๔น๒ว:เ.ดรตดรน๓๗๑๓๐2นนียบัว่อียับหหขนชหนนชว้อ้อนั้อ้ขอ้นั้งนนงง2มอ้ปกัน3.๑๒ูลม:๓เัก๑๕๓๑๘รนลู ชหเชหียรกัาญานญนยยยีเิงงิ กัรปนป๑ียเีก.ร4ป๔1๑3น๒า:ีย96๗๑2อ๕อกี ร..:น3๑4๑๑3๑๑ศา2๗9๒๗2๒รึก๑ศปษ7.๒๑๓ึก๕:า2๒๒๔๑2ษ7ออ2..:๒๒๑11า112525๑527๑2ป๒58.๑๒๑:๖๕9๓๘๕๑๑ ร๕รวว24427ม๙ม๑๑๒ร97๓796๓ว๑๒๑๔ม๑๔๖๐รว2ปมป๖.43ท.๑437:๑๑ัง54ร3๓5493หว113ม๑741ม1156ด4๖ป2ป.๑๒0.๒ค๑๒๔๒๓๗2:๗๓๐๑2นจเรเพฉวาํ ลรศมนะียวเป2ดรตปน.ีย๑บั3อ๓.๑๒ห๓น๕๘๑ชห:๕๓๑๘๑อนัองง ป.๔ ปอ.๕.๑ ป.๖อ.๒ รวมรวม รวมป.๑ ป.๒ ป.๓ ป๑.๔ชห๑141๑3าญ๗92:ย9๗6๑2งิ 427ท796๓ท้ังรหว1ั้งมหม11317ดม2174114ด๖4156437:๑5493 ๑ ๓ 3 ป๒๑.๒๑๕7๕๒๑๓๒๒2::3๑4๑๒๒๔๑229๗๒ ป2.๑๑2๖8๑๑๒7๕๓๑::๓๕๘๑๑๑112527๑๑๑ร๑๑๒ว๑๒๑ม๑๒๑๔๔๖๑๑๔๖๐ 145 2 ๑ 15 47 45 ๑๗ ๘ 12 29 34 ๒๓ ๑๕ 27 76 79 ๔๐ ๒๓ ๑ 2 ๖:๑ 20: ๑ 23: ๑ รวม 49 27 76 79 ๔๐ ๒๓ 36 ๓๔ ๒๘ ๒๔๐ 316 เฉลย่ี ต่อห้อง ๒๕:๑ 27:๑ 2๖:๑ 20:๑ 23:๑ ๑4:๑ ๑7:๑ 28:๑ น ป.๑ - ป.๖ เปรเียปบรยีเทบปียเทบีกียจาบาํรปนศจีกาํวึกานนษรวศนานึกักษน2เัรกา5ียเ๒5รนยี๕6รนะ๕ร-ด๖ะับ2ด-ช5บั ๒ั้นอ5๕น8ป๕ุบ.1๘าล-๑ปแ.6ละ ๒ เปรียเบปเรทียียบบปเทจกี าํปียานบรีกวศจานึกํารนษนศักาวึกเนรษ2ียน5านัก5ร๒เ6ะร๕ดีย-๕ับน2๖อร5ะน-ด5บุ บั๒8าลช๕ั้น๑๕๘ปแล.๑ะ -๒ป.๖ เปรยี บเทียบ ๕๘ ปี กศ. ๒๕ ปี กศ. ๒๕๕๘ เปรียบปเี ทกศีย. บ๒๕จป๕าํ ี๖นกศว.น2น5ัก5ปเ8รี กียศน. ๒ร๕ะ๕ด๗ัปบีชกั้นศ. ป25.ป1ี5ก7ศ-. ป๒๕.6๕๘ ปปปปปป......๒๕๖๔๓๑เปรยี ปปบี กี เกปศทศ.ี .กยี22ศบ5ป5.5จีก5๒8ําา8๕นร๕วศ๖นกึ นษปักาปี กเี ร๘2กศ๙ียศ.๑๑๑ป5๑2.นี๐๐๐๑525กร๑556ศะ๑๒57.๑ด๒7๑-๒๓บั ๓2๕อ๕5น๑๑๑๑๑๗5ุบ๕๕๕๕๕ป๑8าีปก๑๗ลี๑ศก๗.๗ศ๑2.ป52แี 55กล65ศ๒ะ๒6.๑๒๑๒๒๒๒๒๑๕๒๒๒๕๓๒๘๒๔๒๔ อ.๒ ๒๑๒๒ ป.๖ ปีกาปรี๘๘ศกึก๙ศ๙.ษ๑๑๑๑๑๑2า๐๐๐๐๐๐552๑๑๑๑8๒๒๒๒5๑๑๓๓5๑6๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๕๕๕๕๕๕๕๕๕-๑๑๑๑ป๓2๗๗ี๗ก5ศ5. 825๒๒๑5๑๑๒๒๗7๒๒๒๒๓๓ ๒๑ อ.๑ ป.๕อ.๒ ๒๔ อ.๒ ปป.๔.๖ ๒๒ ๒๓ ปป.๓.๕ อ.๒ อ.๑ ปป.๒.อ๔.๑ ปป.๑.๓ ป.๒ อ.๑ ๑๓ ๑๗ 1๑.4.๔ขอ้ขมอ้ ูลมผูลลผสลมั สฤัมทฤธท์ิ ธาทิ์งกาางรกเารยีรเนรรยี ะนดรบั ะสดถบั าสนถศากึ นษศา1กึ .4ษาขอมลู ผลสัมฤทธทิ างการเรยี นระดบั สถานศกึ ษาารเรยี นระดบั สถานปศ.๑กึ ษา ๑๑ ดยนบั ทชนักุ กป4ล0รุมะถสมารศะกึ 5ษร0อาปยลีทรปะอปีสภ1ศวสภรศค1วขรยงัคาิทลิะังาทิิลณะคสษลณคภส-ป.วยษกอภปวยม6ุขก4าัตติ6มุขะาาะาาตัิตาาะศศา0องศศศิษศรอศศศิษรึกึกดังงาาากึกึดังานงาาากษษนาสสสกไขษษนาสสสไนฤทตตาาตตักนฤทตตาาตรตษฯฯฯยปรรรษรอ้ฯฯฯยรรรรเอ้์ี์์์ี์์ร1ีกม1ผยผยี0า0ูลลนลร7ผสะ0สศทมัขลัมึกีม ฤษอฤสีเกททงามั รน2ธ2ธฤด200ท์ิิ์ทกั 5เ8ทฉาาเ05รธงงล9ยีกกทิ์ยี นาาผารรรทารงระเเ33นะะรรก่มีด00ดียด9ยีเาีเบั 0กกนบันับรชณรทชทชเั้นรดฑั้นุกัน้กุ ยีเปกปกปทฉนลรลรงัร4ล41ะุ่มระุ่หมะ000่ยี ถถะสถ0สม99ผม9ดมาม5าด45.ลรศ.1รบศัศ7.2ะ2สะ8ึกึกกึ9ส9ษัม91111รษษร9ถ90000้อ5ฤา.้อ5.า00005า9า0ปย7ท0ปย1ปนลีทลีทธทีรศะี่ะ์ทิอ้ี่ 1ขี่กึ.1ขย๑าอ-ลษอ-ง6ะ-6งงก๖าน6นป6าสภ0ศวรักค0งัักาปทิิละรปณคสษปเภปวยกเมเขุรีกาตัิตกีาาะรารกีศศอยีศศิศษราียาึกกึดงัยีงาาาาานกษษนารสสสไรนนรนฤทตตตาาตศทศษฯฯฯยศทรรรรแึกีม่ี7กึกึ1ม่ี7ตษผ0ีเ0ษษ0ีเกล่ลากาาระสรด2รด2๒มั เ5าเฉ5ฤ๕ฉย5ลท5๕ลว89ี่ย28ธ9ีย่0ชิ0๘ผ0ทิผา่าา่ในงนนเกกเรกาณะณร9ด3รฑเ900ะรฑับ0ท์ดียท์ ั้งนบั๓ัง้หทชหมข99ันุก9ม95ด94้ึน91ก5ป5ด.44.11507.ไล.20ร.1207ป.08299ุมะ921111089999ถ111190000ส9.9.000000005ม9า..00005791รศ71ะึก5ษร0อาปยลที ระอี 1ขยล-อ66ะ0งนกั ปเรกี ยี านร70ศท. 4 ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ องผเู รยี น รอ้ ยละ 4 ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ องผเู้ รยี น 4 ผลการทดส. อบระดบั ชาตขิ อง 4 ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ องผเู้ รียน แนวทางการเขยี นรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsินsตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSึกAษRา) 7

๘๘ 1.51.5ผ๑ล.ผ๕กลา กรผาปรลรปกะราเะมรเนิปมกนิราะกรเามทรินทดดกสสอาอรบทบคคดววสาามอมสบสาคามวมาาารรมถถสพพาน้ื นื้มฐฐาาารนนถขพอนื้งผฐ้เูารนยี ขนอระงดผบั ูเ้ รชชยี าานตตริ ิ(ะ(NNดaaับttiชoioาnnตllิT(TeNesast:tt:iNoNTnT)a)l ร ะรดะบั ดชบัTนั้ ชeปนั้sรtป:ะรถNะมถTศม)กึศรษึกะษาดปาบั ปที ชที่ 3ัน้ี่ 3ประถมศึกษาปีที่ ๓ ป๑ร)ะ๑จ)กผ�ำาลปกผรกาลีกศารกา๑กึรศราษป)กึรศ ารษปผึกะารล๒ษเะมก๕๒าเนิมา๕๕๒นกิร๕8ป๕าก8ราร๕ทระ๘ทดเดมสสินออบกบคาควรวาทามดมสสสาอามมบาารครถวถพาพมน้ื น้ื ฐสฐาานมขาอรงถผพเู้ ้ืรนยี ฐนารนะขดดอบับั ชงชผาาตู้เตริ ิ(ีย(NNนTTร)ะ)ปดปรับระะชจจาําาํปตปีิ ี (NT) คะแนนเฉผลลผย่ี กรลาอ้กรยาปรลรปะะรผเะมลเชกินมชน้ัชานิก้ันร้ันปากปปปรรารรทะรระะทถะดถเถมดสมมมสศอนิศศอึกบกกึ ึกบษาคษษคราวาาวทปาปาดมีทมที ส่ี สี่๓อา๓ามบมปปาคารรรวระถะถาจจพมพํา�ำําน้ืสนื้ปปาฐฐีกีกมาาาานานรรรขศขศถอึกอึกพงงษษื้นผผาาู้เู้เฐรร๒๒ายีีย๕น๕นนข๕๕รรอ8ะ8ะ๘ดงดผบั บั ูเ้ชรชาียาตนติ ริ((NะNดTTบั))ชาติ (NT) ๖๕๔๓๒๐๐๐๐๖๐.๕.๔๐.๓๐.๒๐๐.๐๐๐๐๐๐๐๐.๐.๐๐.๐๐.๐.๐๐๐ค๐๐๐๐ะแคนะ๒แนน๙เ๒ฉน.๕๙ลเฉ๒.ี่ย๕ลร๔๒ยี่อ้ ๙ร๔ย.อ้ ๙๗ลย.ะ๘๗ลขะ๘๔อขง๖๔อโ.ง๖ร๖โง.ร๔๖เงร๔เียรนีย๑น๑๘๘.๕.ค๕๗คะ๗๔แะ๔แ๑น๑น.น๗.น๗เ๐ฉเ๐ฉล๔ลี่ย๔่ีย๐ร๐ร.อ้ ๗.้อ๗ยย๑ล๑ละะรร๒ะ๒ะ๕ด๕ดับ.บั.๒๒เเข๔ข๔ตต๕๕พพ๑๑ื้น้ืน..ทท๗๗ี่ี่ ๕๕ คคะะแแนนนนเเฉฉลล่ยี ย่ี รร้อ้อยยลละะรระะดดบั บั ปประรเะทเทศศ ๔๔๘๘..๕๕๖๖ ๔๔๗๗.๗.๗๔๔ ๔๔๕๕.๓.๓๐๐ ๒๔.๔๔ ๒๔.๔๔ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐๐.๐๐ ๐.๐๐ ด้านภาษา ด้านคํานวณ ด้านเหตุผล เฉลี่ยท้งั 3 ด้าน ด้านภาษา ด้านคํานวณ ดา้ นเหตุผล เฉลี่ยท้งั 3 ดา้ น รร้ออ้ ยยลละขะอขงอจงาํ จน�ำวนนวนนักนเรักยี เนรทยี ่ีมนีผทลมี่ กผี ารลปกราะรเปมนิระกเามรนิทดกสาอรบทคดวสาอมบสคามวาารมถสพานื้ มฐาารนถขพอืน้งผฐ้เู ารนยี น รรอ้ ะยดขลับะอชขงาอผตงเู้ิ รจ(Nยี าํ นT)รวะนชด้ันบัปกชเรระายี ถตนมิ ทศ(N่ีมกึ ษผีTลา)ปกชทีานั้ รี่ ๓ปรปะรเถมะมจินําศกปึกาีกษราทารดปศสึกที อษี่ บ๓าค๒ปว๕ารม๕ะจส8าำ� จมปําาีกแรานถรกพศตืน้ กึ าฐษมารานะขด๒อับ๕งค๕ผุณ๘เู้ รภยี านพ ระดับชาติ (NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาจปำ� ที แ่ี ๓นกปตราะมจรําะปดกี บัารคศุณกึ ภษาพ๒๕๕8 จาํ แนกตามระดับคุณภาพ ๔๔.๑๗ ๔๑.๖๗ ๓๗.๕๐ ๔๔.๑๗ ๓๖.๖๗ ๔๑.๖๗ ๓๕.๐๐ ๓๗.๕๐ ๓๒.๕๐ ๓๖.๖๗ ๓๕.๐๐ ๓๒.๕๐ ๘.๓๓ ๙.๑๗ ๖.๖๗ ๑๗.๕๐ ๑๖.๖๗ ๑๔.๑๗ ๘.๓๓ ๙.๑๗ ๖.๖๗ ๑๗.๕๐ ๑๖.๖๗ ๑๔.๑๗ ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก ปรบั ปรุง ด้านภพาษอใาช้ ด้านคํานวณ ดี ด้านเหตผุ ล ดมี าก ดา้ นภาษา ดา้ นคาํ นวณ ด้านเหตผุ ล ๒) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) 8๒) ผแ(Sลนeกวlfาทร-าปงAกรsาsะรeเเมsขsนิยี mนกeราnารยtทงRดาeนสpกอoาบrรtคป:วรSาะAมเมRสิน)าตมนาเรอถงขพอน้ื งสฐถาานนขศอกึ งษผา้เู รียนระดบั ชาติ (NT)

๒) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ประจำ� ปีการศกึ ษา ๒๕๕๗ - ๒๕๕๘ ๒.๑) เปรียบเทียบภาพรวมผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐาน ของผู้เรียนระดบั ชาติ (NT) และรอ้ ยละของผลตา่ งระหว่างปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๗ - ๒๕๕๘ ความสามารถ ปีการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ร้อยละของผลตา่ ง ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ระหว่างปีการศกึ ษา ดา้ นภาษา ๕๓.๗๗ ๔๙.๗๖ ดา้ นคำ� นวณ ๔๕.๑๔ ๔๑.๗ -๔.๐๑ ดา้ นเหตผุ ล ๕๑.๑๗ ๕๑.๗๕ -๓.๔๔ รวมความสามารถทั้ง ๓ ด้าน ๕๐.๐๔ ๔๗.๗๔ ๐.๕๘ -๒.๓๐ ๒.๒) เปรียบเทียบผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน ระดบั ชาติ (NT) ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๗ - ๒๕๕๘ จ�ำแนกตามร้อยละ ของระดับคณุ ภาพ ความสามารถด้านภาษา (Literacy) แนวทางการเขยี นรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsนิ sตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSกึ AษRา) 9

10 (แSนeวlfท-างAกsาsรeเsขsียmนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRิน) ตนเองของสถานศึกษา

๘ 1๑.5.๖ผผลลกการาทรดทสดอสบอรบะดทบัาชงกาตาขิรศองกึ ผษเู้ รายีรนะดบั ชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) 1) ผ๑ล)ก ผาลรทกดารสทอดบสทอาบงทกางรกศากึ รษศากึ รษะาดรบั ะชดาับตชิ า(Oตขิ-Nนั้ EพTืน้ )ฐปานระ(จOํา-ปNีกETาร) ศปึกรษะจา�ำ2ป5กี า5ร9ศกึ ษา ๒๕๕๘ ผลผกลากรทา๙รด๐ทส.ด๐อส๐บอทบาทงากงากราศรกึศึกษษาราระะดดับับชชาาตตขิ ขิ ้นั ้ันพพ้ืนื้นฐฐาานน ((O--NETT))ปปีกีกาารรศศึกึกษษาา2๒5๕5๕9๘ชน้ัชปน้ั รปะรถะมถศมึกศษกึ าษปาีทปี่ 6ีที่ ๖คะแนนเฉลี่ย ๘๐.๐๐ ๗๐.๐๐ ๖๐.๐๐ ๕๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๓๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๐.๐๐ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมฯ ภาษาองั กฤษ ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมฯ ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉล่ียของโรงเรยี น ๕๙.๐๗ ๖๒.๒๖ ๕๙.๐๗ ๖๒.๘๕ ๗๙.๙๓ คะแนนเฉลย่ี ระดับจงั หวัด ๕๓.๑๓ ๕๐.๘๗ ๔๖.๕๖ ๕๔.๔๑ ๕๑.๔๓ คะแนนเฉล่ีย สังกัด สพฐ.ทงั้ หมด ๕๒.๖๗ ๔๙.๒๐ ๔๕.๙๗ ๕๓.๕๓ ๕๑.๗๖ คะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศ ๔๙.๓๓ ๔๓.๔๗ ๔๒.๕๙ ๔๙.๑๘ ๔๐.๓๑ หมายเหตุ : คะแนนเฉล่ยี ทุกวชิ าของนักเรียน สงู กวา่ คะแนนเฉลยี่ ทั้งระดับจังหวัด ระดับสังกัด สพฐ. และสูงกว่า คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ ผลกผาลรกทาดรสทอดบสทอบางทกาางรกศาึกรศษึกาษราะรดะับดชบั าชตาิขตั้นขิ พ้นั พื้นน้ืฐาฐนาน(O(O-N-NEETT))ปปีกกี าารศึกษา ๒2๕5๕5๘9ชช้นั น้ั มมธั ัธยยมมศศึกึกษษาปาปีทที่ ๓่ี 3 ๗๗๓๓..๐๐๔๔ คคะะแแนนนนเเฉฉล่ีลี่ยย ๓๓๔๔..๗๗๘๘ ๔๔๙๙..๗๗๑๑ ๕๕๔๔..๑๑๙๙ ๔๔๐๐..๙๙๕๕ ๓๓๙๙..๙๙๘๘ ๓๓๗๗..๘๘๑๑ ๓๓๙๙..๐๐๗๗ ๔๔๙๙..๙๙๓๓ ๓๓๑๑..๘๘๙๙ ๓๓๗๗..๗๗๕๕ ๓๓๘๘..๖๖๒๒ ๔๔๖๖..๗๗๓๓ ๒๒๙๙..๓๓๑๑ ๓๓๐๐..๖๖๑๑ ๔๔๖๖..๗๗๙๙ ๒๒๗๗..๔๔๖๖ ๓๓๕๕..๐๐๕๕ ๒๒๙๙..๖๖๕๕ ๓๓๕๕..๒๒๐๐ ภาษาไทย ค ณิตศาสตร์ วิท ยาศาสตร์ สั ง ค ม ศึ กษา ภาษาอัง ก ฤ ษ คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน คะแนนเฉลยี่ ระดับจงั หวัด คะแนนเฉลี่ย สังกดั สพฐ. คะแนนเฉล่ีย ระดับประเทศ หมายเหตุ : คะแนนเฉลีย่ ทุกวิชาของนักเรยี น สงู กวา่ คะแนนเฉลย่ี ระดับสังกัด สพฐ. ทั้งหมด และสูงกว่าคะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศ แนวทางการเขียนรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsนิ sตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSกึ AษRา) 11

๑๒ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๖ ภาษาองั กฤษ ๓๓๘๙.๔๔.๓๖๑๑.๘๙ ๔๖.๙๕ ๖๔.๑๙ สังคมศกึ ษา ๔๔๖๖..๗๗๔๓๙๙.๙๓ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ๓๘๓.๙๗๔.๙๐๔.๕๙๔๓๔.๑๙ ภาษาไทย ๓๓๐๑๓..๗๒๒๘๕.๖๑๓๗.๘๑ ๓๒๓๓.๙๕๕๓๘..๖๒๗.๐๕๐๕ คะแนนเฉลีย่ คะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ คะแนนเฉลีย่ สังกดั สพฐ.ทงั้ หมด คะแนนเฉลีย่ ระดบั จงั หวดั คะแนนเฉลี่ยของโรงเรยี น หมายเหตุ : คะแนนเฉลยี่ วชิ าภาษาองั กฤษ สังคมศกึ ษา และวทิ ยาศาสตร์ของนกั เรยี น สงู กว่า คะแนนเฉลย่ี ทกุ ระดบั ป ระจ2�ำป) กี ปเา๒ปรีก)รศ ายี เรึกปบศษเรึกทาียษยี ๒บาบ๕เผ2ท๕ลี5ย๗กบ5า-7ผร๒ลท-๕กด2าส๕5รอ๘ท5บ8ดทสางอกบาทรศากึงษกาารระศดึกับษชาารตะิขดัน้ ับพช้นื าฐตาิขน้ัน(พO้ืน-NฐEาTน) (ปOร-ะNจEาT) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พ้นื ฐาน ปีการศกึ ษา ๒๕๕๗-๒๕๕๘ ผลการทดสอบทางการศึกรษะาดรบั ะชด้นัับปชราะตถิขมั้นศพึก้ืนษฐาาปนีท่ี ป๖กี ารศึกษา 2557-2558 ๓๙.๖๐ ๔๘.๐๙ ๓๗.๕๓ ๔๗.๒๓ ๔๐.๘๒ ๓๕.๕๔ ๔๐.๐๒ ๓๑.๖๘ ๓๓.๕๕ ๓๒.๒๑ ปี ๒๕๕๗ วทิ ยาศาสตร ปี ๒๕๕๘ ไทย คณติ สงั คมศกึ ษา อังกฤษ 12 (แSนeวlfท-างAกsาsรeเsขsียmนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRิน) ตนเองของสถานศึกษา

๑๐ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน ปีการศึกษา ๒๕๕๗-๒๕๕๘ ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ๔๑.๕๓ ๔๐.๒๒ ๓๗.๘๙ ๓๒.๘๘ ๓๒.๖๗ ๓๑.๑๕ ๒๗.๗๕ ๒๖.๙๐ ๒๗.๔๖ ๒๖.๒๙ ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร ปี ๒๕๕๘ ไทย คณติ สังคมศึกษา องั กฤษ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๗-๒๕๕๘ ๑๑ ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๔๒.๘๑ ๔๑.๓๘ ๓๒.๐๓ ๓๖.๐๒ ๒๙.๒๔ ๓๐.๔๐ ๑๘.๙๐ ๒๑.๖๗ ๑๗.๑๙ ๒๐.๑๕ ปี ๒๕๕๗ วิทยาศาสตร ปี ๒๕๕๘ ไทย คณติ สังคมศึกษา อังกฤษ แนวทางการเขยี นรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsนิ sตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSึกAษRา) 13

ค่าเฉลีย่ ของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนระดบั สถานศึกษาแตกต่างจากระดบั ชาตไิ มเ่ กิน 1 หนว่ ย คา่ เฉลี่ยของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดบั สถานศึกษาตาํ กว่าระดบั ชาติมากกว่า 1 หน่วย ไม่มีขอ้ มูล ๑.๖ ขอ้ มูลการใชแ้ หลง่ เรียนรภู้ ายในและภายนอกโรงเรยี น ปีการศกึ ษา 255๙ ๑.๗ ขอ้ มลู การใชแ้ หลง่ เรยี นรภู้ ายในและภายนอกโรงเรยี น ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ จําำ� นวนนกั เรยี นท่ีใช้แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘๙ ๓๕๐ ๗๖ ๖๘ ๓๐๐ ๘๘ ๖๗ ๒๕ ๘๙ ๒๕๐ ๑๒๕๔ ๓๕ ๔๗ ๗๗ ๕๖ ๒๐๐ ๓๓ ๗๖ ๔๕ ๒๔ ๓๕ ๙๐ ๑๕๐ ๕๐ ๓๔ ๗๘ ๑๐๐ ๕๕ ๘๗ ชน้ั ป. ๖ ๓๐ ๖๖ ห้องสหกรณ์ ๕๐ ๕๐ ๖๐ ๕๕ ๖๗ ๘๐ ๐ ชั้น ป. ๑ ชัน้ ป. ๒ ช้ัน ป. ๓ ชัน้ ป. ๔ ช้นั ป. ๕ ห้องสมุด หอ้ งวิทยาศาสตร์ แปลงเกษตร สวนพฤกศาสตร์ จ�ำนวนนักเรยี นทีใ่ ชแ้ หล่งเรยี นรู้นอกโรงเรยี น ปีการศึกษา ๒๕๕๘ 14 แ(Sนeวlfท-างAกsาsรeเsขsยี mนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRิน) ตนเองของสถานศกึ ษา

ตัวอย่างส่วนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ระดบั คุณภาพ : ดีเยย่ี ม ๑. กระบวนการพฒั นา สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย ครูจัดการเรียนรู้ ให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ท้ังรูปแบบ การระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ แบบใช้กระบวนการคิด กระบวนการใช้ปัญหาเป็นหลัก และเน้นเรื่องการอ่านออกของผู้เรียนเป็นเรื่องส�ำคัญที่สุด โดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกและเขียนได้ตั้งแต่ระดับช้ัน ป. ๑ พัฒนาครูทุกคนให้มี ความสามารถในการน�ำเทคนิควิธีสอนให้ตรงตามศักยภาพผู้เรียน ใช้ส่ือเทคโนโลยีในการ จัดการเรียนการสอน มีแหล่งเรียนรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้องสมุด E – Library ครูในสายช้ันเดียวกันร่วมกันก�ำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลแบบ บรู ณาการ ครเู นน้ การใช้ค�ำถามเพื่อพัฒนาทกั ษะการคิดของผูเ้ รยี น นอกจากน้ี สถานศึกษาได้มีการด�ำเนินการเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพ่ือให้ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เน้นการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่เหมาะสมกับวัยของ ผู้เรียน และตามนโยบายของผู้บริหารเรื่อง “อิ่มท้อง สมองดี มีวินัย ปลอดภัย โตไปไม่โกง สร้างภูมิคุ้นกัน และรู้เท่าทันส่ือและส่ิงไม่พึงประสงค์” โดยการจัดค่ายคุณธรรมกับนักเรียน ทุกระดับช้ัน จัดกิจกรรมการพัฒนาให้เหมาะสมกับวัย พัฒนาคุณธรรมผู้เรียนตามหลักสูตร โตไปไม่โกง เน้นให้ผู้เรียนมีวินัย ซือ่ สัตย์ รับผดิ ชอบ และมีจติ สาธารณะ มรี ะบบการแนะแนว และการดูแลสุขภาวะจิต น�ำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนการสอน และมีการเรียนรู้ในโลกกว้าง การเข้าไปศึกษากับภูมิปัญญาในชุมชนรอบๆ สถานศึกษา จัดกิจกรรมสถานศึกษา “อ่อนหวาน” ให้ความรู้เร่ืองพิษภัยจากขนมกรุบกรอบ น�้ำหวาน น�้ำอัดลม ส่งเสริมการออกก�ำลังกาย และเพิ่มเวลารู้เรื่องอาชีพ เช่น การร้อยพวงมาลัย การผลติ ของใช้ กระทงใบตอง เปน็ ตน้ ๒. ผลการดำ� เนนิ งาน ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการ ผู้เรียนสามารถอ่านออกและอ่าน คล่องตามมาตรฐานการอ่านในแต่ละระดับชั้น สามารถเขียนสื่อสารได้ดี รู้จักการวางแผน สามารถทำ� งานร่วมกับผ้อู นื่ ได้ดตี ามหลักประชาธปิ ไตย กล้าแสดงออก และแสดงความคดิ เห็น แนวทางการเขยี นรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsินsตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSึกAษRา) 15

หรือวิพากษ์ได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสวงหาความรู้จากส่ือ เทคโนโลยีได้ ดว้ ยตนเอง รวมท้งั สามารถวเิ คราะห์ จำ� แนกแยกแยะได้วา่ ส่งิ ไหนดี ส�ำคัญ จ�ำเป็น รวมท้ังร้เู ท่าทัน ส่ือและสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้เรียนรู้และตระหนักถึงโทษและพิษภัยของสิ่งเสพติด ต่างๆ เลอื กรบั ประทานอาหารท่ีสะอาด และมีประโยชน์ รักการออกกำ� ลังกาย นักเรียนทุกคน สามารถเล่นกีฬาได้อย่างน้อยคนละประเภท ยอมรับในกฎกติกาของกลุ่ม ของสถานศึกษา ของสังคม มีทัศนคติท่ีดีต่ออาชีพสุจริต รวมถึงมีความเข้าใจเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคค๒ล๒ และระหว่างวัย ท้ังนี้ มีผลการดำ� เนนิ งานเชงิ ประจักษ์จากการประเมนิ ในด้านตา่ ง ๆ ดังนี้ คอา่วนามอค(ส่าวป(คใปปนนาาว.ม๑รม.กา๑(ะสาปมาป–เรารป.ส–ด๑รมถอปราน็ะใาป่าะม.–นเร๔น.ดเา๔ถกดป)นร็ ใา)น็ถ.นร๔ก)าร ในกร้อารยผอลล่าะกผนขาลชอชรก้ันงน้ัปาจปปรรำ� ระปรนะเะรมวถถะนนิมมเมนคศศนิวกักึ กึ คาเษผษผรมวาลยีลาาสปผกนปกมาทีลาทาทีสมรกร่ี่ีม่ีาา๑ปป๑ามผีรรรรถา–ลป–ะะรใกเรเ๔ถน๔มมาะใกินรนิเจน(มาปรำ�กรนิ ระแาอะดนร่าเบัอมกน่าดตินขนเีาคอยขมวงีย่ อรนามงะมัก)นดสเักบัราเยี คมรนยีณุานรภถาพ ๒๒ (ระดับดเี ย่ยี ม) ๔๐.๙๔๘๐๕.๕๙.ช๘๗๕๕๔ั้น.ป๗๓๔.ร๒ะ๘ถ๖๓ม.๖ศ๒๓กึ๔.๓ษ๒๖๔า.๓ป๗๐๖๖ที.๐.๔๗่ี๐๕๖๑๔.๔๕–๕๕.๔๔๔๕๕.๕๔(๕ร.๕ะ๐๕ด.๐บั ๐๕ด๑เี ๕ย.๗๑ี่ย๙.๗ม๔๙)๘๔.๐๒๘.๑๐.๒๐๑ร้อยละ ร้อยละ ชัน้ ป. ๑ ๓.๒ช๘้ัน ป. ๒ ๐.๐ช๐ัน้ ป. ๓ ๐.๐ช๐นั้ ป. ๔ ๐.๐๐ ชนั้ ป. ๑ดีเยี่ยมช้ัน ป.ด๒ี ตอ้ชง้นั ปปรับ. ๓ปรงุ ชั้น ป. ๔ ความสคาวมาามรสถาใมนากราถร ค๒ว๕.า๐คม๐๔ว๑รสาค.อ้๖าม๔ดิ ๗ยม๑สค๒ล.า๖า๕ำ�๓ะร๗ม.น๔๐ขถา.๐ว๔ใอ๓ร๔๘นณ๔งถ๙ช.กจ๔.ในั้๔๔๘นาแ�ำ๓๙ชปรนกล.้ัน๔รสาวะ๓๓จะปอื่รค๔นำ�ถรส.สดิ๗น๓แมะ๔อ่ืา๒ด๔วนกัถ๑ศร.สเี ๗เิ.ยเกม๔๖กึคา๒รีย่ค๑๗ตศษรยีร๑ม.ิด๖ากึาน๘าค๓๗คมะษ.ป๕ท๐ิดหาํร.า๖๓ที๐ี่มคนะ์ป๕๖๓่ีชีคดาํดว.๗๑ที๐ีนวนั้บัณ.๖๓๖ี่ วาป๗๑–ค๖มณ๑.๖แรณุ 6๘–สต๖ะล.ภ๑้อแาถ6ะ๓๘งมาลม(๔คปรพ๓าะ.๓ศดิ๕ระ(๕ร๔ค๒ับกึรว๓ด..ถ๗ดิ๕ะป๕ษเิบั๑๒ใวคด๒.ร๗นาด๓เิงุรบั๑๓ปคก.)ีา๘๒ดรีทาะ๓๑.๒)ีาร๒หี่๓๒ะ๑.ส๒๘ข์ห๓๒อื่.๘อ–๘ข์ ส๙.ง๘อา๖๒น๙งร๐กัน.๐เกั ร๐เียรนียน สแล่ือะสสแคคาลรือ่วดิคใ(แรนาะสวลิดคะมคากเิะคิดดคสริดาคำ�คบัรารวคนดิามาํสดเิ ิดวคะวนา่อืี)เิณคหรรวคสาถําณ์ ราะนใรานหวะกณ์ หา์ร ร้อยละ๒๕.๐๐๘.๓๓๒๕.๐๐ ๑๓.๗๙ ๕.๕๖๑๘.๐๖ ๙.๐๙๑๘.๑๘ ๕.๙๒๕๓.๘๑ ๘.๘๒๙๐.๐๐ ๒.๓๐๑๓.๗๙ ๕.๕๖ ๙.๐๙ ๕.๙๕ ๘.๘๙ ๘.๓๓ ป. ๓ ชัน้ ป. ๔ ช้นั ป. ๕ ชั้น ป. ๖ ชนั้ ป. ๑ ชน้ั ป. ๒ ๒.๓ช๐น้ั ชน้ั ป. ๑ ดชเีนั้ ยีย่ปม. ๒ ชด้นั ี ป. ๓พอใชช้ัน้ ป. ๔ตอ้ งชปนั้ รบั ปป.ร๕ุง ชน้ั ป. ๖ ความสามารถในการ ความสาดมเี ยา่ยีรมถในกาดรี ใชเ้ ทพคอใโชน้ โลยขีตอ้ งงปนรกั ับเปรรยี ุงน ใช้เทคควโานมโสลายมี ารถในการ ชคนั้ วปารมะสถามมศากึรษถใานปกที า่ีร๑ใช–เ้ ท6คโ(นระโลดยบั ขี ดอีเยงนยี่ กมั เ)รียน 1ใช6เ้ ทคโ(แSนนeโวlลfทย-าีงAกsาsรeเsขsียmนeรnายtงRา๔eน๑pก.๖oา๗rรtป:รSะ๔Aเ๘มR.๙นิ )๑ชตนน้ั เปอรงขะ๔อถ๖ง.ม๕สศ๘ถกึานษศาึกป๔ษที๕า.ี่๒๑๔ – 6 ๕(ร๓ะ.๕ด๗บั ดเี ยี่ย๔๘ม.๗)๒ ๕๓.๕๗

ประเดน็ ๒.๓๐ ผลก๕.า๕ร๖ประเมนิ ๕.๙๕ ผลการทดสอบ ระดบั ชาติ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2559 ใคชว้เาทมคคใสนโวานกามโมาาลรปสรยใราถชี ะมใ้ เนาดรก็นถาร ชนั้ ป. ๑ ชนั้ ป. ๒ ชัน้ ปช.ั้น๓ประถชมั้นศปึกษ. ๔าปที ่ีช6น้ั ป. ๕ ช้นั ป. ๖ เทคโนโลยี ดีเยย่ี ม ดี พอใช้ ต้องปรับปร๗งุ๙.๙๓คะแนนเฉ ่ลีย (ระดบั ดเี ยยี่ ม) ร้อยล๕ช๙ะั้น.ข๐ป๕๗อ๕๓ร๒คง.๑ะ.๔๖จว๓๙ชถ๗�ำา.ม๓ัน้ นม๓ศปวส๖กึรน๒าษะ.มน๒ถ๕า๖าัก๔ม๐ปร๙เ.๔๘ศร.ถีท๒๓๗ียกึใ๐ผี่.๔นน๑ษล๗กทาก๕–าปมี่า๙ร๖.คีรที๐ใป๗ว๔ช่ี๔๑๖๕รา้เจ..๔ทะม๕๙�ำ๒–๖เ๗คสแ.ม๕โ6าน๙นิ นมก๖(โา๒ตรลร.ะ๘ายถ๕ดม๕ขี ๕ใ๓บัรน๔อ๔.๕ะ.ด๙กง๔๓ด.๑นเีา๑ยบั๘รกั ีย่ คใเชมรณุ ยี้เ)ทภน๕คา๕๑โพ๑.น๔.๗๓โ๔๖ล๐.ย๓๑ี ผลการทดสอบ ๕๓.๕๗ ระดบั ชาติ ๔๘.๙๑ ๔๘.๗๒ ๔๑.๖๗ ๔๖.๕๘ ๔๕.๒๔ ๓๒.๖๑ ๓๔.๒๕ ๓๔.๕๒ ๒๗.๓๘ ๓๒.๐๕ ๒๕.๐๐ ้รอยละ ๑๔.๒๙ ๑๗.๘๖ ๑๖.๖๗ ๑๖.๖๗ ๑๖.๖๗ ๑๓.๐๔ ๑๖.๔๔ คะแน๕น.๔เฉ๓ลี่ยของโรงเรยี ๒น.๗๔ คะ๕แ.น๙น๕เฉลยี่ ระดบั จ๑ัง.ห๑ว๙ัด ๒.๕๖ ชน้ั ป. ๑ ชั้นคะปแน. น๒เฉล่ียชสัง้นั กัดปส.พฐ๓.ท้ังหมชดน้ั ปค.ะ๔แนนเฉชลยี่น้ั ระปด.บั ป๕ระเทศชน้ั ป. ๖ คะแนนเฉลย่ี คทะุกแวนิชนาเขฉอลง่ียนรักะดดเรับีเยี ยปนี่ยรสะมเูงทกศวา่ คะดแี นนเฉลพยี่ ทอ้ังใรชะด้ ับจังหวตัดอ้ รงะปดับรสับังกปัดรสงุ พฐ. และสูงกวา่ สรารอ้้อมยยาลลระปถะขรแพขอกะงอื้นนจจปงฐก�ำํารจลนาปะ�ำาวจนกี งนนําขกาปนวาอรีกกันรศงาเศนรผรึกึกียศักู้เษษนรกึ เาาทรยีษขียี่มาน๒น้ั ีผนร๒พ๕ลทะ๕ื้นก๕ด่มี๕ฐา๘ับรา๙ีผปนชลจจรา(กะาํ�ำNตเแาแมTนิรินน)(กปNผชกตรลTน้ัาตะสมป)าเมัรรมมชฤะะินดรทถ้นั ัะบมกธปด์ิผคศารู้เุณกึับรระษทียภคถานาดุณมปพตสศทีาภอกึมี่ า๓บหษพลคาักปวสาีทตู มี่ร๓ ๓๗.๕๓๐๒.๕๔๐๔.๑๗๓๖.๖๗๔๑.๖๗๓๕.๐๐ ๘.๓๓๙.๑๗ ๖.๖๗ ๑๗.๕๐๑๖.๖๗๑๔.๑๗ ปรับปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก ดา้ นภาษา ด้านคํานวณ ดา้ นเหตุผล แนวทางการเขียนรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsนิ sตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSกึ AษRา) 17

๒๓ ปรระะเเดดน็ น็ ผผลการรปปรระะเเมมนิ ิน ผลการทดสอบ รอ้ ผยลลกะาขรอทงดคสะอแบนทนาเฉงกลาี่ยรผศลกึ กษาารรทะดดสับอชบาทตาิขง้นั กพานื้รศฐากึ นษา(รOะ-ดNบั EชTา)ตปิขกี ้ันาพรศนื้ กึ ฐษานา 2(O5-5N9ET) ระดบั ชาติ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ปกี ารชศัน้ ึกปษราะถ๒ม๕ศ๕ึกษ๘าปจทีำ� แ่ี 6นกตามระดับคณุ ภาพ ๗๙.๙๓ คะแนนเฉ ่ลีย ๕๙.๐๗๕๓๕.๑๒๓๔.๖๙๗.๓๓๖๒.๒๖๕๐๔.๘๙๗๔.๒๓๐.๔๗๕๙.๐๗๔๖.๔๕๕๖๔.๙๒.๗๕๙๖๒.๘๕๕๔๕.๔๓๑๔.๕๙๓.๑๘ ๕๑.๔๓๕๑.๗๖ ๔๐.๓๑ คะแนนเฉล่ียของโรงเรียน ๒๔ คะแนนเฉลย่ี ระดบั จงั หวดั คะแนนเฉลย่ี สงั กดั สพฐ.ทงั้ หมด ประเดน็ ผลการประเมนิคะแนนเฉล่ยี ทุกวชิ าของนักเรียน สูงกวา่ คะแนนเฉลี่ยทั้งระดับจังหวัด ระดับสังกัด สพฐ. และสูงกวา่ คปณุระลสักงคษคุณณข์ ลอะักงทผษพ่ี เู้ ณรึงยี ะน คะแนนเฉล่ียระดับประเทศ ทพี่ งึ ประสงค์ รอ้ ยรลอ้ ะยชลขะ้ันอขแงปผอกจงลรนจำ� ะกกาํนถขลนาวมาอรวนงนปศงกนนนรึกาักกัระกัษเศเรเราึกมยีรยีษปนยีนิ นาทีทนนขี่ทม่ีชน้ักั ีผ๑่ีมพนั้เลรผี้ืนกป–ียลฐารนรา๖กะปนดาถรจร(า้ะมNป�ำเนมTศแรคนิ)ึกะนผณุชเษกลมั้นธสาตปนิ รมัปราดรฤะทีมทมา้ถรี่มนธ๑ะิ์ผจศคดู้เกึรรุณ–ษบัิยยี ๖านธคปตรุณทีารม่ีมภ๓หาลจพักรสิยูตธรรรม ของผเู้ รยี น ประจําปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ จาํ แนกตามระดับคุณภาพ ชน้ั ป. ๖ ๕๒.๙๔ ๔๗.๐๖ ช้นั ป. ๕ ๕๗๓๗.๑๗๑.๔.๕๔๓๐๓๒.๕๐๔๔.๔๑๒๗๒๓.๘๘๖๖..๕๖๗๗๔๑.๖๗๓๕.๐๐ ดเี ยย่ี ม ชน้ั ป. ๔ ชั้น ป. ๓ ๗๕.๗๖ ๒๔.๒๔ ดี ๑๗.๕๐๑๖.๖๗๑๔.๑๗ ชั้น ป. ๒ ๗๗.๕๕ ๒๒.๔๕ ชัน้ ป๘..๓๑๓ ๙.๑๗ ๖.๖๖๗๐.๖๑ ๓๙.๓๙ ผลการปปรระับเมปรนิ งุ นกั เรยี นดพา้ อนใชก้ ารมสี ว่ นรว่ ดมี ในการอนุรดกั มี ษาณก ธ์ รรมชาติ ขอดง้านนภกั าเษรายี นชนั้ ดป้านระคาํถนมวศณกึ ษาปดทีา้ น่ี ๑เหต–ุผ๖ล 18 (แSนeวlfท-างAกsาsรeเsขsียmนeรnายtงRาeนชชชชชpัันนัันนันก้้้้้ oาปปปปปrรt.....ป:๒๖๕๔๓รSะAเมRิน) ตน๐เ๐๐อ.๐..๐๐ง๐๐.ข.๐๐๐๐๐อ๐๐งสถานศึก๒๒ษ๖๘า.๓๙.๒๑๗๓๑.๔๘.๒๗๘๔๕.๖๕๕๔.๓๕ ๖๕.๒๒ ๖๘.๑๘ ๗๓.๐๓ ๗๑.๗๙

ชชัน้้นั ปป.. ๒๓ ๗๗๕๗..๗๕๖๕ ๒๒๔๒..๒๔๔๕ ชช้ันัน้ ปป.. ๑๒ ๖๐.๖๗๑๗.๕๕ ๓๙.๓๒๙๒.๔๕ ชั้น ป. ๑ ๖๐.๖๑ ๓๙.๓๙ ประเดน็ ผลดดกีเเีายยรียีย่่ ปมมระเมินดดีี ร้อยละของจำ� นวนนักเรียนทมี่ ผี ลการประเมินการมสี ว่ นร่วม ผผลลกกาาชชชชชชชชชชชชรรั้ั้น้้นัันัน้ั้นน้ั้นัั้ันนนั้น้น้ั ปปปปปปปปปปปปปปรร............ ะะ๑๑๔๕๓๕๔๒๓๒๖๖ใเเนมมกนนิิ าขขนนรอออกกัั งงนเเ๐๐นน๐๐รรุร๐๐๐๐....ียยีกกัั๐๐ัก๐๐๐๐....๐๐๐๐นน๐๐๑๑เเษ๐๐..จ๐๐รร๐๐๐๐๐๐ดด์ธำ�๐๐ยีีย..ราา้้แ๖๖นนรนน๔๔นชชมกกกนน้ัั้ชาาตาปปรราต๒๒มมรรม๒๒ิ๖๖ะะสสีีรช๘๘..ถถ๓๓ะ๙๙วว่่นั้..๒๒ด๑๑มม๗๗๓๓นนป๑๑๓๓..บัศศ๔๔๘๘รรร๖๖ค..ึกึก๒๒่ว่วะ๗๗..ุณ๑๑ถษษมม๘๘๗๗ม๔๔ใใภาานนศ๕๕ปปาึก..กกพททีี๖๖ษาา๕๕่ีี่๕๕รรา๑๑๕๕๓๓ออป๔๔..๑๑––นน..ที ๓๓๙๙๖๖ุรุรี่๕๕๑กกัั ๖๖ษษ–๕๕๖๖ณณ..๖๘๘๒๒๗๗ธธ์์๒๒..๗๗๑๑๑๑รร๓๓๘๘..รร๗๗..๐๐มม๙๙๓๓ชชาาตติิ พอใช้ ดี ดีเย่ยี ม ผผรอ้ลลยกกลาาะรรขปปอรรงใะะจขนเเำ�มมอคนนนิิงววนานนนมกักกัั นเเเปรกัรร็นยียยีีเรพนไนนียทอชดดนยใน้ัาา้้ทชชนนป้ี่มั้นคครีผปะววลถรดาากะมมมีาถรศภภมปกึาาศรดคคษกึะีเภภายเษมปมูมูย่ี าินมิใิใทีปจจดี่ทใใ้า๑ี่นน๑–คค–วว๖าา๖มมภเเปปาคนน็็ ภไไททมู ยยใิ จ ของนกั เจรำ�ียแนนชกน้ั ตปารมะรถะดมบัศคึกณุษภาปาพที ่ี ๑ – ๖ ๑๑.๗๖ ช้นั ป. ๖ ๗.๖๑๙๑.๗๖ ๘๘.๒๔ ชช้ันั้น ปป.. ๕๖ ๗๗.๔.๖๑๙ ๘๘๙.๒๒๔.๓๑ ชชัน้นั้ ปป.. ๔๕ ๔๗.๔.๔๑๑ ชชั้นั้น ปป.. ๓๔ ๓๔.๔.๔๕๑ ๙๙๒๒..๓๕๑๙ ชชนั้้นั ปป.. ๒๓ ๐.๓๐.๐๔๕ ๙๙๒๕.๕.๕๙๙ ชชนั้ั้น ปป.. ๑๒ ๐.๐๐ ๙๙๖๕..๕๕๕๙ ชั้น ป. ๑ ๙๖.๕๕ ๑๐๐.๐๐ ดี ดีเยีย่ ม ๑๐๐.๐๐ ดี ดีเย่ียม แนวทางการเขียนรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsินsตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSกึ AษRา) 19

๑๙  ประเปดรน็ ะเด็น ผรลท้อกายางขลรจอะปิตสผงรขุนภละภกัเกมู มาเาคิ รวินรุ้มยี ะปนขนกทรักอันชาะเง้นังรเแมนจียปลนิิตักนระเนะดรภคถักา้ยีูมวมเนนริคาผศผกยีชมมุ้ลกึลานน้ัเกกรษปกดปันายาา็นา้รรอรปนแธปะปมีทรลกถรรรรี่าะะมับะ๑มรคเศเมคยตวม–ึกนิวออ่านิ ษาม๖มสามรเงั ปปทับคคน็ทีีอ่ิดมคยธ่ีเวห๑ทรู่ใานรน็อี่ม–มรขยค๖ะต่ใูอิดด่อนงเับหสรผดะัง็นู้อคดีเขน่ืยมบั อย่ี สดงมผขุเี ยู้อภีย่ ่ืนามวะ ๑๐๐.๐๐ ๕๘.๓๖๓๖.๖๗๗๕.๘๐๓.๐๓๓ ๗๕.๐๐๙๓.๓๓ ๖๔.๒๗๙๑.๗๔๘.๓๕๙๗๒.๘๖ ๘๓.๙๙๙๓๑.๑๖๓..๖๖๖๗๗๗ ๘๘๕๘.๙๘๘.๒.๕.๒๙๒๕๔๔๙ ๙๙๙๙๔.๔๖๖...๗๔๔๗๔๙๙๔ ๙๐.๐๐ ๗๕.๐๐ ๘๐.๐๐ ร้อยละ ๗๐.๐๐ ๕๐.๐๐ ๖๐.๐๐ ๕๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๓๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๐.๐๐ ชนั้ ป. ๑ ชนั้ ป. ๒ ชนั้ ป. ๓ ชนั้ ป. ๔ ชนั้ ป. ๕ ชนั้ ป. ๖ džŝƐdŝƚůĞ การยอมรับความคดิ เหน็ ผู้อ่นื สุขภาวะทางจิต มภี ูมิคุ้มกันตนเอง คานึงถึงความเป็ นธรรมต่อสังคม รอ้ ยละขรออ้ งยจลำ� ะนขวอนงจนาักนเวรนยี นนกั ทเรีเ่ ขียนา้ ทรว่เี ขมา้ โรค่วรมงโคกรางรกสาง่รเสสง่ รเสิมรคมิ ณุ ธรรม คุณจธรรริยมธจรรริยมธรรม ๙๘.๒๔ ๙๖.๔๙ ๙๓.๓๓ ๙๒.๘๖ ๙๓.๓๓ ๘๓.๓๓ ชั้น ป. ๑ ชั้น ป. ๒ ช้ัน ป. ๓ ชนั้ ป. ๔ ช้นั ป. ๕ ช้นั ป. ๖ ๔. จดุ เดน่ ผ้เู รียนอา่ นหนังสือออกและอ่านคลอ่ ง รวมทัง้ สามารถเขยี นเพอื่ การสอื่ สารได้ทุกคน สามารถใช้ เทคโนโลยีในการแสวงหาความรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม มีคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) สูงกว่าระดับชาติ และมากกว่า รอ้ ยละ2๕0ผ๐ู้เรทยี แ(ุกนSนกeมวlลีสfทมุ่ ุข-าสงภAกาsาารsพรeะเรsขทs่าียm่มี งนีกกeราาnารยยtทงแRาดขeน็งสpกแoอารrรบtงปแ:รมลSะีสAะเมRมตนิ)ร่อตรเนนถเ่ือภองงาขมพอาทงโสาดถงยกาตนาลศยอึกแดษลาะนา้ หนกั ส่วนสูงตามเกณฑ์ มรี ะเบยี บ วินัย จนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา เป็นท่ียอมรับของชุมชนโดยรอบในเร่ืองความมีวินัย เคารพกฎ

๓. จุดเดน่ ผูเ้ รยี นอา่ นหนงั สอื ออกและอา่ นคล่อง รวมทงั้ สามารถเขียนเพอ่ื การส่ือสารได้ทกุ คน สามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนอยู่ในระดับดีเย่ียม มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) สูงกวา่ ระดบั ชาติ และมากกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ ทุกกลุม่ สาระทม่ี กี ารทดสอบและต่อเนอื่ ง มาโดยตลอด ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน�้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีระเบียบวินัย จนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา เป็นท่ียอมรับของชุมชนโดยรอบในเรื่อง ความมีวินัย เคารพกฎกติกา มารยาทของสังคม ได้แก่ การเขา้ ควิ ขึน้ รถโดยสารสาธารณะ ๔. จุดควรพัฒนา ผู้เรียนในระดับชั้น ป.๑ – ป.๓ ยังต้องเร่งพัฒนาด้านการน�ำเสนอ การอภิปราย และแลกเปล่ียนเรียนรู้อย่างสมเหตุสมผล และต้องพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ ไดอ้ ย่างเหมาะสม ผเู้ รียนในระดับช้ัน ม.๑ – ม.๓ ยังต้องไดร้ ับการส่งเสรมิ ในด้านทศั นคตทิ ่ีดี ตอ่ ความเป็นไทย ไมห่ ลงใหลกบั ค่านิยมตา่ งชาติ จนเกิดการลอกเลียนแบบ ทำ� ใหล้ มื วฒั นธรรม อันดงี ามของไทย แนวทางการเขียนรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsินsตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSกึ AษRา) 21

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ตวั อย่างที่ ๑ ระดับคณุ ภาพ : ดีเยย่ี ม ๑. กระบวนการพฒั นา โรงเรียนได้ด�ำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาท่ีผ่านมา โดยการ ศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการ ปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษาเพ่ือวางแผน รว่ มกันก�ำหนดเป้าหมาย ปรับวสิ ัยทศั น์ ก�ำหนดพนั ธกจิ กลยุทธ์ ในการจดั การศึกษาของสถาน ศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ ประจ�ำปี ใหส้ อดคล้องกบั สภาพปญั หา ความตอ้ งการพฒั นา และนโยบายการปฏริ ูปการศกึ ษา พรอ้ มทั้งจดั หาทรพั ยากร จดั สรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รบั ผดิ ชอบ ด�ำเนนิ การพัฒนา ตามแผนงานเพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมายท่กี ำ� หนดไว้ มีการดำ� เนินการนิเทศ ก�ำกบั ติดตาม ประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งาน และสรุปผลการดำ� เนนิ งาน ๒. ผลการพฒั นา ๒.๑ สถานศึกษามีการก�ำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพ ปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของ ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ และสอดคล้องกับแนวทางการปฏริ ปู ตามแผนการศึกษาชาติ ๒.๒ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจ�ำปี สอดคล้องกับ การพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ตามมาตรฐานตำ� แหนง่ ขอ้ มลู สารสนเทศมคี วามถกู ตอ้ ง ครบถว้ น ทันสมัย นำ� ไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ ด�ำเนินการอย่างเป็นระบบ และมกี ิจกรรมจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและ สังคมท่กี ระตุ้นผ้เู รียนให้ใฝเ่ รียนรู้ ๒.๓ สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ ประจ�ำปี ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา ความต้องการพฒั นา และนโยบายการปฏริ ปู การศกึ ษา โดยผมู้ ีสว่ นได้เสยี มีสว่ นรว่ มในการพฒั นาและรว่ มรับผิดชอบ ๒.๔ ผู้เกยี่ วข้องทกุ ฝ่าย และเครอื ขา่ ยการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา มสี ่วนรว่ มใน การร่วมวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา และรบั ทราบ รับผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา ๒.๕ สถานศึกษามีการนิเทศ ก�ำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการ จัดการศึกษา ท่ีเหมาะสม เป็นระบบและต่อเน่ือง เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการ จดั การศกึ ษา 22 แ(Sนeวlfท-างAกsาsรeเsขsยี mนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRนิ ) ตนเองของสถานศึกษา

๒.๖ สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบ โดยทุกฝ่าย มสี ว่ นร่วม ยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล และแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยมุ่งพัฒนา ผู้เรยี นตามแนวทางปฏริ ปู การศกึ ษา ๒.๗ สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจาก เครอื ข่ายอปุ ถัมภ์ สง่ ผลให้สถานศกึ ษามสี อื่ และแหล่งเรยี นร้ทู ี่มคี ณุ ภาพ วิธีการพัฒนา ผลการพัฒนา การพฒั นาครูบคุ ลากร จ�ำนวนครั้งที่ครูไดร้ ับการอบมรมพฒั นาทางวชิ าชีพ ทางการศกึ ษา การมีส่วนรว่ มของ จ�ำนวนเครือข่ายเข้ามามสี ่วนร่วมในการวางแผนการพัฒนา เครอื ข่ายในการวางแผน คณุ ภาพการศกึ ษา การพัฒนาคุณภาพ การศึกษา การจดั หาทรพั ยากร ผู้บริหารได้ระดมทุนทรัพยากรส�ำหรับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในสถานศึกษาทั้งในรูปของงบประมาณ และบุคลลท่ีเป็น ภูมิปญั ญาจากทอ้ งถิน่ มาชว่ ยในการสนบั สนนุ การเรยี นการสอน แนวทางการเขยี นรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsนิ sตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSกึ AษRา) 23

๒๔ วธิ กี ารพฒั วนธิ าีการพฒั นา ผลผกลากราพรพฒั ัฒนนาา การนิเทศ กํากกับารนติเิดทตศามก�ำแกับละติดตาม ประเมินผล และประเมินผล ร้อรยอ้ลยะขลอะขงคอรงปทู ครี่ไระดปูทเ้รมรีไ่ับนิะดกเผร้มาลับรินจนกผาาเิ ลกทรผจศน้บูาเิ กกทราํิหผศกาบู้ บั รกร�ำหิตกดิาับรตาตมดิ แตลาะม และ ยงั ไมเ่ คยได้รับการนเิ ทศ 1 ครั้ง/ภาคเรียน 2 คร้ัง/ภาคเรียน มากกว่า 2 คร้ัง/ภาคเรยี น ๓. จุดเด่น ๓หเนพกไมรดาีสิเลั.ฒียทใ้ร่วาจชนนศศกนดุก้ รึากหรเรกู้ตดษ่วละแําาโ่นมาบากลมรยใวับะงแหนวนเนผลิธป ปกทกคกปวรตวโนิจีัีกลายรารรี่มรจิิดยเยัูะะรปผรุั่มสบชุนัย่งตบใจเชกู้สเู่ฏนตใแมนมานาัุมดนํเาอิรผบมนิกีพกย้ทนกหกกนสนาผัตื่กอาี่หาากปนารสถลพิกรใโารรราลรรดารหาบัศารปฒรวรากะมงนว้ทรปึบวพกกรราเเนาิสปศรุบกมิรหะรษหฏัฒราัียยึดวกฝริชนรลถาิราคนนทมำ�ะว่าษุมาูผจปรุณเาขยมมัจยศสันแดาลแกใ้อมีวํากขนภภินบหกลามิธคีปสก้อา์าางา้บผระีูลรพ่วรีมาาพพรศเู้เกมบนูผนชรัรเูลนเทปกึกรีสาพด่นรรีู้ยสธีาั่ียสญแษริเ่ห่ววําอื่นอกพรนลอจมนเกใาหามนจินจชะอื่รัดดใารราีัคดสเ้นจูินท้ใไรแ่วคกปเุชณดกัดปากปง่ีลมมคล็นา้เ้ทอมาาราภะ้าปุ่งว้อรฐระนรกย�ำากหเาาาอ็นงกศชรน่ราาพมานกมายแฐ�ุมึำกรงถ้นรตใยตับาาห่ลมาปแษนจจกง้อนายงผนีบะคัรัดกดาามางเใจลุดะบณนากทกปนรกมัดชรกวแมผาพาภ่ี็ชากนาวิสุทมาีสลรผรรตัาดัาาฒรัยรอก่วรํนาเพงพรรเะรทจนะยารนแจปวฐัฒียรบัดาัรดศ่าผานาาฏมจ่วยนนงกนมบนงนใีิดักบมเงแหาราม์พสกปกาาัตู้ผไรโพ้ผีมกัฒา็รกนานดรแิศกนันรู้เอารดานรงผ้อลรึากเพศรธร�งำะรเาีลยะรยษปปึกกรเัฒียคบปกนกนน่าีษิยจรารนุณบนางาิโรนมะับานรยมรรสะาภชเกีคูแ้ตไปปบจแโคีจคภุมาาดุรณผาลัด้าพร�าณุำุรณราง้ใมหนะยะกปะภสนพเชภหภรโชกมดพาถีิเรา้ปเียาทลุรมมาาาางททัพฒพันญยศรัพเนกสศกี่รสคตปนสไึกมศสลหยี อดนาทมถฏูาึกกอตษนุ่มาด้มใิ่ีชคาคีษก�งิำรรไชาคมนัดดคูกเุสปณกาา้เพกลแ้ใศาเทับถรวกาชจภาื่อ้ลตอดึกาาคราก้นราใะมนรงํตษารปนปรหพกโฐศเตศิดะิาครมรรน้ทัาบกึึก้บกอตะะกีกงินนุกาผชษษวงาเชาารรฝกกนกุมมลรราาุมียจ่าาาาทนัดยรรรี่ เผ๔ขู้เ.้มรจียแดุนขค็งวม21รีส..พว่ เฒันปใกศ ๔หสรดิาึกน.ว่ร้มรโษจาอจ้มาีคาดุ งดักรวเคเพกบัาาควาื่อสมผรรรพใเือ๒๑ดิพขศหฒัขช..้มกึฒั ผ้ า่ อสเนษแปู้ปยนบรขาากคิา้ดาผ็งตงวคโเู้ อ่รเอามรคยีผมกอีสรนลราือง่วก่วสไนขดมาใ่ารห้มรมย่วจสี้ผคือมัดูว่ว้ปขรกานับอกมารผงครรว่ผิดร่วศมู้มชอมึกใีสองมนษไ่บวือกดานตขา้มเอ่อแรกีสงผลเ่ีย่ผวสละวนู้มนกกขีสรอาา้อ่่ววรครงนมจขวใเัใดนับากนกมก่ียเกคาคาวารลรขิดรศจอ่ื้อเเึกหัดนงสษใน็กนคนาาใอุณกนรคาแศภกรวลึกาาจาะพษรัดมกจกกาคาัดขาาิดรรกอรขเศจาหงับึกโรัด็นเรษศคกงใากึลนาเขรษรื่อกียอศนาานงึกเรคโพใรจษุณหงอ่ืัดาเ้มภพรกีคาียัฒาพนวรนามา 24 (แSนeวlfท-างAกsาsรeเsขsียmนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRิน) ตนเองของสถานศกึ ษา

ตัวอยา่ งที่ ๒ ระดับคณุ ภาพ : ดีเยีย่ ม ๑. วธิ ดี ำ� เนนิ การและผลการพัฒนา มาตรฐาน วธิ ดี �ำเนนิ การพัฒนา ผลการพัฒนา มาตรฐานท่ี ๒ โรงเรียนได้ด�ำเนินการวิเคราะห์ ๑. สถานศึกษามีการก�ำหนดเป้าหมาย กระบวนการ สภาพปัญหา ผลการจัดการ วิสัยทัศน์ และพันธกิจสอดคล้อง บริหารและการ ศึกษาที่ผ่านมา โดยการศึกษา กับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนา จดั การศกึ ษา ข้อมูล สารสนเทศจากผลการ ของสถานศึกษา นโยบายการ นิเทศ ติดตาม ประเมิน การ ปฏิรูปการศึกษาความต้องการของ จัดการศึกษาตามนโยบายการ ชุมชน ท้องถ่ิน และสอดคล้องกับ ปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุม แนวทางการปฏิรูปตามแผนการ ระดมความคดิ เห็น จากบคุ ลากร ศึกษาชาติ ในสถานศึกษา เพื่อวางแผน ๒. แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการ ร่วมกัน ในการก�ำหนดเป้าหมาย ศึกษา แผนปฏิบัติการประจ�ำปี ปรับวิสัยทัศน์ ก�ำหนดพันธกิจ สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียน กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของ ทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครู สถานศึกษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพ และบุคลากรทางการศึกษาให้มี ผู้เรียน มีการปรับแผน พัฒนา ความรู้ความเช่ียวชาญตามมาตรฐาน คุณภาพจัดการศึกษา แผน ต�ำแหน่ง ข้อมูลสารสนเทศมีความ ปฏิบัติการประจ�ำปีท่ีสอดคล้อง ถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย น�ำไป กับสภาพปัญหา ความต้องการ ประยุกต์ใช้ได้ มีการด�ำเนินการ พัฒนาและนโยบายการปฏิรูป อย่างเป็นระบบ และมีกิจกรรมจัด การศึกษา พร้อมทั้งจัดหา สภาพแวดล้อมทางกายภาพและ ทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ สงั คมท่ีกระตนุ้ ผู้เรียนใหใ้ ฝ่เรยี นรู้ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ๓. สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนา ด�ำเนินการพัฒนาตามแผนงาน คุณภาพการจัดการศึกษา แผน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ปฏิบัติการประจ�ำปี ให้สอดคล้อง มีการด�ำเนินการนิเทศ ก�ำกับ กับสภาพปัญหา ความต้องการ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการด�ำเนินงาน พัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการ และจัดท�ำรายงานผลการจัด ศึกษา โดยผมู้ สี ว่ นได้เสยี มสี ่วนร่วม การศึกษา ในการพัฒนาและรว่ มรบั ผดิ ชอบ แนวทางการเขยี นรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsินsตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSกึ AษRา) 25

มาตรฐาน วิธีดำ� เนินการพัฒนา ผลการพฒั นา ๔. ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย และเครือข่าย การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา และรับทราบ รับผดิ ชอบต่อผลการจดั การศกึ ษา ๕. สถานศึกษามีการนิเทศ ก�ำกับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการบรหิ าร และการจัดการศึกษาที่เหมาะสม เปน็ ระบบและต่อเน่ือง เปดิ โอกาส ให้ผู้เก่ียวข้องมีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษา ๖. สถานศึกษามีรูปแบบการบริหาร และการจัดการเชิงระบบโดยทุก ฝ่ายมสี ว่ นร่วม ยดึ หลักธรรมาภิบาล แ ล ะ แ น ว คิ ด ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนา ผเู้ รยี นตามแนวทางปฏริ ปู การศกึ ษา ๗. สถานศึกษามีการระดมทรัพยากร เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จากเครือข่ายอุปถัมภ์ ส่งผลให้ สถานศึกษามีสื่อ และแหล่งเรียนรู้ ทมี่ ีคุณภาพ 26 แ(Sนeวlfท-างAกsาsรeเsขsียmนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRิน) ตนเองของสถานศึกษา

๒. จุดเดน่ โรงเรยี นมีการบริหารและการจดั การอยา่ งเปน็ ระบบ โรงเรียนได้ใช้เทคนคิ การประชุม ที่หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพ่ือให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการก�ำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ท่ีชัดเจน มีการปรับแผน พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจ�ำปี ท่ีสอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ท่ีมุ่งเน้นการพัฒนา ให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถ จดั การเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ มกี ารดำ� เนนิ การนิเทศ กำ� กับ ตดิ ตาม ประเมินผล การด�ำเนินงาน และจัดท�ำรายงานผลการจัดการศึกษา และโรงเรียนได้ใช้กระบวนวิจัยในการรวบรวมข้อมูล เพื่อใช้เป็นฐานในการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา ๓. จุดควรพฒั นา ๑. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นในการจัดการศึกษา เพอื่ พัฒนาผูเ้ รยี น ๒. สรา้ งเครือข่ายความร่วมมือของผมู้ สี ่วนเก่ียวข้องในการจัดการศกึ ษาของโรงเรียน ให้มีความเข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคล่ือนคุณภาพ การจดั การศกึ ษา   แนวทางการเขยี นรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsนิ sตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSกึ AษRา) 27

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำ� คัญ ตัวอยา่ งที่ ๑ ระดบั คณุ ภาพ : ดีเยย่ี ม ๑. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนด�ำเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ โดยการด�ำเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรบั ปรุงหลกั สตู รสถานศกึ ษา พัฒนาสู่ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล มกี ารบรู ณาการ ภาระงาน ช้ินงาน โดย ทุกระดับช้ันจัดท�ำหน่วยบูรณาการอาเซียน เศรษฐกิจพอเพียง ปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ ลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย ก�ำหนดคุณลักษณะอันพงึ ประสงคท์ ี่สอดคลอ้ งกบั หน่วยการเรยี นรู้ สนับสนนุ ให้ครูจัดการเรียน การสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วย ตนเอง จดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ทักษะการคิด เช่น จัดการเรยี นรู้ดว้ ยโครงงาน ครมู กี ารมอบ หมายหน้าที่ให้นักเรียนจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานที่ต่าง ๆ ทั้งภายในห้องเรียน และนอกห้องเรียน ครูใช้ส่ือการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการสอนท่ีใช้ ครูทุกคนท�ำงานวิจัยในช้ันเรียน ปีการศึกษาละ ๑ เร่ือง และได้รับการตรวจให้ค�ำแนะน�ำโดยคณะกรรมการวิจัยของเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษา ๒. ผลการดำ� เนินงาน จากการด�ำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพ่ือพัฒนาให้ครูการ จัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ ส�ำคญั ส่งผลใหผ้ ลการประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐานที่ ๓ อยู่ ในระดบั ดีเยยี่ ม ๓. จุดเด่น ครูมีความต้ังใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ โดยการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียนแสวงหา ความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และผลงานวิจัยในช้ันเรียนของครูทุกคน ได้รับการตรวจ ประเมินพร้อมท้งั ใหค้ �ำแนะนำ� จากคณะกรรมการวิจัยของเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา ๔. จุดควรพัฒนา ควรน�ำภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ และการให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั แกน่ ักเรียนทนั ทีเพื่อนักเรียนน�ำไปใชพ้ ฒั นาตนเอง 28 (แSนeวlfท-างAกsาsรeเsขsียmนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRิน) ตนเองของสถานศึกษา

ตวั อย่างท่ี ๒ ๒๒๗๗  ระดับคุณภาพ : ดีเยย่ี ม ๒๗  มเจ๓เกตร๑นปดัาะา.ัวมเเ๓จมกน้็น๑รตดรตกดปนาผอัดาะาสผส้า.วัมารต้นบั็นดลรยตกดนอู้เาราผฐอรสรผสา้กคารคตา่เนกบั าฐลยียนรอเู้ารฐารัญ๑งุณานรทากคียคน่าเนกรจทมดเกาฐรทยีนร.ปที่านญังปุณานทัดาาา้าภเี่ยนรผมี่็นนรที่นรนตกรที่ น๒ปาภลาสสน้ ะกเ๓มจเกร๑ตาี่รี่ พนปรต๒กอัดำ�าเาะราผฐา.ัวมะน้มน็ ดผค๑ดอโรตคกรดเานพราผ้เูาอรรเสผสา้รนิู้เย:าารรฐตร.ับญัมลนดโ๑ผคอยงนรียอเู้ารยีฐเูจรร่าปารโกดเคคินู้เย:าร่าียนเกท.นาฐนยีรคงงรัดรนาเัญรูจงณุานา่ทาีเนโนิดียเนหี่ยีียนรรกยรทนะรคงัด๓ท่ีนกเปงนเีนงภลินหายีเป่ีย่ีรกี่ยารรกม๒กรดาาเงนงลาน็ะมนะป่ียาพกเินารกาเ๑ทโมโใอโรดาบรสร/็นมมนะ๑ผดคอโรดคหหเากเียยารัลโเี่.นสวาบนิเู้ย:งารร.สร/ยรนคงล้ครหเนา่กเตจูเค่านโียรโินโดนเสวายีนงรกราน้รครคงงดัคลา้รมิกนญักเีกคนนรยีกนิินหียยงหูจารกยรผรงาะาเีกา้าเกาญันงนกกงลารกาัดปหดง่ยียงลบ้เูารรงกรโรไารรดาาดรดากกาน็มนะกยีาหด้อดสพากเ/วรสารโียรไรบำ�ำ�ราาสร/กากหยเดงอแ้้อดสพนัฒ/ยีง่โสเนเนสวรรารมหคนลจินกกยนกงอเ้แคนัฒร/่งินกสเเนสรามัลกลนิา้ากจิรกป่นกินญัเกทกรายงนสรางรลัตายีราากาิจก่าทงน็า้ร่ีเหิมรรราโไรยนตนิมาากรางพดเี่้อดสสพมิสใรมนนรมิรหน้รเีกยงอแ้หฒั�ำ/ง่ไฒัใดสมมร้นีเก/กนกเ้อดาหค้ นดสยีง่ลัมาิจ่รทนงแ้ ญั้ราเียรตกสีเ่สมิกานิมรอรใ่ร้นีเหดมินม้ ยี ผลการพฒั นา ผผลผลลกกกาาารรรพพพัฒฒั ฒั นนนาาา แแสสดดงแจงสจาดานงนจววานนนผวผู้ในู้ใชผชหู้้ใ้หช้อห้อง้องปงปปฏฏฏบิ ิบตั ตั กิกิกาาารรรมมมลั ลั ลัตตมิตมิเิมดเิเิียดดเยีฉียลเเฉฉยี่ ล/ลปย่ีีย่ ี //ปปีี ๒เท.๒เคทโ.โคคนโรโคโนงลรกโงยลาก๒ ียรเ๒าท.คี.รคโรโคโคคยูนรรรคุโยูงงลกใคุ กยหาใีารหมครมส่รคูยร่สรุค้ารยู ใงา้ หคุ สงมใส่ือห่ส่ือรมา้ ่งสื่อ สรา้ งสอื่ เทคโนโลยี ๓. โครงการผลิตส่ือนวตั กรรม ๓.๓โ.คโรคงรกงากราผรลผิตลสิต่อืสน่อื นวัตวตักกรรรมรม ๓. โครงการผลติ สือ่ นวัตกรรม ๒. จุดเดน่ 1. ครตู ้งั ใจ มงุ่ มัน่ ในการพฒั นาการสอน 2. ครูจดั กิจกรรมใหน้ กั เรยี นแสวงหาความรู้จากสือ่ เทคโนโลยีดว้ ยตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง 3. ครใู หน้ ักเรยี นมสี ่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมท่ีเออื้ ต่อการเรียนรู้ ๒.๒จ.ดุ จเุดเ่นดน่ 4. ครจู ดั กิจกรรมใหน้ ักเรยี นเรยี นรูโ้ ดยการคิด ไดป้ ฏิบัตจิ รงิ ดว้ ยวธิ ีการและแหลง่ เรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย 21..12คค..รรทคคูจตู ีค่ รรดัั้งรจูตู ใูสกัดั้งจาิจใกมจมกา5จิ รรุง่.มกถมรคร่งุพมัน่ณมรัฒใมใะ่นั หนนกใใา้นหรกนตรกั้นาก่อมรเกัยากรพอรเาียรรพดัฒนียวไฒั ดิจนนแัย้เนาสแปตกา็นสวรกาองววรหจยางปสา่รหางสรอคาดะอคนวีเมนวานิมาผมรลรู้จงู้จาาากนกวสิจสือ่ ัยือ่ เใทเนทคชคัน้โโนเรนโยี โลนลยขยดีอดี ง้วว้คยยรตูทตนกุ นคเเอนองงพออรยย้อ่ามงทต้ัง่อใหเน้คาื่อแงนะนา 3.3ค.ร๓คูใ.รหจใู น้หดุ กัคน้ วเักรเยีพรนฒัยี มนนสีามว่สี น่วรน่วรมว่ ใมนในกการาจรจัดดับบรรรยยาากกาาศศสสภภาาพพแแววดดลล้ออ้ มมทท่ีเเี่อออ้ื อื้ ตต่อ่อกกาารรเรยี นรู้ ทคี่ ทรีค่ ูสราูสมาา54มร..า45ถคคร..พรถณคคูจัฒพรณะดั จูัฒนกกะัดานริจกกตรากรจิ่อม12ตรรกย..กร่อมรคคมอายกรววใรดมอารรหวไนใใรดน้ดหิจหวาไข้ยั้เักภ้นดิจป้อตมูเัย้เกั รม็นปิปรตเียูลรอน็ัญวรนยยี จยอวญ้อเนปร่าจยนาเยงีทปรา่รกดนยงี้อละรดีับงนรเะถมีู้โแรเดน่ิมนิกู้โแใดยน่ินนผหยกักผวลเ้ กขาเทลรงรา้ ียาางมครงนานาคดิกทนมวดิาันสีวไจิรดว่ทไิจเัยขดนป้เีัยใพียรป้ นฏใื่อ่วนนฏชมบินรชบิใน้ัากััตนนั้ยตัเเจิรกงรเิจยีรารา(ียรนSิงนียนิงจeดนกนดัlขาว้าfขกว้ไยอรป-ยิจอปวงใกวAงธรชิครธิคsะ้พีกรรsีกรเมัฒาeทูมาทู รใsนินรกุหsแกุ แาตmค้นลคตลนักนะeนนะเเแอnรเแอพียหพงtหงนขรลRรลอไ้อe่งดงเมpเ้สรรoทยีถยี rา้ังนนtนใรร:หู้ศูท้Sค้กึ Aีห่ ษาRลแา)านกะห2นลา9าย

๒. จุดเดน่ ๑. ครตู งั้ ใจ มุง่ มนั่ ในการพัฒนาการสอน ๒. ครูจดั กิจกรรมใหน้ กั เรียนแสวงหาความรู้จากส่ือเทคโนโลยดี ้วยตนเองอย่างตอ่ เน่อื ง ๓. ครใู หน้ กั เรียนมสี ว่ นร่วมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออื้ ต่อการเรียนรู้ ๔. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้โดยการคิด ได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่ง เรยี นร้ทู ีห่ ลากหลาย ๕. คณะกรรมการวิจัยตรวจประเมินผลงานวิจัยในช้ันเรียนของครูทุกคน พร้อมท้ัง ให้ค�ำแนะน�ำทค่ี รสู ามารถพัฒนาตอ่ ยอดไดเ้ ป็นอยา่ งดี ๓. จุดควรพฒั นา ๑. ควรนำ� ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ินให้เข้ามามีสว่ นร่วมในการจดั กจิ กรรมใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรู้ ๒. ควรใหข้ ้อมูลยอ้ นกลบั แกน่ ักเรยี นทันทีเพอื่ นักเรียนน�ำไปใชพ้ ัฒนาตนเอง ตัวอย่างที่ ๓ ระดับคณุ ภาพ : ดีเยีย่ ม ๑. กระบวนการและผลการด�ำเนนิ งาน โรงเรียนด�ำเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ โดยการด�ำเนินงาน/โครงการ/กจิ กรรม อยา่ งหลากหลาย ดงั นี้ โครงการ ตัวช้วี ดั ผลการด�ำเนินงาน ๑. โครงการพัฒนา จ�ำนวนสื่อร้อยละ ๘๐ ที่ สอื่ ร้อยละ ๘๕ ทผี่ า่ นกระบวนการวิจัย สื่อผ่านกระบวน ผ่านกระบวนการวิจัย มี มีคุณภาพและปริมาณท่ีมีประสิทธิภาพ การวจิ ยั คุณภาพและปริมาณที่มี และเพียงพอ ประสิทธภิ าพและเพยี งพอ ๒. โครงการพัฒนา ครูและบุคลากรร้อยละ ๘๐ ครูและบุคลากรร้อยละ ๘๖ มีความ ศักยภาพครู และ มีความสามารถในการใช้ สามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือ บุคลากรทางการ ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร การสือ่ สารเบอื้ งตน้ ในระดบั A ๒ ตาม ศึกษาในการใช้ เบื้องต้นในระดับ A๒ ตาม เกณฑ์ CEFR ภาษาอังกฤษเพ่ือ เกณฑ์ CEFR การส่ือสาร 30 (แSนeวlfท-างAกsาsรeเsขsยี mนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRิน) ตนเองของสถานศึกษา

โครงการ ตวั ชวี้ ัด ผลการดำ� เนินงาน ๓. กิจกรรมจดั การ ๑. ครรู อ้ ยละ ๙๐ เรียนรูด้ ว้ ย จดั กิจกรรมใหน้ กั เรียน โครงงาน เรียนร้รู ว่ มกันเปน็ กลมุ่ แลกเปลย่ี นความคดิ เห็น เรยี นรูร้ ว่ มกนั ๒. นกั เรียนร้อยละ ๙๐ สามารถใช้เทคโนโลยี ในการเรยี นรแู้ ละน�ำ เสนอผลงาน ๓. นักเรยี นร้อยละ ๙๐ มคี วามพงึ พอใจในการ เขา้ รว่ มกจิ กรรมจัดการ เรยี นรูด้ ้วยโครงงาน ระดับดีมากขึ้นไป ๒. จุดเด่น ๑. ครตู ้งั ใจ มุ่งมนั่ ในการพัฒนาการสอน ๒. ครูจดั กิจกรรมใหน้ ักเรียนแสวงหาความรู้จากสอื่ เทคโนโลยีด้วยตนเองอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ๓. ครใู ห้นกั เรยี นมีส่วนรว่ มในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมทเ่ี อ้อื ต่อการเรยี นรู้ ๔. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้โดยการคิด ได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและแหล่ง เรยี นรทู้ ีห่ ลากหลาย ๕. คณะกรรมการวิจัย ตรวจประเมินผลงานวิจัยในชั้นเรียนของครูทุกคน พร้อมท้ัง ให้คำ� แนะนำ� ท่คี รูสามารถพัฒนาตอ่ ยอดได้เป็นอย่างดี ๓. จุดควรพัฒนา ๑. ควรนำ� ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ มามสี ่วนร่วมในการจดั กิจกรรมให้นักเรยี นไดเ้ รียนรู้ ๒. ควรใหข้ ้อมูลยอ้ นกลบั แกน่ ักเรียนทันทีเพอื่ นกั เรียนน�ำไปใชพ้ ัฒนาตนเอง แนวทางการเขยี นรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsนิ sตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSึกAษRา) 31

มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มปี ระสทิ ธผิ ล ตวั อย่างที่ ๑ ระดับคณุ ภาพ : ดี ๑. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนด�ำเนินการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ๘ ประการ ได้แก่ ๑) ก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๒) จัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษามุ่งเน้น คุณภาพตามมาตรฐาน ๓) จัดการและบริหารข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบโดยใช้ เทคโนโลยีช่วยในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเป็นสารสนเทศท่ีเป็นปะโยชน์ในการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ๔) จัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ๕) ด�ำเนินการ ตดิ ตาม ตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา ๖) ประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา ๗) จัดท�ำรายงานประจ�ำปที เี่ สนอผลการประเมินคณุ ภาพภายใน ๘) โรงเรียนดำ� เนินการพฒั นา คุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยจัดประชุมคณะครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา น�ำเสนอผลการด�ำเนินงานรายงานประจ�ำปีของสถานศึกษาในปีการศึกษาท่ีผ่านมา วิเคราะห์ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในจากรายงานประจ�ำปขี องปกี ารศกึ ษาท่ีผ่านมา วิเคราะห์จุดเดน่ จุดท่ีควรพัฒนา และจัดท�ำแผนปฏิบัติการประจ�ำปีตามจุดท่ีควรพัฒนา ประกอบด้วย โครงการ/กิจกรรมท่ีจะพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษา โดยเน้นที่ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน จัดท�ำโครงการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มีกิจกรรมให้ความรู้ ความเข้าใจแนวทางการด�ำเนินงานประกันคุณภาพภายในให้ครูทุกคนในโรงเรียน เพื่อให้ คณะครู บคุ ลากรทุกฝ่ายท่ีเกีย่ วขอ้ งมีความเข้าใจการด�ำเนนิ งานตามมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน แต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน ให้ปฏิบัติหน้าท่ีติดตามตรวจสอบ และประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา ภาคเรยี นละ ๑ คร้งั จัดท�ำเครื่องมือ ให้นักเรียนประเมินตนเองในการเรียนรู้ ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง ท่ีวางไว้ คณะกรรมการประกันคุณภาพของโรงเรยี นประเมนิ การด�ำเนนิ งานตามมาตรฐานและ สรปุ ผลการดำ� เนนิ งานเพอ่ื พัฒนาปรบั ปรุงตลอดปีการศกึ ษา ติดตามการประเมินโครงการและ กิจกรรมสรุปผลการดำ� เนินงาน ปรบั ปรุงการทำ� งานอย่างมีสว่ นร่วมของทกุ ฝ่าย โรงเรยี นจัดทำ� แบบส�ำรวจความพึงพอใจและประเมินผลการด�ำเนินงานของโรงเรียนจากนักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการของสถานศกึ ษาในการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี น ๒. ผลการดำ� เนินงาน โรงเรียนมีการด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการ ศกึ ษา อย่างเป็นระบบ มผี ลการประเมนิ คุณภาพภายในทีร่ ะดับคุณภาพดี และคณะกรรมการ สถานศึกษา ผปู้ กครอง ชุมชนมีความพึงพอใจในการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียน 32 (แSนeวlfท-างAกsาsรeเsขsียmนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRิน) ตนเองของสถานศกึ ษา

๓. จุดเด่น โรงเรียนให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เนน้ การสร้างความเขา้ ใจและใหค้ วามรู้ดา้ นการประกันคุณภาพการศึกษากับคณะครู บุคลากร ทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง ท่ีชัดเจน เป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การด�ำเนินงาน ประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนเน้นการมีส่วนร่วม ด�ำเนินการในรูปของคณะกรรมการ สรา้ งวฒั นธรรมการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาให้กบั บุคคลทเี่ ก่ียวข้องทกุ ระดบั ๔. จุดควรพฒั นา โรงเรียนจัดระบบให้ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง แต่ยังขาด การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ครูในการพัฒนาตนเองในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือยกระดับ คุณภาพของนักเรียน นักเรียนมีการประเมินตนเองในการเรียนรู้ แต่ก็ยังขาดการติดตาม ช่วย เหลือด้านการเรยี นรขู้ องนักเรยี นเป็นรายคน ตัวอยา่ งที่ ๒ ระดับคณุ ภาพ : ดี ๑. กระบวนการและผลการด�ำเนินงาน มาตรฐาน กระบวนการพฒั นา ผลการด�ำเนินงาน มาตรฐานที่ ๔ - โรงเรียนดำ� เนินการประเมินคุณภาพภายใน - โรงเรียนมีการด�ำเนินงาน ระบบการ ของสถานศกึ ษา ๘ ประการ ไดแ้ ก่ ๑) กำ� หนด ประกันคุณภาพการศึกษา ประกันคณุ ภาพ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๒) จัดทำ� เพ่ือยกระดับคุณภาพ ภายในที่มี แผนพัฒนาการจัดการศึกษาท่ีมุ่งเน้นคุณภาพ การจัดการศึกษาอย่าง ประสิทธิผล ตามมาตรฐาน ๓) จัดการและบริหารข้อมูล เปน็ ระบบ สารสนเทศอย่างเป็นระบบโดยใช้เทคโนโลยี - ผลการประเมินคุณภาพ ช่วยในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเป็น ภายในมีระดับคณุ ภาพดี สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนา - ผลการประเมินความ คุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน พึ ง พ อ ใจ ข อ ง ค ณ ะ ๔) จัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา กรรมการสถานศึกษา ๕) ด�ำเนนิ การติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการ ผู้ปกครอง ชุมชนในการ ศึกษา ๖) ประเมินคุณภาพภายในตาม ยกระดับคุณภาพการ มาตรฐานของสถานศกึ ษา ๗) จัดทำ� รายงาน ศกึ ษาอยู่ในระดับดี ประจ�ำปีที่เสนอผลประเมินคุณภาพภายใน ๘) โรงเรียนด�ำเนินการพัฒนาคุณภาพอย่าง แนวทางการเขยี นรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsนิ sตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSกึ AษRา) 33

มาตรฐาน กระบวนการพัฒนา ผลการดำ� เนนิ งาน ต่อเน่ือง โดยจัดประชุมคณะครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาน�ำเสนอผลการ ด�ำเนินงานรายงานประจ�ำปีของสถานศึกษา ในปีการศึกษาที่ผ่านมา วิเคราะห์ผลการ ประเมนิ คุณภาพภายในจากรายงานประจำ� ปี ของปีการศึกษาที่ผ่านมา วิเคราะห์จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และจัดท�ำแผนปฏิบัติการ ประจ�ำปีตามจุดที่ควรพัฒนา ประกอบด้วย โครงการ/กิจกรรมที่จะพัฒนาคุณภาพตาม มาตรฐานของสถานศึกษา โดยเน้นที่ผล สัมฤทธ์ิทางการเรียน จัดท�ำโครงการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา มีกิจกรรม ให้ความรู้ความเข้าใจแนวทางการด�ำเนินงาน ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ใ ห ้ ค รู ทุ ก ค น ใ น โรงเรียน เพื่อให้คณะครู บุคลากรทุกฝ่ายที่ เก่ียวข้องมีความเข้าใจการด�ำเนินงานตาม มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน แต่งต้ังคณะ ก ร ร ม ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ข อ ง โรงเรียนปฏิบัติหน้าที่ติดตามตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของ สถานศกึ ษาภาคเรยี นละ ๑ ครัง้ จดั ทำ� เครอ่ื ง มือให้นักเรียนประเมินตนเองในการเรียนรู้ ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนา ตนเองที่วางไว้ คณะกรรมการประกัน คุณภาพของโรงเรียนประเมินการด�ำเนินงาน ตามมาตรฐานและสรุปผลการด�ำเนินงาน เ พื่ อ พั ฒ น า ป รั บ ป รุ ง ต ล อ ด ป ี ก า ร ศึ ก ษ า ติดตามการประเมินโครงการและกิจกรรม สรุปผลการด�ำเนินงานปรับปรุงการท�ำงาน อย่างมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย โรงเรียนจัดท�ำ แบบส�ำรวจความพึงพอใจ และประเมินผล การด�ำเนินงานของโรงเรียนจากนักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการของสถานศึกษา ในการจดั การศกึ ษาของโรงเรียน 34 (แSนeวlfท-างAกsาsรeเsขsยี mนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRนิ ) ตนเองของสถานศกึ ษา

๒. จุดเดน่ โรงเรียนให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา เนน้ การสร้างความเข้าใจและใหค้ วามรู้ดา้ นการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษากบั คณะครู บุคลากร ทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง ที่ชัดเจน เป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การด�ำเนินงาน ประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนเน้นการมีส่วนร่วม ด�ำเนินการในรูปของคณะกรรมการ สรา้ งวฒั นธรรมการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาให้กับบคุ คลท่ีเก่ียวขอ้ งทุกระดับ ๓. จดุ ควรพัฒนา โรงเรียนจัดระบบให้ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง แต่ยังขาด การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ครูในการพัฒนาตนเองในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือยกระดับ คุณภาพของนักเรียน นักเรียนมีการประเมินการเรียนรู้ด้วยตนเอง แต่ก็ยังขาดการติดตาม ชว่ ยเหลือดา้แนกกไ้ ขาหรนเร้ายี น๓๕รขู้ (อเตงมินกกั รเารฟยี )นเป็นรายคน ตวั อยา่ งท่ี ๓ตัวอยา่ งที่ ๓ ระดับคุณภาระพดบั: คดุณี ภาพ : ดี ผลการดาเนนิ งาน ๑. กระบวนการและผลการดาเนนิ งาน ๑. กระบวนการและกรผะลบกวนากราดรำ� พเัฒนนนิ างาน กสรถะานบศวึกนษากปารระพเมัฒนิ คนุณาภาพภายใน ผลการดำ� เนนิ งาน สถานศึกษาปตราะมรเมะบินบคกุณารภปารพะภกนั าคยุณในภตาพามระบบ การประกนั คกณุ ารภศาึกพษกาา๘รศปกึระษกาาร๘ ประการ เปรยี บเทียบผลการประเมินการประกนั คุณภาพภายในของ สถานศึกษา ๒ ปกี ารศึกษา ๑) จกศัด�กึำทหษ�ำานแดผ๑มน)าพกสตาัฒถหรานนฐนดาาศมกนกึ าษากตราารจฐรัดาศนกึกกาษารรศาศึกขึกษษอาางมขสอุ่งถงเนาน้น ๘) ดาเนินการพฒั นาคณุ ภาพอย่างต่อเน่ือง 4.56.700 ๒) ๗) จัดทารายงานประจาปที ่ีเปน็ ประเมนิ คณุ ภาพ 55..0000 คณุ ภาพ๒ต)าจมดั มทาาแตผรนฐพานัฒนาการจดั การศกึ ษา ๓) จัดการแลมะุ่งบเนรน้ ิหคณุารภขาพ้อตมามูลมสาาตรรฐสานน เทศ ภายใน 4.550.00 ๔) จทดัีเ่ ปท็นำ� รแะผ๓บน) บจพสดั าัฒกรสานรนาแเกทลาะศรบทจรีเ่ ปหิดั น็ากรราขะร้อบศมบกึลู ษา ๖) ประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานของ 55..0000 ๕) ดกา�ำรเนศิกึนษก๔าา) รจตดั ทิดาตแาผมนพฒัตรนวากจาสรอจดับกคาุรณศภกึ ษาาพ ๖) ประเมิน๕ค) ดุณาเภนานิ พกาภราติดยตใานมตตารมวมจสาอตบรฐาน สถานศึกษา 44..5500 ของสถานศคึกุณษภาาพการศึกษา ๕) ดาเนินการตดิ ตาม ตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษา 33.3.530 ๗) ดจคัดำ�ณุ เทนภ�ำนิารพกา๖ภยา)รงาปมพายรนาฒัใะตนปเรนมรฐินาะาคคนจุณณุข�ำอภปภงาีทสาพถ่ีเพภปาอาน็นยยศกใา่ึกนางษตรตาาป่อมรเนะเอ่ื มงิน ๘) ๔) จัดทาแผนพัฒนาการจดั การศึกษา 3.46.400 4.040.50 ๓) จดั บรหิ ารข้อมูลสารสนเทศที่เปน็ ระบบ ๒) จดั ทาแผนพฒั นาการจัดการศึกษามุ่งเน้น คุณภาพตามมาตรฐาน ๑) กาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 0.00 2.00 4.00 6.00 ปปี 2๒ี 5๕5๕๘8 ปี 2๒๕5๕5๙7 ๗) จดั ทารายงานประจาปีท่เี ป็นการ ๘) ดปารเะนเินมกนิ าครุณพภัฒานพาภคาุณยภในาพแอนยวา่ ทง างการเขียนรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsนิ sตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSึกAษRา) 35

๓๔ กระกบรวะบนวกนากราพรพฒั ัฒนนาา ผลผกลกาารรดด�ำาเเนนินนิ งงาานน การมสี ว่ กนารรว่มมีสร่วนับรผ่วิดมชรอบั บผิดขชอองบผข้เู กองยี่ วขอ้ ง ควาคมวพามึงพพงึ อพใอจใตจ่อตผ่อลผลกกาารรจจัดดั กกาารรศศึกกึ ษษาาขขอองงโรโรงเงรเยีรนียน ททุกี่มฝีคา่ณุ ยภรผผา่ว้เูลพกมกี่ยราวบัรขจผ้อัดิดงกชาทอรุกศบฝึกตา่ ษยอ่ ารผท่วลม่มี กรคี บัาุณรผภจดิ าัดชพกอบารตศอ่ กึ ษา รอ้ ยละความพงึ พอใจของผปู้ กครองต่อการยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี น ส่งิ อานวยความสะดวกในการ 75.00 เรียนรู้ 81.00 85.00 การเปดิ โอกาสให้มสี ่วนร่วมของ โรงเรียน 75.00 82.00 การบริหารของผบู้ ริหารโรงเรยี น 84.00 87.00 การกจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรขู้ อง 85.00 นกั เรียน 80.00 การจดั กจิ กรรมการเรียนรขู้ องครู คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข์ อง นกั เรยี นของนักเรียน ผลสัมฤทธท์ างการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และเขยี นของนกั เรยี น ความสามารถในการอา่ นของ นักเรียน ๒. จดุ เดน่ ท เนุก้นฝก่าายรทส๒ทค่ีเรว่ีช.กโ้าาัดจร่ียมงุดเงควจเเเขนดขรว้าโี่นยา้อใรเจมปนงงแเ็เนใรขลหทปียา้ะนร่ีช้คใใะใจหัดวหโแ้คาเย้คจลวมชวนาะนาสมมใ์ใ�ำรหนสเคู้ดปาก้ค้าัคญา็นวนัญรกาปกพกมับารัฒับรระกกนปู้ดโาาารย้ารรคะนดชดุกณากนัน�ำเภนา์ใเคานรนินุณพปงิกนภการางนาาะรารปพกพศนรกันึกะัฒปากษครรนันศาุณะคึกากภุณษคกันาาาุณภรพกคาดภับพุกณาาคภาเภพนณารยินาศกะใพงคกึนาารรภษขนู ศอบาาปงึกกยุครสษะบัลใถนกาาาคันกนขณรคศกอทุณกึะางุกษครภสฝาดราถ่าูพเ�ำยานบเภทน้นนุคา่ีเศกกินยลาึ่ีกยใงารนวษาสกขขนรรา้ออ้างงง ประกนั คโณุรงภเราียพนภเนา้นยกในารขมอีสง่วโนรงร่วเรมยี โนดเยนด้นากเนาินรมกาสี รว่ ในรูป่วมขอโงดคยณดะำ� กเรนรินมการรในสร้าปู งขวอัฒงนคธณรระมกกรารรมปกระากรัน สรา้ งวัฒคนุณธภรราพมภกาายรใปนขรอะงกสนั ถคานณุ ศภกึ ษาาพใหภ้กาับยบในุคคขลอทงเ่ี สกถยี่ วาขน้อศงทึกุกษราะใดหบั ก้ ับบุคคลท่ีเกย่ี วขอ้ งทุกระดับ ๓. จดุ ควรพฒั นา ๓. จดุ ควรพัฒนโารงเรียนจัดระบบให้ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเอง แต่ยังขาดการให้ข้อมูล ก ารให้ขมย้ออ้กีมโนารูลรกงปยลเรรับ้อะียแเนมกนกินค่ จตลรัดนูใับนรเอกแะงากใบรนพ่คบกัฒราใรูในหเนรา้คตยีกรนนาูปเรรอู้ รงพแใะนตัฒเก่กมนาย็ ินรังาจขตตัดานนดกกเิจเอากอรงรงตรรใิดมานตกยกาาบมราเุครรชียว่จคนยัดลรเหกตู้ เลพิจาอื ่อืมกดยแรา้ กนรผรกมะนาดกรพับเารัฒครียุณนเนรภราีย้ขูาตพอนนงขรนอเู้ ักองเนเงรพักยี ่ืเอนแรยเยี ตปนก่น็ยรรังนาะขักยดาเครับดนยี น คุณภาพของนักเรียน นักเรียนมีการประเมินตนเองในการเรียนรู้ แต่ก็ยังขาดการติดตาม ชว่ ยเหลอื ดา้ นการเรยี นรขู้ องนกั เรียนเปน็ รายคน 36 (แSนeวlfท-างAกsาsรeเsขsยี mนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRนิ ) ตนเองของสถานศกึ ษา

สรปุ ผลการประเมินในภาพรวม ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาอยใู่ นระดบั ๔ ดเี ยี่ยม จากผลการด�ำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาประสบผลส�ำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการ ประเมนิ สรุปว่าไดร้ ะดบั ดีเย่ยี ม ทัง้ นี้ เพราะมาตรฐานที่ ๑ ผลการจัดการศกึ ษา อยใู่ นระดบั ดี มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการศึกษา อยู่ในระดับดีเยี่ยม มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเปน็ ส�ำคญั อยใู่ นระดับดี มาตรฐานท่ี ๔ ระบบ การประกันคุณภาพภายในท่ีมีประสิทธผิ ล อยู่ในระดบั ดี ทั้งน้ี สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายท่ีเป็นไป ตามปัญหาและความต้องการพัฒนาตามสภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของสถาน ศึกษาและสภาพของชุมชนท้องถิ่น จนมีผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม พัฒนาการของค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติสูงข้ึน ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านและ เขียน การสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ความสามารถในการคิดค�ำนวณ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารไดด้ ี และมีความประพฤตดิ ้านคุณธรรมจรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะตามที่สถานศึกษาก�ำหนดปรากฏอย่างชัดเจน ดังที่ปรากฏผลประเมินใน มาตรฐานที่ ๑ ในด้านกระบวนการบริหารจดั การของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษามผี ลประเมินในราย มาตรฐานอยู่ในระดบั ดีเยยี่ ม สถานศึกษามีการวางแผน ออกแบบกิจกรรมและดำ� เนนิ งานตาม แผนที่เกิดจากการมีส่วนร่วม ใช้ผลการประเมินและการด�ำเนินงานที่ผ่านมาเป็นฐานในการ พัฒนา และสอดคล้องกับเปา้ หมายการพฒั นา ตรวจสอบผลการด�ำเนนิ งาน และการปรับปรงุ แก้ไขงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเน่ือง ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ มผี ลประเมินอยใู่ นระดับดเี ยี่ยม วเิ คราะห์ ออกแบบและจัดการเรยี นรทู้ ี่เปน็ ไปตามความตอ้ งการ ของหลักสูตร และบริบทสถานศึกษา พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ใช้ส่ือการเรียนรู้ ติดตาม ตรวจสอบและช่วยเหลือนักเรียนเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหารายบุคคล และการประเมินผลจาก สภาพจริงในทุกข้นั ตอน สถานศึกษาดำ� เนินงานตามระบบการประกนั คณุ ภาพภายในอย่างเป็น ขั้นตอน จนเกิดคุณภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลจนมีผลประเมินอยู่ในระดับดีเยี่ยม โดยสถานศึกษาให้ความส�ำคัญกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพ่ือเกิดความร่วมมือในการวางระบบ และด�ำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นอย่างดี และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง มคี วามมน่ั ใจตอ่ ระบบการบรหิ ารและการจดั การของสถานศกึ ษาในระดับสงู   แนวทางการเขียนรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsนิ sตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSึกAษRา) 37

ตัวอยา่ งสว่ นที่ ๓ สรุปผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการการช่วยเหลอื ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศส�ำคัญท่ีสถานศึกษา จะต้องน�ำไปวิเคราะห์ สังเคราะห์เพ่ือสรุปน�ำไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความส�ำเร็จ กับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (๓-๕ ปี) และน�ำไปใช้ในการวางแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จากผลการด�ำเนินงานของสถานศึกษา สามารถ สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของจดุ เดน่ จุดควรพัฒนาของแต่ละมาตรฐาน พรอ้ มทั้งแนวทาง การพัฒนาในอนาคตและความตอ้ งการการช่วยเหลือได้ดังนี้ สรปุ ผล จุดควรพัฒนา จุดเดน่ ● ด้านคุณภาพผเู้ รยี น ๑) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน มีผลการประเมินระดับชาติและระดับ ท้องถิ่นสูงขึ้นทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และนักเรียนกลา้ แสดงออก ร่าเริงแจม่ ใส สุขภาพกายแขง็ แรง และเป็นผู้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมตามทีส่ ถานศึกษากำ� หนด ๒) ผู้เรียนอ่านหนังสือออกและอ่านคล่อง รวมท้ังสามารถเขียนเพ่ือการสื่อสารได้ทุกคน สามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความ รู้ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนของนักเรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการ ศึกษาระดับชาติ (O-NET) สูงกว่าระดับ ชาติและมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ ๕๐ ทุกกลุ่มสาระฯ ที่มีการทดสอบและ ตอ่ เนือ่ งมาโดยตลอด ๓) ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มี ส ม ร ร ถ ภ า พ ท า ง ก า ย แ ล ะ น�้ ำ ห นั ก สว่ นสูงตามเกณฑ์ มีระเบียบวนิ ัยจนเปน็ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา เป็นที่ ยอมรับของชุมชนโดยรอบในเร่ืองความ มวี ินัย เคารพกฎกตกิ า ระเบียบของสงั คม เช่น การเข้าคิวขึ้นรถโดยสารสาธารณะ เป็นตน้ 38 แ(Sนeวlfท-างAกsาsรeเsขsียmนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRนิ ) ตนเองของสถานศกึ ษา

จุดเด่น จุดควรพัฒนา ● ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ ● ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ของผู้บริหารสถานศึกษา ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ๑) ผู้บริหารมีความตั้งใจ มีความมุ่งมั่น ๑) ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้ มีหลักการบริหาร และมีวิสัยทัศน์ท่ีดี มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น ในการบริหารงาน สามารถเป็นแบบ ในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนา อย่างที่ดีในการท�ำงาน และคณะ ผ้เู รยี นมากขน้ึ กรรมการสถานศึกษามีความตั้งใจ และ ๒) ควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือ มีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าท่ีตาม กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการ บทบาท ศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง ๒) โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการ มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการ อย่างเป็นระบบ โรงเรียนได้ใช้เทคนิค จัดการศึกษา และการขับเคลื่อน การประชุมที่หลากหลายวิธี เช่น คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุม ระดมสมอง การประชุมกลุ่ม เพ่ือให้ ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการก�ำหนดวิสัย ทศั น์ พันธกจิ เป้าหมายทีช่ ดั เจน มีการ ปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจ�ำปีที่สอดคล้องกับ ผลการจัดการศกึ ษา สภาพปัญหา ความ ต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูป การศึกษา ที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียน มีคุณภาพตามมาตรฐานหลักสูตรของ สถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการ เรียนรูไ้ ดอ้ ย่างมีคุณภาพ มีการดำ� เนนิ การ นิเทศ ก�ำกับ ติดตาม ประเมินผล การด�ำเนินงาน และจัดท�ำรายงานผล การจัดการศึกษา และโรงเรียนได้ใช้ กระบวนวิจัยในการรวบรวมข้อมูลมาใช้ เป็นฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษา แนวทางการเขียนรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsินsตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSกึ AษRา) 39

จดุ เด่น จุดควรพัฒนา ● ด้านกระบวนการเรยี นการสอนทเี่ น้นผ้เู รยี น ● ด้านกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้น เปน็ ส�ำคัญ ผูเ้ รยี นเปน็ ส�ำคญั ๑) ครูพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีความต้ังใจ ๑) ครูควรจัดกิจกรรมเน้นให้ผู้เรียนได้มี มุง่ มัน่ ในการปฏบิ ัตหิ นา้ ทอ่ี ยา่ งเตม็ เวลา ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และความสามารถ คิดสงั เคราะห์อย่างหลากหลาย และ ๒) ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนแสวงหาความรู้ ใช้แหลง่ เรียนร้ใู นการพฒั นาตนเอง จากสือ่ เทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื ง ๒) ครูควรจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนใน ๓) ครูให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัด ระดับชั้น ป.๑ – ป.๓ ให้สามารถ บรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ น�ำเสนอ อภิปรายและแลกเปลี่ยน การเรยี นรู้ เรียนรู้อย่างสมเหตุสมผล และมี ๔) ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้จาก ทักษะในการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ การคิด ได้ปฏิบัติจริงด้วยวิธีการและ ไดอ้ ย่างเหมาะสม แหล่งเรยี นรูท้ ่หี ลากหลาย ๓) ครูควรจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๕) ผลงานวิจัยในช้ันเรียนของครูทุกคน ในระดบั ช้นั ม.๑ – ม.๓ ให้มีพฤติกรรม ได้รับการตรวจประเมินและค�ำแนะน�ำ ทั ศ น ค ติ ที่ ดี ต ่ อ ค ว า ม เ ป ็ น ไ ท ย จากคณะกรรมการวจิ ัย ไ ม ่ ห ล ง ใ ห ล กั บ ค ่ า นิ ย ม ต ่ า ง ช า ติ จนเกิดการลอกเลียนแบบ ท�ำให้ลืม วฒั นธรรมอันดงี ามของไทย ๔) ครูควรจัดการเรียนการสอนด้วยวิธี การที่หลากหลาย สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดตาม หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน และ ฝ ึ ก ใ ห ้ นั ก เ รี ย น ไ ด ้ คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห ์ หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ส่ือ เทคโนโลยีให้มากขึ้น และพัฒนาสื่อ แหล่งเรียนรู้ จัดเตรียมห้องปฏิบัติ การให้อยู่ในสภาพดีและพร้อมใช้ งานเสมอ 40 แ(Sนeวlfท-างAกsาsรeเsขsยี mนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRิน) ตนเองของสถานศึกษา

จดุ เด่น จดุ ควรพัฒนา ๕) ครูควรวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลายตาม สภาพจริง สอดคล้องกับมาตรฐาน การเรยี นรู้ และธรรมชาตวิ ชิ า ๖) ครูควรน�ำภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามา มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียน ไดเ้ รยี นรู้ ๗) ครูควรให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียน ทันทีเพ่ือนักเรียนน�ำไปใช้พัฒนา ตนเอง ● ด้านการประกันคุณภาพภายในท่ีมี ● ด้านการประกันคุณภาพภายในที่มี ประสิทธิผล ประสทิ ธผิ ล โรงเรียนให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินงาน ๑) สถานศึกษาจัดระบบให้ครูประเมิน ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนา เน้นการสร้างความเข้าใจและให้ความรู้ ตนเอง แต่ยังขาดการให้ข้อมูล ด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับ ย้อนกลับแก่ครูในการพัฒนาตนเอง คณะครู บุคลากรทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องอย่าง ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ ชัดเจน เปน็ ประโยชนใ์ นการพัฒนาคณุ ภาพ ยกระดับคณุ ภาพของนักเรยี น การศึกษา การด�ำเนินงานประกันคุณภาพ ๒) นักเรียนมีการประเมินตนเองในการ ภายในของโรงเรียนเน้นการมีส่วนร่วม เรียนรู้ แตย่ งั ขาดการตดิ ตาม ชว่ ยเหลอื โดยด�ำเนินการในรูปของคณะกรรมการ ดา้ นการเรยี นรูข้ องนักเรยี นเป็นรายคน สร้างวัฒนธรรมการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษาให้กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ทุกระดับ แนวทางการเขียนรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsินsตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSกึ AษRา) 41

แนวทางการพัฒนาในอนาคต ๑. การจดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ เี่ น้นการพัฒนาผเู้ รียนเปน็ รายบคุ คลให้ชดั เจนขนึ้ ๒. การส่งเสริมให้ครูเห็นความสำ� คัญของการจดั การเรยี นรู้โดยเน้นผ้เู รียนเป็นสำ� คญั การจัดทำ� การวจิ ยั ในชนั้ เรยี นเพื่อพัฒนาผู้เรยี นใหส้ ามารถเรียนร้ไู ดเ้ ต็มศักยภาพ ๓. การพัฒนาบุคลากรโดยส่งเข้ารับการอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานท่ีได้รับ มอบหมาย ติดตามผลการนำ� ไปใช้และผลทเ่ี กดิ กับผู้เรียนอยา่ งตอ่ เนื่อง ๔. การพฒั นาสถานศึกษาให้เป็นสงั คมแหง่ การเรียนรขู้ องชมุ ชน ความต้องการและการช่วยเหลอื ๑. การพัฒนาครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีสอดคล้องกับการพัฒนา ผ้เู รียนในศตวรรษที่ ๒๑ ๒. การสร้างข้อสอบท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตามแนวทางของการประเมิน O-NET และ PISA ๓. การจดั สรรครูผู้สอนใหต้ รงตามวชิ าเอกทีโ่ รงเรียนมีความตอ้ งการและจ�ำเปน็ ตัวอยา่ งส่วนที่ ๔ ภาคผนวก สถานศึกษาน�ำเสนอหลักฐานข้อมลู ส�ำคญั หรอื เอกสารอา้ งองิ ต่างๆ แบบยอ่ ๆ ___________________________ 42 (แSนeวlfท-างAกsาsรeเsขsียmนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRิน) ตนเองของสถานศกึ ษา

คณะทำ� งาน ทีป่ รึกษา สกลุ ประดิษฐ์ เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน นายการณุ ยอดเพชร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ดร.บญุ รกั ษ์ ทรพั ย์สมบตั ิ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักทดสอบทางการศึกษา ดร.วิษณุ ผอู้ ำ� นวยการกลมุ่ พฒั นาระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน สำ� นักทดสอบทางการศกึ ษา ผรู้ ับผิดชอบโครงการ นักวชิ าการศกึ ษาชำ� นาญการพิเศษ นางเพญ็ นภา แกว้ เขยี ว นักวิชาการศึกษาปฏบิ ัติการ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา นางสุอารยี ์ ช่ืนเจริญ ผอู้ ำ� นวยการกลุ่มพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพ นายภทั รแสน แสนยะมลู การศึกษาขนั้ พื้นฐาน ส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา รองผ้อู ำ� นวยการส�ำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ผยู้ กรา่ ง ประถมศึกษาลพบรุ ี เขต ๑ ปฏบิ ตั ริ าชการ สพฐ. ดร.วิษณุ ทรัพย์สมบัติ ผอู้ ำ� นวยการกลมุ่ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพ นางเพญ็ นภา แกว้ เขยี ว การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน สำ� นกั ทดสอบทางการศึกษา รองผู้อำ� นวยการสำ� นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา ดร.ลาวัลย์ พชิ ญวรรธน ์ ประถมศึกษาลพบรุ ี เขต ๑ ปฏิบตั ิราชการ สพฐ. ศึกษานเิ ทศกเ์ ช่ียวชาญ สำ� นักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๑ ผจู้ ัดท�ำคู่มอื ศึกษานิเทศก์ช�ำนาญการพเิ ศษ นางเพญ็ นภา แกว้ เขียว สำ� นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา ประจวบคีรขี ันธ์ เขต ๑ ดร.ลาวัลย์ พชิ ญวรรธน ์ นายสมโภชน ์ หลักฐาน นางอภิวันทน์ พนิ ทอง แนวทางการเขียนรายงา(Sนeกlาfร-ปAรsะsเeมsินsตmนeเอnงtขRอeงpสoถrาtน:ศSึกAษRา) 43

ดร.อทิ ธิฤทธ์ิ พงษ์ปยิ ะรัตน ์ ศกึ ษานิเทศกช์ �ำนาญการ สำ� นักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา มธั ยมศึกษา เขต ๕ นางนำ้� คา้ ง โตจินดา ศึกษานเิ ทศกช์ ำ� นาญการพิเศษ สำ� นักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต ๑๘ นางโสภา ชวนวัน ผอู้ �ำนวยการโรงเรยี นชยั เกษมวิทยา จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ ดร.อนสุ รณ์ เกิดศรี ครูปฏิบตั กิ าร โรงเรียนวัดเขาพระยาสังฆาราม จงั หวดั อุทัยธานี นางสาวถวิล จนั ทร์สวา่ ง นักวิชาการศกึ ษาชำ� นาญการ ส�ำนกั การศึกษากรงุ เทพมหานคร บรรณาธกิ ารกิจ คณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน ดร.ไพรวลั ย์ พิทกั ษ์สาลี ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ผู้อำ� นวยการสำ� นักทดสอบทางการศกึ ษา ดร.วษิ ณุ ทรัพย์สมบตั ิ ผู้อำ� นวยการกลมุ่ พฒั นาระบบการประกันคุณภาพ นางเพ็ญนภา แกว้ เขียว การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน สำ� นกั ทดสอบทางการศึกษา รองผ้อู ำ� นวยการส�ำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา ดร.ลาวลั ย์ พชิ ญวรรธน์ ประถมศกึ ษาลพบุรี เขต ๑ ปฏบิ ัตริ าชการ สพฐ. 44 แ(Sนeวlfท-างAกsาsรeเsขsียmนeรnายtงRาeนpกoาrรtป:รSะAเมRิน) ตนเองของสถานศกึ ษา

สำ� นักทดสอบทำงกำรศกึ ษำ สำ� นกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พื้นฐำน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook