Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ2-05

กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ2-05

Published by pond_moku, 2021-11-13 05:29:28

Description: กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ2-05

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 5 ผฝู้ ึ กสอน

เคร่อื งหมายวิชาพิเศษ วิชาผฝู้ ึ กสอน ลกั ษณะเครอ่ื งหมาย เป็นรปู ไข่ ยาว 4 ซม. กวา้ ง 3.5 ซม. มเี ครอ่ื งหมายรปู สญั ลกั ษณ์หน้าเสอื ดา้ นล่างมอี กั ษร “ผฝู้ ึกสอน” สเี หลอื งทอง ทาด้วยผ้าสีขาบขลิบสีเหลืองทอง มีอักษร ล.ว. อยู่ท่ีริม ดา้ นล่าง ผทู้ ส่ี อบผา่ นใหป้ ระดบั เครอ่ื งหมายตดิ ท่ีอกเสอ้ื เหนือ กระเป๋ าดา้ นขวา

ความสาคญั ของผฝู้ ึ กสอน การจะเป็นผฝู้ ึกสอนลูกเสอื นนั้ ผทู้ จ่ี ะเขา้ รบั การฝึกอบรมเป็นผู้กากบั ลูกเสอื สารอง ลูกเสือสามัญและลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ จะต้องผ่านการฝึกอบรมวิชาผู้กากับลูกเสือ ขนั้ ความรทู้ วั่ ไปมาแลว้ และควรมปี ระสบการณ์ในการทางานในกองลูกเสอื มาบ้าง ซ่งึ จะ ทาให้การฝึกอบรมเบ้ืองต้นง่าย ชดั เจน และรวดเร็วในการฝึกอบรมเป็นผู้กากับหรือ ผูฝ้ ึกสอนลูกเสอื น้ี จะต้องร่วมทางานกนั เป็นกลุ่ม โดยจะมกี จิ กรรมต่างๆ ให้ทาร่วมกนั เพ่ือช่วยให้ผู้ท่ีผ่านการฝึกอบรมไปแล้วสามารถเป็ นผู้กากับหรือผู้ฝึ กสอนลูกเสือ ทุกระดบั ไดด้ ี

การจดั ฝึ กอบรมผฝู้ ึ กสอน การจดั ฝึกอบรมวชิ าผฝู้ ึกสอน หรอื ผกู้ ากบั ลกู เสอื ในระดบั ต่างๆ นนั้ จะตอ้ งมกี ารวางแผน เตรยี มการ จดั ทาเป็นโครงการ และขออนุญาตต่อผบู้ งั คบั บญั ชาตามลาดบั ตามกฎระเบยี บทก่ี าหนดไว้ โดยการจดั ทา ตามขนั้ ตอน ไดแ้ ก่ 1.การขออนุญาต 1.1 ในสว่ นกลาง การขออนุญาตในการจดั การฝึกอบรมวชิ าผกู้ ากบั ลกู เสอื ขนั้ ความรเู้ บอ้ื งตน้ ใหข้ ออนุญาตผา่ นสานกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ 1.2 ในสว่ นภมู ภิ าค เมอ่ื โรงเรยี นใด สโมสรใด อาเภอ จงั หวดั จะจดั การฝึกอบรม วชิ าผูก้ ากบั ลกู เสอื ขนั้ ความรเู้ บอ้ื งตน้ ใหข้ ออนุญาตผา่ นผอู้ านวยการลกู เสอื จงั หวดั ไปยงั ผอู้ านวยการสานกั ผตู้ รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารท่ี 1-13 กรงุ เทพมหานคร

การจดั ฝึกอบรมผฝู้ ึกสอน 1.3 การขออนุญาตเปิดการฝึกอบรมวชิ าผกู้ ากบั ลกู เสอื นนั้ ใหท้ าลว่ งหน้าอยา่ งน้อย 30 วนั 1.4 ในใบขออนุญาตเปิดการฝึกอบรมวชิ าผกู้ ากบั ลกู เสอื นนั้ ใหม้ ขี อ้ ความตอ่ ไปน้ีดว้ ย

การจดั ฝึกอบรมผฝู้ ึกสอน 2.ผมู้ ีสิทธิเข้ารบั การฝึ กอบรม จะตอ้ งมคี ุณสมบตั ดิ งั ต่อไปน้ี 2.1 การเขา้ ฝึกอบรมวชิ าผกู้ ากบั ลกู เสอื สารองและลกู เสอื สามญั ขนั้ ความรเู้ บ้อื งตน้ ตอ้ งมอี ายุ อยา่ งน้อย 18 ปีบรบิ รู ณ์ มคี วามรไู้ มต่ ่ากวา่ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 หรอื เทยี บเทา่ และไดร้ บั การฝึกอบรม วชิ าผกู้ ากบั ลกู เสอื ขนั้ ความรทู้ วั่ ไปมาแลว้ 2.2 การฝึกอบรมวชิ าผกู้ ากบั ลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ขนั้ ความรเู้ บอ้ื งตน้ ต้องมอี ายอุ ยา่ งน้อย 21 ปีบรบิ รู ณ์ มคี วามรไู้ มต่ ่ากวา่ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 หรอื เทยี บเทา่ และไดผ้ า่ นการฝึกอบรมวชิ าผู้ กากบั ลกู เสอื ขนั้ ความรทู้ วั่ ไปมาแลว้ 2.3 ลกู เสอื วสิ ามญั ทม่ี อี ายุ 17 ปี 6 เดอื น ถา้ เคยมปี ระสบการณ์ในการเป็นผนู้ าในกองลกู เสอื วสิ ามญั มาแลว้ อาจสมควรเขา้ รบั การฝึกอบรมวชิ าผกู้ ากบั ลกู เสอื ได้

การจดั ฝึกอบรมผฝู้ ึกสอน 3.การวดั และประเมินผลการฝึ กอบรม ประเมนิ จาก 3.1 เวลาเขา้ รบั การฝึกอบรม 3.2 ระบบการทางานในหมู่ 3.3 ความตงั้ ใจและความมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรม 3.4 การสรา้ งกจิ กรรมยามวา่ ง 3.5 สมดุ จดวชิ า โดยผอู้ านวยการฝึกเป็นผปู้ ระเมนิ ผลจากการสงั เกตและพจิ ารณาของวทิ ยากรประจาหมู่ 4.การรายงานผลการฝึ กอบรม เมอ่ื การฝึกอบรมสน้ิ สดุ ลงแลว้ ผอู้ านวยการฝึกอบรมจะต้องทา รายงานฝึกอบรมเสนอต่อรองผอู้ านวยการลกู เสอื จงั หวดั หรอื ศกึ ษาธกิ ารเขต หรอื สานักงานคณะ กรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ แลว้ แต่กรณี ภายใน 15 วนั โดยในรายงานนนั้ จะตอ้ งมรี ายละเอยี ด เกย่ี วกบั เรอ่ื งต่อไปน้ี 4.1 รายช่อื ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมทงั้ หมด 1 ชดุ 4.2 ความคดิ เหน็ ของผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรม 4.3 ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั หลกั สตู รการฝึกอบรม

วตั ถปุ ระสงคข์ องการฝึ กอบรมวิชาผกู้ ากบั ลกู เสือ การฝึกอบรมวชิ าผกู้ ากบั ลกู เสอื นนั้ มหี ลายระดบั แตล่ ะระดบั มวี ตั ถุประสงคท์ ส่ี าคญั ดงั น้ี วตั ถปุ ระสงคข์ องการฝึ กอบรมวิชาผกู้ ากบั ลกู เสือสามญั เบอื้ งต้น 1. เพ่อื ใหส้ ามารถบรรยายลกั ษณะและความตอ้ งการของเดก็ ในวยั ลูกเสอื สารอง และวธิ ีการทจ่ี ะ สนองความตอ้ งการนนั้ ได้ 2. เพ่อื ให้สามารถบรรยายลกั ษณะงานในประเภทลูกเสอื สารองในฐานะท่ีเป็นส่วนหน่ึงของ ขบวนการลูกเสือ และวิธีการท่ีใช้กับลูกเสือประเภทน้ี เพ่ือให้บรรลุผลการพฒั น าเด็กเป็น รายบุคคลได้ 3. เพอ่ื ใหร้ จู้ กั เลอื กและใชว้ ธิ กี ารเล่นเกมทใ่ี ชใ้ นการฝึกลกู เสอื ได้ 4. เพอ่ื ใหส้ ามารถบอกวธิ กี ารฝึกอบรมต่างๆ ทส่ี ามารถนามาใชฝ้ ึกลกู เสอื สารองได้

วตั ถุประสงคข์ องการฝึกอบรมวชิ าผกู้ ากบั ลูกเสอื 5. บอกจุดมงุ่ หมายของสญั ญาณพธิ กี ารของลกู เสอื สารอง และวธิ ใี ชพ้ ธิ กี ารในกองลกู เสอื สารองได้ 6. บอกความจาเป็นในการวางแผนกาหนดการ และสามารถวางแผนกาหนดการในการฝึกอบรมได้ 7. อธบิ ายความหมาย กฎ และคาปฏญิ าณของลูกเสอื ได้ และสามารถทาใหล้ ูกเสอื สารองเข้าใจกฎ และคาปฏญิ าณของลกู เสอื ได้ 8. อธบิ ายบทบาทและความรบั ผดิ ชอบของผกู้ ากบั ลกู เสอื สารองได้ 9. รจู้ กั แหล่งวทิ ยากรในการฝึกอบรมลูกเสอื สารอง

วตั ถุประสงคข์ องการฝึกอบรมวชิ าผกู้ ากบั ลูกเสอื วตั ถปุ ระสงคข์ องการฝึ กอบรมวิชาผกู้ ากบั ลกู เสือสามญั เบอื้ งต้น 1. เพอ่ื ใหส้ ามารถบรรยายลกั ษณะนิสยั และความตอ้ งการของเดก็ ในวยั 11-16 ปี และ รจู้ กั วธิ ที จ่ี ะสนองความตอ้ งการของเดก็ ดว้ ยวธิ กี ารของลูกเสอื 2. สามารถอธบิ ายลกั ษณะงานของลกู เสอื สามญั ในฐานะเป็นสว่ นหน่ึงของขบวนการ ลกู เสอื ทงั้ หมด และรจู้ กั วธิ กี ารทใ่ี ชส้ าหรบั ลกู เสอื สามญั 3. สามารถอธบิ ายความสาคญั ของระบบหมใู่ นการปฏบิ ตั งิ านตามวธิ กี ารของลกู เสอื ได้

วตั ถุประสงคข์ องการฝึกอบรมวชิ าผกู้ ากบั ลูกเสอื 4. สามารถหาวธิ ีการอบรมนายหมู่ และร่วมทางานกบั นายหมู่ในการประชุมหมู่อย่าง ไดผ้ ล 5. สามารถใชเ้ ทคนิควธิ ที จ่ี าเป็นและเหมาะสมในการฝึกอบรมลูกเสอื สามญั ได้ 6. สามารถเสริมสร้างความสมั พนั ธ์อนั ดีกบั ผู้บังคบั บัญชาลูกเสือ และวิทยากรจาก หน่วยงานอน่ื ๆ ได้ 7. สามารถอธบิ ายหลกั การและความหมายของคาปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื ได้ 8. รจู้ กั บทบาทและหน้าทข่ี องผกู้ ากบั ลกู เสอื สามญั 9. สามารถวางแผนการฝึกอบรม และบอกแหลง่ สนบั สนุนการฝึกอบรม

วตั ถุประสงคข์ องการฝึกอบรมวชิ าผกู้ ากบั ลูกเสอื วตั ถปุ ระสงคข์ องการฝึ กอบรมวิชาผกู้ ากบั ลกู เสือสามญั รนุ่ ใหญ่เบอื้ งต้น 1. เพอ่ื ใหส้ ามารถบอกลกั ษณะและความตอ้ งการของเยาวชนในวยั 15 ปี แต่ไมเ่ กนิ 18 ปี สามารถ บอกถงึ วธิ ที ก่ี จิ การของลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่จะสนองความตอ้ งการของเยาวชนได้ 2. อธบิ ายวธิ กี ารจดั ทาแผนการฝึกอบรม เพอ่ื สนองความตอ้ งการของสมาชกิ ในกองได้ 3. อธบิ ายหน้าทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของผกู้ ากบั รองผกู้ ากบั เกย่ี วกบั กจิ กรรมทเ่ี สย่ี งอนั ตราย ในกองลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ได้ 4. อธบิ ายบทบาทของตนในฐานะทเ่ี ป็นผกู้ ากบั หรอื รองผกู้ ากบั ลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ได้ 5. ระบคุ วามตอ้ งการเกย่ี วกบั การฝึกอบรมของรองผกู้ ากบั และผกู้ ากบั สามารถหาวธิ กี ารสนอง ความตอ้ งการนนั้ ได้

หลกั สตู รผกู้ ากบั วิชาลกู เสือ การเป็นผู้กากบั ลูกเสอื หรอื ผูฝ้ ึกสอนในแต่ละระดบั นัน้ จะต้องมีความรู้ความสามารถ และฝึกสอนไดต้ ามหลกั สตู รของ ระดับนัน้ ๆ ซ่ึงจะมีหลักสูตรท่ี แตกต่างกนั ไป ดงั น้ี

หลกั สตู รผกู้ ากบั วชิ าลูกเสอื

หลกั สตู รผกู้ ากบั วชิ าลูกเสอื

หลกั สตู รผกู้ ากบั วชิ าลูกเสอื

การประเมินผลผกู้ ากบั ลกู เสือ การประเมนิ ผลการสอนนนั้ วธิ ที ใ่ี ชก้ นั มากทส่ี ดุ คอื วธิ กี ารสงั เกต โดยตอ้ งสงั เกตในดา้ นตา่ งๆ ดงั น้ี การเตรยี มตวั ของผสู้ อน 1 วธิ กี ารสอน 2 การนาเขา้ สบู่ ทเรยี น สอ่ื การสอน 3 บคุ ลกิ ลกั ษณะทา่ ทาง 4 กจิ กรรมการสอน น้าเสยี ง 5 6 การสอนตามจดุ ประสงค์ 7 8 การตรงตอ่ เวลา 9 การวดั และการประเมนิ ผล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook