สติปัฏฐาน ๔ เขมรังส ี ภิกขุ
สติปัฏฐาน ๔ เขมรังสี ภกิ ขุ
สติปัฏฐาน ๔ เขมรังสี ภกิ ขุ พิมพ์ครงั้ ท ่ี ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ จ�ำนวนพิมพ ์ ๓๐,๐๐๐ เลม่ จัดพมิ พเ์ ปน็ ธรรมทานโดย วัดมเหยงคณ์ ต�ำบลหันตรา อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐ โทรศัพท ์ : ๐๘๓-๐๗๙-๙๓๐๒ โทรสาร : ๐๓๕-๘๘๑-๖๐๕ กรุณาเพมิ่ เพ่อื นทางไลน์ เพอื่ รบั ข่าวสาร www.mahaeyong.org www.watmaheyong.org ติดตามข่าวสาร สาระธรรม และกิจกรรมของวดั มเหยงคณ์ Facebook : ๑ (๑) วัดมเหยงคณ์ ขา่ วสด สาระธรรม (๒) วดั มเหยงคณ์ ธัมโมวาท Line ID : @mhy2527 หรือ สแกน QR Code สมัครเข้าปฏบิ ตั วิ ิปัสสนากรรมฐาน ๒ วดั มเหยงคณ์ทีก่ ลุ่มคอร์สกรรมฐาน Line ID : @iri419f หรอื สแกน QR Code ออกแบบ / จดั ทำ� รูปเล่ม / พสิ ูจนอ์ กั ษร คณะศษิ ยช์ มรมกลั ยาณธรรม (หนังสือชมรมฯ ลำ� ดบั ท ี่ ๓๗๙) สนบั สนนุ จัดพมิ พ์เปน็ ธรรมทานโดย บริษัทขมุ ทองอตุ สาหกรรมและการพมิ พ ์ จ�ำกดั โทร. ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๐-๓
“ดูกอ่ น ภิกษทุ ง้ั หลาย หนทางนเ้ี ปน็ หนทางเอก อนั เปน็ ไปเพอื่ ความบรสิ ทุ ธข์ิ องเหลา่ สตั ว ์ เพอ่ื ลว่ งความโศก ความร�ำ่ ไรร�ำพัน เพือ่ ความดบั ไปแหง่ ทกุ ข์และโทมนสั เพ่อื บรรลญุ ายธรรม (ธรรมทถ่ี กู ตอ้ ง) เพอ่ื ท�ำใหแ้ จ้งซ่ึงพระนิพพาน หนทางนี้ คอื สตปิ ฏั ฐาน ๔”
“เราปฏิบตั ิเพอื่ ต้องการใหเ้ ห็นความจรงิ ละความเหน็ ผิดตา่ งๆ ทเี่ คยยึดถือวา่ เปน็ ตัวเรา ของเรา เปน็ ของเทย่ี ง เปน็ ของสวยงาม เปน็ สขุ ส่งิ เหล่านต้ี ้องถอดถอน โดยการรแู้ จ้งแทงตลอด วา่ สภาวะต่างๆ มนั ไม่เที่ยงจรงิ ๆ บงั คบั ไม่ไดจ้ รงิ ๆ เกดิ ดับ เปน็ ทกุ ข์จรงิ ๆ เมอื่ เห็นประจักษ์ดว้ ยจติ ใจของตวั เองแลว้ มนั ก็จะถอนคนื ปลอ่ ยวาง ความยดึ มนั่ ถอื มัน่ ได ้ ซ่ึงจะเปน็ หนทางสคู่ วามดับทุกข์ ไดอ้ ยา่ งแท้จริง”
สติปัฏฐาน (๑) บดั น ้ี ทา่ นทงั้ หลายไดม้ ารวมกนั เพอื่ มาขอ กรรมฐาน ทจ่ี ะนำ� ไปประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ในการทำ� ให้ แจง้ ซงึ่ พระนพิ พาน เรากม็ าเดนิ ตามรอยพระบาท ของพระพทุ ธองค ์ ดว้ ยการปฏบิ ตั ติ ามค�ำสอนของ พระองค์ กรรมฐาน กค็ อื การปฏบิ ตั อิ บรมทางจติ ใจ ม ี ๒ แบบ คือ 8 สติปัฏฐาน ๔
๑. สมถกรรมฐาน เปน็ การปฏบิ ตั เิ พอ่ื ยงั จติ ให้สงบ โดยการเพ่งอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่ง จนกระท่งั จติ แนว่ แนเ่ ป็นสมาธิ ๒. วิปัสสนากรรมฐาน เป็นการอบรมจิต เพ่ือให้เกิดปัญญา รู้แจ้งตามความเป็นจริง ว่า ขนั ธ ์ ๕ หรอื รปู นาม กายใจ เปน็ เพยี งธรรมชาตทิ ่ี เปล่ียนแปลง เกิดดับ บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช ่ บคุ คล ตัวตน เรา เขา ในการเจริญกรรมฐานน้ัน กระท�ำโดยการ มสี ต ิ กำ� หนดพจิ ารณาอยใู่ นฐานทง้ั ๔ ซง่ึ เรยี กวา่ “สตปิ ัฏฐาน ๔” ฐานทง้ั ๔ ไดแ้ ก่ กาย เวทนา จิต และ ธรรม เขมรังสี ภิกขุ 9
การมสี ตริ ะลกึ ร ู้ กายในกาย อยบู่ อ่ ยๆ เนอื งๆ เรยี กว่า “กายานปุ ัสสนาสตปิ ัฏฐาน” การมสี ตริ ะลกึ ร ู้ เวทนาในเวทนา อยบู่ อ่ ยๆ เนอื งๆ เรยี กว่า “เวทนานุปัสสนาสตปิ ฏั ฐาน” การมสี ตริ ะลกึ ร ู้ จติ ในจติ อยบู่ อ่ ยๆ เนอื งๆ เรยี กว่า “จิตตานปุ ัสสนาสตปิ ฏั ฐาน” การมีสติระลึกรู้ ธรรมในธรรม อยู่บ่อยๆ เนืองๆ เรยี กวา่ “ธมั มานุปสั สนาสตปิ ัฏฐาน” ๑. กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน จ�ำแนกวิธี ปฏบิ ตั ไิ ด ้ ๖ หมวด ซง่ึ ผปู้ ฏบิ ตั สิ ามารถทจ่ี ะเลอื ก ปฏิบัติหมวดใดหมวดหน่ึงก็ได้ตามความถนัด 10 สติปัฏฐาน ๔
ได้แก่ ๑. อานาปานสต ิ การมสี ตริ ะลกึ ร ู้ ลมหายใจ เขา้ - ลมหายใจออก ๒. อริ ยิ าบถใหญ ่ การมสี ตริ ะลกึ ร ู้ ในอริ ยิ าบถ ยืน เดนิ นัน่ นอน ทเ่ี ปน็ ปจั จุบันอยูเ่ นืองๆ ๓. อิริยาบถย่อย การมีสติระลึกรู้ ใน อริ ยิ าบถยอ่ ย ไดแ้ ก ่ การกม้ การเงย การเหลยี ว ซา้ ย แลขวา การค ู้ เหยยี ด เคลอื่ นไหว ทง้ั ในขณะ รบั ประทานอาหาร อาบนำ�้ แตง่ ตวั รวมทง้ั ขณะ ขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะดว้ ย ๔. อาการ ๓๒ ได้แก่ ผม ขน เล็บ ฟัน หนงั เนอื้ เอน็ กระดกู หวั ใจ ตบั ปอด นำ�้ เลอื ด เขมรังสี ภิกขุ 11
น้�ำเหลือง น�้ำลาย อุจจาระ ปัสสาวะ เป็นต้น พจิ ารณาอาการ ๓๒ ใหเ้ หน็ เปน็ สงิ่ ปฏกิ ลู ไมส่ ะอาด ๕. ธาตุ ๔ พิจารณาร่างกายของตนเอง โดยสกั แตว่ า่ เปน็ ธาตดุ นิ ธาตนุ ำ�้ ธาตลุ ม ธาตไุ ฟ ๖. ซากศพ ๙ ระยะ พิจารณาร่างกาย ให้เห็นเป็นซากศพในระยะต่างๆ ๙ ระยะ เช่น ศพทข่ี น้ึ อดื มนี ำ�้ เลอื ด นำ�้ เหลอื งไหล ศพทถี่ กู หน่ั ออกเป็นช้ินๆ มีอวัยวะกระจัดกระจาย เป็นต้น ให้เห็นกายว่า เป็นความไม่สวย ไม่งาม ไม่จีรัง ยง่ั ยืน เพอื่ ใหเ้ กิดความสลดสังเวชใจ 12 สติปัฏฐาน ๔
หมวดท ่ี ๖ ม ี ๙ ขอ้ รวมแลว้ กายานปุ สั สนาฯ มีให้ระลึกรไู้ ด้ถงึ ๑๔ ขอ้ ดว้ ยกนั ๒. เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน การมีสต ิ ระลึกรู้ในเวทนา คือ ความรู้สึกสุข ทุกข์ เฉยๆ มที งั้ ทอี่ งิ อามสิ และไมอ่ งิ อามสิ (อามสิ คอื เหยอื่ ลอ่ ) ๓. จติ ตตานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน ไดแ้ ก ่ การ มีสติระลึกรู้จิตว่า จิตมีราคะหรือไม่มีราคะ จิต มโี ทสะหรอื ไมม่ โี ทสะ จติ เศรา้ หมองหรอื ผอ่ งแผว้ จติ ฟงุ้ ซา่ นหรอื มสี มาธ ิ ฯลฯ ตามรจู้ ติ ทเ่ี ปน็ ไปอย ู่ ในปจั จุบนั เขมรังสี ภิกขุ 13
๔. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน เป็นการ มีสติรูใ้ นธรรมทง้ั หลาย ไดแ้ ก่ นวิ รณ ์ ๕ ขนั ธ ์ ๕ อายตนะ ๑๒ โพชฌงค ์ ๗ อรยิ สจั จ ์ ๔ วา่ มกี าร เกดิ ขนึ้ และดบั ไปอยา่ งไร ตามทเ่ี ปน็ จรงิ ของสภาว- ธรรมน้ันๆ ในขณะปัจจุบัน เช่น ฟุ้ง ก็ก�ำหนด รู้ฟุ้ง ง่วง ก็ก�ำหนดรู้ความง่วง มีนิวรณ์ต่างๆ เกิดข้ึน ก็ก�ำหนดรู้นิวรณ์นั้นๆ ทางอายตนะก็มี การเห็น การได้ยิน การรู้กลิ่น การรู้รส การรู้ สัมผัสทางกายและทางใจ ก็ก�ำหนดรู้ ในท่ีน้ีจะ ไม่กล่าวโดยละเอียด จะกล่าวเพียงเบ้ืองต้นให้ได้ เขา้ ใจในแนวทางการปฏิบัติเทา่ นน้ั ส�ำหรับผู้ปฏิบัติใหม่ก็ให้พิจารณาว่า กาย ในหมวดใดทเี่ หมาะกบั จรติ ของตน เชน่ ขณะทน่ี ง่ั อยนู่ ี้ จะเลอื กกำ� หนดลมหายใจเขา้ - ออกกไ็ ด ้ จะ 14 สติปัฏฐาน ๔
กำ� หนดดใู นอริ ยิ าบถนง่ั กไ็ ด ้ จะพจิ ารณาอาการ ๓๒ ก็ได้ หรือจะแยกธาตุ ๔ ก็ได้ จะพิจารณาเป็น ของไม่สวย ไม่งาม ให้เห็นเป็นซากศพ น่ีก็ได ้ ก็เลอื กท�ำเอาตามความถนดั ส่วนในการเดินจงกรม ก็ก�ำหนดรู้กายท ่ี ก�ำลังเดิน เอาสติมาเกาะรู้อยู่ท่ีท่าทางของกาย ที่ก�ำลังเดิน ก็ให้ท�ำสลับๆ กันไป ระหว่างการ นั่งสมาธิกับการเดินจงกรม ซ่ึงก็ควรเดินจงกรม กอ่ นทจี่ ะนงั่ สมาธิ เช่น อาจจะเดินจงกรมสักครึ่งชั่วโมง แล้ว ก็มานั่งสมาธิสักคร่ึงช่ัวโมง ต่อๆ ไปก็เพิ่มเวลา ขึ้นเป็น ๔๕ นาที หรือ ๑ ช่ัวโมง เหตุที่ให้ เดนิ จงกรมกอ่ น กเ็ พอื่ ทว่ี า่ เวลามานงั่ สมาธ ิ สมาธ ิ เขมรังสี ภิกขุ 15
16 สติปัฏฐาน ๔
จะรวมได้เร็ว และต้งั มั่นไดน้ าน การปฏิบัติธรรม ก็จะมีการเดินจงกรม น่ังสมาธิ เจริญสติในอิริยาบถใหญ่ อิริยาบถย่อย ตา่ งๆ ในการใชช้ วี ติ ประจำ� วนั ไมว่ า่ จะทำ� กจิ กรรม อะไรก็ตาม ก็ให้เป็นเวลาของการปฏิบัติ ขณะ รับประทานอาหาร เวลาทำ� ความสะอาดภาชนะ ที่พักอาศัย แม้ขณะท�ำกิจส่วนตัว อุจจาระ ปัสสาวะ ล้างหน้า แปรงฟัน อาบน�้ำ แต่งตัว ไม่ว่าจะท�ำอะไรก็ตาม ก็ให้ถือเป็นเวลาของ การปฏบิ ตั ิ การปฏบิ ตั ติ อ้ งใหต้ อ่ เนอื่ ง แตก่ ไ็ มใ่ ช่ คร่�ำเครง่ ส�ำหรับผู้ที่น่ังสมาธิ ก�ำหนดลมหายใจ เข้า - ออก จิตอาจจะชอบแวบไปคิดโน่นคิดนี่ ก็ เขมรังสี ภิกขุ 17
ใหเ้ พมิ่ การนับลมหายใจได้ ตามทอ่ี รรถกถาจารย ์ ท่านสอนไว้ หรือจะเพิ่มค�ำบริกรรม เช่น พุทโธ สัมมาอะระหัง พองหนอ ยุบหนอ เป็นต้นก็ได ้ เวลาเดนิ จงกรม จะบรกิ รรมวา่ ยก - ยา่ ง - เหยยี บ ก็ได้เหมือนกัน เมื่อจิตอยู่กับเน้ือกับตัวดีแล้ว กไ็ ม่ตอ้ งบริกรรม สิ่งที่เป็นข้อห้าม และ ข้อควรปฏิบัติ สำ� หรบั ผเู้ ขา้ อบรมกรรมฐาน คอื ๑. ห้ามพูดคุยกันตลอดการอบรม ๗ วัน เพราะจะท�ำให้จิตรวมตัวได้ยาก คุยเรื่องอะไร จิตก็จะคิดปรุงไปเร่ืองนั้น จิตจะคอยส่งออกนอก ไป เร่ืองนั้น เร่ืองน้ี ดังน้ันให้ปิดวาจา งดพูดคุย รวมท้ังงดการใช้เคร่ืองมือสื่อสารทุกชนิด ให้ฝาก 18 สติปัฏฐาน ๔
เจ้าหน้าท่ีไว้ ถ้ามีปัญหาจ�ำเป็นจริงๆ ให้พูดได้ เฉพาะกับพ่ีเล้ียง และกับพระอาจารย์ที่จะต้อง สง่ อารมณ์เทา่ นัน้ ห้ามคุยกบั ผูป้ ฏิบัติด้วยกนั ๒. เว้นน�ำการงานทุกอย่างเข้ามาท�ำใน ระหวา่ งปฏบิ ตั ิ งดการอา่ นหนงั สอื เขยี นหนงั สอื เพราะจิตจะไหลไปในเร่ืองอ่ืน เราปลีกตัวมาแล้ว ก็ใหส้ นใจงานของการเจรญิ สต ิ งานกรรมฐานนน้ั แล้วก็ไม่ต้องช่วยงานวัด ถ้าจะกวาด ก็ให้กวาด เฉพาะบรเิ วณทอ่ี ยอู่ าศยั ใหว้ างภาระธรุ ะทง้ั หลาย ๓. ตอ้ งรจู้ กั ประมาณในการบรโิ ภคอาหาร อย่าให้มากไป อยา่ ใหน้ ้อยไป เขมรังสี ภิกขุ 19
๔. ต้องเป็นผู้ไม่เห็นแก่การหลับการนอน ให้พากเพียรในการปฏบิ ัติ ๕. หมั่นเดินจงกรม นง่ั สมาธ ิ ผูกใจไวก้ ับ การปฏบิ ตั ติ ลอดเวลา ใหร้ เู้ นอื้ รตู้ วั อยทู่ กุ ขณะตนื่ แมว้ ่าจะนงั่ พกั หรอื จะเอนกายพัก ก็ให้กำ� หนดรู้ ดว้ ย ยกเวน้ แตจ่ ะเผลอไปเอง หรอื เวลานอนหลบั ตามตารางเวลาที่ก�ำหนดก็ประมาณ ๔ ทุ่ม พอ ต ี ๔ จะมเี สยี งระฆงั ปลกุ ใหต้ น่ื ทำ� ความเพยี รตอ่ ๖. ให้ส�ำรวมกาย วาจา ปลีกตัวปฏิบัติ คนเดยี วตามลำ� พัง ไมค่ ลกุ คลกี นั เริ่มแรกให้ท�ำสมาธิไปก่อน ด้วยการเดิน จงกรม นั่งสมาธิ ให้จิตเริ่มตั้งม่ันได้ก่อน แล้วจึง 20 สติปัฏฐาน ๔
เลอื่ นขน้ึ ไปกำ� หนดสภาวะรปู - นาม ระลกึ รสู้ ภาวะ ท้ังทางกาย ทางใจ เมื่อช�ำนาญดีแล้ว จิตก็จะ อยกู่ บั เนอื้ กบั ตวั ไมไ่ หลออกไปขา้ งนอก กก็ ำ� หนด ดูรูป ดูนามน่ีแหละ ให้เห็นตามความเป็นจริง (ไตรลักษณ์) ในเบื้องต้นก็ทำ� สมาธไิ ปกอ่ น นอกจากบางคนที่น่ังสมาธิไม่ได้ ท้ังฟุ้ง ทัง้ งว่ ง มนี วิ รณม์ าก จะลืมตาปฏบิ ตั กิ ็ได้นะ ชว่ ง ๓ วันแรกจะเป็นธรรมดาของผปู้ ฏบิ ตั ใิ หม่ ก็อย่า เพ่ิงคิดว่าเราไม่มีบุญ ไม่มีวาสนา อย่าคิดว่าท�ำ ไปไม่เห็นได้อะไรเลย มันได้แล้วตั้งแต่เร่ิมปฏิบัติ แต่ต้องใช้เวลาสั่งสมไปเร่ือยๆ ท�ำไประยะหน่ึง จิตเราก็จะตั้งม่ันได้เอง ก็ขอให้พากเพียร อย่า ทอ้ แท้เสยี ก่อน เขมรังสี ภิกขุ 21
เวลาปฏิบัตินี่ เราต้องรู้จักการวางใจด้วย อยา่ คดิ วา่ จะตอ้ งสงบ แลว้ ทำ� ไปดว้ ยความทะยาน อยาก พยายามทจี่ ะทำ� ใหม้ นั ได ้ แบบนกี้ ว็ างใจไว ้ ผดิ การฝกึ หดั ปฏบิ ตั ิ ใหม้ คี วามรตู้ วั ไปอยา่ งปกติ ปล่อยวางอยู่ในที อย่าให้มันทะยานอยาก ท�ำ ใหส้ บายๆ ผอ่ นคลาย แตก่ ต็ อ้ งมสี ตริ ไู้ วเ้ สมอๆ ไม่ใชป่ ลอ่ ยใจใหเ้ ล่อื นลอยไปเรอื่ ย ต่อไปน้ี ก็เร่ิมสมาทานพระกรรมฐาน ขอ ให้ว่าตาม “อุกาสะ อุกาสะ ณ โอกาสบัดนี้ ข้าพเจ้า ขอสมาทาน ซ่ึงพระกรรมฐาน เพื่อขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ วิปัสสนาญาณ และมรรค ผล นิพพาน จงพึงบังเกิดข้ึน ในขันธสันดาน ของ ขา้ พเจา้ 22 สติปัฏฐาน ๔
ข้าพเจ้าจะตั้งสติก�ำหนดรู้ อยู่ท่ีรูปนาม ปัจจุบัน ให้ทันติดต่อกันไป ๓ หน และ ๗ หน ๑๐๐ หน และ ๑,๐๐๐ หน ตง้ั แตบ่ ดั น ้ี เปน็ ตน้ ไป เทอญ” (พระอาจารย์กล่าวนำ� ศษิ ย์ว่าตาม) บัดน้ี ขออาราธนาคุณของพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ อภิบาล ปกปักษ์รักษา ให ้ ท่านท้ังหลาย แคล้วคลาดปลอดภัย จากหมู่มาร ร้าย ภัยอันตรายท้ังปวง ให้เจริญในธรรมยิ่งๆ ข้ึนไป จนถึงซ่ึงความพ้นทุกข์ คือพระนิพพาน ทกุ ทา่ น เทอญ. เขมรังสี ภิกขุ 23
“ถา้ สตสิ มั ปชญั ญะทเ่ี ข้าไปดู ยงั ไมม่ คี วามคมกลา้ หรือยังวางท่าทีไมถ่ ูกตอ้ ง นิวรณเ์ หลา่ นั้นจึงยงั แสดงอาการอย่ ู แต่เมอ่ื เราใชค้ วามพากเพยี ร ดไู ป รไู้ ป อดทน อดกล้นั วางเฉย ธรรมชาติเหล่านั้น ก็จะมีการเปลย่ี นแปลง มคี วามจางคลายใหด้ ู มคี วามเกดิ และความดบั ปรากฏใหเ้ หน็ ”
สติปัฏฐาน (๒) นะมัตถุ รัตตะนะตะยัสสะ ขอถวายความ นอบนอ้ ม แดพ่ ระรตั นตรยั ขอความผาสกุ ความ เจริญในธรรม จงมีแก่ญาติสัมมาปฏิบัติธรรม ทัง้ หลาย ต่อไปน้ีจะได้ปรารภธรรมะ ตามหลักธรรม ค�ำสอน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพอ่ื สง่ เสรมิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ ในการปฏบิ ตั ธิ รรม อันเป็นแนวทางสู่ความดับทุกข์ พระพุทธองค์ได้ ตรัสแสดงไวถ้ งึ สติปฏั ฐาน ๔ ว่า 26 สติปัฏฐาน ๔
“ดกู อ่ น ภกิ ษทุ งั้ หลาย หนทางนเ้ี ปน็ หนทาง เอก อนั เปน็ ไปเพอ่ื ความบรสิ ทุ ธข์ิ องเหลา่ สตั ว ์ เพอ่ื ล่วงความโศก ความร�่ำไรร�ำพัน เพื่อความดับไป แหง่ ทกุ ขแ์ ละโทมนสั เพอ่ื บรรลญุ ายธรรม (ธรรม ทถ่ี กู ตอ้ ง) เพอ่ื ทำ� ใหแ้ จง้ ซงึ่ พระนพิ พาน หนทางนี้ คือ สติปัฏฐาน ๔” สติปัฏฐาน ๔ ก็คือ การมีสติสัมปชัญญะ ตามดรู เู้ ทา่ ทนั สภาวธรรมตา่ งๆ ทก่ี �ำลงั ปรากฏใน ปัจจุบัน อยู่ในฐานท้ัง ๔ บ่อยๆ เนืองๆ เพ่ือให ้ เห็นกายและใจตามความเป็นจริง ด้วยความ ไม่ยินดี ยินร้าย ฐานท้ัง ๔ ได้แก่ กาย เวทนา จิต และ ธรรม เขมรังสี ภิกขุ 27
ในวันนี้จะกล่าวถึงการปฏิบัติส�ำหรับผู้ใหม่ ซ่ึงส่วนใหญ่มักจะเกิดนิวรณ์มารบกวนจิตใจ นิวรณ์ คือเครื่องก้ันความดี เป็นธรรมฝ่ายอกุศล ตามค�ำสอนท่ีพระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงไว้ เรา สามารถจะเอานวิ รณม์ าเปน็ ประโยชนไ์ ด ้ กโ็ ดยใช้ นิวรณ์เป็นที่ตั้งของสติ นิวรณ์จึงเป็นประโยชน์ สำ� หรบั ผทู้ เ่ี ขา้ ใจแนวทางของการเจรญิ สตปิ ฏั ฐาน การมีสติตามระลึกรู้เท่าทันนิวรณ์ท่ีก�ำลังปรากฏ อยู่นน้ั เปน็ ธมั มานปุ ัสสนาสตปิ ัฏฐาน นิวรณ์มี ๕ ประการ คอื ๑. กามฉันทะนิวรณ์ ได้แก่ ความก�ำหนัด ยินดีในกามคุณอารมณ์ คือ รูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ ที่นา่ ใคร่นา่ ปรารถนา 28 สติปัฏฐาน ๔
๒. พยาปาทนิวรณ์ ได้แก่ ความพยาบาท อาฆาต คดิ ร้ายผอู้ ่ืน ๓. อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ ความฟุ้งซ่าน ร�ำคาญใจ ๔. ถีนมิทธนิวรณ์ คือ ความหดหู่ ซึมเซา ง่วงเหงาหาวนอน ๕. วิจิกิจฉานิวรณ์ ได้แก่ ความสงสัย ลังเลใจ นิวรณ์เหล่าน้ีเกิดข้ึนได้เสมอ ส�ำหรับปุถุชน ท่ีจิตยังไม่มีก�ำลังของสมาธิ หรือสติสัมปชัญญะ มากพอ เขมรังสี ภิกขุ 29
วธิ แี กน้ วิ รณด์ ว้ ยวปิ สั สนานน้ั มหี ลกั วธิ อี ยู่ ว่า เม่ือส่ิงใดเกิดขึ้น ให้ก�ำหนดรู้ส่ิงนั้น นิวรณ์ ใดเกดิ ขน้ึ กเ็ จรญิ สตริ ะลกึ รนู้ วิ รณอ์ นั นนั้ ทก่ี ำ� ลงั ปรากฏ การเขา้ ไปร ู้ จะตอ้ งมที า่ ทที ถี่ กู ตอ้ ง คอื รู้อย่างปล่อยวาง วางเฉย รู้อย่างปกติ มิใช่ รู้อย่างเกลียดชัง อย่างผลักไส ด้วยการบังคับ อยากให้มันหายไป หรืออยากให้มันเป็นอย่างนั้น อย่างนี้ การวางท่าทีที่ถูกต้อง คือระลึกรู้ด้วยความ ปล่อยวาง ด้วยความวางเฉย ระลึกรู้ด้วยจิตใจที ่ เป็นกลาง ไม่ยินดี ไม่ยินร้าย นี่เป็นส่วนส�ำคัญ ของผู้ปฏิบัติที่จะต้องฝึกหัด จะต้องคอยสังเกตด ู จิตใจตนเอง และคอยปรับ คอยผ่อน วางท่าที ให้ถูกต้องอยู่เสมอ เพราะว่าทุกสิ่งทุกอย่างล้วน 30 สติปัฏฐาน ๔
มีความเปลี่ยนแปลง ไม่คงที่ ตัวสติสัมปชัญญะ ก็เป็นธรรมชาติ ท่ีต้องเปล่ียนแปลง เกิด - ดับไป เหมอื นกนั เพราะฉะนน้ั จะตอ้ งคอยปรบั คอยดู รู้เทา่ ทันอยเู่ สมอ หลักการทางวิปัสสนาไม่ได้มีอะไรยุ่งยาก ไม่ต้องไปคิดนึกหาอุบายอะไรท้ังหมด เพียงแค่ ระลกึ รสู้ งิ่ ตา่ งๆ ทก่ี ำ� ลงั ปรากฏ ดว้ ยความปลอ่ ย วางเทา่ นัน้ เอง ไมว่ ่าจะเป็นนิวรณข์ ้อไหนเกิดขึน้ ก็เขา้ ไปร้ตู วั นน้ั ดูอาการ ดปู ฏกิ ิรยิ าทเ่ี กิดขนึ้ วา่ เขาจางลง เขาคลายลงหรือสลายหายไป ไม่ว่า จะเป็นราคะ ความรักความใคร่ ความก�ำหนัด ยนิ ด ี กเ็ ขา้ ไปรอู้ าการของความรสู้ กึ ทก่ี ำ� ลงั ปรากฏ มันเกิด มันแรงข้ึน หรือมันเบา จางลง มัน คลายลงหรอื สลายหายไป เขมรังสี ภิกขุ 31
โดยปกติแล้ว เมื่อสติสัมปชัญญะเข้าไปดู เขา้ ไปร ู้ นวิ รณต์ า่ งๆ จะคอ่ ยๆ จางคลาย และ ดับไปเองโดยธรรมชาติ แต่ว่าความรู้สึกของ ผู้ปฏิบัติ จะรู้สึกว่าเข้าไปดูแล้ว สิ่งเหล่าน้ันก็ยัง ไม่หาย เช่น เราเกิดโทสะ เกิดความแค้น เกิด ความรู้สึกไม่พอใจ สติสัมปชัญญะเข้าไปรู้ดูมัน กย็ ังโกรธอยู่ ยงั คับแคน้ อยู ่ เรากต็ ้องพิจารณาว่า ดนู น้ั เราดอู ยา่ งปลอ่ ยวางไหม ดแู บบวางเฉยไหม ถ้าวางใจได้ถูกต้อง ก็จะพบว่าอาการของความ โกรธความแคน้ จะจางคลายใหด้ ู ถ้าสติสัมปชัญญะท่ีเข้าไปดูยังไม่มีความ คมกลา้ หรอื ยงั วางทา่ ทไี มถ่ กู ตอ้ ง นวิ รณเ์ หลา่ นน้ั จงึ ยงั แสดงอาการอย ู่ แตเ่ มอื่ เราใชค้ วามพากเพยี ร ดูไป รู้ไป อดทน อดกล้ัน วางเฉย ธรรมชาต ิ 32 สติปัฏฐาน ๔
เหลา่ นนั้ กจ็ ะมกี ารเปลยี่ นแปลง มคี วามจางคลาย ใหด้ ู มคี วามเกดิ และความดบั ปรากฏใหเ้ หน็ บางท ี มันก็ดับวูบลงไปทันที ถ้าสติสัมปชัญญะของเรา มีความคมกล้า รู้ได้เท่าทันมันจริงๆ ปล่อยวาง จริงๆ ความโกรธเหล่านั้นจะแสดงอาการดับหาย ไปทันที ก็จะพบว่าส่ิงเหล่าน้ีมีความหมดไป ไมเ่ ท่ียง บงั คบั ไมไ่ ดท้ ้ังน้ัน ไม่ว่าจะเกิดความง่วงเหงาหาวนอน หรือ ความท้อถอยก็ตาม ก็ก�ำหนดรู้สภาพธรรมที ่ ก�ำลังปรากฏ เวลาเกิดความง่วง ทางกายรู้สึก อย่างไร เวลาง่วงจะเกิดทุกขเวทนาขึ้นในสมอง จะมีความล้า ความมึน ความซึม จิตใจท้อถอย สติสัมปชัญญะก็เข้าไปรู้ เข้าไปพิจารณาสังเกต ลักษณะเหล่าน้ัน ด้วยความวางเฉย ดูไป เขาก็ เขมรังสี ภิกขุ 33
จะแสดงอาการคล่ีคลายให้ดู หรือสลายตัวให้ด ู แล้วเกิดเป็นความโปร่ง ความโล่ง ความตื่นตัว ขน้ึ มาแทนท่ี นน่ั คอื วธิ กี ารของวปิ สั สนา ไมต่ อ้ งหาอบุ าย หรอื หาเรอ่ื งอะไร มาคดิ มานกึ สอนใจอะไรทงั้ หมด ใช้การระลึกรู้ อะไรเกิดขึ้น ก็รู้อันน้ัน ไม่ต้อง คิดอะไรทั้งหมด ราคะเกิดขึ้น ก็ดูราคะ โทสะ เกิดข้ึน ก็ดูโทสะ ง่วงเกิดขึ้น ก็รู้ง่วง ไม่ต้อง คิดอะไร เวลาง่วง จิตมันเคลิ้มๆ คล้ายจะหมด ความรู้สึกไป เพราะว่าหลับ ดูความหลับ ด ู ความตนื่ กจ็ ะจบั มนั ไดห้ ยกๆ มองเหน็ ความหลบั ไปหยกๆ สติก็จะคว้าความหลับมาสังเกตได้ทัน นิดหน่ึง ท�ำให้ได้เห็นความแตกต่างระหว่าง การหมดความรู้สึก และการมีความรู้สึก ถ้าดู 34 สติปัฏฐาน ๔
เขมรังสี ภิกขุ 35
อย่างนี้บ่อยๆ ก็จะไม่เป็นผู้ท่ีนั่งสัปหงก จะเป็น ผู้ท่ีมีจิตใจตื่น รู้ตัวทั่วพร้อมเสมอ การรู้ทันก็จะ เหน็ ความงว่ งหมดไปเองในที่สุด เม่ือเกิดความฟุ้งซ่านร�ำคาญใจ ก็ก�ำหนดดู ความฟุ้งซ่านร�ำคาญใจ แต่ให้ดูด้วยความวางเฉย อยา่ ไปดดู ว้ ยความอยากใหส้ งบ มฉิ ะนน้ั จะเปน็ การ ไปเติมเช้ือเพลิงให้กิเลส ถ้าเราดูด้วยความอยาก ใหส้ งบ ความอยากนนั้ เปน็ กเิ ลส เปน็ ตณั หา เปน็ อกุศล อุปมาความฟุ้งซ่านหรือความโกรธเหมือน เปน็ ไฟ ตณั หากเ็ ปน็ เชอ้ื เพลงิ เราจะดบั ไฟ แตเ่ รา กลบั ไปใสเ่ ชอื้ เพลงิ มนั กย็ ง่ิ ลกุ กนั ใหญ ่ เกดิ ความ เดือดดาลใจ คับแค้นใจมากข้ึน จะรู้สึกว่าไม่ได้ ดังใจ เมื่อไม่ได้ดังใจ ก็จะย่ิงฟุ้ง ยิ่งโกรธ ยิ่ง เร่าร้อนใจ โกรธตัวเองวา่ ทำ� ไมจึงไม่สงบ 36 สติปัฏฐาน ๔
ฉะนน้ั เวลาฟงุ้ กำ� หนดดคู วามฟงุ้ ดว้ ยความ ปล่อยวาง ต้องสังเกตให้ดีว่า เราก�ำหนดรู้ด้วย ความปล่อยวางไหม ดเู ขาไปเฉยๆ เทา่ นั้น ที่เขา แสดงอาการฟุ้งซ่าน เร่าร้อน ดูเขาไปด้วยความ วางเฉย สว่ นมากเราจะทนไมไ่ ด ้ กระสบั กระสา่ ย อยากจะผลักไส ดังนั้น ต้องใช้ความอดทน จึง จะดับไฟได้ เหมือนกับว่า ไฟมันก�ำลังลุก เราจะ ดับไฟ เราก็ต้องเข้าไปเผชิญ มันก็ย่อมต้องเจอ ความร้อน ถ้าเราหลบเลี่ยง ไม่อดทน มันก็ดับ ไม่ได้ ในขณะท่ีดูกิเลส ดูโทสะ ดูความฟุ้งซ่าน ยอ่ มรสู้ กึ วา่ เปน็ ทกุ ข ์ กต็ อ้ งอดทน วางเฉย ทำ� ให้ เป็นปกติ ไม่กระวนกระวาย ไม่เกลียดชัง ก็จะ เปน็ การดบั ไฟทไ่ี ดผ้ ล ไฟกจ็ ะคลค่ี ลายและมอดให้ เขมรังสี ภิกขุ 37
ด ู หากใจมนั เรา่ รอ้ น เหมอื นไฟลกุ มากแลว้ จะให ้ มันดับทันทีย่อมไม่ได้ ต้องค่อยๆ ดับ จนกว่า มันจะดับสนิท การปฏิบัติ จึงต้องมีขันติ (ความอดทน) มีวิริยะ (ความพากเพียร) มีการพิจารณาโดย แยบคาย ปลอ่ ยวาง วางทา่ ทอี ยา่ งถกู ตอ้ ง ทา่ ที ทถี่ กู ตอ้ งคอื ความรจู้ กั วางเฉย การกำ� หนดเขา้ ไป รู้ทุกข์ ต้องวางใจให้เป็นปกติ ไม่ยินดี ยินร้าย แล้วสภาวธรรมเหล่านั้น เขาก็จะคล่ีคลายให้เห็น เปล่ยี นแปลงใหเ้ หน็ และดับไปใหเ้ ห็นเอง หนา้ ทข่ี องการปฏบิ ตั คิ อื การเขา้ ไปเรยี นรู้ สภาพธรรมตามความเป็นจริง ไม่ได้มีหน้าที่ ไปบังคับ เราเพียงแต่ท�ำหน้าท่ีให้ถูกต้อง คือ 38 สติปัฏฐาน ๔
เรียนรู้กับสภาพธรรมเหล่านั้นตามความเป็นจริง เขาเกิดอย่างไร แสดงอาการอย่างไร ก็ดูเขาไป อย่างน้ัน ดูเขาด้วยความวางเฉย ไม่ยินดียินร้าย จงึ เปน็ การทำ� หนา้ ทที่ ถ่ี กู ตอ้ ง นวิ รณต์ า่ งๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ เชน่ กามฉนั ทะนวิ รณ ์ ซงึ่ เกดิ มาจากความตรกึ นกึ ความด�ำริ ความคิดน้ันเกิดข้ึนมาก่อนโดยไม่รู้ตัว แตแ่ รก แตเ่ มอื่ รตู้ วั แลว้ กป็ ลอ่ ยใหเ้ คลบิ เคลมิ้ ไป กับความคิดเหล่าน้ัน กามฉันทะจึงทวีขึ้น หาก รู้ทัน ไม่ปล่อยให้จิตเป็นไปด้วย ความตรึกนึก ก็ดับลงได้ รู้ความตรึกนึก แล้วมันก็ดับลง ครั้น อาการเกิดขึ้นแล้ว ปล่อยใจให้คิดปรุงแต่งต่อ ก็ถือว่าไฟลุกแล้ว ก็ต้องก�ำหนดดูไฟที่ร้อนแรง ท่ีก�ำลังมปี ฏิกริ ิยา เขมรังสี ภิกขุ 39
ไฟคือราคะ ไฟคือโทสะ ไฟคือโมหะ เป็น ความรอ้ นในจติ ใจ ตอ้ งดเู ขาไปเฉยๆ เขาเกดิ เขา จางคลายก็เห็น เขาดับไปก็รู้ แล้วก็รู้ธรรมชาต ิ ของจิตใจที่ว่างเปล่าจากกิเลสเหล่านั้น จิตท ี่ นิวรณ์ดับไป คลายไป มีสภาพอย่างไร มันโปร่ง เบา ผ่องใส เยือกเย็น ก็ดู รู้เท่าทัน การระลึกรู้ สภาพธรรมต่างๆ เช่นน้ี เป็น ธัมมานุปัสสนา- สติปัฏฐาน แต่เราจะพิจารณาในแง่ไหนก็ได ้ ถา้ พจิ ารณาเอาจติ มาเปน็ ประธาน วา่ จติ นมี้ สี ง่ิ ใด มาเกิดร่วม เช่น จิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ จิต มโี ทสะ กร็ วู้ า่ จติ มโี ทสะ กเ็ ปน็ จติ ตตานปุ สั สนา- สติปฏั ฐาน ปญั หาของผปู้ ฏบิ ตั บิ างทา่ น กเ็ ชน่ อาจเกดิ ความเคร่งตึงทางร่างกาย โดยเฉพาะถ้าปฏิบัต ิ 40 สติปัฏฐาน ๔
มาหลายๆ วัน บางคนจะรู้สึกว่า ความเคร่งตึง ที่ศีรษะ ใบหน้า ล�ำคอ บางคนรู้สึกแน่นตึง หน้าอก น่ีก็เกิดจากการเจริญสติท่ีขาดความเป็น ปกต ิ เจรญิ สตดิ ว้ ยความเขา้ ไปบงั คบั จดจอ้ ง เชน่ บางคนบังคับลมหายใจโดยไม่รู้ตัว กจ็ ะเกิดความ อึดอัด แน่น หรือบางคนดูจิต แต่ไปเพ่งท่ีหัวใจ ก็เจ็บที่ทรวงอก ที่หัวใจ หรือแม้แต่เรื่องของการ กำ� หนดทไี่ มไ่ ดป้ ลอ่ ยวาง ซง่ึ มกี ารดดู ว้ ยการบงั คบั จดจอ้ ง จะเอาใหไ้ ด ้ โดยไมร่ ตู้ วั วา่ นน่ั คอื การบงั คบั การพยายามท่ีจะจับอารมณ์ จับสภาวะ จะให ้ เท่าทัน ก็เกิดความเข้าไปเข้มงวด ระบบสมองก ็ เกิดการบีบตัว ให้เกิดความตึง เกิดความเกร็งใน สมอง กลายเปน็ ยงิ่ ปฏบิ ตั แิ ลว้ ยง่ิ เครยี ด นนั่ เปน็ การปฏบิ ัติทีไ่ ม่ถูกตอ้ ง เขมรังสี ภิกขุ 41
42 สติปัฏฐาน ๔
การเจรญิ วปิ สั สนาเปน็ เรอื่ งของการคลค่ี ลาย ความเครียด ถ้าปฏิบัติถูกต้องแล้ว สมองจะต้อง คลค่ี ลาย จะตอ้ งโปรง่ จะตอ้ งเบา ถา้ ปฏบิ ตั แิ ลว้ เครง่ ตงึ แสดงวา่ การวางทา่ ทขี องสตสิ มั ปชญั ญะ มีความไม่ถูกต้อง คือมีตัณหาเข้าไปบงการ เมื่อ ตัณหาเข้าไปบงการ ก็จะเข้าไปจ้อง ไปบังคับ ท�ำให้สมองเกร็ง ถ้าปล่อยวางไม่เป็น ก็จะท�ำให ้ เกิดการปวดศีรษะได้ เพราะฉะนั้น การแก้จึง ต้องมีความละเอียดมาก คืออย่าเผลอไปบังคับ อย่าเผลอไปเพ่งจ้อง ถ้าเป็นผู้ปฏิบัติใหม่ จะยังไม่เกิด ถ้าปฏิบัต ิ (เพง่ ) มามากแลว้ เคยเปน็ แลว้ ผดิ พลาดนดิ เดยี ว ก็จะเกิดอาการเคร่งตึงขึ้นทันที ถ้าปฏิบัติใหม่ๆ แล้วเผลอบังคับ มันก็ยังไม่เป็นไร เพราะฉะนั้น เขมรังสี ภิกขุ 43
เมื่อเกิดอาการเคร่งตึง เคร่งเครียด หากว่าเรา ปล่อยวางไม่เป็น วางเฉยไม่ถูก ก็จะกลายเป็น ปัญหา เราต้องฟังค�ำสอนให้เข้าใจ แล้วก็ต้อง แก้ไขเอง ต้องคล่ีคลาย ต้องวางให้เป็น ถือหลัก ว่า จะต้องไม่ฝืน ไม่มีการเข้าไปบังคับโดย เดด็ ขาด ถา้ เรามอี าการทเ่ี ครง่ ตงึ อยกู่ อ่ นแลว้ จะตอ้ ง เริ่มต้นวางท่าทีต้ังแต่ต้นเสียใหม่ ท�ำเหมือน ไม่ได้ท�ำ คือท�ำเหมือนไม่ตั้งใจจะท�ำ ปล่อยวาง ทกุ อยา่ ง ทำ� อยา่ งธรรมดา คอ่ ยๆ เปน็ คอ่ ยๆ ไป ถ้าหากว่ามันเกิดความเคร่งตึง สติเข้าไปรู้ความ เคร่งตึง ก็ผ่อนตามไป รู้สึกว่า มันจะเคล่ือนไป ตรงไหน กผ็ อ่ นตามไป ความรสู้ กึ วา่ จติ จะเคลอ่ื น ไปตรงไหน กร็ ไู้ ปตรงนนั้ ไมม่ กี ารฝนื ทง้ั ทางกาย 44 สติปัฏฐาน ๔
และทางจิตใจ ไม่มีการบังคับจิตว่า จะต้องมาด ู เฉพาะตรงน ้ี ความรสู้ กึ มนั เคลอื่ นไปตรงนนั้ กต็ อ้ ง ผ่อนไปรู้ตรงน้ัน เหมือนกับเราคลายปม สะสาง สิ่งที่ยุ่งเหยงิ วิธีแก้อีกอย่างหน่ึงคือ น้อมใส่ใจดูเฉพาะ จิตเท่านั้น ไม่ดูกาย แบบน้ีก็ต้องเข้าใจในการ ดูจิต ต้องดูจิตเป็น น้อมเข้าไปดูท่ีจิต มีการ น้อมไปหน่อย คือเล่ียงทางกาย เพราะเอาจิตไป ดูกาย แล้วมันไปบังคับ ไปสะกด ก็เล่ียงมาดู ที่จิต การดูจิตใจเหมือนทิ้งความรู้สึกทางกายไป จนกระท่ังจิตรู้สึกมีสมาธิข้ึน กายเบา สมอง คล่ีคลาย จิตใจคล่ีคลาย ก็ปรับผ่อนมา ดูกาย ดูจิตเหมือนเดิม ท�ำเช่นนี้อาการเหล่านั้นก็จะ คล่ีคลายไปเช่นเดียวกัน แต่การตามดูจิตก็ไม่ใช่ เขมรังสี ภิกขุ 45
การไปกดข่ม ต้องรู้เฉยๆ ไม่ว่าอะไร นี่ก็เป็น อีกวธิ ีหน่งึ ถ้าใครเป็นน้อยๆ ก็แน่นตึงหน้าอก อาจใช้ ค�ำบริกรรมมาช่วยก็ได้ ถ้ายังวางไม่เป็น คำ� ท่ีมา ช่วยได้คือค�ำว่าปล่อยวาง ค�ำว่าไม่เอาอะไร เป็นต้น ถนัดค�ำไหนก็เอาค�ำนั้น ท�ำความรู้สึก ในใจตน สอนใจตัวเองว่าไม่เอาอะไร ปล่อยวาง ปล่อยวาง อาการเหลา่ นน้ั กจ็ ะคลค่ี ลายได้ การเจริญวิปัสสนาที่แท้จริงแล้วไม่มีการ หลบเล่ียงอะไรท้ังหมด ไม่มีค�ำบริกรรมอะไร ทงั้ หมด เพยี งรบั รรู้ บั ทราบสภาวะทเี่ กดิ ขนึ้ ดว้ ย ความปลอ่ ยวาง ดว้ ยความปกต ิ วางเฉย เชน่ ตงึ ก็รับรู้ว่าตึง รับรู้กาย รับรู้ใจ แต่ไม่ฝืนไปบังคับ 46 สติปัฏฐาน ๔
ไม่หลบ ไม่หนี ไม่ยินดียินร้าย ก็จะเป็นวิปัสสนา ไปในตัว เรียกว่า มีสติ ก�ำหนดดูสภาพธรรม ความตึง ความแข็ง ความทุกขเวทนาเหล่าน้ัน แต่ก็วางเฉยได้ ส่ิงเหล่าน้ันก็คลี่คลายพร้อมด้วย ปัญญาทเ่ี กดิ ขน้ึ คอื เหน็ ความจรงิ ของสงิ่ เหลา่ นน้ั ว่ามีความเปล่ียนแปลง มีความเกิด มีความดับ มสี ภาพบังคบั บัญชาไม่ได ้ ไมใ่ ช่ตวั ตน บางทา่ นปฏบิ ตั ไิ ป ไมไ่ ดเ้ ครง่ เครยี ด เครง่ ตงึ จิตใจมีความสงบดี ดื่มด่�ำเป็นสุข แต่ท�ำไปแล้ว ว่างๆ ไม่มีอะไร ทุกสิ่งทุกอย่างว่างเปล่า จิตใจ สงบเป็นสุข แต่ก็อยู่อย่างน้ัน ไม่ไปไหน เรียกว่า เกิดสมาธิ เกิดความสงบ สภาวธรรมต่างๆ มี ความละเอียด ลมหายใจละเอียด ความรู้สึกทาง กายละเอียด ละเอียดมากๆ ก็จับอะไรไม่ได้ เขมรังสี ภิกขุ 47
สติระลึกรู้สภาวะไม่ออก ก็กลายเป็นความว่าง จติ ไปรบั รอู้ ยทู่ ค่ี วามวา่ งเปลา่ ไมม่ อี ะไรอยอู่ ยา่ งนน้ั เป็นสุขอยู่อย่างนั้น วิปัสสนาก็ไม่ก้าวหน้า ไปติด อยแู่ ตค่ วามสงบ ความสขุ ไมเ่ กดิ ปญั ญา ไมเ่ หน็ ความเกิดดับ ไม่เห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เพราะว่าสติไม่ได้รู้อยู่ท่ีสภาวะ แต่ไปรู้ท่ีความ ว่างเปล่า ซึ่งไม่ใช่ปรมัตถธรรม มันจึงไม่มีการ เกดิ - ดบั ใหด้ ู จงึ ไมเ่ กดิ ปญั ญา หรอื วปิ สั สนาญาณ ในขณะท่ีสงบ มีแต่ความว่างอยู่น้ัน สติก็ ต้องระลึกรู้กลับเข้ามาที่จิต ระลึกเข้ามาท่ีอาการ ในจิต ตัวสติก็เกิดกับจิต เรียกว่าจิตต้องรู้จิต จติ กค็ อื สภาพรอู้ ารมณ ์ กค็ อื ร ู้ ตอ้ งดตู วั ร ู้ ร ู้ ตอ้ ง ย้อนมาท่ีสภาพรู้ คือต้องย้อนมาท่ีผู้รู้ ถ้าย้อน มาไม่เป็น มันปรับตัวเองไม่ถูก มันรู้สึกตัวเอง 48 สติปัฏฐาน ๔
ไม่ได้ มันก็ขยายไปรู้แต่ความว่าง มันก็เลยไม่ม ี อะไร ทงั้ ๆ ทยี่ งั มตี วั ด ู ตวั ร ู้ ตวั รสู้ กึ อย ู่ แตไ่ มเ่ หน็ เหมือนตัวเองกำ� ลังหาอะไรตอ่ อะไรอยู่ แต่ไม่เคย หาตวั เอง คนบางคนบางทเี ดนิ หาโนน่ หาน ี่ หาอะไร ก็ไม่มี แต่ที่จริงแล้ว ตัวเองก็มีอยู่ ไม่ได้หันมาดู ถา้ จะรจู้ กั ตวั เอง กต็ อ้ งรสู้ กึ ตวั ขน้ึ จติ กเ็ หมอื นกนั จิตจะรู้จักตัวจิตเอง ก็ต้องรู้สึกตัวของมัน (ต้อง รู้ตัวมันเอง) จิตต้องทวนกระแสท้ังหมด มันม ี กระแสที่จะขยายออกไปนอกตัว ก็ต้องปรับ ทวนกระแสเขา้ มาหาตวั เอง จงึ จะรจู้ กั ตวั มนั เหน็ ตัวมัน ตัวก็ไม่ใช่ตัวตนอะไร ไม่ใช่หุ่น ไม่มีสรีระ รูปร่าง จิตเป็นเพียงธาตุรู้ สภาพรู้ ค�ำว่า “รู้” ในทนี่ ้ี ไมไ่ ดห้ มายถงึ ปญั ญา แตเ่ ปน็ การรอู้ ารมณ์ เมอ่ื มันรบั รอู้ ารมณแ์ ล้วกด็ บั ไป แตม่ ันเกิด - ดับ เรว็ มาก เขมรังสี ภิกขุ 49
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106