Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016 (ม.ต้น)

การเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016 (ม.ต้น)

Published by Sarapee District Public Library, 2020-07-15 01:16:05

Description: การเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016 (ม.ต้น)

Search

Read the Text Version

92 ลักษณะของการเชา่ ซื้อรถ 1) วงเงิน กรณีให้เช่าซ้ือรถใหม่ประมาณ 75 - 80% กรณีรถใช้แล้ว จะข้นึ อย่กู ับสภาพรถและราคาประเมินรถ 2) ระยะเวลาการผ่อนชาระ ประมาณ 12 - 72 เดือน 3) อัตราดอกเบ้ีย ส่วนใหญ่จะกาหนดอัตราดอกเบ้ียคงท่ี (fixed rate) ตลอดอายสุ ญั ญา 4) วิธีการคิดดอกเบี้ย ส่วนใหญ่คิดดอกเบี้ยแบบเงินต้นคงท่ี (flat rate) คือ คดิ ดอกเบยี้ จากเงินต้นท้ังจานวนและระยะเวลาในการผ่อนชาระทั้งหมด จากน้ันผู้ให้เช่าซ้ือ จะนาดอกเบี้ยท่ีคานวณได้มารวมกับเงินต้น แล้วหารด้วยจานวนงวดที่จะผ่อนชาระ ซึ่งเงิน ท่ผี ่อนชาระจะเทา่ กนั ทุกงวด โดยมีหลกั การคานวณ ดงั นี้ ตัวอย่าง นายเชิงชายต้องการเช่าซ้ือรถจักรยานยนต์ราคา 40,000 บาท อัตราดอกเบี้ย คงที่ 4% ตอ่ ปี (คดิ ดอกเบีย้ แบบเงนิ ต้นคงท)่ี โดยให้ระยะเวลาผอ่ นชาระ 48 งวด (4 ปี) เชิงชาย จะตอ้ งจ่ายคา่ งวดเปน็ เงินเท่าใด ชดุ วชิ าการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 2 | หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 สนิ เช่ือ

93 ก่อนตัดสินใจเช่าซ้อื รถสักคนั ควรสารวจความพร้อมของตนเอง ดงั นี้ - ความสามารถในการผ่อนชาระกับรายได้ตนเอง ภาระผ่อนหนี้เมื่อรวมกับ หนอ้ี น่ื ทม่ี ที ง้ั หมดแลว้ ไมค่ วรเกนิ 1 ใน 3 (33%) ของรายได้ต่อเดือน และมีความสามารถในการ จ่ายค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ท่จี ะตามมาจากการเชา่ ซอ้ื รถ - มีเงินออมเพื่อจ่ายเงินดาวน์ให้ได้มากท่ีสุด ซึ่งจะช่วยลดภาระดอกเบ้ีย ท่ตี อ้ งจา่ ยลงไปไดอ้ กี มาก - ศึกษาและเปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาผ่อนชาระ และเงื่อนไข อื่น ๆ ของผู้ให้เช่าซ้ือหลาย ๆ แห่ง และต้องดูว่าอัตราดอกเบ้ียที่เสนอให้น้ันเป็นอัตราดอกเบ้ีย ต่อเดือนหรอื ต่อปี - เลือกระยะเวลาผอ่ นทีส่ น้ั ลง จะช่วยใหป้ ระหยัดดอกเบย้ี ลงไปได้ 3. สินเชอ่ื ส่วนบุคคลภายใตก้ ารกากับ สินเช่ือส่วนบุคคลภายใต้การกากับ หรือสินเชื่อส่วนบุคคลท่ีไม่มีหลักประกัน เป็นการให้กู้เพื่อนาไปใช้จ่ายเพ่ือการอุปโภคบริโภค แต่ไม่รวมถึงการให้เช่าซื้อและลีสซิ่งรถยนต์ หรือรถจักรยานยนต์ สินเชื่อเพื่อการศึกษา สินเช่ือเพ่ือการเดินทางไปทางานในต่างประเทศ สินเชอ่ื เพ่อื รกั ษาพยาบาล สนิ เชอื่ เพือ่ สวสั ดิการพนกั งาน ในปัจจุบนั สินเช่อื สว่ นบุคคลภายใต้การกากับ มี 3 รูปแบบ คอื 1) เช่าซื้อสินค้ารายช้ิน ผู้ให้บริการสินเช่ือส่วนบุคคลจะออกบัตรสมาชิกให้ หรือทม่ี กั เรียกกันวา่ “บตั รผอ่ นสินค้า” เพอื่ นาไปใช้เมื่อต้องการซ้ือสินค้าและบริการจากร้านค้า ร่วมรายการ เช่น ซ้ือเครื่องใช้ไฟฟ้า จากนั้นทยอยชาระคืนเป็นรายเดือน โดยมีระยะเวลาผ่อน ชาระคอ่ นข้างหลากหลายแลว้ แตผ่ ้ใู หบ้ รกิ ารกาหนด 2) รับเงินสดท้ังก้อน แล้วทยอยผ่อนชาระคืนเป็นรายเดือน เหมาะกับผู้ที่ ต้องการเงินไปใชจ้ า่ ยเปน็ กอ้ น 3) วงเงินสารองพร้อมใช้ผ่านบัตรกดเงินสด หลังจากที่ได้รับอนุมัติวงเงิน สินเชอื่ แล้ว ผู้ถอื บัตรสามารถเบกิ ถอนเงินออกมาใช้ได้ตลอดเวลา นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนารูปแบบให้สามารถเช่าซ้ือสินค้ารายชิ้นและ กดเงินสดจากวงเงินสารองพร้อมใช้ได้ในบัตรใบเดียว ผู้ใช้บริการจึงควรศึกษารูปแบบ อัตราดอกเบ้ียและเง่อื นไขให้เข้าใจ เพ่อื ให้สามารถเลอื กได้ตรงกับความตอ้ งการ ชุดวชิ าการเงนิ เพือ่ ชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 สนิ เชือ่

94 ลกั ษณะของสินเชอ่ื บคุ คลภายใต้การกากบั 1) คุณสมบัติผู้สมัคร เป็นบุคคลที่ผู้ให้สินเช่ือพิจารณาแล้วเห็นว่ามีฐานะ ทางการเงินเพียงพอสาหรบั การชาระหน้ไี ด้ 2) วงเงิน ไม่เกิน 5 เท่าของรายได้เฉล่ียต่อเดือน หรือของกระแสเงินสด หมุนเวียนในบัญชีเงนิ ฝากเฉลีย่ ย้อนหลังไม่นอ้ ยกวา่ 6 เดอื น 3) อัตราดอกเบ้ีย ค่าปรับ ค่าบริการ และค่าธรรมเนียม รวมกันแล้วไม่เกิน 28% ตอ่ ปี (effective rate) นอกจากนี้ อาจเรียกเก็บค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ ท่ีผู้ประกอบธุรกิจได้จ่าย ให้แกบ่ ุคคลภายนอก เชน่ คา่ ใชจ้ ่ายตดิ ตามทวงถามหน้ี ซ่งึ ผปู้ ระกอบธุรกจิ จะเรียกเก็บได้ไม่เกิน จากที่ไดป้ ระกาศไว้ 4) วธิ กี ารคดิ ดอกเบีย้ ฯ คิดดอกเบย้ี แบบลดตน้ ลดดอก (effective rate) แม้ว่าสินเช่ือประเภทนี้จะของ่ายได้ไว เมื่อเปรียบเทียบกับสินเชื่อประเภทอื่น ๆ แต่อตั ราดอกเบยี้ ฯ กค็ อ่ นขา้ งสูงจึงต้องคิดใหด้ วี า่ รับภาระหน้ที ่ีเกดิ ขนึ้ ไหวหรือไม่ ก่อนตัดสินใจขอสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกากับ ควรสารวจความพร้อม ของตนเองกอ่ น ดังน้ี - เลือกใช้บริการจากสถาบันการเงินหรือบริษัทที่ได้รับอนุญาต เนื่องจาก มีข้อดีหลายประการ เช่น ได้รับเงินกู้เต็มจานวน ดอกเบ้ียถูกกว่าเงินกู้นอกระบบ และมี หน่วยงานทางการกากับดแู ล - ศึกษาและเปรียบเทียบข้อมูลเร่ืองอัตราดอกเบี้ย ค่าปรับ ค่าบริการ ค่าธรรมเนยี มต่าง ๆ ก่อนเลอื กใชบ้ รกิ าร - ระมัดระวังโฆษณาท่ีระบุในทานองว่า “ดอกเบี้ยต่อเดือนน้อยนิด” โดยต้อง ดูว่าอัตราดอกเบ้ียดังกล่าวใช้หน่วยอะไร เช่น ถ้าเป็นอัตราดอกเบี้ยต่อเดือน ให้คูณ 12 จึงจะ ไดอ้ ตั ราดอกเบย้ี ต่อปี - อยา่ ใชบ้ ริการเพยี งเพราะต้องการของแถม ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 สินเชื่อ

95 4. บัตรเครดิต เป็นบัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่ออกโดยธนาคารพาณิชย์หรือผู้ประกอบธุรกิจ บัตรเครดิต (ผู้ออกบัตร) เพ่ือให้ผู้บริโภค (ผู้ถือบัตร) นาไปใช้ชาระค่าสินค้าและบริการแทน เงินสด โดยไม่ต้องพกเงินสดจานวนมาก หรือทารายการซ้ือสินค้าและบริการแบบออนไลน์ผ่าน อนิ เทอร์เน็ตได้ ซึง่ ผู้ออกบตั รจะจ่ายเงินให้กบั ร้านคา้ ไปกอ่ น และผถู้ อื บัตรสามารถใช้บัตรเครดิต เบกิ ถอนเงนิ สดออกมาใช้ในยามฉุกเฉินไดด้ ้วย โดยไม่เกินวงเงินที่ผู้ออกบัตรกาหนดไว้ และจะ ถูกเรยี กเก็บเงนิ พร้อมดอกเบยี้ (ถ้าม)ี จากผูอ้ อกบัตรตามระยะเวลาทกี่ าหนด ลกั ษณะสาคัญของบตั รเครดติ 1) คุณสมบัติผู้สมัคร มีรายได้ไม่น้อยกว่า 15,000 บาทต่อเดือนหรือมีเงินฝาก หรอื สินทรัพย์ตามทีธ่ นาคารแห่งประเทศไทยกาหนด 2) วงเงนิ ไมเ่ กิน 5 เทา่ ของรายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือน 3) อัตราดอกเบี้ย ค่าปรับ ค่าบริการ และค่าธรรมเนียม รวมกันแล้วไม่เกิน 20% ตอ่ ปี - หากชาระหนบ้ี ตั รเครดิตตรงเวลาและเต็มจานวน (โดยไมไ่ ด้เบกิ ถอนเงินสด เลย) จะได้รบั ระยะเวลาปลอดดอกเบีย้ ประมาณ 45 – 55 วนั - หากชาระหนี้บัตรเครดิตล่าช้า ชาระขั้นต่าหรือชาระบางส่วน หรือมีการ เบกิ ถอนเงินสด จะถูกคิดดอกเบ้ยี ฯ - กรณีเบิกถอนเงินสดด้วยบัตรเครดิตจะไม่มีช่วงเวลาปลอดดอกเบี้ย และ อาจถูกเรียกเก็บค่าธรรมเนียมได้อีกไม่เกิน 3% ของจานวนเงินสดท่ีถอน และภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ของค่าธรรมเนียมการเบกิ ถอน 4) วธิ กี ารคดิ ดอกเบี้ยฯ เป็นแบบลดตน้ ลดดอก (effective rate) โดยจะแยก การคิดเป็นสองชว่ ง คือ 4.1) ก่อนชาระ 4.2) หลงั ชาระ (บางสว่ นหรือทัง้ หมด) ชดุ วชิ าการเงินเพ่อื ชีวิต 2 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 สนิ เชือ่

96 ตัวอย่าง นางสาวพลอยรูดบัตรเครดิตเพ่ือซ้ือเส้ือผ้าและรองเท้าเป็นเงิน 10,000 บาท ต่อมาผอู้ อกบัตรได้สง่ ใบเรียกเกบ็ ให้ชาระหนี้ 10,000 บาท ภายในวันที่ 10 ก.พ. เม่ือถึงวันชาระ พลอยได้ไปชาระหนี้แต่เลือกชาระข้ันต่า (10%) 1,000 บาท ดังน้ัน ในรอบบิลถัดไป พลอยจะ เสยี ดอกเบี้ยฯ 20% ตอ่ ปี ซ่งึ ธนาคารผู้ออกบัตรจะคดิ ดอกเบย้ี ดังนี้ 1) ก่อนชาระ คิดจากเงินตน้ เตม็ จานวน 10,000 บาท โดยผู้ออกบัตรส่วนใหญ่จะ นับจานวนวนั ตง้ั แตว่ ันบนั ทกึ รายการจนถึงวันกอ่ นหนา้ วันทชี่ าระเงิน 2) หลังจากที่ได้ชาระบางส่วน คิดจากยอดหนี้คงเหลือ 9,000 บาท (10,000 - 1,000) โดยจะนบั จานวนวนั ตั้งแต่วนั ท่ชี าระจนถงึ วนั สรุปยอดรอบต่อไป นอ้ ยทีส่ ดุ ข้อคดิ ก่อนตัดสินใจมีบัตรเครดิต 1) ทาความเข้าใจเงือ่ นไขก่อนสมคั ร 2) ใชบ้ ตั รเครดิตเท่าทจี่ าเป็นและมน่ั ใจวา่ จะสามารถจ่ายคนื ได้ 3) ชาระเต็มจานวน ตรงเวลา หรือจ่ายให้ได้มากที่สุด เพื่อให้จ่ายดอกเบ้ียฯ 4) อยา่ ทาบัตรเพราะเหน็ แก่ของแถม ชุดวิชาการเงินเพ่ือชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 สนิ เชอื่

97 รู้หรอื ไมว่ ่า หากได้รับอนุมัติวงเงินบัตรเครดิต 75,000 บาท แล้วใช้บัตรเครดิตซื้อของ คร้งั เดียวเตม็ วงเงนิ และไม่ซื้ออะไรเพ่ิมเลย จากน้ันก็ทยอยจ่ายข้ันต่าทีละ 10% ของยอดคงค้าง ไปเรื่อย ๆ จะต้องใชร้ ะยะเวลาถงึ 43 เดือนหรอื เกอื บ 4 ปกี ว่าจะชาระหน้ที ัง้ หมด กิจกรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 2 ลกั ษณะของสนิ เช่อื รายย่อยและการคานวณดอกเบีย้ (ใหผ้ เู้ รียนไปทากิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 2 ทสี่ มุดบันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้) ชดุ วชิ าการเงินเพือ่ ชีวิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 สนิ เชื่อ

98 เร่อื งท่ี 3 เครดิตบูโร หนา้ ท่ีของเครดิตบูโร 1. จัดเกบ็ รกั ษา รวบรวม ข้อมูลของลูกค้าสินเช่ือทุกบัญชีท่ีมีกับสถาบันการเงิน และบริษัทที่เป็นสมาชิกของเครดิตบูโรซึ่งจะเก็บข้อมูลตามข้อเท็จจริง ไม่ว่าข้อมูลนั้นจะมีการ ชาระหนตี้ ามปกติหรอื การผิดนดั ชาระหนี้ โดยเครดิตบูโรจะเก็บขอ้ มลู ไวไ้ มเ่ กนิ 3 ปีนับแต่วันท่ี เครดติ บูโรไดร้ บั ข้อมูลจากสมาชิก 2. แสดงข้อเท็จจริงการชาระเงินของลูกหน้ี เพ่ือท่ีสถาบันการเงินจะนาข้อมูล มาวิเคราะห์ในการตดั สินใจในการใหส้ นิ เชื่อ ประวัตเิ ครดติ มขี อ้ มลู อะไรบ้าง ประวัติเครดิตหรือรายงานข้อมูลเครดิตจะมีรายละเอียดเก่ียวกับข้อมูลส่วนบุคคล ของผู้ขอสินเชื่อ รายละเอียดของบัญชีสินเช่ือที่ใช้บริการ ประวัติการได้รับอนุมัติและชาระ สินเชื่อ เช่น วันเปิดบัญชี ประเภทบัญชี เลขที่บัญชี ยอดหน้ีคงเหลือ และจานวนวันคงค้าง ซงึ่ สถาบันการเงินและบริษัททเี่ ปน็ สมาชกิ จะนาส่งข้อมลู ดังกล่าวทุกเดอื นใหแ้ กเ่ ครดติ บโู ร ประโยชนข์ องเครดิตบโู ร 1. ผู้ขอสินเชื่อรู้จักข้อมูลประวัติสินเช่ือของตนเอง ในฐานะเป็นเจ้าของข้อมูล ควรรู้วา่ ตนเองมสี ินเชือ่ อะไรบา้ ง และมภี าระหน้คี งค้างกบั สถาบนั การเงินหรอื บริษัทไหนบ้าง ถ้า พบว่ามีบัญชีสินเชื่อที่ไม่ได้ขอ ซ่ึงอาจเกิดจากการถูกปลอมเอกสารไปสมัคร ต้องรีบแจ้งแก้ไข ทนั ที ไมเ่ ช่นนน้ั อาจตอ้ งมารับภาระหน้ที ่ีไมไ่ ดก้ ่อ 2. สถาบันการเงนิ และบรษิ ัททเี่ ป็นสมาชกิ สามารถใชข้ อ้ มลู น้ีประกอบ การพจิ ารณาอนุมตั ิสินเชอื่ เพ่อื ดวู า่ ผขู้ อสนิ เช่ือมปี ระวัติค้างชาระหรือไม่ หรือมีภาระหนี้สนิ มากน้อยเพยี งใด เพ่ือพิจารณาความเส่ียงวา่ หากให้กู้ไปแลว้ ผ้ขู อสินเช่ือจะสามารถชาระหน้ไี ด้ หรอื ไม่ ถ้าไม่เคยผดิ นดั ก็จะเป็นตัวชว่ ยใหข้ อสินเชอ่ื ไดง้ ่ายยง่ิ ขนึ้ อยา่ งไรกด็ ี สถาบันการเงิน และบริษัทท่ีเปน็ สมาชิกจะตอ้ งไดร้ ับความยินยอมจากเจ้าของข้อมลู กอ่ น จึงจะเขา้ ไปดู ขอ้ มลู ได้ โดยมกั ให้ลกู คา้ ลงนามยนิ ยอมตอนขอสินเชื่อ อย่างไรก็ดี ประวตั ขิ ้อมูลเครดิตเปน็ เพยี งปัจจัยหนึ่งในการพจิ ารณาอนุมตั ิสินเชื่อ ซึ่งจริง ๆ แลว้ ยงั มปี ัจจัยอืน่ ๆ อกี ด้วย เชน่ รายได้ อาชพี หลักประกนั (ถา้ มี) ชุดวชิ าการเงินเพื่อชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 สินเชื่อ

99 วธิ กี ารตรวจสอบข้อมูลเครดติ ของตนเอง ติดตอ่ ขอตรวจสอบขอ้ มูลเครดิตได้ท่ี ศูนย์ตรวจเครดิตบูโร โดยสามารถรอรับได้ ภายในเวลา 15 นาที เสยี คา่ บริการ 100 บาท เพียงใชบ้ ตั รประชาชนตัวจริงในการขอตรวจสอบ ขอ้ มูล (กรณีเปน็ บคุ คลธรรมดา) หากถูกปฏิเสธการให้สินเชื่อจากสถาบันการเงินหรือบริษัทท่ีเป็นสมาชิก และ ผู้ขอสนิ เชอ่ื ไดร้ บั หนงั สือแจ้งการปฏิเสธสินเชื่อท่ีมีข้อความว่า “เป็นผลจากการตรวจสอบข้อมูล เครดิต” ผู้ขอสินเชื่อสามารถขอตรวจสอบข้อมูลดังกล่าวได้ โดยนาหนังสือแจ้งปฏิเสธสินเช่ือ นามาย่ืนขอตรวจสอบข้อมูลเครดิตพร้อมหลักฐานอ่ืน ๆ ทั้งน้ี บริษัทจะไม่คิดค่าธรรมเนียม ในการตรวจสอบขอ้ มูลเครดติ หากยน่ื คาขอภายใน 30 วัน นับจากวันทใี่ นหนงั สือแจ้งปฏิเสธ ดงั กลา่ ว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการตรวจสอบข้อมูลเครดิตได้จาก เว็บไซต์ www.ncb.co.th หรือสอบถามได้ท่ีหมายเลขโทรศัพท์ 0 2643 1250 หรืออีเมล : [email protected] กจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 3 เครดติ บูโร (ใหผ้ ูเ้ รยี นไปทากิจกรรมท้ายเรอ่ื งที่ 3 ทส่ี มุดบนั ทึกกิจกรรมการเรยี นรู้) ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชวี ติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 3 สนิ เชือ่

100 เรอื่ งที่ 4 วธิ ีการป้องกนั ปัญหาหน้ี เม่ือได้รับอนุมัติสินเชื่อแล้ว เราจะต้องมีวินัยทางการเงินอย่างเคร่งครัด เพื่อ ปอ้ งกันไมใ่ หห้ น้ีสร้างปญั หาให้แกต่ นเอง โดยมีวธิ ีดังน้ี 1. ใช้เงินตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งใจขอสินเชื่อจริง ๆ เช่น กู้มาประกอบอาชีพ ก็ไม่แบ่งเงินไปทาอย่างอ่ืน เพราะอาจทาให้เราเหลือเงินไม่พอท่ีจะทาในส่ิงที่ต้ังใจและมี ประโยชน์ 2. จ่ายเงินให้ตรงเวลาและตามเง่ือนไข เพื่อจะได้ไม่เสียค่าปรับกรณีชาระ ล่าช้า หรือถูกคิดค่าติดตามทวงถามหน้ี และสร้างประวัติเครดิตที่ดี นอกจากนี้ ควรศึกษา เงอ่ื นไขและคา่ ธรรมเนียมของสนิ เช่ือนน้ั ๆ ดว้ ย 3. ตรวจสอบความถูกต้องเม่ือได้รับใบแจ้งหน้ีและใบเสร็จรับเงิน เช่น ยอดเงนิ ถูกตอ้ งหรอื ไม่ หากพบว่าไมถ่ กู ต้อง ควรรีบแจง้ เจ้าหนโี้ ดยเรว็ 4. ชาระทันทีเม่ือมีเงินก้อน จะช่วยลดภาระหนี้ได้ (แต่ต้องม่ันใจว่าไม่เสีย ค่าปรับหากชาระหน้ีก่อนกาหนด หรือถ้ามีค่าปรับ ต้องดูก่อนว่าคุ้มกับดอกเบ้ียที่ประหยัดได้ หรอื ไม)่ 5. แจ้งเจ้าหนี้ให้ทราบทุกคร้ังเมื่อมีการเปล่ียนแปลงที่อยู่ เพ่ือป้องกัน การขาดการตดิ ตอ่ ส่อื สารระหว่างกนั 6. หากจะก่อหน้ีเพิ่มอีก อย่าลืมตรวจสอบภาระหน้ีท่ีต้องผ่อนต่อเดือน ไม่ควรเกิน 1 ใน 3 (33%) ของรายได้ต่อเดือน เพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถชาระหน้ีได้ หาก เกนิ แล้วควรชะลอการกอ่ หนีไ้ วก้ อ่ น กจิ กรรมทา้ ยเร่อื งที่ 4 วธิ ีการป้องกนั ปัญหาหน้ี (ให้ผู้เรยี นไปทากิจกรรมท้ายเรือ่ งที่ 4 ท่ีสมดุ บันทึกกิจกรรมการเรยี นรู้) ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 สนิ เชอ่ื

101 เรอ่ื งที่ 5 วิธกี ารแกไ้ ขปญั หาหน้ี มีคนจานวนไม่น้อยที่เม่ือเป็นหน้ีแล้วขาดวินัยทางการเงิน ทาให้ต้องไปก่อภาระ หน้ีใหม่เพิ่มข้ึน นานวันเข้าก็กลายเป็นหนี้สินล้นพ้นตัว ดังนั้น หากพบว่าหนี้เริ่มสร้างปัญหา กไ็ มค่ วรรอช้าทีจ่ ะจดั การหนก้ี ่อนทจ่ี ะสายเกนิ ไป แนวทางการแกไ้ ขปัญหาหนี้ 1. ยอมรบั ว่าตนเองเป็นหน้ี และมีความตง้ั ใจท่ีจะแก้ปญั หา 2. สารวจภาระหน้ีทั้งหมด เพ่ือรวบรวมรายละเอียดหนี้ท่ีมี ซึ่งจะทาให้รู้ว่า ตนเองมีหนี้อะไรบ้าง จานวนเท่าไร ซ่ึงข้อมูลหรือรายละเอียดเก่ียวกับหนี้ สามารถหาได้จาก สัญญาเงินกู้ ใบแจง้ หน้ี หรือหลกั ฐานการชาระหนี้ ตัวอยา่ ง ตารางภาระหนี้ ลาดับ รายการหน้ี เงินต้น เงนิ ตน้ รายละเอียดเงินกู้ วันครบ เงนิ ผ่อน ที่ ท้ังหมด คงเหลือ กาหนด ต่อเดอื น (บาท) (บาท) หลกั อัตราดอกเบ้ีย ชาระ (บาท) ประกัน (คิดแบบ ลดตน้ ลดดอก) 1. หน้นี อกระบบ 10,000 10,000 - 252% ทกุ วนั 4,500 (150 บาทต่อ วนั ) 2. ก้สู หกรณ์ 40,000 14,235 หนุ้ 7.5% ทุกวันที่ 8 3,400 สหกรณ์ 3. เช่าซอ้ื รถ 40,000 40,000 - 7.2%* ทุกวันท่ี 25 966.67 จกั รยานยนต์ รวม 90,000 64,235 8,866.67 * คานวณจากอัตราดอกเบีย้ คดิ แบบเงินตน้ คงท่ี 4% คณู ดว้ ย 1.8 3. จัดลาดับความสาคัญของหน้ีที่ต้องชาระ เม่ือทราบจานวนหน้ีทั้งหมด ท่ตี นเองมีแล้ว การจัดลาดบั การปลดหนีจ้ ะทาใหเ้ ราจดั การหนี้ให้หมดไปไดง้ ่ายขึ้น โดยอาจใช้วิธี จดั ลาดับหนี้ท่ีตอ้ งชาระดังน้ี - กาจัดหนี้แพงก่อน ในกรณีท่ีอัตราดอกเบ้ียของหน้ีแต่ละก้อนต่างกัน มาก ให้เลือกจ่ายหน้ีท่ีอัตราดอกเบี้ยสูงก่อน เช่น หนี้นอกระบบ เพื่อป้องกันดอกเบี้ยที่อาจ พอกพนู อยา่ งรวดเรว็ ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 สนิ เช่อื

102 - จ่ายหน้ีก้อนเล็กก่อน ในกรณีที่หน้ีมีอัตราดอกเบี้ยเท่ากันหรือ ไม่แตกต่างกันมาก ให้เลือกจ่ายหน้ีที่มีมูลค่าน้อยก่อน เพื่อลดจานวนรายการหนี้ให้น้อยลง เมื่อเห็นจานวนบัญชีหรือเจ้าหนี้ลดลงเรื่อย ๆ ก็จะมีกาลังใจเพ่ิมข้ึนในการปลดหน้ีก้อนท่ีเหลือ ต่อไป 4. มองหาวิธีการแก้ไขปัญหาหนี้ ซึ่งหากเป็นปัญหาหน้ีที่ไม่ถึงข้ันล้นพ้นตัว ก็สามารถปลดหนด้ี ้วยตนเองได้ (แตห่ ากมีหนีม้ ากจนเกินจะจดั การเองก็ควรเจรจากบั เจ้าหน)ี้ การแก้ไขปัญหาหนี้ด้วยตนเอง สาหรับผู้ที่รู้ว่าตนเองมีปัญหาหน้ี แต่ยังไม่ถึงข้ันล้นพ้นตัว การปลดหน้ี ดว้ ยตนเองจงึ เปน็ เรอ่ื งทไ่ี ม่ยากเกินไป เร่มิ ต้นงา่ ย ๆ ดังน้ี 1. ลดรายจา่ ย โดยการเริ่มตน้ จากการดูพฤติกรรมการใช้จ่ายของตนเองก่อนว่า ตนเองหมดเงินไปกับค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง เป็นสิ่งจาเป็นหรือไม่จาเป็น ซ่ึงอาจเร่ิมต้นจากการจด บนั ทึกในแต่ละวัน แล้วมาดูว่ามีค่าใช้จ่ายอะไรท่ีพอจะงดหรือลดลงได้บ้าง เช่น ค่าหวย ค่าบุหรี่ ค่ากินเลย้ี งสงั สรรค์ เมอ่ื ลดค่าใช้จ่ายได้ก็จะนาเงนิ ไปจ่ายหนี้ไดม้ ากขนึ้ 2. เพ่ิมรายได้ อาจหารายได้เสริม หรือเปลี่ยนงานอดิเรกให้กลายเป็นรายได้ เชน่ ทาขนมขาย รบั สอนพิเศษ เมือ่ มีรายได้เพม่ิ ขึน้ จะช่วยให้สามารถชาระหนไ้ี ด้เพ่มิ ข้นึ 3. สารวจสินทรัพย์ท่มี ี และขายสนิ ทรัพย์ท่ีไม่จาเป็น เพื่อนาเงนิ ไปชาระหน้ี 4. ต้ังเป้าหมายปลดหนี้ ปลดหน้ีในท่ีน้ีหมายถึง มุ่งมั่นตั้งใจและเพิ่มความ พยายามในการใชห้ นใ้ี หห้ มดโดยเรว็ แต่ยงั คงชาระหนอี้ ื่น ๆ ตามกาหนดเพื่อรักษาประวัติเครดิต ท่ีดีเอาไว้ อยา่ งไรกด็ ี อย่านาเงินไปใช้หนหี้ มดจนไมม่ ีเงนิ เก็บออม เพราะหากมีเหตุฉุกเฉินต้องใช้ เงิน อาจตอ้ งหนั กลบั ไปเป็นหน้ีอกี จึงควรใชห้ น้ีและออมไปพรอ้ ม ๆ กัน 5. ติดตามอย่างใกล้ชิด ว่าสามารถทาได้ตามเป้าหมายหรือไม่ หากไม่เป็นไป ตามแผน อาจหาทางปรบั แผนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น เมื่อปลดหน้ีได้แล้วก็ไม่ควร กลับไปก่อหน้ีอีก แต่ควรหาทางปลดภาระหนี้ก้อนอ่ืน ๆ ต่อไป (ถ้ามี) และสะสมเงินออมให้มี มากขึน้ เพือ่ ไว้ใชใ้ นยามจาเป็น กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 5 วธิ ีการแก้ไขปัญหาหนี้ (ใหผ้ เู้ รยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเร่อื งที่ 5 ทสี่ มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้) ชดุ วชิ าการเงินเพอ่ื ชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 สนิ เช่ือ

103 เร่ืองที่ 6 หนว่ ยงานทใี่ หค้ าปรึกษาวธิ ีการแก้ไขปญั หาหน้ี หลายคนที่ประสบกับปัญหาหน้ี บางคร้ังก็หาทางออกให้กับตนเองไม่ได้ หรือ บางคนอาจเลือกทางผิดย่ิงทาให้ปัญหาหนักข้ึนจนเกินแก้ไข ดังน้ัน หากประสบกับปัญหาหนี้ แต่ไม่รู้ว่าจะผ่านปัญหาไปได้อย่างไร สามารถขอคาแนะนาจากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ได้ ซึ่งพร้อมให้คาแนะนา คาปรึกษา เพ่ือช้ีแนะแนวทางแก่ผู้มีปัญหาหนี้ โดยมีหน่วยงานหลัก ทีส่ ามารถตดิ ตอ่ ขอคาแนะนา คาปรกึ ษา ดงั นี้ หนีใ้ นระบบ - ศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) ธนาคารแห่งประเทศไทย หนน้ี อกระบบ โทร. 1213 - ศนู ยร์ บั แจ้งการเงนิ นอกระบบ กระทรวงการคลัง โทร. 1359 นอกจากน้ี ยังมีหน่วยงานภาครัฐอ่ืน ๆ อีกที่มีบทบาทสาคัญในการช่วยเหลือ ประชาชนพร้อมใหค้ าแนะนาหรือแกไ้ ขปญั หาตา่ ง ๆ ได้ อาทิ - สายดว่ นของรัฐบาล สงั กัดสานกั นายกรัฐมนตรี โทร. 1111 - ศูนย์ดารงธรรม สังกัดกระทรวงมหาดไทย โทร. 1567 - สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน สังกัด สานกั งานอยั การสูงสดุ โทร. 0 2142 2034 - ศูนย์ช่วยเหลือลูกหนี้และประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม สังกัด กระทรวงยุตธิ รรม โทร. 0 2575 3344 - กองบังคับการปราบปรามการกระทาผิดเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค สงั กดั สานักงานตารวจแห่งชาติ โทร. 1135 กิจกรรมทา้ ยเร่อื งที่ 6 หน่วยงานท่ีใหค้ าปรึกษาวิธีการแกไ้ ขปญั หาหน้ี (ใหผ้ ูเ้ รียนไปทากจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 6 ทส่ี มุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้) ชุดวิชาการเงินเพ่ือชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 สนิ เช่อื

104 บัญญตั ิ 8 ประการ เพื่อเปน็ หนอ้ี ยา่ งเปน็ สขุ 1. ก่อหนเี้ มือ่ จาเป็น ควรเลือกก่อหนที้ ดี่ ี และต้องเป็นหน้ีท่ีเกิดจากความจาเป็น มากกวา่ ความต้องการหรอื ความอยากได้ 2. ไม่เน้นตามกระแส ไม่ควรเป็นหน้ีเพ่ือนาไปซื้อของฟุ่มเฟือยท่ีไม่มีความ จาเปน็ ต่อการดารงชีวติ ประจาวัน เพราะจะย่งิ ทาให้สรา้ งหน้ีเกินความจาเป็น 3. ไมด่ แี นถ่ ้าภาระหน้ีเกิน 1 ใน 3 ของรายได้ต่อเดือน เม่ือใดท่ีจะก่อหนี้ควรดู ความสามารถในการผ่อนชาระของตนเองด้วย โดยภาระผ่อนหนี้ท่ีมีอยู่ (ถ้ามี) บวกกับภาระ ผอ่ นหนใ้ี หม่ เม่ือรวมกันแลว้ ไมค่ วรเกิน 1 ใน 3 (33%) ของรายได้ต่อเดอื น 4. อ่านและถามก่อนเซ็นสัญญา ในการทาสัญญาเงินกู้ ก่อนท่ีจะเซ็นช่ือใน สัญญา ต้องอ่านสาระสาคัญและทาความเข้าใจเงื่อนไขการให้กู้ยืม เช่น จานวนเงินท่ีกู้ยืมท้ังที่ เป็นตวั เลขและตัวอักษรต้องตรงกัน ระยะเวลาการกู้ อัตราดอกเบี้ย เงื่อนไขการผิดนัดชาระหน้ี และเงือ่ นไขการชาระหนี้ 5. ใช้เงินกู้ที่ได้มาตรงตามวัตถุประสงค์ เม่ือได้สินเชื่อมาก็ควรใช้ให้ตรงตาม วตั ถุประสงคท์ ีต่ ้งั ใจไว้ ไม่นาไปใชน้ อกลนู่ อกทาง 6. จ่ายตรงตามเวลา การชาระหนี้ล่าช้าอาจสร้างภาระค่าใช้จ่ายมากเกินไป เช่น ดอกเบ้ียหรือค่าปรบั กรณีชาระล่าชา้ ค่าติดตามทวงถามหน้ี 7. รีบเจรจาก่อนหน้ีท่วม ลูกหน้ีที่ไม่ค่อยมีวินัย เช่น ผ่อนบ้าง ไม่ผ่อนบ้าง ผ่อนไม่ตรงกาหนดบ้าง อาจส่งผลให้ภาระหน้ีสูงข้ึนเรื่อย ๆ หากมีปัญหาการชาระหนี้ ควรรีบ เจรจากับเจ้าหนเ้ี พื่อหาทางออกแก้ไขปญั หา 8. ไมต่ ดิ บว่ งหนี้นอกระบบ เพราะนอกจากดอกเบี้ยสูงเกินไปแล้ว หากไม่ชาระ อาจถูกทวงหนโ้ี หดได้ ชดุ วชิ าการเงินเพอ่ื ชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 สนิ เช่ือ

105 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 สทิ ธแิ ละหน้าทข่ี องผูใ้ ช้บรกิ ารทางการเงนิ สาระสาคัญ ผู้ใช้บริการทางการเงินมีสิทธิที่พึงตระหนัก 4 ประการเพื่อให้สามารถเลือกใช้ บริการทางการเงินได้อย่างเหมาะสมและตรงกับความต้องการของตนเอง และยังมีหน้าที่ท่ีควร ปฏิบตั ดิ ้วยความรับผิดชอบอกี 5 ประการเพือ่ ลดความเส่ียงและความเสียหายที่อาจเกิดจากการ ใช้บริการทางการเงิน รวมถึงรู้จักบทบาทหน้าท่ีของศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) และหนว่ ยงานท่รี ับเรือ่ งรอ้ งเรียนอ่ืน ๆ ตวั ชีว้ ัด 1. บอกสิทธขิ องผูใ้ ช้บริการทางการเงิน 2. บอกหน้าทีข่ องผใู้ ช้บรกิ ารทางการเงิน 3. บอกบทบาทหน้าที่ของศูนยค์ มุ้ ครองผใู้ ชบ้ ริการทางการเงิน (ศคง.) และ หน่วยงานทรี่ ับเรอ่ื งร้องเรียนอน่ื ๆ 4. บอกข้นั ตอนการร้องเรียน 5. บอกหลักการเขยี นหนงั สอื รอ้ งเรียน ขอบข่ายเน้ือหา เรอ่ื งท่ี 1 สิทธขิ องผ้ใู ชบ้ ริการทางการเงนิ เรอ่ื งท่ี 2 หนา้ ที่ของผู้ใช้บรกิ ารทางการเงนิ เรื่องที่ 3 บทบาทศูนย์คุ้มครองผใู้ ชบ้ รกิ ารทางการเงิน (ศคง.) และหนว่ ยงานท่ี รับเรือ่ งร้องเรียนอื่น ๆ เรือ่ งที่ 4 ขั้นตอนการรอ้ งเรียนและการเขยี นหนังสอื รอ้ งเรยี น เวลาที่ใชใ้ นการศึกษา 10 ช่ัวโมง สื่อการเรยี นรู้ 1. ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชีวติ 2 2. หนังสือรูร้ อบเรื่องการเงินของศนู ยค์ ้มุ ครองผู้ใช้บรกิ ารทางการเงิน ตอน รู้หน้าท่ี รกั ษาสิทธิ เขา้ ใจผลิตภณั ฑ์การเงิน 3. เวบ็ ไซต์ www.1213.or.th เฟซบุ๊ก www.facebook.com/hotline1213 ชดุ วิชาการเงินเพือ่ ชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 สิทธแิ ละหนา้ ทข่ี องผ้ใู ชบ้ รกิ ารทางการเงนิ

106 เรือ่ งที่ 1 สิทธิของผู้ใช้บรกิ ารทางการเงนิ ปัจจุบันผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินมีความหลากหลาย ซับซ้อน และ เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วไปตามพัฒนาการทางเทคโนโลยี ผู้ใช้บริการทางการเงินจึงควรศึกษา หาความรู้เก่ียวกับผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินต่าง ๆ รวมทั้งสิทธิและหน้าที่ในการเป็น ผู้ใช้บริการทางการเงินเพื่อให้สามารถเลือกใช้บริการอย่างม่ันใจ ตรงกับความต้องการ ไม่เสียสิทธิ ที่พึงได้ และเป็นผู้ใช้บริการทางการเงินท่ีทาหน้าท่ีได้อย่างเหมาะสมและได้รับประโยชน์สูงสุด โดยผใู้ ช้บริการทางการเงินมสี ทิ ธิ 4 ประการ ดังนี้ 1. สิทธิที่จะได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง (right to be informed) ผู้ใช้บริการทาง การเงนิ มีสทิ ธิท่จี ะได้รับขอ้ มูลท่ีถกู ตอ้ งเก่ียวกับบริการท่ีสนใจ โดยเจ้าหน้าท่ีสถาบันการเงินต้อง อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และเงื่อนไขต่าง ๆ อย่างถูกต้อง ชัดเจน และครบถ้วน เพียงพอต่อการตัดสินใจในการใช้บริการ เช่น ลักษณะสาคัญของผลิตภัณฑ์ ผลประโยชน์ที่ คาดว่าจะได้รับ ความเสี่ยง ค่าปรับ ค่าธรรมเนียม ตลอดจนค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นเมื่อไม่ทาตาม เงอ่ื นไข และการใช้สื่อทางการตลาดเพอ่ื สง่ เสรมิ การขายต้องไม่ชวนเช่ือเกินจริง ไม่ทาให้ผู้ใช้บริการ เข้าใจผดิ เม่ือได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วนแล้ว ผู้ใช้บริการทางการเงินก็ควร พิจารณา ตรวจสอบ และสอบถามรายละเอียดให้แน่ใจก่อนตัดสินใจใช้บริการ เพ่ือให้ได้ ผลติ ภณั ฑ์และบริการท่ีเหมาะสมและตรงความต้องการของผู้ใชบ้ รกิ าร 2. สิทธิที่จะเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริการได้อย่างอิสระ (right to choose) เจ้าหน้าที่สถาบันการเงินสามารถนาเสนอผลิตภัณฑ์และบริการอื่น ๆ ควบคู่กับผลิตภัณฑ์ท่ี ผู้ใช้บริการทางการเงินต้องการ แต่ผู้ใช้บริการทางการเงินควรเลือกผลิตภัณฑ์และบริการทาง การเงินท่ตี อ้ งการจรงิ ๆ เทา่ นน้ั โดยคานึงถึงความจาเป็น ประโยชน์ท่ีได้รับ ความคุ้มค่า รวมถึง ความสามารถในการรับภาระค่าใช้จ่ายที่เก่ียวข้อง หากผู้ใช้บริการไม่ต้องการผลิตภัณฑ์และ บรกิ ารท่เี จา้ หน้าที่เสนอขาย กส็ ามารถปฏเิ สธได้ 3. สิทธิที่จะร้องเรียนเพ่ือความเป็นธรรม (right to be heard) หาก ผู้ใช้บริการทางการเงินพบว่าตนเองได้รับการปฏิบัติท่ีไม่ถูกต้องหรือถูกเอาเปรียบ เช่น ได้รับ ข้อมูลท่ีไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ถูกบังคับให้ซ้ือผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่ไม่ต้องการ ถูกทาให้ เข้าใจผิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ คานวณดอกเบี้ยผิด ก็สามารถร้องเรียนไปยังสถาบันการเงินท่ีใช้ บรกิ าร และหากยงั ไมไ่ ดร้ ับความเป็นธรรม ก็สามารถรอ้ งเรยี นไปยงั หน่วยงานทีก่ ากบั ดูแลได้ ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 สทิ ธิและหน้าทขี่ องผู้ใช้บริการทางการเงนิ

107 4. สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาค่าชดเชยหากเกิดความเสียหาย (right to redress) ผู้ใช้บริการทางการเงินมีสิทธิได้รับการชดเชยตามความเหมาะสม หากพิสูจน์แล้วว่า เป็นความผิดพลาดของสถาบันการเงิน เช่น ไม่ได้ปฏิบัติตามแนวนโยบายท่ีเกี่ยวข้องกับการ นาเสนอข้อมูลหรือการเสนอขายผลิตภัณฑ์ทางการเงิน หรือปฏิบัติงานท่ีเกี่ยวข้องกับการ ให้บริการทางการเงินอย่างไม่เหมาะสม ไม่ว่าจะจงใจหรือประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุให้ ผู้ใช้บริการได้รับความเสียหาย เช่น เจ้าหน้าท่ีธนาคารขโมยเงินฝากจากบัญชี ระบบไม่ตัดเงิน จากบัญชีทาให้มียอดหน้ีค้างชาระ แต่ผู้ใช้บริการทางการเงินจะไม่ได้รับการชดเชยหากความ ผิดพลาดนั้นเกิดจากผู้ใช้บริการเอง เช่น ฝากสมุดบัญชีไว้กับเจ้าหน้าที่ธนาคารเพ่ือทารายการแทน โอนเงินจากเครื่องเอทเี อ็มไปผดิ บญั ชีหรอื ใสต่ ัวเลขจานวนเงนิ ผดิ กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 1 สทิ ธิของผูใ้ ชบ้ ริการทางการเงนิ (ใหผ้ ู้เรียนไปทากจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 1 ที่สมดุ บนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นร)ู้ ชุดวิชาการเงินเพ่ือชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 สทิ ธแิ ละหนา้ ที่ของผใู้ ชบ้ รกิ ารทางการเงนิ

108 เรอื่ งท่ี 2 หน้าทข่ี องผู้ใช้บรกิ ารทางการเงนิ นอกจากสถาบันการเงินต้องให้บริการด้วยความรับผิดชอบแล้ว ผู้ใช้บริการทาง การเงินยังมี “หน้าท่ี” ที่ควรปฏิบัติด้วยความรับผิดชอบเพ่ือลดความเสี่ยงและความเสียหายที่ อาจเกดิ ขนึ้ จากการใช้บรกิ ารทางการเงิน โดยหน้าที่ของผ้ใู ช้บรกิ ารทางการเงนิ มดี ังนี้ 1. วางแผนการเงิน เพอ่ื จัดการรายจ่ายใหเ้ หมาะสมกับรายรับ ซึ่งจะทาให้ทราบ ฐานะทางการเงินของตนเอง และหากมีปัญหาทางการเงิน ก็จะสามารถมองเห็นสัญญาณและ วางแผนรบั มือกับปัญหาลว่ งหนา้ ได้ 2. ติดตามข้อมูลข่าวสารทางการเงินอย่างสม่าเสมอ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ ตัดสินใจเลือกใช้บริการให้เหมาะสมและตรงกับความต้องการของตนเอง นอกจากข่าวสาร เกี่ยวกับบริการทางการเงินแล้ว ภัยทางการเงินก็เป็นส่ิงหน่ึงท่ีผู้ใช้บริการทางการเงินไม่ควร ละเลยเพราะการติดตามข่าวสารจะทาให้เข้าใจและรู้ทันรูปแบบการหลอกลวงของมิจฉาชีพ และสามารถปอ้ งกันตวั เองจากมิจฉาชพี ได้ 3. ศึกษารายละเอียดและเปรียบเทียบข้อมูลก่อนเลือกใช้ จะทาให้เข้าใจ ลักษณะของผลิตภัณฑ์และบริการ เง่ือนไขที่เกี่ยวข้อง ผลประโยชน์ที่จะได้รับ ความเส่ียง และ ต้องไมล่ ืมทีจ่ ะเปรยี บเทียบผลิตภณั ฑท์ ่สี นใจจากหลาย ๆ แหลง่ เช่น สถาบันการเงิน ผู้ประกอบ ธุรกิจสินเช่ือท่ีไม่ใช่สถาบันการเงิน (non-bank) เพ่ือเลือกส่ิงท่ีเหมาะสมและตรงกับความ ต้องการของตนเองมากที่สุด เช่น สอบถามพนักงาน อ่านและทาความเข้าใจหนังสือชี้ชวนหรือ เอกสารสรุปข้อมูลสาคัญประกอบการเสนอขายผลิตภัณฑ์ (fact sheet) เพื่อเปรียบเทียบ ผลิตภณั ฑ์ รูห้ รือไมว่ า่ fact sheet ช่วยคุณได้อย่างไร fact sheet หรือเอกสารสรุปข้อมูลสาคัญของผลิตภัณฑ์ คือ ข้อมูลที่สถาบัน การเงนิ จดั ทาขน้ึ เพอื่ เปดิ เผยให้ลกู คา้ ได้ทราบข้อมูลเก่ยี วกับผลิตภัณฑ์หรือบริการทางการเงิน โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ทางการเงินบางประเภทที่มีความซับซ้อน เช่น สินเชื่อเพ่ือท่ีอยู่อาศัย บัญชเี งนิ ฝากแบบขัน้ บนั ได มีอะไรอยูใ่ น fact sheet ชดุ วชิ าการเงินเพอ่ื ชีวิต 2 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 สิทธแิ ละหน้าทข่ี องผู้ใช้บรกิ ารทางการเงิน

109 1. ลักษณะสาคัญของผลิตภัณฑ์ เช่น ประเภทของผลิตภัณฑ์ อัตราดอกเบ้ีย วธิ คี ิดดอกเบย้ี 2. ค่าบริการหรือค่าธรรมเนียมที่สถาบันการเงินอาจเรียกเก็บจากการซื้อ ผลติ ภัณฑห์ รอื ใชบ้ รกิ ารเหลา่ นี้ 3. เง่อื นไขและข้อกาหนดที่ควรทราบ fact sheet จะเป็นตัวช่วยท่ีทาให้คุณรู้จักผลิตภัณฑ์นั้น ๆ มากขึ้น และยัง สามารถใชเ้ ปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกันของสถาบันการเงินอ่ืน ๆ จึงช่วยให้คุณ ตัดสินใจเลอื กผลติ ภณั ฑ์ได้งา่ ย และตรงกับความตอ้ งการดว้ ย อา่ น fact sheet ทุกครงั้ ก่อนตดั สินใจ เพ่ือประโยชน์สงู สดุ ของคณุ เอง นอกจากน้ี ก่อนลงนามหรือเซน็ ชื่อในสัญญาทาธุรกรรมใด ๆ ผู้ใช้บริการทาง การเงนิ ควรอา่ นรายละเอียดสัญญาให้ถ่ีถ้วน และต้องเข้าใจเง่ือนไขของสัญญาก่อนลงนาม หาก ไมเ่ ขา้ ใจ ให้สอบถามเจา้ หน้าท่ี เพ่ือป้องกันปัญหาทอี่ าจเกิดขน้ึ ภายหลัง 4. ตรวจทานความถูกต้องของธุรกรรมทางการเงินทุกคร้ัง เพื่อรักษา ผลประโยชน์ของตนเอง โดยเฉพาะอย่างย่ิงข้อมูลท่ีสาคัญ เช่น ช่ือบัญชี เลขที่บัญชี จานวนเงิน หากพบว่าไมถ่ กู ต้อง ควรรบี แจง้ เจา้ หน้าที่ทันที 5. ชาระหนี้เมื่อเป็นหนี้ ก่อนก่อหนี้ให้ดูความสามารถในการชาระหนี้ของตนเอง ซ่ึงหากมีความจาเป็นและสามารถผ่อนชาระไหว ก็สามารถก่อหน้ีได้ และเมื่อเป็นหนี้แล้ว ผู้ใช้บริการทางการเงินมีหน้าที่ที่จะต้องชาระหนี้นั้น หากไม่ชาระหน้ี นอกจากจะทาให้หน้ี เพ่ิมขึ้นเพราะดอกเบ้ียแล้ว ก็จะทาให้ประวัติเครดิตเสีย และเมื่อต้องการกู้เงินเพ่ือส่ิงจาเป็นใน อนาคต อาจถกู ปฏเิ สธการขอก้ไู ด้ กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 2 หน้าที่ของผู้ใชบ้ รกิ ารทางการเงนิ (ให้ผ้เู รียนไปทากจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 2 ท่สี มุดบนั ทึกกิจกรรมการเรียนรู้) ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชวี ติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 สิทธิและหน้าที่ของผ้ใู ชบ้ ริการทางการเงนิ

110 เร่ืองที่ 3 บทบาทศนู ย์คุ้มครองผู้ใช้บรกิ ารทางการเงิน (ศคง.) และหน่วยงานที่รบั เรื่องร้องเรียนอืน่ ๆ ศนู ย์คมุ้ ครองผใู้ ชบ้ ริการทางการเงนิ (ศคง.) ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) หรือแบงก์ชาติได้กาหนดให้การคุ้มครอง ผู้ใช้บริการทางการเงินเป็นหน่ึงในยุทธศาสตร์สาคัญ โดยจัดตั้งศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการ เงิน (ศคง.) ขึ้นเม่ือเดือนมกราคม 2555 เพื่อให้เป็นศูนย์กลางในการดาเนินงานด้าน การคุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงินอย่างเป็นระบบ ผ่านการส่งเสริมความรู้และดูแลเร่ือง ร้องเรียนเก่ียวกับบริการทางการเงิน เพ่ือให้สามารถตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชน ได้ดียิ่งข้ึน และเอื้อต่อการดาเนินการที่สอดประสานกับหน่วยงานภายนอกโดยมีหน้าท่ีหลัก 3 ประการ คอื 1. ดูแลเร่ืองร้องเรียนที่เก่ียวข้องกับบริการทางการเงินของผู้ให้บริการ ทางการเงินท่ีอยู่ภายใต้การกากับของ ธปท. (ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัท เครดิตฟองซิเอร์ สถาบันการเงินเฉพาะกิจ บริษัทบัตรเครดิต บริษัทสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้ การกากับ บริษัทสินเชื่อรายย่อยเพ่ือการประกอบอาชีพภายใต้การกากับ (นาโนไฟแนนซ์) ผู้ให้บรกิ ารการชาระเงนิ ทางอิเล็กทรอนิกส์ และผปู้ ระกอบธุรกิจปัจจัยชาระเงินตราต่างประเทศ (เช่น การแลกเปล่ียนเงินตราต่างประเทศ) รวมทั้งบริการทางการเงินอื่นท่ีแบงก์ชาติดูแล เช่น ธนบัตร พนั ธบตั ร กฎระเบยี บธรุ กรรมเงินตราต่างประเทศ 2. ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับบริการทางการเงิน เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ พ้ืนฐานทางการเงินเพียงพอที่จะดูแลตนเองได้ ตระหนักถึงความสาคัญของการวางแผนการเงิน การมีวินัยทางการเงิน เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตนเอง สามารถเลือกใช้บริการทางการเงินได้ อยา่ งเหมาะสม และรู้เทา่ ทนั เล่ห์เหลี่ยมกลโกง 3. ส่งเสริมบทบาทหน้าท่ีของ ธปท. ในการกากับดูแลให้สถาบันการเงิน ให้บริการแก่ลูกค้าอย่างเป็นธรรม โดยการส่งข้อมูลปัญหา ข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะไปยัง หน่วยงานท้ังภายในและภายนอก ธปท. เพื่อนาไปใช้ในการกากับดูแลสถาบันการเงินให้ ดาเนนิ การอย่างถกู ตอ้ ง เปน็ ธรรม และคานงึ ถึงสิทธขิ องผู้ใชบ้ ริการทางการเงิน ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 สิทธิและหน้าท่ีของผใู้ ช้บรกิ ารทางการเงิน

111 หน่วยงานทร่ี บั เร่อื งรอ้ งเรียนอื่น ๆ สาหรับผลิตภัณฑ์และผู้ให้บริการทางการเงินที่ไม่ได้อยู่ภายใต้การกากับดูแล ของแบงกช์ าติ ผ้ใู ชบ้ ริการสามารถขอคาแนะนาหรอื รอ้ งเรียนไดด้ งั น้ี 1. สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) มีหน้าท่ีให้คาปรึกษา แนะนา รับเรื่องร้องเรียนเก่ียวกับบริการของบริษัทหลักทรัพย์ บริษัท หลกั ทรัพยจ์ ดั การกองทนุ เชน่ หุ้นสามัญ กองทนุ รวม สัญญาซ้อื ขายล่วงหนา้ โทร. 1207 2. สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) มีหน้าทีใ่ หค้ าปรึกษา แนะนา รบั เรอ่ื งรอ้ งเรียนเกีย่ วกับบริการของบริษัทประกันภัย เช่น ประกันชีวติ ประกันวินาศภยั โทร. 1186 3. สานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) มีหน้าที่ให้คาปรึกษา แนะนา รับเร่ือง ร้องเรยี นเกย่ี วกบั การเงินนอกระบบ เช่น หนน้ี อกระบบ แชร์ลกู โซ่ โทร. 1359 4. บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จากัด (เครดิตบูโร) มีหน้าท่ีให้คาปรึกษา แนะนา รับเร่อื งรอ้ งเรียนเก่ียวกับข้อมลู ประวตั ิเครดิต โทร. 0 2643 1250 5. สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) มีหน้าที่ให้คาปรึกษา แนะนา ร้องเรียนเกี่ยวกับสินค้าและบริการท่ัวไป เช่น การโฆษณาเกินจริง การไม่ปฏิบัติตาม สญั ญา โทร. 1166 6. หนว่ ยงานทรี่ บั เรื่องรอ้ งเรียนเกย่ี วกบั การทวงหนี้อย่างไม่เหมาะสม 1) กรมการปกครอง โทร. 0 2356 9660 2) สานกั งานเศรษฐกจิ การคลงั โทร. 1359 3) ทท่ี าการปกครองจังหวัด 4) กองบญั ชาการตารวจนครบาล โทร. 0 2354 5249 5) สถานีตารวจ 6) ทีว่ ่าการอาเภอ กจิ กรรมท้ายเรือ่ งที่ 3 บทบาทศูนย์คุ้มครองผู้ใชบ้ ริการทางการเงิน (ศคง.) และหนว่ ยงานที่ รับเร่อื งร้องเรียนอนื่ ๆ (ให้ผูเ้ รยี นไปทากจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 3 ที่สมดุ บันทึกกิจกรรมการเรียนร)ู้ ชดุ วิชาการเงนิ เพื่อชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 สิทธิและหน้าท่ีของผใู้ ชบ้ รกิ ารทางการเงิน

112 เรอื่ งที่ 4 ข้ันตอนการรอ้ งเรยี นและหลกั การเขยี นหนงั สอื รอ้ งเรียน ข้ันตอนการร้องเรียน หากได้รับการปฏิบัติท่ีไม่ถูกต้องหรือถูกเอาเปรียบจากสถาบันการเงินหรือ ผู้ให้บริการทางการเงิน เช่น ได้รับข้อมูลไม่ถูกต้องทาให้เข้าใจผิดในตัวผลิตภัณฑ์ คานวณ ดอกเบ้ียผิด ผู้ใช้บรกิ ารทางการเงินสามารถร้องเรยี นไดต้ ามขนั้ ตอนดังนี้ 1. ร้องเรียนที่ศูนย์บริการลูกค้า (call center) ของสถาบันการเงินหรือ ผู้ให้บรกิ ารทางการเงนิ น้ัน ๆ เพ่อื แจง้ เรอ่ื งร้องเรียนหรือปญั หาท่พี บ 2. หากไม่ได้รับการติดต่อกลับภายในระยะเวลาการให้บริการมาตรฐาน5 หรือไม่ได้รับการปฏิบัติท่ีเหมาะสม สามารถขอรับคาปรึกษาหรือร้องเรียนได้ที่ศูนย์คุ้มครอง ผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) โทร. 1213 ในวันจันทร์ - วันศุกร์ ระหว่างเวลา 08.30 - 12.00 น. และ 13.00 - 16.30 น. หรอื ชอ่ งทางอน่ื ๆ ดังนี้ 1) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) ของ ศคง. [email protected] โดย กรอกข้อมลู ตามแบบฟอรม์ ใน www.1213.or.th6 2) เวบ็ ไซต์ ศคง. www.1213.or.th 3) ร้องเรียนด้วยตนเอง เพ่ือติดต่อขอพบเจ้าหน้าที่ตามเวลาราชการ โดยการนดั หมายลว่ งหนา้ 4) จดหมาย/โทรสาร (fax) ตามที่อย่หู รอื หมายเลขโทรสาร ดงั นี้ ภาคกลาง ผู้อานวยการ ศนู ย์ค้มุ ครองผ้ใู ชบ้ รกิ ารทางการเงนิ ธนาคารแห่งประเทศไทย สานักงานใหญ่ 273 ถนนสามเสน แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรสาร (fax) 0 2283 6151 5 ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) โดยศนู ยค์ ้มุ ครองผใู้ ชบ้ ริการทางการเงิน (ศคง.) รว่ มกบั สมาคมธนาคารไทย และสาขา ของธนาคารพาณชิ ยต์ ่างประเทศทใ่ี ห้บริการลูกคา้ บุคคลธรรมดารายยอ่ ย รวม 18 ธนาคาร กาหนดมาตรฐานการใหบ้ ริการ ของแตล่ ะธนาคาร (SLA) โดยจดั ทาเปน็ ตารางแสดงระยะเวลาการใหบ้ ริการของธนาคารแต่ละแหง่ เผยแพรผ่ า่ นทางเวบ็ ไซต์ ศคง. www.1213.or.th โดยเลือก ขอ้ มูลเปรยี บเทียบ เลือก SLA 6 สามารถพิมพไ์ ด้จาก www.1213.or.th โดยเลือก เกีย่ วกบั ศคง. เลอื ก ขอรบั คาปรกึ ษาหรอื ร้องเรยี น เลือก 04 อเี มล ชดุ วชิ าการเงินเพ่อื ชีวิต 2 | หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 4 สิทธิและหน้าท่ขี องผู้ใช้บรกิ ารทางการเงิน

113 ผูอ้ านวยการอาวโุ ส ธนาคารแห่งประเทศไทย สานกั งานภาคเหนอื ภาคเหนือ 68/3 ถนนโชตนา ตาบลชา้ งเผือก อาเภอเมอื ง จังหวดั เชียงใหม่ 50300 หมายเลขโทรสาร (fax) 0 5393 1103 ผอู้ านวยการอาวโุ ส ภาค ธนาคารแห่งประเทศไทย สานักงานภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตะวนั ออก 393 ถนนศรจี ันทร์ ตาบลในเมอื ง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เฉียงเหนอื 40000 หมายเลขโทรสาร (fax) 0 4324 1045 ผูอ้ านวยการอาวโุ ส ภาคใต้ ธนาคารแห่งประเทศไทย สานักงานภาคใต้ 472 ถนนเพชรเกษม อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 หมายเลขโทรสาร (fax) 0 7423 4701 อย่างไรก็ดี มีเร่อื งร้องเรียนทอี่ ยู่นอกเหนือขอบเขตการดาเนินการของ ศคง. เชน่  เร่ืองร้องเรียนที่ไม่เก่ียวข้องกับสถาบันการเงินหรือผู้ประกอบธุรกิจภายใต้ การกากับดแู ลของ ธปท.  เร่ืองร้องเรียนท่ีศาลมีคาวินิจฉัย คาสั่ง หรือคาพิพากษาเสร็จเด็ดขาดไปแล้ว หรือ เร่ืองทอี่ ยใู่ นระหวา่ งการพจิ ารณาของศาล  เรื่องที่ขอให้ ธปท. ฟ้องร้องคดีแทน/ช่วยเหลือเงินในการต่อสู้คดี/ช่วยจัดหาหรือ วา่ จา้ งทนายความใหผ้ ู้รอ้ งเรียน  เร่ืองท่ีขอให้ ธปท. เรียกร้อง/ส่ังการให้สถาบันการเงินหรือผู้ประกอบธุรกิจภายใต้ การกากบั ดูแลของ ธปท. ชดใช้คา่ เสยี หายตามข้อพิพาทที่คู่สัญญาผูกพันกันทางแพง่  เรื่องที่เป็นกรณีพิพาทระหว่างพนักงานของสถาบันการเงินหรือผู้ประกอบธุรกิจ ภายใตก้ ารกากบั ดูแลของ ธปท. กับสถาบันการเงินหรือผู้ประกอบธุรกิจข้างต้น ที่ไม่ เก่ยี วขอ้ งกบั กฎหมายที่ ธปท. กากับดูแล  เรอ่ื งทีร่ ้องเรยี นซ้าเร่ืองเดิม ซ่ึง ธปท. ได้เคยดาเนินการจนผู้ร้องเรียนได้รับคาช้ีแจงแล้ว หรอื เร่อื งร้องเรียนทขี่ อโต้แย้งผลการพจิ ารณาโดยผู้ร้องเรียนไม่มีข้อมูลใหม่เพ่ิมเติม/ การดาเนินการท่อี ยใู่ นอานาจหนา้ ทข่ี องหน่วยงานราชการ/ผกู้ ากบั ดูแลอน่ื  เร่ืองขอความอนุเคราะห์ซึ่งเป็นดุลยพินิจทางธุรกิจของสถาบันการเงินหรือ ผู้ประกอบธุรกิจภายใต้การกากับดูแลของ ธปท. และไม่มีข้อขัดต่อกฎหมายหรือ ชดุ วิชาการเงนิ เพื่อชวี ติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 สทิ ธแิ ละหนา้ ทข่ี องผูใ้ ช้บริการทางการเงิน

114 กฎเกณฑ์หรือแนวนโยบายของ ธปท. เช่น การขอปรับปรุงโครงสร้างหนี้ การขอเพิ่ม วงเงนิ สนิ เช่อื การขอลด/ยกเว้นดอกเบ้ยี คา่ ธรรมเนียม หรือคา่ ปรับต่าง ๆ  เรือ่ งทีเ่ ป็นกรณีสมมตแิ ละให้พจิ ารณาแสดงความเห็นว่าถูกหรอื ผดิ  การขอตรวจสอบขอ้ มลู ของบคุ คลอื่น  การขอขอ้ มลู ท่ี ธปท. ไมใ่ ชเ่ จ้าของข้อมลู หลกั การเขยี นหนงั สอื รอ้ งเรียน ในการร้องเรียน ควรเตรียมเอกสารท่ีเกี่ยวข้องให้ครบถ้วน เช่น เอกสารแสดง ตัวตน (สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน/หนังสือเดินทาง) เอกสารประกอบเร่ืองร้องเรียน (เช่น สาเนาใบแจง้ หน้ี/สญั ญา) โดยควรดาเนินการ ดงั นี้  เล่าเหตุการณ์สาคญั โดยมกี ารเรยี งลาดบั เหตกุ ารณ์  ให้ข้อมูลท่ีสาคญั และจาเปน็ ใหค้ รบถ้วน  แจง้ ส่งิ ท่ีต้องการใหส้ ถาบันการเงินดาเนนิ การ  แจง้ ขอ้ มูลสว่ นตวั เช่น ชือ่ ท่ีอยู่ เบอรโ์ ทรศัพท์ที่สามารถติดตอ่ ได้  แนบเอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ งให้ครบถว้ น กจิ กรรมท้ายเรือ่ งที่ 4 ข้นั ตอนการร้องเรยี นและหลักการเขยี นหนงั สือร้องเรยี น (ใหผ้ ู้เรียนไปทากิจกรรมทา้ ยเรื่องที่ 4 ทสี่ มุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้) ชดุ วิชาการเงินเพื่อชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 4 สิทธิและหน้าที่ของผใู้ ช้บรกิ ารทางการเงนิ

115 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 ภัยทางการเงนิ สาระสาคญั รูปแบบการดารงชีวิตและเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนแปลงไป ทาให้มิจฉาชีพพัฒนา สารพดั กลโกงเพอ่ื หลอกขโมยเงินจากเหยอื่ โดยมกั จบั จดุ ออ่ นของเหยือ่ คือ ความกลัว ความโลภ และความไม่รู้มาเป็นตัวช่วย ผู้ใช้บริการทางการเงินจึงจาเป็นต้องรู้เท่าตามทันกลโกงของ มิจฉาชีพ ไม่ว่าจะเป็นกลโกงท่ีมาในรูปแบบของการเงินนอกระบบที่มีท้ังหนี้นอกระบบและ แชรล์ กู โซ่ ภัยใกล้ตวั และภัยออนไลน์ เพ่ือให้สามารถป้องกันตนเองจากภัยเหล่าน้ีได้ รวมไปถึง รจู้ ักหนว่ ยงานหรอื องคก์ รที่ใหค้ าปรึกษาหากตกเป็นเหยอ่ื ภยั ทางการเงนิ ตัวชี้วัด 1. บอกประเภทและลกั ษณะของภยั ทางการเงนิ 2. บอกวิธีการป้องกันตนเองจากภยั ทางการเงิน 3. บอกวิธีแกป้ ญั หาท่ีเกิดจากภัยทางการเงิน ขอบขา่ ยเนือ้ หา เรอ่ื งท่ี 1 หน้ีนอกระบบ เร่ืองท่ี 2 แชร์ลูกโซ่ เรื่องท่ี 3 ภยั ใกล้ตวั เร่ืองท่ี 4 แก๊งคอลเซนเตอร์ เรื่องที่ 5 ภยั ออนไลน์ เวลาทใ่ี ช้ในการศกึ ษา 15 ชั่วโมง สือ่ การเรยี นรู้ 1. ชุดวชิ าการเงินเพ่ือชวี ติ 2 2. หนงั สือร้รู อบเรอ่ื งการเงินของศนู ยค์ ้มุ ครองผใู้ ชบ้ รกิ ารทางการเงิน ตอน รรู้ อบระวังภัย 3. เวบ็ ไซต์ www.1213.or.th เฟซบกุ๊ www.facebook.com/hotline1213 ชดุ วิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ภยั ทางการเงนิ

116 เร่อื งท่ี 1 หนนี้ อกระบบ เมื่อจาเป็นต้องใช้เงิน แต่ไม่สามารถขอกู้เงินจากสถาบันการเงินได้ หลายคนคง นกึ ถึงการกูเ้ งินนอกระบบทีไ่ ดเ้ งินเร็ว ไม่ยุง่ ยาก ไม่ตอ้ งมีหลักประกันหรือใช้บคุ คลค้าประกัน จน อาจลมื นึกถึงเลห่ ์เหลย่ี มหรอื กลโกงทอ่ี าจแฝงมากบั การกเู้ งินนอกระบบ ลักษณะกลโกงหนน้ี อกระบบ 1. ใช้ตัวเลขนอ้ ย ๆ เพอ่ื จงู ใจ นายทุนเงินกู้นอกระบบมักบอกตัวเลขน้อยเพ่ือจูงใจผู้กู้ ไม่ว่าจะเป็นจานวนเงิน ผ่อนต่องวดหรือดอกเบี้ย เช่น กู้เงิน 10,000 บาท ให้ผ่อนวันละ 150 บาทเป็นระยะเวลา 90 วัน แต่เม่ือคานวณแล้วต้องจ่ายหนี้คืน 13,500 บาทภายใน 3 เดือน ดอกเบี้ยสูงถึง 35% ต่อ สามเดอื น หรือ 140% ต่อปี เจ้าหน้ีบางรายก็บอกแค่อัตราดอกเบี้ย แต่ไม่ได้บอกว่าเป็นอัตราดอกเบี้ยต่อวัน ต่อเดือน หรือต่อปี เช่น เจ้าหน้ีรายหน่ึงปล่อยเงินกู้ 3% ลูกหน้ีเห็นว่าอัตราดอกเบ้ียน้อยกว่า สถาบันการเงินก็แห่ไปกเู้ งนิ แต่เม่อื คานวณดอกเบ้ียทั้งปีแล้ว ลูกหนี้ก็ตกใจ เพราะดอกเบี้ย 3% นั้นเปน็ ดอกเบีย้ ต่อวัน ถา้ คดิ เปน็ ตอ่ ปี กส็ งู ถึง 1,080% 2. ใหเ้ ซ็นเอกสารที่ไม่ได้กรอกตัวเลข นอกจากจะใช้ตัวเลขค่างวดหรือดอกเบ้ียน้อย ๆ ดึงดูดลูกหน้ีแล้ว เจ้าหนี้ บางรายกใ็ หล้ กู หนี้เซน็ สญั ญากู้ยมื โดยทย่ี ังไมไ่ ด้กรอกตัวเลข ลูกหน้ีรายหนึ่งต้องใช้เงินคืนเจ้าหนี้ 100,000 บาท ทั้ง ๆ ท่ีกู้เงินมาแค่ 20,000 บาท เพียงเพราะไปเซ็นสัญญาในเอกสารท่ียังไม่ได้ กรอกจานวนเงินกู้ 3. ไม่ให้ลกู หน้อี ่านเอกสารท่ีต้องเซน็ เจ้าหน้ีบางรายไม่ยอมให้ลูกหนี้อ่านเอกสารที่จะต้องเซ็น เช่น เจ้าหน้ีหวังจะ ยึดเอาที่ดินของลูกหน้ีท่ีนามาค้าประกันเงินกู้ จึงหลอกว่าเป็นการทาสัญญาจานอง แต่แท้จริง เป็นสัญญาขายฝาก 4. บบี ให้เซ็นสญั ญาเงินกเู้ กนิ จรงิ เจ้าหน้ีบางรายบีบบังคับให้ลูกหน้ีเซ็นสัญญาเงินกู้เกินจริง เช่น ขอกู้ 10,000 บาท แตบ่ งั คบั ใหเ้ ซน็ ในเอกสารท่ีเขียนวา่ ขอกู้ 30,000 บาท ลกู หนีบ้ างรายมีความจาเป็นต้องใช้ เงิน ก็จาใจเซน็ สญั ญานัน้ ชุดวิชาการเงินเพอื่ ชีวติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ภัยทางการเงิน

117 5. ทาสญั ญาขายฝากแทนสัญญาจานอง เจ้าหน้ีหลายรายหลอกลูกหนี้ให้ทาสัญญาขายฝากแทนสัญญาจานอง ถึงแม้ เจ้าหนีจ้ ะอ้างว่าเปน็ การค้าประกันเงินกเู้ หมือนกัน แต่การบังคับหลักประกันต่างกัน สัญญาขาย ฝากจะทาให้กรรมสิทธ์ิของบ้านหรือที่ดินน้ันตกเป็นของเจ้าหนี้ตั้งแต่วันท่ีทาสัญญา ซึ่งลูกหน้ี จะต้องไถ่บ้านหรือที่ดินคืนภายในเวลาที่กาหนด หากช้าเพียงวันเดียว บ้านหรือที่ดินน้ันก็จะ ตกเปน็ ของเจา้ หน้ที นั ที โดยเจา้ หนไี้ ม่ต้องมีหนงั สอื แจ้งหรอื ฟ้องศาลเพ่อื บังคบั คดี ด้วยเหตุน้ีเจ้าหน้ีนอกระบบบางคนจึงบ่ายเบ่ียง หลบหน้าลูกหนี้เพ่ือไม่ให้มี โอกาสได้ไถ่ถอนบ้านหรือที่ดินนั้นคืนในเวลาที่กาหนด หรือไม่ยอมขยายเวลาไถ่ให้ (การขยาย เวลาไถ่ต้องทาหลักฐานเป็นหนังสือพร้อมลงลายมือช่ือ) โดยเฉพาะบ้านหรือที่ดินท่ีอยู่ในทาเลดี และมีมลู ค่ามากกวา่ ยอดหน้ี 6. หลกี เล่ยี งใหก้ โู้ ดยตรง หลายคร้ังท่ีสัญญาอาพรางเงินกู้ถูกนามาใช้เพื่อหลอกล่อผู้ท่ีเดือดร้อนเรื่องเงิน เช่น ลูกหน้ีรายหน่ึงติดต่อขอกู้เงินกับเจ้าหนี้นอกระบบจานวน 20,000 บาท เจ้าหน้ีบังคับให้ ลูกหน้ีใช้บัตรผ่อนสินค้าหรือบัตรเครดิตซื้อสินค้าท่ีกาลังเป็นท่ีนิยมมูลค่า 23,000 บาทเพื่อมา แลกกบั เงนิ กู้ 20,000 บาท ลูกหน้ีไดเ้ งนิ มาแค่ 20,000 บาท แตก่ ลับต้องแบกภาระเงินกู้สูงถึง 23,000 บาท กับบริษัทบัตรผ่อนสินค้าหรือบริษัทบัตรเครดิต และยังมีภาระดอกเบ้ียท่ีต้องจ่ายอีกต่างหาก สว่ นเจ้าหนแ้ี ทบจะไมม่ คี วามเสย่ี งใดเลย แถมยังได้สินคา้ ในราคาถูกอกี ด้วย 7. ทวงหนโี้ หด นอกจากภาระดอกเบ้ียที่แสนแพงแล้ว ลูกหนี้เงินกู้นอกระบบอาจต้องเจอกับ การทวงหนี้โหดหากไม่ชาระตรงตามเวลา ซึง่ เจ้าหนอ้ี าจไมไ่ ดแ้ ค่ขู่หรือประจานให้ได้อาย แต่บาง รายกถ็ งึ ข้นั ทาร้ายร่างกาย วิธปี ้องกนั ภัยหน้นี อกระบบ 1. หยุดใช้เงินเกินตัว – ตรวจสอบพฤติกรรมการใช้เงินของตนเองโดยการจด บันทึกรายรบั -รายจ่าย แลว้ วางแผนใช้เงนิ อยา่ งเหมาะสมกับรายไดแ้ ละความจาเปน็ 2. วางแผนการเงินล่วงหน้า – คานึงถึงค่าใช้จ่ายก้อนใหญ่ที่อาจเกิดขึ้นใน อนาคต เช่น ค่าเล่าเรียนลูก แล้ววางแผนทยอยออมล่วงหน้า รวมถึงออมเงินเผ่ือเหตุการณ์ ฉกุ เฉินด้วย ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ภยั ทางการเงิน

118 3. คิดให้ดีก่อนตัดสินใจก่อหน้ี – ทบทวนดูความจาเป็นว่าต้องใช้เงินจริง ๆ หรือไม่ และหากต้องกู้จริง ๆ จะสามารถชาระหน้ีได้หรือไม่ เพราะนอกจากดอกเบี้ยท่ีแสนแพง แล้ว อาจต้องเจอกับเหตุการณท์ วงหนแ้ี บบโหด ๆ อกี ดว้ ย 4. เลือกกู้ในระบบ – หากจาเป็นต้องกู้ ควรเลือกกู้ในระบบดีกว่า เพราะ นอกจากจะมหี น่วยงานภาครฐั คอยดูแลแลว้ ยงั ระบุดอกเบี้ยในสญั ญาชดั เจนและเปน็ ธรรมกว่า 5. ศึกษารายละเอยี ดผู้ให้กู้ – ดูวา่ ผู้ให้กู้น้ันน่าเช่ือถือหรือไม่ มีเง่ือนไขชาระเงิน หรอื อตั ราดอกเบี้ยทเี่ อาเปรยี บผกู้ เู้ กินไปหรือไม่ 6. ศกึ ษาวธิ คี ดิ ดอกเบีย้ – หน้ีนอกระบบมักคิดอัตราดอกเบี้ยด้วยวิธีเงินต้นคงท่ี (flat rate) ซึ่งทาให้ลูกหน้ีต้องจ่ายดอกเบ้ียมากกว่าการคิดดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก (effective rate) เพราะดอกเบี้ยจะถูกคิดจากเงินต้นทั้งก้อนแม้ว่าจะทยอยจ่ายคืนทุกเดือน ก็ตาม 7. หากจาเป็นตอ้ งกเู้ งินนอกระบบต้องใส่ใจ  ไม่เซ็นสัญญาในเอกสารที่ยังไม่ได้กรอกข้อความหรือวงเงินกู้ไม่ตรงกับ ความจรงิ  ตรวจสอบขอ้ ความในสัญญาเงินกู้ รวมถึงดวู า่ เป็นเงื่อนไขท่เี ราทาได้จรงิ ๆ  เกบ็ สัญญาคฉู่ บบั ไว้กับตวั เพือ่ เปน็ หลักฐานการกู้  ทาสัญญาจานองแทนการทาสัญญาขายฝาก เพราะการขายฝากจะทาให้ กรรมสิทธิต์ กเปน็ ของเจ้าหนที้ นั ทหี ากผู้กูไ้ ม่มาไถค่ นื ตามกาหนด 8. ติดตามข่าวสารกลโกงเป็นประจา ทาอยา่ งไรเมื่อตกเป็นเหยือ่ หนีน้ อกระบบ หากเป็นเหย่ือหนี้นอกระบบแล้ว ผู้กู้ควรหาแหล่งเงินกู้ในระบบที่มีดอกเบ้ีย ถูกกว่ามาชาระคืน แต่หากไม่สามารถกู้ยืมในระบบได้ ผู้กู้อาจต้องยอมขายทรัพย์สินบางส่วน เพ่อื นามาชาระหน้ี เพื่อแกไ้ ขปญั หาดอกเบีย้ ทเ่ี พ่มิ ข้ึนจนไม่สามารถชาระคืนได้ ท้ังนี้ ลูกหน้ีเงินกู้ นอกระบบสามารถขอรับคาปรึกษาไดจ้ ากองค์กรดงั ต่อไปน้ี 1. ศูนย์รบั แจง้ การเงินนอกระบบ กระทรวงการคลงั โทร. 1359 2. กองบงั คบั การปราบปรามการกระทาผิดเก่ยี วกบั การคุม้ ครองผบู้ ริโภค สานักงานตารวจแห่งชาติ โทร. 1135 3. สายดว่ นรฐั บาล สานักนายกรฐั มนตรี โทร. 1111 ชุดวชิ าการเงินเพือ่ ชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 ภัยทางการเงนิ

119 4. สานักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน สานกั อัยการสงู สดุ โทร. 0 2142 2034 5. ศูนย์ช่วยเหลือลูกหน้ีและประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม กระทรวง ยุติธรรม โทร. 0 2575 3344 6. ศนู ยด์ ารงธรรม กระทรวงมหาดไทย โทร. 1567 7. หน่วยงานที่รับเร่ืองร้องเรียนเก่ียวกับการทวงถามหนี้ไม่เหมาะสม ได้แก่ กรมการปกครอง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่ทาการปกครองจังหวัด กองบัญชาการตารวจ นครบาล สถานตี ารวจทอ้ งที่ และท่ีวา่ การอาเภอทุกแหง่ กิจกรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 1 หนี้นอกระบบ (ให้ผู้เรยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 1 ท่ีสมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้) ชุดวิชาการเงนิ เพือ่ ชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ภยั ทางการเงนิ

120 เรอ่ื งที่ 2 แชร์ลกู โซ่ แชร์ลูกโซ่เป็นภัยทางการเงินท่ีอาจสร้างความเสียหายได้ตั้งแต่เงินจานวนน้อย ๆ จนไปถึงเงินหลักแสนหลักล้าน มิจฉาชีพมักใช้ “โอกาสรวย” หรือ “สินค้าราคาถูกมาก” มาหลอก ล่อให้เหยือ่ รว่ มลงทุนหรือซ้อื สินค้าแล้วเชดิ เงินหนีไป ลักษณะกลโกงแชร์ลูกโซ่ 1. แชรล์ ูกโซ่ในคราบธรุ กจิ ขายตรง มิจฉาชีพจะโฆษณาชวนเชื่อให้เหยื่อทาธุรกิจขายตรงท่ีมีผลตอบแทนสูง โดยท่ี เหยื่อไม่ตอ้ งทาอะไร เพียงแค่ชกั ชวนเพอื่ นหรือญาติพี่น้องให้ร่วมทาธุรกิจ ไม่เน้นการขาย สาธิต หรือทาให้สมาชิกเข้าใจในตัวสินค้า เมื่อเหย่ือเริ่มสนใจ จะให้เหย่ือเข้าร่วมฟังสัมมนา และ โนม้ นา้ วหรอื หลอกลอ่ ให้เหยื่อจา่ ยคา่ สมัครสมาชกิ หรือซื้อสินค้าแรกเข้าซึ่งมีมูลค่าที่ค่อนข้างสูง (สินค้าส่วนมากมักไม่มีคุณภาพ) หรืออาจให้เหย่ือซ้ือหุ้นหรือหน่วยลงทุนโดยไม่ต้องรับสินค้าไป ขาย แลว้ กร็ อรบั เงนิ ปันผลไดเ้ ลย ค่าสมคั รสมาชิก ค่าซื้อสนิ ค้าแรกเข้า คา่ หุ้นหรือค่าหน่วยลงทุนของสมาชิกใหม่จะ ถูกนามาจ่ายเป็นผลตอบแทนให้กับสมาชิกเก่า เม่ือไหร่ที่ไม่สามารถหาสมาชิกใหม่ได้ แชร์ก็จะล้ม เพราะไม่สามารถหาเงินมาจา่ ยผลตอบแทนและเงินท่ีลงทุนคืนสมาชิกได้ ปัจจุบันยังมีการโฆษณาชักชวนผู้ลงทุนผ่านอินเทอร์เน็ตอีกด้วย โดยมิจฉาชีพจะ หลอกให้เหย่ือกรอกข้อมูลส่วนตัวในอินเทอร์เน็ต แล้วติดต่อเหยื่อเพื่อชักชวนให้เข้าร่วมงาน สัมมนาโดยอา้ งว่ามีบคุ คลทีม่ ีช่ือเสียงเขา้ ร่วมด้วย 2. แชร์ลกู โซห่ ลอกลงทุน มิจฉาชีพมักอ้างว่ามีสิทธิพิเศษ หรือได้โควตาซ้ือสินค้าราคาถูกเป็นจานวนมาก หรือมีการลงทุนท่ีให้ผลตอบแทนสูงและแน่นอน จึงอยากชักชวนให้เหยื่อลงทุนร่วมกัน เช่น โควตาจาหน่ายสลากกินแบ่งรัฐบาล (แชร์ลอตเตอร่ี) อุตสาหกรรมปลูกป่าเพ่ือส่งขายตลาดใน ต่างประเทศ (แชร์ไม้) เก็งกาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน (แชร์ FOREX) โดยสร้างเว็บไซต์เพื่อให้ดู นา่ เชื่อถอื หรอื บางรายก็อา้ งวา่ มสี าขาในตา่ งประเทศ แต่ความจริงแลว้ ไม่ได้ทาธุรกจิ ดงั กล่าวจรงิ มิจฉาชีพจะใช้วิธีหมุนเงินจากผู้ลงทุนรายใหม่ไปจ่ายเป็นผลตอบแทนให้แก่ ผู้ลงทุนรายเก่า จึงต้องพยายามหาผู้ลงทุนรายใหม่อยู่เร่ือย ๆ เพ่ือให้มีเงินไปจ่ายเป็น ผลตอบแทน แต่หากไม่สามารถหาผู้ลงทุนรายใหม่ได้ ก็จะไม่สามารถจ่ายผลตอบแทนคืนให้แก่ รายเกา่ ได้ ชดุ วิชาการเงนิ เพอื่ ชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ภยั ทางการเงิน

121 วธิ ปี อ้ งกนั ภยั แชรล์ ูกโซ่ 1. ไม่โลภไปกับผลตอบแทนหรือสินค้าราคาถูกท่ีนามาหลอกล่อ เพราะ ผลตอบแทนย่ิงสูง ยง่ิ มีความเส่ียงมากท่จี ะเปน็ แชร์ลูกโซ่ 2. ไม่กรอกข้อมูล หรือให้ข้อมูลส่วนตัวในเว็บไซต์ หรือตอบกลับอีเมลท่ี ไมน่ า่ เช่ือถือ เพราะอาจกลายเปน็ เหยอื่ แชรล์ กู โซ่ 3. หลีกเลี่ยงการเข้าร่วมกิจกรรมกับกลุ่มธุรกิจท่ีไม่แน่ใจ เพราะอาจถูก หวา่ นลอ้ มให้รว่ มลงทนุ ในธรุ กจิ แชรล์ ูกโซ่ 4. อย่าเกรงใจจนไมก่ ล้าปฏเิ สธ เมอื่ มีคนชักชวนทาธรุ กิจทมี่ ีลักษณะคล้ายแชร์ ลูกโซ่ เพราะอาจทาให้สูญเสียเงินได้ 5. ศึกษาที่มาที่ไปของการลงทุนหรือสินค้าให้ดีก่อนการลงทุน โดยเฉพาะ ธรุ กิจหรือสนิ ค้าทีใ่ ห้ผลตอบแทนสูงมากในเวลาส้ัน ๆ หรอื มรี าคาถูกผดิ ปกติ 6. ตดิ ตามข่าวสารกลโกงเปน็ ประจา ทาอย่างไรเม่ือตกเปน็ เหยอ่ื แชรล์ ูกโซ่ หากตกเป็นเหยื่อแชร์ลูกโซ่ ควรรวบรวมเอกสารท่ีเก่ียวข้องทั้งหมด แล้วติดต่อ ขอรบั คาปรึกษาได้ที่ สว่ นปอ้ งปรามการเงินนอกระบบ สานักนโยบายพัฒนาระบบการเงินภาคประชาชน สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลงั ซอยอารยี ์สมั พนั ธ์ ถนนพระราม 6 สามเสนใน พญาไท กรงุ เทพฯ 10400 โทร. 1359 กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 2 แชร์ลกู โซ่ (ใหผ้ ูเ้ รยี นไปทากิจกรรมท้ายเรอื่ งที่ 2 ท่สี มุดบันทึกกจิ กรรมการเรียนรู้) ชดุ วิชาการเงินเพ่อื ชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ภัยทางการเงนิ

122 เร่อื งที่ 3 ภยั ใกลต้ ัว หลายครั้งที่ความโลภกลายเป็นจุดอ่อนที่มิจฉาชีพใช้โจมตีเหย่ือ โดยนา ผลประโยชนจ์ านวนมากมาหลอกลอ่ ใหเ้ หย่อื ยอมจา่ ยเงินจานวนหนึง่ ให้กอ่ น แลว้ นาเงนิ หนไี ป ลกั ษณะกลโกงของภยั ใกลต้ วั 1. เบีย้ ประกันงวดสดุ ท้าย มิจฉาชีพจะแอบอ้างเป็นพนักงานบริษัทประกันชีวิตติดต่อญาติของผู้ ตายว่า ผู้ตายทาประกันชีวิตไว้กับบริษัท แต่ขาดการชาระเบี้ยประกันงวดสุดท้าย หากญาติจ่ายค่าเบ้ีย ประกันที่ค้างอยู่ ก็จะได้รับเงินคืนตามกรมธรรม์ซึ่งเป็นจานวนเงินค่อนข้างมาก เม่ือเหย่ือ จา่ ยเงนิ ให้ ผ้ทู อ่ี ้างวา่ เป็นพนักงานบรษิ ทั ประกันภัยก็จะหายตัวไปพรอ้ มเงินประกันงวดสดุ ทา้ ย 2. ตกทอง/ลอตเตอรปี่ ลอม มิจฉาชีพจะอ้างว่ามีทองหรือลอตเตอรี่รางวัลที่หนึ่ง แต่ไม่มีเวลาไปขายหรือ ข้ึนเงิน จึงเสนอขายให้เหยื่อในราคาถูก กว่าจะรู้ว่าเป็นทองหรือลอตเตอร่ีปลอม มิจฉาชีพก็ หายไปพร้อมกับเงินทไ่ี ดไ้ ป 3. นาย (พัน) หนา้ ...หลอกลวงเงิน มิจฉาชีพจะแอบอ้างว่าเป็นเจ้าหน้าที่ในองค์กรหรือสถาบันการเงินที่สามารถ ช่วยเหยื่อหางาน หรือขอสินเช่ือจากสถาบันการเงินได้ แต่เหยื่อต้องจ่ายค่านายหน้าให้ก่อน มิจฉาชีพบางรายก็หลอกให้เหย่ือเป็นนายหน้าขายท่ีดิน โดยทางานกันเป็นทีม คนแรกหลอกว่า อยากขายท่ีดิน คนท่ีสองหลอกว่าอยากซื้อท่ีดิน แล้วขอให้เหย่ือเป็นนายหน้าให้ จากนั้นคนซื้อ จะอ้างว่าเงินไม่พอจ่ายค่ามัดจาจึงขอให้เหยื่อช่วยออกเงินค่ามัดจา สุดท้ายคนซ้ือและคนขาย หนีหาย เหยอ่ื ไม่ไดค้ า่ นายหนา้ แถมยงั เสียเงนิ ค่ามัดจาไปอีกดว้ ย วธิ ีป้องกันจากภัยใกลต้ ัว 1. ไม่โลภ ไม่อยากได้เงินรางวัลท่ีไม่มีท่ีมา หากมีคนเสนอให้ ควรสงสัยไว้ก่อน วา่ อาจเป็นภัยทางการเงิน 2. ไม่รู้จัก...ไม่ให้ ไม่ให้ทั้งข้อมูลส่วนตัว เช่น เลขท่ีบัตรประจาตัวประชาชน วัน/เดือน/ปีเกิด และข้อมูลทางการเงิน เช่น เลขท่ีบัญชี รหัสบัตรเอทีเอ็ม/บัตรเดบิต และ ไม่โอนเงิน แม้ผู้ติดตอ่ จะอา้ งวา่ เปน็ หนว่ ยงานราชการหรือสถาบนั การเงิน 3. ศึกษาหาข้อมูล ก่อนเซ็นสัญญา ตกลงจ่ายเงิน หรือโอนเงินให้ใคร ควร ศกึ ษาขอ้ มูล เงือ่ นไข ข้อตกลง ความน่าเชือ่ ถือและความนา่ จะเป็นไปไดก้ ่อน ชดุ วิชาการเงินเพอื่ ชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 5 ภัยทางการเงนิ

123 4. อ้างใคร ถามคนนั้น อ้างถึงใครให้สอบถามคนน้ัน เช่น ธนาคารแห่ง ประเทศไทย โทร. 1213 หรอื DSI โทร. 1202 5. สงสัยให้ปรึกษา ควรหาท่ีปรึกษาที่ไว้ใจได้ หรือปรึกษาเก่ียวกับภัยทาง การเงนิ ได้ท่ี ศคง. โทร. 1213 และศูนยร์ บั แจ้งการเงนิ นอกระบบ โทร. 1359 6. ติดตามข่าวสารกลโกงเป็นประจา เพ่อื ร้เู ทา่ ทันเลห่ เ์ หลีย่ มกลโกง รูไ้ ว้...ไมเ่ สยี่ งเป็นเหยอื่ 1. อ้างหน่วยงานราชการไม่ได้แปลว่าเชื่อถือได้ มิจฉาชีพมักอ้างถึง หน่วยงานราชการหรือองค์กรขนาดใหญ่เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ หากมีการอ้างถึง ควร สอบถามหน่วยงานนั้นโดยตรง 2. ธุรกิจท่ีจดทะเบียนแล้วไม่ได้แปลว่าไม่โกง บางธุรกิจจดทะเบียนอย่าง ถกู ตอ้ งตามกฎหมายจรงิ แตไ่ มไ่ ดป้ ระกอบธรุ กจิ ตามท่ีขออนุญาตไว้ 3. ไมม่ ี “ทางลัดรวยที่มีน้อยคนรู้” หากทางลัดน้ีมีจริง คงไม่มีใครอยากบอก คนอ่นื ใหร้ ู้ แอบรวยเงียบ ๆ คนเดียวดีกวา่ 4. หัวขโมยไม่หมิ่นเงินน้อย มิจฉาชีพไม่ได้มุ่งหวังเงินหลักแสนหลักหม่ืน เทา่ น้ัน มจิ ฉาชพี บางกลุ่มมงุ่ เงินจานวนนอ้ ยแตห่ วงั หลอกคนจานวนมาก 5. อย่าระวงั แคเ่ ร่อื งเงนิ มิจฉาชีพบางรายก็หลอกขอข้อมูลส่วนตัวหรือข้อมูล ท่ใี ช้ทาธุรกรรมการเงิน เพอ่ื นาไปทาธุรกรรมทางการเงนิ ในนามของเหยื่อ 6. มิจฉาชีพไม่ใช้บัญชีตนเองรับเงินจากเหยื่อ มิจฉาชีพบางรายจ้างคนเปิด บัญชีเพ่อื เป็นท่ีรับเงนิ โอนจากเหยอ่ื อกี รายหนึง่ เพื่อหนกี ารจบั กมุ ของเจ้าหน้าท่ตี ารวจ รหู้ รอื ไม่ว่า การรับจ้างเปิดบัญชีหรือการหลอกให้ผู้อื่นโอนเงินให้เข้าข่ายฉ้อโกงประชาชน ซ่ึงเป็นหนึ่งในความผิดมูลฐานตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรา 60 ตอ้ งระวางโทษจาคุกต้ังแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองหมื่นบาท ถึงสองแสนบาท หรือทั้งจาท้ังปรับ ดังน้ัน การเห็นแก่ค่าจ้างเพียงไม่กี่บาทจึงอาจทาให้ คณุ ตอ้ งตกเป็นผู้ต้องหาและไปใชช้ วี ติ ในเรอื นจาได้ จึงไม่ควรหลงเชื่อหรือรับจ้างเปิดบัญชีโดย เดด็ ขาด กิจกรรมท้ายเร่อื งที่ 3 ภัยใกลต้ ัว (ให้ผูเ้ รยี นไปทากจิ กรรมทา้ ยเร่อื งที่ 3 ท่ีสมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนร)ู้ ชดุ วิชาการเงินเพอื่ ชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 ภัยทางการเงิน

124 เรอื่ งที่ 4 แกง๊ คอลเซนเตอร์ แก๊งคอลเซนเตอร์มักใช้วิธีสุ่มเบอร์โทรศัพท์เพ่ือโทรไปหาเหยื่อแล้วใช้ข้อความ อัตโนมัติสร้างความตื่นเต้นหรือตกใจให้แก่เหย่ือ บางครั้งก็แอบอ้างเป็นเจ้าหน้าท่ีหน่วยงาน ต่าง ๆ โดยหลอกให้เหยื่อทารายการท่ีเคร่ืองเอทีเอ็มเป็นเมนูภาษาอังกฤษ อ้างว่าเป็นการทา รายการเพื่อล้างหนี้ หรือหลอกให้เหยื่อไปโอนเงินให้หนว่ ยงานภาครัฐอา้ งว่าเพือ่ ตรวจสอบ ลกั ษณะกลโกงแกง๊ คอลเซนเตอร์ 1. บัญชีเงินฝากถูกอายัดหรอื เป็นหนี้บัตรเครดติ มิจฉาชีพจะหลอกเหยอื่ วา่ บญั ชีเงินฝากถูกอายดั หรอื เป็นหน้ีบัตรเครดิตจานวน หน่ึง โดยเร่ิมจากการใช้ระบบตอบรับอัตโนมัติแจ้งเหย่ือว่าจะอายัดบัญชีเงินฝากเนื่องจาก เหตุการณ์ต่าง ๆ เช่น เป็นหน้ีบัตรเครดิตหรือกระทาการผิดกฎหมาย โดยอาจมีเสียงอัตโนมัติ เชน่ “คุณเปน็ หน้ีบตั รเครดติ กับทางธนาคาร กด 0 เพื่อติดต่อพนักงาน” ซ่ึงเหย่ือส่วนมากมักจะ ตกใจและรีบกด 0 เพื่อตดิ ตอ่ พนกั งานทันที หลังจากนั้นมิจฉาชีพจะหลอกถามฐานะทางการเงินของเหยื่อ หากเหย่ือมี เงินฝากจานวนไม่มากนัก มิจฉาชีพอาจหลอกให้เหย่ือโอนเงินผ่านเคร่ืองเอทีเอ็มโดยหลอกว่า เปน็ การทารายการเพื่อลา้ งบญั ชหี น้ี 2. บัญชเี งนิ ฝากพวั พันกบั การคา้ ยาเสพตดิ หรอื การฟอกเงิน แต่หากมิจฉาชีพพบว่า เหยื่อมีเงินฝากค่อนข้างมาก ก็จะหลอกเหยื่อให้ตกใจว่า บัญชเี งินฝากน้นั พัวพนั กับการค้ายาเสพติดหรอื การฟอกเงนิ และจะให้เหย่ือโอนเงินท้ังหมดผ่าน เคร่ืองเอทีเอ็ม / เครื่องฝากเงินอัตโนมัติ (CDM หรือ ADM) เพ่ือทาการตรวจสอบกับหน่วยงาน ราชการ ทง้ั นี้ เพือ่ ป้องกันไม่ให้เหยื่อไดม้ โี อกาสสอบถามความจริงจากพนักงานธนาคาร 3. เงนิ คนื ภาษี นอกจากจะหลอกให้เหยื่อตกใจแล้ว มิจฉาชีพบางรายก็อ้างว่าตนเป็นเจ้าหน้าที่ สรรพากร หลอกให้เหยื่อตื่นเต้นดีใจว่า เหยื่อได้รับเงินคืนค่าภาษี แต่ต้องทารายการยืนยันการ รับเงินที่เคร่ืองเอทีเอ็ม และวันน้ีเป็นวันสุดท้ายท่ีจะยืนยันรับเงินคืน หากเลยกาหนดเวลาแล้ว เหยื่อจะไมไ่ ดร้ บั เงนิ คนื คา่ ภาษี ด้วยความรีบเร่งและกลัวว่าจะไม่ได้เงินคืน เหยื่อก็จะรีบทาตามท่ีมิจฉาชีพบอก โดยไม่ไดส้ ังเกตวา่ รายการทมี่ ิจฉาชพี ใหท้ าท่เี ครื่องเอทเี อม็ น้ัน เป็นการโอนเงินให้แกม่ จิ ฉาชีพ ชุดวิชาการเงนิ เพอื่ ชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 ภยั ทางการเงนิ

125 4. โชคดีได้รับรางวัลใหญ่ มิจฉาชีพบางรายก็หลอกให้เหย่ือดีใจว่า เหย่ือได้รับรางวัลใหญ่ที่มีมูลค่าสูงจาก การจับสลากรางวัล หรือเปิดบริษัทใหม่จึงจับสลากมอบรางวัลแก่ลูกค้า แต่ก่อนที่ลูกค้าจะรับ รางวลั ลกู คา้ จะต้องจา่ ยคา่ ภาษใี ห้กับทางผูแ้ จกรางวัลกอ่ น จงึ จะสามารถสง่ ของรางวัลไปให้ 5. ข้อมลู สว่ นตัวหาย มิจฉาชีพประเภทน้ีจะโทรศัพท์แอบหลอกถามข้อมูลส่วนตัวของเหย่ือเพ่ือใช้ ประกอบการปลอมแปลงเอกสาร หรือใช้บริการทางการเงินในนามของเหย่ือ โดยมิจฉาชีพจะ อ้างว่าตนเป็นเจ้าหน้าที่ของสถาบันการเงินท่ีเหย่ือใช้บริการอยู่ แต่เกิดเหตุการณ์ท่ีทาให้ข้อมูล ส่วนตัวของลูกค้าสูญหาย เช่น น้าท่วม จึงขอให้เหย่ือแจ้งข้อมูลส่วนตัวเพื่อยืนยันความถูกต้อง เช่น วนั /เดือน/ปเี กดิ เลขทบ่ี ัตรประชาชน เลขที่บัญชเี งนิ ฝาก เมื่อได้ข้อมูลส่วนตัวของเหยื่อแล้ว มิจฉาชีพจะนาข้อมูลเหล่าน้ีไปแอบอ้างใช้ บรกิ ารทางการเงินในนามของเหยือ่ เชน่ ขอสนิ เชือ่ 6. โอนเงินผิด หากมิจฉาชีพมีข้อมูลหรือเอกสารส่วนตัวของเหย่ือ มิจฉาชีพอาจใช้วิธีหลอก เหย่อื วา่ โอนเงินผิดแลว้ ขอใหเ้ หยื่อโอนเงนิ คืน โดยเริม่ จากใช้เอกสารและข้อมูลส่วนตัวของเหย่ือ ติดต่อขอสินเช่ือ เม่ือได้รับอนุมัติสินเช่ือ สถาบันการเงินจะโอนเงินกู้ท่ีได้รับอนุมัติเข้าบัญชี เงนิ ฝากของเหยอื่ หลงั จากนั้นมจิ ฉาชีพจะโทรศพั ทไ์ ปแจ้งเหยื่อวา่ โอนเงินผิดเข้าบัญชีของเหย่ือ และขอใหเ้ หยือ่ โอนเงนิ คืนให้ เมื่อเหยื่อตรวจสอบบัญชีเงินฝากของตนเองและพบว่ามีเงินโอนเงินเข้ามาใน บัญชีจริง เหยอ่ื กร็ ีบโอนน้นั ให้แก่มจิ ฉาชพี ทนั ที โดยไม่รู้ว่าเงินน้นั เปน็ เงินสนิ เชื่อที่มจิ ฉาชีพขอใน นามของเหยอื่ ชดุ วิชาการเงินเพอื่ ชีวติ 2 | หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 5 ภัยทางการเงนิ

126 วิธีปอ้ งกันภยั แกง๊ คอลเซนเตอร์ 1. คิดทบทวน ว่าเรื่องราวที่ได้ยินมามีความเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหน เคยทา ธุรกรรมกับหน่วยงานทถ่ี กู อ้างถึงหรือไม่ หรอื เคยเขา้ รว่ มชงิ รางวัลกับองค์กรไหนจริงหรือเปล่า 2. ไม่รู้จัก ไม่คุ้นเคย ไม่ให้ข้อมูล ท้ังข้อมูลส่วนตัว เช่น เลขที่บัตรประชาชน วนั /เดือน/ปีเกิด และขอ้ มลู ทางการเงนิ เช่น เลขท่ีบญั ชี รหสั กดเงิน 3. ไม่ทารายการที่เครื่องเอทีเอ็มตามคาบอก แม้คนท่ีโทรมาจะบอกว่าเป็น เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือสถาบันการเงิน เพราะหน่วยงานของรัฐและสถาบันการเงินไม่มีนโยบาย สอบถามข้อมลู สว่ นตวั ของประชาชนหรอื ลกู ค้าผ่านทางโทรศัพท์ 4. ไม่โอนเงินคืนเอง หากมีคนโอนเงินผิดเข้าบัญชี ควรสอบถามโดยตรงกับ สถาบันการเงินถึงท่ีมาของเงินดังกล่าว หากเป็นเงินท่ีโอนผิดจริง จะต้องให้สถาบันการเงินเป็น ผ้ดู าเนินการโอนเงินคนื เท่านนั้ 5. ตรวจสอบข้อมูลก่อนโอนเงิน สอบถามสถาบันการเงินหรือหน่วยงานท่ีถูก อ้างถงึ โดยตรง โดยติดตอ่ ฝ่ายบริการลูกคา้ (call center) หรือสาขาของสถาบนั การเงนิ นนั้ ๆ ทาอยา่ งไรเมือ่ ตกเปน็ เหยื่อภยั แก๊งคอลเซนเตอร์ 1. ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) ของสถาบันการเงินน้ัน ๆ เพื่อระงับ การโอนและถอนเงิน โดยรวบรวมเอกสารท่ีเก่ียวข้องเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการขอระงับการ โอนและถอนเงิน ท้ังนี้ แต่ละสถาบันการเงินมีวิธีปฏิบัติที่แตกต่างกัน ควรติดต่อสอบถาม ข้ันตอนจากสถาบนั การเงินโดยตรง 2. แจ้งเบาะแสไปยังกรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) เลขท่ี 128 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลกั ส่ี กรุงเทพฯ 10210 โทร. 1202 กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งท่ี 4 แกง๊ คอลเซนเตอร์ (ให้ผเู้ รยี นไปทากจิ กรรมท้ายเรื่องที่ 4 ท่สี มุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรู้) ชดุ วชิ าการเงนิ เพอ่ื ชีวติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ภยั ทางการเงิน

127 เรอื่ งที่ 5 ภัยออนไลน์ อนิ เทอรเ์ นต็ เปน็ ชอ่ งทางการสอ่ื สารที่สะดวกและรวดเร็ว ทาให้เพ่ือนฝูง ญาติพี่น้อง หรือคนท่ไี มร่ จู้ กั กันมาก่อน สามารถตดิ ต่อหากนั ได้อย่างงา่ ยดาย ความสะดวกสบายเหล่านี้นอกจาก จะเอือ้ ประโยชน์ตอ่ ผู้ใชบ้ รกิ ารแล้ว กเ็ อื้อประโยชน์ต่อมิจฉาชีพเช่นกัน อินเทอร์เน็ตจึงกลายเป็นอีก ชอ่ งทางทม่ี จิ ฉาชีพจะเขา้ มากอบโกยผลประโยชน์จากเหยื่อ ลักษณะกลโกงภยั ออนไลน์ 1. แอบอ้างเป็นบคุ คลต่าง ๆ มิจฉาชีพจะแอบอ้างเป็นบุคคลต่าง ๆ และหลอกเหยื่อว่าจะโอนเงินจานวนมาก ให้แก่เหย่ือ พร้อมท้ังส่งหลักฐานการโอนเงินปลอมให้ดูว่ามีการโอนเงินจริง แต่แท้จริงไม่มีการ โอนเงินใด ๆ ทั้งส้ิน หลังจากนั้นจะแอบอ้างเป็นเจ้าหน้าท่ีองค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ เช่น ธนาคารกลางของประเทศต้นทาง ธนาคารแห่งประเทศไทย หรือสหประชาชาติ แจ้งเหยื่อว่า เงินที่โอนมาถูกระงบั และขอตรวจสอบเงิน จากน้ันจะขอให้เหยื่อจ่ายค่าธรรมเนียมเพ่ือยกเลิกการระงับเงินโอน โดยจะ เริม่ จากคา่ ธรรมเนยี มทไี่ ม่มากนกั แล้วคอ่ ย ๆ เพิม่ มูลค่าสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนกว่าเหยื่อจะรู้ตัว เหยื่อ บางรายโอนเงินให้แก่มิจฉาชีพมากกว่าสิบคร้ัง มูลค่าความเสียหายรวมกันเป็นหลักล้าน ซ่ึง มจิ ฉาชีพเหลา่ นมี้ ักใช้มุกอ้างดงั น้ี  นักธุรกิจต้องการสั่งสินค้าจานวนมาก – เหย่ือส่วนมากเป็นผู้ประกอบ ธุรกิจขายสินค้าทางอินเทอร์เน็ต มิจฉาชีพจะส่งอีเมลแอบอ้างเป็นนักธุรกิจต่างชาติท่ีต้องการ ส่ังซ้ือสินค้าจานวนมาก แล้วส่งหลักฐานการโอนเงินปลอมให้เหยื่อตายใจว่าโอนเงินแล้ว ส่วน เหยื่อ นอกจากจะไม่ได้เงินค่าสินค้าแล้ว ยังเสียเงินทุนและเวลาในการผลิตสินค้าตามคาสั่งซื้อ อกี ดว้ ย (บางรายส่งสินค้าไปใหม้ จิ ฉาชพี แลว้ )  ผู้ใจบุญต้องการบริจาคเงินจานวนมาก – เหยื่อมักจะเป็นองค์กรการกุศลที่ เปิดรบั เงนิ บรจิ าคอยูแ่ ล้ว โดยมิจฉาชีพจะส่งอีเมลติดต่อเหย่ือว่า ต้องการบริจาคเงินพร้อมท้ังขอ เลขท่ีบัญชีของเหยื่อ เมื่อได้ข้อมูลทางการเงินของเหยื่อแล้ว มิจฉาชีพจะนาข้อมูลดังกล่าวไป สรา้ งหลักฐานการโอนเงนิ ปลอมแลว้ สง่ มาให้เหยื่อดูเสมือนว่ามีการโอนเงนิ จรงิ  ทายาทท่ีไม่สามารถรับมรดกได้ – มิจฉาชีพมักติดต่อเหยื่อผ่านช่องทาง โซเชียลมีเดีย (social media) ต่าง ๆ แล้วอ้างว่าตนเองได้รับมรดกเป็นเงินจานวนมากใน ประเทศหนึ่ง แต่ไมส่ ามารถรับมรดกนั้นได้ด้วยติดเหตุผลทางการเมืองหรือเหตุผลอื่น ๆ จึงขอใช้ ชดุ วิชาการเงินเพ่ือชีวิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ภัยทางการเงนิ

128 ช่ือและเลขที่บัญชีเงินฝากของเหย่ือในการรับมรดก แล้วส่งหลักฐานการโอนเงินปลอมให้เหย่ือดู เสมือนว่ามีการโอนเงินมรดกไปให้เหยอ่ื จรงิ  ชายหนุ่มที่ต้องการหารักแท้ – มิจฉาชีพจะเริ่มทาความรู้จักกับเหย่ือผ่าน ทางโซเชียลมีเดียโดยอ้างว่าตนเป็นชาวต่างชาติที่มีรายได้และหน้าที่การงานที่ดี แล้วใช้เวลา ตีสนิทเป็นปีก่อนจะบอกว่าอยากย้ายมาแต่งงานและอยู่เมืองไทยกับเหยื่อ และหลอกว่าได้ โอนเงินมาใหเ้ พอื่ เตรยี มซอ้ื บา้ นพรอ้ มสง่ หลักฐานการโอนเงนิ ปลอมมาใหแ้ ก่เหยื่อ นอกจากหลอกว่าจะโอนเงินมาให้เหยื่อแล้ว มิจฉาชีพบางรายก็อ้างว่าส่ง ของขวัญพร้อมเงินสดมาให้เหย่ือ แล้วอ้างตัวเป็นกรมศุลกากรเรียกเก็บค่าภาษี หรือ ค่าธรรมเนยี มในการนาเงนิ สดออกมา  องค์กรใจดีแจกเงินทุนหรือรางวัล – เหยื่อจะได้รับอีเมลแจ้งว่าเหย่ือได้รับ เงินทุนหรือรางวัล แต่เหย่ือจะต้องปฏิบัติตามข้ันตอนที่แจ้งมาตามอีเมล ซ่ึงจะต้องจ่ายค่าเปิด บัญชี ค่าธรรมเนียม คา่ เอกสารต่าง ๆ สุดท้ายก็ไม่ไดร้ ับเงนิ ทุนหรอื รางวัลใด ๆ รู้หรือไมว่ า่ ผู้รับสินค้าหรือรับเงินโอนจากต่างประเทศ ไม่จาเป็นต้องเสียภาษีหรือ ค่าธรรมเนียมเป็นเงินสดแก่เจ้าหน้าที่ในต่างประเทศ สาหรับการส่งสินค้าเข้ามาให้ผู้รับใน ประเทศ เจ้าหน้าที่จะเรียกเก็บอากรจากผู้รับตามกฎหมายไทยในข้ันตอนการรับสินค้า โดย ไม่มีการเปิดตรวจหรือเก็บภาษีท่ีต่างประเทศ หากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามเพ่ิมเติมได้ท่ี สายด่วนศุลกากร โทร. 1164 หรอื www.customs.go.th สาหรับการโอนเงินระหว่างประเทศ ผู้โอนสามารถเลือกได้ว่าจ่าย ค่าธรรมเนียมเอง หรือระบุให้หักค่าธรรมเนียมจากยอดเงินโอนได้โดยผู้รับโอนไม่จาเป็นต้อง จา่ ยเปน็ เงินสด 2. แอบอา้ งเปน็ คนรจู้ ัก มิจฉาชีพบางรายอาจแอบอ้างเป็นผู้ให้บริการอีเมลโดยส่งอีเมลแจ้งเหย่ือว่าจะ ปิดการให้บริการบัญชีอีเมลของเหยื่อ หากเหยื่อไม่ทาการยืนยันการใช้งานโดยการกรอกข้อมูล ช่ือบัญชีผู้ใช้อีเมล (email address) และรหัสผ่าน (password) ในหน้าจอของอีเมลท่ีส่ง มา หากไมย่ ืนยนั ก็จะปดิ บัญชีอีเมลของเหยอื่ เหย่ือหลายรายหลงเชื่อและกรอกชื่อบัญชีผู้ใช้อีเมลและรหัสผ่านไป มิจฉาชีพ จงึ นาข้อมลู ดงั กล่าวไปเข้าใชบ้ ัญชีอีเมลของเหยื่อ หลังจากน้ันจะส่งอีเมลหาเพ่ือนของเหย่ือ ชดุ วิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ภยั ทางการเงิน

129 โดยสร้างเรื่องเพ่ือหลอกให้โอนเงิน เช่น เหยื่อไปต่างประเทศและได้ทากระเป๋าเงินหาย จึงใช้ ความเปน็ ห่วงเพ่ือนในการหลอกให้เพ่อื นของเหยือ่ โอนเงนิ ให้แก่มิจฉาชพี 3. หลอกขายของออนไลน์ มิจฉาชีพมักประกาศขายสินค้าดีราคาถูกในเว็บไซต์แล้วหลอกให้เหย่ือโอนเงิน ค่าสินค้าหรือเงินมัดจาให้ เม่ือถึงเวลาส่งของ ผู้ซ้ือก็ไม่ได้รับสินค้าและไม่สามารถติดต่อคนขาย ได้ เงินค่าสินค้าหรือเงินมัดจาที่โอนไปก็ไม่ได้คืน เมื่อตรวจสอบก็พบว่า มิจฉาชีพใช้วิธีจ้าง คนอ่ืนเปดิ บญั ชหี รือหลอกใชบ้ ัญชีคนอ่นื รบั เงนิ โอนเพื่อหลกี หนีการจับกมุ มิจฉาชีพบางรายก็ประกาศขายสินค้าโดยใช้เลขที่บัญชีของผู้ขายรายอื่น เม่ือมี เหย่ือสั่งซื้อและโอนเงนิ ให้ มิจฉาชีพจะตดิ ต่อเจา้ ของบัญชนี นั้ แล้วอ้างว่าตนโอนเงนิ ผิดไปและ ขอรับคืนเป็นเงินสด ขณะเดียวกันเหยื่อท่ีสั่งซ้ือสินค้าก็ไม่ได้รับสินค้า เจ้าของบัญชีรายนั้นจึง กลายเป็นผู้ต้องสงสัยทันที ดังน้ัน หากมีผู้อ่ืนอ้างว่าได้โอนเงินผิดเข้าบัญชี ไม่ควรถอนเงินสด หรือโอนเงินคืนด้วยตนเอง ควรให้ผู้ท่ีอ้างว่าโอนผิดติดต่อแจ้งยกเลิกการโอนเงินและขอเงินคืน ผ่านธนาคาร 4. ขอเลขที่บญั ชเี งนิ ฝากเป็นทพี่ ักเงนิ มิจฉาชีพจะประกาศรับสมัครงานผ่านทางอินเทอร์เน็ตหรืออาจติดต่อเหยื่อไป เองว่าเป็นบริษัทจากต่างประเทศท่ีส่งสินค้าเข้ามาขายในประเทศไทย ต้องการพนักงานที่คอย รวบรวมเงินค่าสินค้าในประเทศไทย จึงต้องใช้บัญชีเงินฝากของเหยื่อเป็นท่ีพักเงิน โดยตก ลงว่าจะแบง่ ส่วนแบ่งจากการขายสินค้าให้ (เช่น ร้อยละ 25 ของเงินคา่ สินค้า) วันหน่ึงเหย่ือได้รับโทรศัพท์จากมิจฉาชีพแจ้งว่า มีคนโอนค่าสินค้า ให้เหย่ือ หักส่วนแบ่งไว้ตามที่ตกลงกัน และให้โอนเงินที่เหลือให้แก่บริษัทแม่ เมื่อเหย่ือตรวจสอบบัญชี เงินฝาก กพ็ บวา่ มีเงนิ เขา้ มาจริง จงึ โอนเงินทเ่ี หลอื หลังหกั ส่วนแบ่งแล้วใหแ้ กม่ จิ ฉาชีพ เวลาผ่านไป เหยื่อได้รับการติดต่อจากเจ้าหน้าท่ีตารวจว่า เงินท่ีเข้ามาในบัญชี เงินฝากของเหยื่อน้ันเป็นเงินท่ีมิจฉาชีพไปหลอกเหยื่อรายอื่นมา สุดท้ายเหยื่อกลายเป็นผู้ต้อง สงสัย ส่วนมิจฉาชพี ตัวจรงิ ก็ลอยนวลหายไป ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ภยั ทางการเงนิ

130 5. เงนิ ก้อู อนไลน์ เหยอ่ื รายหน่ึงต้องการใช้เงินอย่างเร่งด่วนแต่ไม่มีเงินสารองไว้ จึงคิดหาทางออก โดยการกู้เงินนอกระบบ พอดีได้อ่านประกาศบริการเงินกู้นอกระบบดอกเบี้ยต่าในอินเทอร์เน็ต จงึ รบี ตดิ ต่อไปยังเบอรโ์ ทรศัพทท์ ่ีใหไ้ ว้ทันที เม่ือเหย่ือติดต่อไป มิจฉาชีพ (ผู้ให้กู้) ก็อ้างว่าจะส่งสัญญามาให้เหย่ือเซ็น โดย เหย่ือจะต้องชาระค่าทาสัญญา ค่าเอกสาร ค่ามัดจา หรือดอกเบี้ยล่วงหน้าภายในเวลาที่ กาหนด เช่น ภายในวันนีเ้ วลา 18.00 น. (เพอ่ื เร่งให้เหย่อื ตัดสินใจโดยไม่ไตร่ตรอง) แต่เม่ือเหยื่อ โอนเงินไปแล้ว กลบั ไม่สามารถตดิ ตอ่ ผ้ใู หก้ ้ไู ด้อีกเลย วธิ ปี ้องกนั ภัยร้ายบนโลกออนไลน์ 1. คิดทบทวน วา่ เร่อื งท่เี จอหรือได้ยินมามีความน่าเช่ือถือมากน้อยแค่ไหน หาก โอนเงินไปแล้วมปี ัญหา จะมโี อกาสได้คนื ไหม 2. เปิดเผยเทา่ ทจี่ าเป็น โดยเฉพาะข้อมูลส่วนตัวในโซเชียลมีเดียท่ีมิจฉาชีพอาจ นาไปแอบอ้างใชท้ าธุรกรรมตา่ ง ๆ ได้ 3. ตรวจสอบขอ้ มลู ก่อนโอนเงิน หากอ้างถึงบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรใด ๆ ควรตดิ ต่อสอบถามบุคคลนั้น หรอื องค์กรนัน้ ๆ โดยตรง 4. ติดตามขา่ วสารกลโกงเปน็ ประจา เพื่อรูเ้ ทา่ ทันเล่ห์เหล่ียมกลโกง ทาอย่างไรเมอ่ื ตกเป็นเหยื่อภัยร้ายบนโลกออนไลน์ 1. หากถูกแอบอ้างใช้บัญชีอีเมล ให้ติดต่อผู้ให้บริการอีเมลทันที เพ่ือเปล่ียน รหัสผ่านหรือปดิ บัญชี 2. หากโอนเงินให้มิจฉาชีพแล้ว ให้ 1) ตดิ ต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) ของธนาคารนั้น ๆ เพื่อระงับการ โอนและถอนเงิน โดยรวบรวมเอกสารเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการขอระงับการโอนและถอนเงิน ทัง้ น้ี แตล่ ะธนาคารมีวิธีปฏบิ ัติทีแ่ ตกตา่ งกนั ควรติดต่อสอบถามขน้ั ตอนจากธนาคารโดยตรง 2) แจ้งเบาะแสแก่เจา้ หน้าท่ตี ารวจเพื่อติดตามคนร้าย กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 5 ภยั ออนไลน์ (ให้ผูเ้ รยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 5 ท่ีสมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นร้)ู ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ภัยทางการเงิน

131 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรยี น เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น 1. ก 2. ง 3. ง 4. ค 5. ค 6. ง 7. ก 8. ข 9. ข 10. ง 11. ง 12. ก 13. ค 14. ก 15. ค 16. ง 17. ข 18. ง 19. ก 20. ง 21. ข 22. ค 23. ข 24. ง 25. ก 26. ค 27. ง 28. ง 29. ข 30. ข เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น 1. ก 2. ง 3. ง 4. ค 5. ค 6. ง 7. ก 8. ข 9. ข 10. ง 11. ง 12. ก 13. ค 14. ก 15. ค 16. ง 17. ข 18. ง 19. ก 20. ง 21. ข 22. ค 23. ข 24. ง 25. ก 26. ค 27. ง 28. ง 29. ข 30. ข เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน ชดุ การเงินเพื่อชีวิต 2 l ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

132 เฉยว/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรอื่ ง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 กจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 1 ความหมายและประโยชน์ของเงนิ ใหเ้ ลือกคาตอบทีถ่ กู ต้องท่ีสุดเพียงคาตอบเดยี ว 1. ขอ้ ใดตอ่ ไปนีก้ ล่าวถึงประโยชนข์ องเงินไดถ้ กู ต้อง ค) ถกู ทกุ ข้อ 2. ประเภทของเงินออมทคี่ วรมีเป็นลาดับแรก คือ ก) เงนิ ออมเผือ่ ฉุกเฉิน 3. ขอ้ ใดต่อไปน้เี ปน็ การใหย้ มื เงนิ ข) สีมาใหเ้ งนิ พีช่ ายจานวน 5,000 บาท โดยบอกว่าอีก 2 เดือนให้นาเงนิ มาคนื 4. ส้มให้โอยืมเงิน แต่รอนานแล้วโอก็ไม่คืน พอส้มไปทวง โอบอกว่า “ส้มให้เงินโอ” ถ้าท่าน เปน็ สม้ ก่อนจะใหเ้ งินโอ ส้มควรทาอย่างไร ค) ถกู ทกุ ขอ้ 5. ขอ้ ใดตอ่ ไปนเ้ี ป็นการวางแผนการเงนิ ท่ีดที ส่ี ดุ ก) เม่ือไดร้ ับคา่ จา้ ง ให้นาบางสว่ นไปเก็บออม ส่วนท่เี หลอื จึงนามาใชจ้ า่ ย กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 2 ประเภทของเงิน กิจกรรมท่ี 2.1 ให้ทาเครื่องหมาย  หน้าข้อ หากเห็นว่าถูกต้อง และทาเครื่องหมาย X หน้าข้อ หากเห็นว่าไม่ถูกตอ้ ง  1. เงินตราไทยที่ใชใ้ นปัจจุบนั มี 2 ชนิดคอื ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ X 2. ธนบตั รไทยแบบสิบหก มี 4 ชนดิ ราคา  3. ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดพิมพ์และนาธนบัตรออกใช้หมุนเวียนใน ประเทศไทย  4. กรมธนารักษเ์ ปน็ ผ้ผู ลติ เหรียญกษาปณห์ มุนเวียนออกใชใ้ นประเทศไทย  5. เหรียญกษาปณ์ท่ใี ช้หมนุ เวยี นในระบบเศรษฐกิจมี 6 ชนิดราคา เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรื่อง ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชวี ติ 2 l ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

133 กิจกรรมท่ี 2.2 ให้นาหมายเลขตามจุดท่กี าหนดใหด้ ้านล่าง มาใส่ใหส้ ัมพันธ์กบั จดุ สงั เกตใน ตาราง และเติมคาในช่องวา่ งให้ครบถว้ น หมายเลข จดุ สงั เกต อธบิ าย 3 หมึกพมิ พ์พเิ ศษสลับสี เมอ่ื พลิกขอบล่างธนบตั รข้นึ ลายประดษิ ฐ์สีทองจะ เปลีย่ นเปน็ สีเขียว 5 แถบฟอยล์ 3 มติ ิ เมือ่ พลกิ เอยี งธนบัตรไปมา จะเปล่ียนสีสะทอ้ นแสง และจะมองเหน็ เป็นหลายมติ ิ 2 ลายน้า เม่ือยกธนบตั รสอ่ งกับแสงสวา่ ง จะเห็นภาพ พระบรมฉายาสาทิสลักษณพ์ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว และตัวเลขไทยตามชนดิ ราคา ธนบัตร 4 สัญลกั ษณส์ าหรับผู้มคี วาม มีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือบอกชนิดราคาธนบตั ร บกพร่องทางสายตา 1 ภาพซอ้ นทบั เมื่อยกธนบัตรสอ่ งกับแสงสวา่ ง จะมองเห็นตวั เลข อารบกิ แจ้งชนดิ ราคาธนบัตรท่ีสมบรู ณ์ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเร่อื ง ชุดวิชาการเงนิ เพือ่ ชวี ิต 2 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

134 กิจกรรมท่ี 2.3 ให้นาข้อความในตารางขวามือมาเตมิ ลงในช่องว่างให้สมั พันธก์ ัน 1. จนี หยวน 2. เกาหลใี ต้ วอน 3. สิงคโปร์ ดอลลาร์สิงคโปร์ 4. เมียนมา จัต 5. คูเวต ดีนารค์ ูเวต 6. ซาอดุ ีอาระเบีย ริยัล 7. ภฏู าน งลุ ตรมั 8. ญีป่ ุน่ เยน 9. มาเก๊า ปาตากาส์ 10. ฮ่องกง ดอลลารฮ์ ่องกง กิจกรรมที่ 2.4 ให้คานวณอตั ราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ตารางแสดงอัตราแลกเปลีย่ น (เงินบาทต่อ 1 หนว่ ยสกลุ เงนิ ตราตา่ งประเทศ) ประเทศ สกลุ เงิน อตั ราขาย สหรัฐอเมริกา USD 35 ญปี่ ุ่น (ตอ่ 100 เยน) JPY 32 1. เงนิ บาทจานวน 30,000 บาท แลกเปน็ เงินดอลลารส์ หรฐั ไดเ้ ท่าไร 35 บาท = 1 USD 30,000 บาท = [30,000 x 1] ÷ 35 = 857.14 USD คาตอบ เงินบาทจานวน 30,000 บาท สามารถแลกเป็นเงนิ ดอลลาร์สหรัฐได้ 857.14 USD เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่อื ง ชุดวิชาการเงนิ เพอื่ ชีวิต 2 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

135 2. เงนิ บาทจานวน 20,000 บาท แลกเปน็ เงนิ เยนได้เท่าไร 32 บาท = 100 JPY 20,000 บาท = [20,000 x 100] ÷ 32 = 62,500 JPY คาตอบ เงินบาทจานวน 20,000 บาท สามารถแลกเป็นเงินเยนได้ 62,500 JPY กิจกรรมท่ี 2.5 สถานท่ีใดต่อไปนี้ที่สามารถไปติดต่อขอแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศได้ โดยใหท้ าเครือ่ งหมาย และ X หน้าขอ้ ความ ดงั ต่อไปนี้  ธนาคารพาณิชย์ท่ไี ด้รบั อนุญาต X ธนาคารแห่งประเทศไทย X ท่ีทาการไปรษณีย์ X เคาน์เตอร์รับชาระ  โรงแรมท่ไี ด้รับอนญุ าตให้  คา่ สาธารณูปโภค ประกอบธุรกจิ แลกเปลย่ี น เงินตราตา่ งประเทศ บริษทั รบั แลกเปลย่ี นเงนิ ตรา ต่างประเทศ ทไ่ี ดร้ ับอนุญาต เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรื่อง ชดุ วิชาการเงินเพ่ือชีวติ 2 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

136 กิจกรรมท้ายเรื่องที่ 3 การฝากเงนิ และการประกนั ภยั กิจกรรมที่ 3.1 ใหเ้ ลือกคาตอบท่ีถกู ตอ้ งท่สี ดุ เพยี งคาตอบเดยี ว 1. สมใจต้องการฝากเงินเท่ากันทุกเดือน เป็นระยะเวลา 24 เดือน โดยฝากสูงสุดได้ไม่เกิน เดือนละ 25,000 บาทต่อเดอื น หากฝากครบกาหนด ดอกเบี้ยของสมใจจะได้รับยกเว้นภาษี ทา่ นคดิ ว่าสมใจตอ้ งการฝากบญั ชีเงินฝากประเภทใด ข) เงินฝากประจาปลอดภาษี 2. กิตติเปิดบัญชีเพื่อรับเงินเดือนท่ีนายจ้างจะจ่ายให้ทุกเดือน กิตติควรเปิดบัญชีเงินฝาก ประเภทใด ก) เงนิ ฝากออมทรัพย์ 3. ถ้าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ได้ดอกเบี้ยรับเกินกว่า 20,000 บาท จะเสียภาษี ณ ที่จ่าย ในอตั ราใด ข) 15% 4. ธนาคารกาหนดอตั ราดอกเบ้ียเงนิ ฝากประเภทหน่งึ ไวด้ งั นี้ เดอื นท่ี 1 - 2 อตั ราดอกเบ้ีย 0.25% เดอื นที่ 3 – 4 อัตราดอกเบ้ีย 1.5% เดอื นท่ี 5 – 7 อตั ราดอกเบี้ย 2% เดอื นที่ 8 - 10 อัตราดอกเบ้ยี 2.7% เดือนท่ี 11 อตั ราดอกเบ้ยี 4% ท่านคิดว่าเป็นอตั ราดอกเบี้ยของบญั ชเี งนิ ฝากประเภทใด ค) เงนิ ฝากข้นั บนั ได 5. หากได้รับอัตราดอกเบ้ีย 4% แต่ต้องเสียภาษี ณ ท่ีจ่าย 15% ดังนั้น อัตราดอกเบ้ียท่ีได้รับ หลงั จากหกั ภาษี ณ ท่จี ่าย จะเท่ากับอตั ราใด ก) 3.4% 6. ข้อใดต่อไปนกี้ ล่าวถกู ต้อง ค) ถกู ทกุ ข้อ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเร่อื ง ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชีวิต 2 l ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

137 7. เงนิ ฝากใดต่อไปนี้ไมไ่ ด้รับการคุ้มครองเงินฝากจากสถาบันคุ้มครองเงนิ ฝาก ก) พันธบตั รรัฐบาล 8. เงินฝากใดตอ่ ไปน้ไี ดร้ ับการคุ้มครองเงินฝากจากสถาบันคมุ้ ครองเงนิ ฝาก ค) เงนิ ฝากประจา 9. สถาบันการเงนิ ใดต่อไปนอ้ี ยภู่ ายใตก้ ารคุ้มครองของสถาบันคมุ้ ครองเงินฝาก ข) ธนาคารพาณิชย์ 10. ข้อใดต่อไปน้ีกลา่ วถูกต้องเก่ียวกับการคุ้มครองเงินฝาก ก) เงินฝากในสหกรณ์ไม่ได้รับการคุ้มครอง เนื่องจากสหกรณ์ไม่ได้เป็นสถาบันการเงิน ภายใตก้ ฎหมายคมุ้ ครองเงนิ ฝาก กิจกรรมที่ 3.2 ให้เติมตวั เลขลงในช่องวา่ งและคานวณดอกเบ้ยี เงินฝากให้ถูกตอ้ ง โจทย์ สาราญเปดิ บญั ชเี งินฝากออมทรพั ย์ทีธ่ นาคารมุ่งม่ัน เมอ่ื วนั ที่ 1 ม.ค. 58 จานวน 4,000 บาท ได้รบั ดอกเบ้ียเงินฝากในอัตรารอ้ ยละ 5 ต่อปี โดยธนาคารจะจ่ายดอกเบีย้ ในวันท่ี 30 มิ.ย. 58 และ 31 ธ.ค. 58 หากสาราญไม่ถอนเงนิ ต้นหรอื ดอกเบีย้ ออกมาใชใ้ นระหวา่ งปี และไม่ฝากเงินเพ่ิม ในวนั ที่ 30 ม.ิ ย. 58 สาราญจะได้รับดอกเบ้ียเปน็ เงินเทา่ ไร และเม่อื รวมกับเงินตน้ แลว้ สาราญจะไดร้ ับเงินทง้ั สนิ้ เปน็ เงินเทา่ ไร ตอบ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอ่ื ง ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 2 l ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

138 กจิ กรรมท่ี 3.3 ใหท้ าเครื่องหมาย  หน้าข้อ หากเหน็ ว่าถกู ต้อง และทาเคร่ืองหมาย X หน้าข้อ หากเหน็ ว่าไมถ่ ูกต้อง  1. การประกันภัยเป็นการบริหารความเสี่ยงโดยการโอนความเส่ียงภัยของผู้เอา ประกันภยั ไปสู่บริษทั ประกันภัย  2. การพิจารณาว่าควรทาประกันภัยหรือไม่ ควรดูภาระรับผิดชอบที่มีและโอกาส หรอื ความเป็นไปได้ท่จี ะเกิดความเสีย่ ง X 3. ประกนั ชวี ิตเปน็ สญั ญาระหวา่ งผู้รบั ประกนั ภัยกบั ผ้รู ับประโยชน์ X 4. ประกนั ชีวติ แบบสะสมทรพั ย์ ผเู้ อาประกนั ภัยจะได้รับจานวนเงินเอาประกันภัย เมื่อเสยี ชีวติ เทา่ นัน้  5. ประกนั ภัย 200 สาหรบั รายยอ่ ย จ่ายเบีย้ ประกนั เพียง 200 บาท X 6. ประกนั ภัย พ.ร.บ. เปน็ ประกันภัยรถยนตภ์ าคสมัครใจ  7. ประกันอัคคีภัยสาหรับท่ีอยู่อาศัย ให้ความคุ้มครองกรณีบ้านเสียหายจาก ไฟไหม้ ฟา้ ผา่ หรอื ภัยธรรมชาติ X 8. ส่ิงทีต่ อ้ งพจิ ารณาในการเลอื กประเภทประกนั ภยั คอื การลดหย่อนภาษไี ด้  9. ถ้าต้องการทาประกันชีวิตและเน้นการออมเงินควบคู่ไปด้วย อาจเลือกทา ประกันภัยแบบสะสมทรพั ย์  10. เม่ือได้รับกรมธรรม์ประกันภัย ควรตรวจดูสาระสาคัญของกรมธรรม์และ ตรวจสอบความถกู ต้อง เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเร่ือง ชดุ วิชาการเงินเพอ่ื ชีวิต 2 l ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

139 กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 4 การชาระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ใหเ้ ลอื กคาตอบที่ถูกตอ้ งท่ีสุดเพียงคาตอบเดยี ว 1. ขอ้ ใดตอ่ ไปนีค้ อื การชาระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ข) สายใจชาระเงนิ ค่าสินคา้ ด้วยบตั รเครดิต 2. ข้อใดต่อไปน้ี ไม่ใช่การชาระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ค) อารีนาเงินสดไปซื้อสนิ ค้าในรา้ นขายของชา 3. “สมชายเป็นเจ้าของร้านอาหาร นอกจากร้านค้าจะรับเงินสดแล้ว ยังรับชาระค่าอาหารด้วย บตั รเครดติ ด้วย” ทา่ นคดิ วา่ สมชายได้ประโยชน์อะไรจากการใหบ้ ริการดังกล่าว ค) ถกู ทกุ ขอ้ 4. “ใช้โอนเงินท่เี ครื่องเอทเี อ็มได้” เปน็ คุณสมบัตขิ องบัตรอิเลก็ ทรอนิกสช์ นดิ ใด ค) ถูกทุกขอ้ 5. ถา้ ตอ้ งการซ้ือสนิ ค้าในหา้ งสรรพสนิ คา้ แตไ่ ม่อยากจา่ ยเงินสด ควรใช้บัตรชนดิ ใด ก) บัตรเครดิต 6. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ีเป็นคุณสมบตั ิของบตั รเดบิต ค) ถูกทกุ ข้อ 7. สมศรีทาบัตรชนิดหนึ่ง โดยสมศรีต้องจ่ายเงินไปก่อนเพ่ือให้เงินเข้าไปอยู่ในบัตร จากน้ัน จึงนาบตั รไปใชซ้ อื้ ของจากร้านคา้ ทีร่ บั บรกิ าร ทา่ นคิดวา่ สมศรีทาบัตรอิเลก็ ทรอนิกส์ชนดิ ใด ก) เงินอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 8. ข้อใดตอ่ ไปนีก้ ลา่ วถกู ตอ้ ง ค) บัตรเดบิตใช้ซ้ือสินค้าและบริการกับร้านค้าออนไลน์ได้ หากร้านนั้นรับชาระด้วย บัตรเดบิต 9. ขอ้ ใดต่อไปนี้คือลักษณะของบัตร e-Money ค) ถกู ทุกขอ้ 10. ขอ้ ใดต่อไปนี้เป็นการใช้บัตรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ที่ไมป่ ลอดภัย ค) ถกู ทุกขอ้ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่อื ง ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชีวติ 2 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

140 กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งท่ี 5 ผูใ้ ห้บรกิ ารทางการเงนิ ในประเทศไทย กิจกรรมท่ี 5.1 ใหน้ าหมายเลขข้อด้านลา่ งมาใส่ในตาราง โดยให้สัมพันธ์กับหน่วยงานท่ีเป็น ผ้กู ากบั ดูแลในแต่ละช่อง ผูใ้ หบ้ ริการทางการเงนิ ในประเทศไทย (แบ่งตามหน่วยงานที่กากบั ดแู ล) ธปท. ก.ล.ต. คปภ. 2, 3, 4, 5, 7, 6, 11, 12 1, 13, 14 8, 9, 10, 15 1. บริษทั ประกนั วินาศภยั 9. ผปู้ ระกอบธุรกิจบตั รเครดติ 2. ธนาคารพาณิชย์ 10. บริษัทบริหารสนิ ทรัพย์ 3. ธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย 11. ทป่ี รึกษาทางการเงิน 4. สถาบันการเงินเฉพาะกจิ 12. บรษิ ัทหลักทรพั ย์จัดการกองทนุ 5. สาขาของธนาคารพาณชิ ย์ตา่ งประเทศ 13. คนกลางประกนั ภัย 6. บริษัทหลกั ทรพั ย์ 14. บรษิ ัทประกันชวี ิต 7. ผู้ใหบ้ รกิ ารการชาระเงนิ ทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 15. ผปู้ ระกอบธรุ กิจให้บรกิ ารการชาระเงิน ทางอิเล็กทรอนิกส์ 8. ผปู้ ระกอบธรุ กิจสินเช่ือเพื่อการประกอบ อาชีพภายใตก้ ารกากับ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรือ่ ง ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชีวิต 2 l ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

141 กิจกรรมที่ 5.2 ให้ทาเคร่ืองหมาย  หน้าข้อ หากเห็นว่าถูกต้อง และทาเครื่องหมาย X หน้าขอ้ หากเหน็ ว่าไม่ถกู ต้อง  1. ธนาคารพาณชิ ยท์ าหน้าท่ีให้บรกิ ารรบั ฝากเงินและใหก้ ยู้ มื  2. ธนาคารแห่งประเทศไทยทาหน้าที่กากับดูแลสถาบันการเงินให้มีความ มัน่ คง X 3. ธนาคารพาณิชย์มหี น้าทีใ่ นการรักษาค่าของเงนิ เชน่ ดูแลอตั ราดอกเบ้ยี  4. บริษัทเงินทนุ ไม่สามารถประกอบธุรกจิ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับเงินตราต่างประเทศ  5. สถาบันการเงินเฉพาะกิจเป็นสถาบันการเงินของรัฐ ให้บริการรับฝากเงิน และการใหส้ ินเช่อื X 6. ผปู้ ระกอบธุรกจิ บัตรเครดิต ดาเนินกจิ การเกี่ยวกับบัตรเครดิต และให้กู้ยืม เงนิ แก่บุคคลธรรมดาโดยไม่มหี ลักประกัน  7. บุคคลรับอนุญาต คือ ผู้ประกอบธุรกิจให้บริการด้านการแลกเปลี่ยนเงิน หรือโอนเงนิ ตราต่างประเทศ  8. สานักงานผู้แทนธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศที่ดาเนินการในประเทศไทย ไม่สามารถประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์  9. ธนาคารพาณิชย์เพ่ือรายย่อยประกอบธุรกิจเช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ แต่ไม่ได้รบั อนุญาตให้ประกอบธุรกิจทมี่ ีความซับซอ้ นและมีความเสีย่ งสูง  10. ผู้ประกอบธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกากับประกอบธุรกิจให้กู้ยืม เงนิ แก่บคุ คลธรรมดาโดยไม่มหี ลักประกนั เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรือ่ ง ชดุ วิชาการเงินเพื่อชีวติ 2 l ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook