Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016 (ม.ต้น)

การเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016 (ม.ต้น)

Published by Sarapee District Public Library, 2020-07-15 01:16:05

Description: การเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016 (ม.ต้น)

Search

Read the Text Version

142 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 กิจกรรมท้ายเร่ืองท่ี 1 การวางแผนการเงนิ กจิ กรรมที่ 1 ตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. บุคคลในแตล่ ะวยั มีลกั ษณะการเงนิ อย่างไร และควรวางแผนการเงนิ อย่างไร ตอบ ลักษณะสาคัญ เป็นวัยท่ียังไม่มีรายได้ แต่อาจมีรายรับเป็นเงิน ของขวัญท่ีอาจได้ตามเทศกาลต่าง ๆ ส่วนรายจ่ายโดยมากผู้ปกครอง จะเปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบ การวางแผนการเงิน เหมาะแก่การบ่มเพาะนิสัยการออมอย่าง สม่าเสมอ ให้รู้จักค่าของเงินและใช้จ่ายอย่างสมเหตุสมผล เช่น ฝึกให้ วัยเดก็ ออมเงนิ เพอื่ ซื้อของทีอ่ ยากได้ หรือฝึกจัดสรรเงินโดยให้เงินเม่ือไปเที่ยว แล้วให้วางแผนใชจ้ า่ ยเอง วัยทางาน ลักษณะสาคัญ เป็นวัยท่ีเร่ิมมีรายได้เป็นของตนเอง มีอิสระในการใช้ จ่าย แต่ส่วนมากมักเป็นรายจ่ายท่ีไปตามกระแสสังคม กิน เที่ยว ช้อป และเริม่ เขา้ ถงึ บริการสนิ เช่อื การวางแผนการเงิน ควรวางแผนการใช้จ่ายไม่ให้เกินรายได้ท่ีมีอยู่ ระมัดระวังการก่อหนี้ และควรเร่ิมวางแผนการออมโดยกาหนด เปา้ หมายการออมให้ชดั เจน เช่น ออมเพอ่ื ซอ้ื บา้ น ซอื้ รถ แต่งงาน หรือ แม้กระทั่งเพื่อใช้จ่ายในวัยชรา เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรื่อง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ิต 2 l ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

143 ลักษณะสาคัญ เป็นวัยท่ีมีรายได้เพิ่มขึ้น แต่ในขณะเดียวกันรายจ่าย ก็เพิ่มข้ึนเช่นกัน เพราะต้องรับผิดชอบสมาชิกในครอบครัว และมักมี ภาระหน้ีทตี่ อ้ งจ่าย การวางแผนการเงิน ต้องวางแผนการเงินอย่างรัดกุม ตั้งงบประมาณ สาหรับค่าใช้จ่ายแต่ละประเภทและพยายามใช้จ่ายไม่ให้เกินงบ เพื่อ ป้องกันปัญหาเงินไม่พอใช้ นอกจากน้ี ควรวางแผนการเงินเพื่อ วยั สรา้ งครอบครัว การศกึ ษาบตุ ร และลงมือทาตามแผนการเงินเพื่อใช้จ่ายในวัยชราอย่าง จรงิ จงั ลักษณะสาคัญ เป็นวัยท่ีรายได้ลดลงหรือไม่มีรายได้เลย ภาระหนี้ อาจหมดไปแล้วหรือเหลือไม่มากนัก แต่รายจ่ายในชีวิตประจาวัน ยังมอี ยู่ และอาจมคี า่ รกั ษาพยาบาลเพ่ิมข้ึน การวางแผนการเงนิ วางแผนใชจ้ ่ายให้ไม่เกินเงนิ ที่มีอยู่ จากัดวงเงินใน การใช้จ่ายแต่ละประเภท และกันเงินส่วนหน่ึงไว้เป็นค่ารักษาพยาบาล แต่ทางที่ดีควรออมเงินเพ่ือใช้ในยามชราและควรเตรียมความพร้อม วยั ชรา เร่ืองสวัสดิการหรือการประกันสุขภาพตั้งแต่ยังหนุ่มสาวจะได้มีชีวิต ในวัยชราอย่างสุขสบายไม่เดอื ดร้อนลกู หลาน 2. ขั้นตอนวางแผนการเงินมอี ะไรบา้ ง ให้อธบิ าย ตอบ การวางแผนการเงนิ สามารถทาได้จาก 5 ข้ันตอน ดังน้ี 1) ประเมินฐานะการเงินของตนเอง เพื่อให้ทราบฐานะทางการเงินในปัจจุบัน แลว้ ใชข้ อ้ มลู ดงั กล่าวเพื่อกาหนดเปา้ หมายการเงินในข้นั ตอนต่อไป 2) ตั้งเป้าหมายการเงิน เพื่อกาหนดแผนปฏิบัติ โดยเป้าหมายที่ดีจะต้องชัดเจน และสอดคล้องกบั ความสามารถทางการเงิน 3) จัดทาแผนการเงิน เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายการเงิน ท่ีต้งั ไว้ 4) ปฏิบัติตามแผนอย่างเคร่งครัด เพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีตั้งไว้ ซ่ึงเป็นช่วงท่ี ตอ้ งมวี นิ ยั เป็นอย่างมาก เพราะถึงแม้จะต้งั เปา้ หมายไว้ดอี ยา่ งไร แต่หากขาด การปฏบิ ัตจิ ริงจังและต่อเน่อื ง ก็อาจเผลอใจไปกบั สงิ่ ทอี่ ยนู่ อกแผนได้ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรอื่ ง ชุดวิชาการเงินเพื่อชวี ิต 2 l ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

144 5) ตรวจสอบและปรับแผนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ บางคร้ังสถานการณ์ การเงินของเราอาจแย่ลง ทาให้ไม่สามารถปฏิบัติตามแผนได้ ก็ควรทบทวน แล้วปรับแผนเพื่อให้สามารถปฏิบัติตามแผนและบรรลุเป้าหมายโดยไม่รู้สึก กดดนั จนเกินไปได้ แต่ขณะเดียวกัน หากสถานการณ์เปลี่ยนแปลงไปในทาง ท่ดี ขี น้ึ เช่น สามารถออมเงนิ ได้มากข้ึน กค็ วรปรบั แผนให้ออมมากขน้ึ กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 2 การประเมนิ ฐานะการเงินของตนเอง กจิ กรรมที่ 2.1 ตอบคาถามต่อไปนี้ 1. เราสามารถประเมนิ ฐานะการเงนิ ของตนเองในด้านใดไดบ้ า้ ง ใหอ้ ธบิ าย ตอบ 1) การประเมินฐานะการเงิน (ภาพรวม) สามารถประเมินฐานะการเงินโดย คานวณหาความม่ังคั่งสุทธิ ซึ่งก็คือ มูลค่าที่เหลืออยู่หลังจากที่นาทรัพย์สิน ท้ังหมดลบด้วยหน้ีสินทง้ั หมด โดยความม่ังคั่งสุทธิจะบอกฐานะท่ีแท้จริงของ เราวา่ มสี ินทรัพย์ท่เี ปน็ ของเราจรงิ ๆ เทา่ ไร 2) การประเมินด้านหนี้ สามารถประเมนิ ไดจ้ ากอตั ราส่วนภาระหน้ีต่อรายได้ต่อ เดอื น ซงึ่ เปน็ สดั สว่ นการชาระหนีต้ อ่ รายได้ นอกจากจะทาให้ทราบภาระหนี้ ท่ีต้องจ่ายต่อเดือนแล้ว ยังสามารถใช้ประเมินความสามารถในการชาระหน้ี หากต้องการกเู้ งินในอนาคตอีกด้วย เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเร่อื ง ชดุ วิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 2 l ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

145 3) การประเมินด้านการออม สามารถประเมินได้จากอัตราส่วนเงินออมต่อรายได้ ต่อเดอื น ผลลพั ธท์ ีไ่ ดจ้ ะบอกวา่ เรานารายได้ที่มีไปเป็นเงินเปน็ จานวนเท่าไร 4) การประเมินด้านรายรับ-รายจ่าย สามารถประเมินได้จากการบันทึก รายรับ-รายจ่าย แลว้ สงั เกตดวู ่าในแต่ละเดือนมีรายรับ-รายจา่ ยอะไรบา้ ง กจิ กรรมที่ 2.2 ให้คานวณความมัง่ ค่งั สทุ ธขิ องตนเอง ตอบ ในส่วนของการคานวณจะไม่มีเฉลย เน่ืองจากเป็นข้อมูลส่วนตัวของผู้เรียน ทั้งนี้ ความม่ังคง่ั สุทธิจะบอกฐานะท่ีแทจ้ ริงของเราว่ามีสินทรัพย์ท่ีเปน็ ของเราจริง ๆ เทา่ ไร กจิ กรรมท่ี 2.3 ให้ประเมนิ ฐานะการเงนิ ของตนเอง 1. ประเมินดา้ นหน้ี พร้อมอธิบายความหมายอตั ราส่วนภาระหนต้ี ่อรายได้ของตนเอง ตอบ ผลลพั ธท์ ไ่ี ด้จะบอกวา่ เราจา่ ยหน้เี ป็นสดั สว่ นเทา่ ไรของรายได้ 2. ประเมินดา้ นการออม พร้อมอธบิ ายความหมายอัตราส่วนเงนิ ออมต่อรายได้ของ ตนเอง ตอบ ผลลัพธ์ท่ไี ด้จะบอกวา่ เรานารายไดท้ ่ีมไี ปเป็นเงินออมเป็นสัดส่วนเท่าไร กิจกรรมที่ 2.4 ใหต้ อบคาถามต่อไปนี้ 1. ลกั ษณะของการมสี ขุ ภาพการเงนิ ทด่ี ีมีอะไรบา้ ง ตอบ 1) มอี ัตราสว่ นหน้ีต่อรายไดไ้ ม่เกิน 33% 2) มีอตั ราส่วนเงนิ ออมตอ่ รายได้อยา่ งน้อย 25% 3) มีเงนิ ออมเผอื่ ฉุกเฉินอย่างน้อย 6 เท่าของรายจา่ ยจาเป็นตอ่ เดือน เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอ่ื ง ชุดวิชาการเงนิ เพือ่ ชวี ติ 2 l ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

146 2. ใหป้ ระเมินสุขภาพการเงินของตนเอง โดยเปรียบเทียบตัวเลขการประเมินฐานะการเงิน ของตนเองกับลักษณะของการมีสุขภาพการเงินท่ีดี แล้วให้เขียนคาอธิบายและ คาแนะนา โดยใช้ตารางต่อไปนี้ ตอบ 1) มีอัตราส่วนหน้ีต่อรายได้ไม่เกิน 33% หรือมีภาระหนี้ต่อเดือนไม่เกิน 1 ใน 3 ของรายได้ ซึ่งเป็นสัดส่วนของหนี้ท่ีคนทั่วไปพอจะจ่ายไหว แต่หากมี อัตราส่วนหนี้ต่อรายได้มากกว่าหรือน้อยกว่าลักษณะของการมีสุขภาพการเงิน ที่ดี อาจมีความหมายดังน้ี อตั ราเปรียบเทียบ ความหมาย คาแนะนา อตั ราส่วนภาระหนี้ต่อ มีหนี้มากเกินไป จนอาจ ควรวางแผนการจ่ายหน้ีให้ดี และ รายได้มากกว่า 33% ทาให้เงินไม่พอใช้จ่ายใน เม่ือมีเงินได้ ควรแบ่งเงินไว้เป็น ชีวิตประจาวัน หรือซ้ือของ เงินออมเพื่อใช้จ่ายยามเกิดเหตุ ทอ่ี ยากได้ และยังมีโอกาสที่ ฉุกเฉิน โดยไม่ต้องก่อหน้ีเพิ่มจน จะเกดิ ปัญหาทางการเงนิ ได้ กลายเป็นปญั หาทางการเงนิ อัตราสว่ นภาระหนตี้ อ่ มีภาระหน้ีไม่มากนัก ทาให้ ควรออมเงินไว้สาหรับเหตุการณ์ รายได้นอ้ ยกว่า 33% การใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน ฉกุ เฉิน เพ่อื หลีกเล่ียงการก่อหนี้เพิ่ม ไม่ติดขัด และสามารถกัน และอาจออมเงินเพื่อเป้าหมาย เงินส่วนหนึ่งไว้เป็นเงินออม อ่ืน ๆ เช่น เพ่ือใช้จ่ายในยามท่ี ได้ ไมส่ ามารถหาเงินได้ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชดุ วชิ าการเงินเพอ่ื ชวี ติ 2 l ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

147 2) มีอัตราส่วนเงินออมต่อรายได้อย่างน้อย 25% หรือมีเงินออมต่อเดือนอย่างน้อย 1 ใน 4 ของรายได้ ซึ่งเป็นสัดส่วนของเงินออมที่คนท่ัวไปควรมี แต่หากมี อตั ราส่วนเงนิ ออมตอ่ รายได้มากกวา่ หรือน้อยกว่าน้ี อาจมคี วามหมายดังน้ี อัตราเปรยี บเทียบ ความหมาย คาแนะนา อั ต ร า ส่ ว น เ งิ น ต่ อ ออมเงินในระดับที่ดี แต่หาก อาจแบ่งส่วนเงินออมไว้เป็น รายได้มากกวา่ 25% ม า ก ไ ป อ า จ ท า ใ ห้ เ กิ ด ส่วน ๆ เพื่อเป้าหมายต่าง ๆ เช่น ความรู้สึกกดดันจนทาให้ชีวิต เพื่อลงทุน หรือออมไว้ใช้จ่ายใน ไม่มีความสขุ ได้ วัยชรา หากมีเงินออมเผ่ือฉุกเฉิน แล้ว ก็อาจแบ่งเงินออมส่วนหน่ึง ไว้เติมฝันกบั ตวั เอง อัตราส่วนเงินออมต่อ ออมเงินน้อยเกินไป เมื่อ ควรออมเงินให้มากข้ึน อาจเริ่ม ออมจานวนท่ีไม่มาก แล้วค่อย ๆ รายได้น้อยกว่า 25% ต้องการซื้ออะไรก็อาจต้อง เพมิ่ ทีละนดิ เช่น เริ่มที่ 10% ของ กอ่ หน้ี รายได้ แล้วพยายามเพ่ิมให้ได้ จนถึง 25% 3) มีเงินออมเผ่ือฉุกเฉินอย่างน้อย 6 เท่าของรายจ่ายจาเป็นต่อเดือน โดย เงินออมเผ่ือฉกุ เฉินเปน็ เงนิ ท่เี กบ็ ไวใ้ ช้ยามจาเป็น เม่ือเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน หรือเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนอย่างกะทันหันและต้องใช้เงินจานวนมาก เช่น เจ็บปว่ ยหรืออุบตั เิ หตุทตี่ ้องรักษาตวั ในโรงพยาบาล รายไดล้ ดกะทันหัน หรือ แมก้ ระทั่งตกงาน ซึ่งควรมีอยา่ งน้อย 6 เทา่ ของรายจ่ายจาเป็นตอ่ เดอื น เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่อื ง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวิต 2 l ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

148 กิจกรรมท้ายเรื่องที่ 3 การบันทึกรายรับ-รายจ่าย กิจกรรมท่ี 3.1 ตอบคาถามต่อไปน้ี 1. รายจาเปน็ และ รายจ่ายไมจ่ าเปน็ มคี วามแตกตา่ งกันอย่างไร ให้อธิบาย ตอบ รายจ่ายแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ รายจ่ายจาเป็น และรายจ่ายไมจ่ าเป็น 1) รายจา่ ยจาเป็น หมายถึง รายจ่ายที่จะต้องจ่าย ไม่สามารถตัดออกได้ เพราะ เป็นคา่ ใช้จ่ายที่สาคัญสาหรับชีวิต เช่น ค่าอาหาร ค่าผ่อนหรือเช่าที่อยู่อาศัย ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปทางาน คา่ รักษาพยาบาล คา่ เทอม 2) รายจ่ายไม่จาเป็น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่มีบทบาทสาคัญต่อชีวิต จะจ่าย หรือไม่จ่ายก็ยังสามารถมีชีวิตอยู่ได้ เป็นแค่เพียงความต้องการ เช่น ค่าอุปกรณ์แต่งรถ ค่าหวย ค่าเส้ือผ้าท่ีซื้อมาเพียงเพราะว่าเห็นว่าสวยดี แต่ไม่ได้ใช้ ค่าเหล้า คา่ บุหร่ี 2. ขั้นตอนของการจดั ทาบนั ทึกรายรบั -รายจ่ายมีอะไรบ้าง ใหอ้ ธิบาย ตอบ 1) กาหนดระยะเวลาท่ีจะบันทึก เช่น 1 เดือน 1 ปี หรือตลอดไป โดยจะต้อง เลือกระยะเวลาที่สามารถทาได้จริงและสามารถบันทึกได้ทุกวัน และเพ่ือ ประโยชน์ในการวางแผนการเงินควรบันทึกทุกวันติดต่อกันอย่างน้อย 1 เดอื น ซึง่ จะทาให้ทราบพฤตกิ รรมใช้จา่ ยท่แี ท้จรงิ 2) เลือกสมุดเพื่อใช้บันทึกรายรับ-รายจ่าย โดยควรเลือกสมุดเล่มเล็กท่ีสามารถ พกพาได้สะดวก หรืออาจใช้วิธีจดลงในสมุดเล่มเล็กระหว่างวัน แล้วกลับมา เขียนลงในสมุดบันทึกรายรับ-รายจ่ายตัวจริงที่บ้าน หรืออาจบันทึกลงใน สมารต์ โฟนผา่ นแอปพลเิ คชันตา่ ง ๆ 3) จดการรับและจ่ายเงินทุกคร้ังลงในบันทึกรายรับ-รายจ่าย ไม่ว่าจะเป็นเงิน จานวนมากหรือเงินจานวนน้อย ก็ไม่ควรละเลย และไม่ควรปรับเปลี่ยน ตัวเลขหรือรายการ ท้ังนี้ ก็เพ่ือให้ทราบพฤติกรรมการใช้จ่ายที่แท้จริง โดย จะต้องแยกรายจา่ ยออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ รายจ่ายจาเป็น และรายจ่าย ไม่จาเปน็ 4) รวมยอดเงินของรายรับ เงินออม รายจา่ ยจาเป็น และรายจา่ ยไม่จาเป็น ทงั้ หมดเพ่ือใชว้ ิเคราะหพ์ ฤตกิ รรมการใช้จ่ายของตนเอง เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรือ่ ง ชดุ วิชาการเงินเพือ่ ชีวิต 2 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

149 3. สว่ นประกอบท่ีสาคัญของบนั ทกึ รายรบั -รายจา่ ยมอี ะไรบ้าง ตอบ การบันทึกรายรับ-รายจ่ายสามารถทาได้หลากหลายรูปแบบ ผู้บันทึกสามารถ ออกแบบตารางบันทึกได้ตามความถนัดหรือตามท่ีตนเองช่ืนชอบ แต่การบันทึก รายรับ-รายจ่ายในแตล่ ะเดือนนัน้ ควรมีส่วนประกอบดงั น้ี 1) ส่วนของการบันทึกรายรับ-รายจ่าย ควรเป็นตารางท่ีมีความยาวเพียงพอ ต่อการบันทึกตลอดระยะเวลาอย่างน้อย 1 เดือน (อาจใช้กระดาษมากกว่า 1 หน้า) โดยจะตอ้ งประกอบดว้ ยหัวข้อดังนี้  วนั ท่ี – กรอกวนั ทที่ ่ีมรี ายรับหรอื รายจา่ ยเกดิ ขึน้  รายการ – กรอกรายการรายรับหรือรายจ่ายที่เกิดข้ึน และหากมี คาอธบิ ายเพม่ิ เตมิ กส็ ามารถกรอกลงในช่องนไ้ี ด้  รายรับ – กรอกจานวนเงนิ สาหรบั รายการท่เี ปน็ รายรบั  เงินออม – กรอกจานวนเงนิ สาหรับรายการทีก่ ารออมเงิน  รายจ่าย – กรอกจานวนเงินสาหรับรายการที่เป็นรายจ่าย ซ่ึงผู้บันทึก ต้องแยกระหว่างรายจ่ายจาเป็นและรายจ่ายไม่จาเป็น โดยพิจารณาถึง ความจาเป็นของรายจ่ายน้ันตอ่ การดารงชวี ติ 2) ส่วนของการสรุปรายรับ-รายจ่าย เป็นสรุปการใช้จ่ายในแต่ละเดือนเพื่อให้ ทราบวา่ ผู้บันทกึ ใช้จ่ายเกินรายรับท่ีได้รับมาหรือไม่ สามารถคานวณได้จาก นายอดรวมของรายรับตลอดท้ังเดือน ลบออกด้วยเงินออมและรายจ่าย ท้งั 2 ประเภทท่เี กดิ ข้นึ ตลอดระยะเวลา 1 เดือน 3) ส่วนของการวิเคราะห์รายรับ-รายจ่าย เป็นการวิเคราะห์รายรับ-รายจ่าย ท่ีเกิดข้ึนตลอดระยะเวลา 1 เดือน โดยผู้บันทึกสามารถวิเคราะห์บันทึก รายรับ-รายจ่ายของตนเองได้ 4 ด้านได้แก่ รายรับ เงินออม รายจ่าย ไม่จาเป็น รายจ่ายจาเป็น 4. การจัดทาบันทกึ รายรับ-รายจา่ ยมปี ระโยชนอ์ ย่างไร ใหอ้ ธิบาย ตอบ 1) ทาให้รู้พฤติกรรมการใช้จ่ายท่ีอาจทาให้เกิดปัญหาเงินไม่พอใช้ การบันทึก รายจ่ายที่เกิดขึ้นทุกคร้ัง จะทาให้ทราบว่าใช้จ่ายเงินไปกับส่ิงใดบ้าง เช่น จ่ายค่าสังสรรค์หรือค่าเหล้าเดือนละ 2,000 บาท (1 ปีก็เป็นเงิน 24,000 บาท) ซ้ือหวยงวดละ 1,000 บาท (แต่ในระยะเวลา 2 ปี ถูกรางวัลแค่ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชุดวิชาการเงินเพ่ือชวี ติ 2 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

150 1 คร้ัง ได้เงินรางวัลน้อยกว่าค่าหวยที่เสียไป) เมื่อทราบว่าเงินหายไปไหน ก็สามารถวางแผนให้มีเงินพอใช้ได้ เช่น ลดค่าเหล้าเหลือเดือนละ 1,000 บาท (ก็จะได้เงินเก็บปีละ 12,000 บาท) หรืองดเหล้าไปเลย เลิกซื้อหวย เดือนละ 1,000 บาทแล้วนาเงินมาออมแทน (ส้ินปีก็เหมือนถูกรางวัล 24,000 บาท 4 ปีก็มเี งินเก็บเกอื บแสน) 2) ทาให้สามารถวางแผนการเงินที่เหมาะสมกับพฤติกรรมของตนเองได้ การ บันทึกจะทาให้ทราบลักษณะของรายรับและรายจ่ายว่ามีความถี่แค่ไหน จานวนเท่าไร ซึ่งข้อมูลเหล่าน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนจัดสรรเงิน ท่ีได้รับ ให้มีพร้อมและเพียงพอต่อรายจ่ายที่เกิดข้ึนในแต่ละเดือน และหาก พบว่ารายรับไม่เพียงพอกับรายจ่าย ก็สามารถวางแผนลดรายจ่ายหรือ หารายได้เพมิ่ ได้ 3) ทาให้เห็นสัญญาณของปัญหาทางการเงินและสามารถวางแผนแก้ไขได้ การ บันทึกรายรับ-รายจ่ายเป็นประจา จะทาให้ทราบทันทีหากมีสัญญาณของ ปัญหาการเงิน เช่น มีรายจ่ายเกินรายรับติดต่อกันหลายเดือนจนต้องก่อหน้ี (เงินไม่พอใช้อยู่แล้ว พอก่อหน้ีเพ่ิมก็ไม่มีเงินจ่ายหน้ี) ต้องจ่ายหน้ีมากกว่า 1 ใน 3 ของรายรับ (อาจทาให้ไม่มีเงินเหลือไว้ใช้จ่ายอ่ืน ๆ จนต้องก่อหน้ี เพ่ิม หนี้ก็มีมากอยู่แล้ว ก็ยิ่งเพิ่มมากข้ึนจนเงินไม่พอจ่าย) ไม่มีเงินออมเลย (เม่ือมคี วามจาเปน็ ต้องใช้เงินก้อน ก็ต้องก่อหนี้) และเม่ือทราบสัญญาณของ ปัญหา ก็จะสามารถวางแผนแก้ไขกอ่ นทีจ่ ะกลายเป็นปญั หาใหญโ่ ต 5. หลักการจัดลาดับความสาคัญของรายจา่ ยมอี ะไรบา้ ง ตอบ 1) ให้จ่าย “รายจ่ายจาเป็นและไม่สามารถรอได้” ก่อน โดยพิจารณาว่า รายจ่ายนั้นเป็นรายจ่ายจาเป็นต่อการดารงชีวิตชีวิตหรือไม่ และต้องจ่าย วนั นีห้ รอื ในเรว็ วนั น้ีหรอื ไม่ หากเปน็ รายจ่ายจาเปน็ และไมส่ ามารถรอได้ เช่น ค่ารักษาพยาบาล ให้จ่ายรายจ่ายนี้ก่อน และหากมีเงินไม่พอจ่าย ก็อาจต้อง กู้ยืมแต่จะต้องวางแผนจ่ายเงินคืนอย่างรัดกุม เพ่ือป้องกันไม่ให้ก่อให้เกิด ปญั หาหนีต้ ามมาภายหลงั 2) ใหอ้ อมเงินเพื่อจ่าย “รายจ่ายจาเป็นแต่สามารถรอได้” เช่น ค่าเรียนภาษาท่ี สาม หรือตเู้ ย็นเครอื่ งใหม่ที่จะตอ้ งซื้อมาแทนของเดมิ ท่กี าลังจะเสีย โดยออม เงินให้ครบก่อน แล้วจึงจะซ้ือ หรืออาจนาเงินออมท่ีมีอยู่แล้วมาจ่ายก่อนได้ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรือ่ ง ชดุ วิชาการเงนิ เพื่อชวี ติ 2 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

151 และจะต้องออมเงินคืนให้เงินออมมีจานวนเท่าเดิมโดยเร็ว แต่ทั้งนี้ ไม่ควร กอ่ หนเ้ี พ่อื นาเงินมาจ่ายค่าใชจ้ า่ ยเหล่าน้ี 3) ให้พยายามตัดใจจาก “รายจ่ายไม่จาเป็น” ซึ่งเป็นรายจ่ายท่ีไม่มีผลต่อ การดารงชีวิต ถึงแม้จะไม่จ่าย ก็ยังสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ แต่หากรู้สึกไม่มี ความสุขท่ีไม่ได้ซื้อหรือจ่ายเงินสาหรับของน้ัน ให้ออมเงินให้ครบก่อนแล้ว จึงจะซ้ือ และที่สาคัญ จะต้องไม่ก่อหนี้เพื่อรายจ่ายประเภทน้ี เพราะเมื่อถึง คราวจาเป็นอาจกู้เงินได้ยากขึ้น หรือหากกู้ได้ก็อาจทาให้มีภาระหนี้ มากเกินไปจนไม่สามารถจ่ายไหวได้ กจิ กรรมท่ี 3.2 ให้จัดทาบันทึกรายรับ-รายจ่ายตามขั้นตอนการจัดทาบันทึกรายรับ-จ่ายเป็น ระยะเวลา 1 เดอื น แล้ววเิ คราะหด์ งั น้ี 1. สรุปรายรับ-รายจ่าย ตอบ หากผลลัพธ์ที่ได้เป็นบวก แสดงว่ามีการใช้จ่ายน้อยกว่ารายรับท่ีมีอยู่ จึงยังมีเงิน เหลือตามจานวนท่ีคานวณได้ และเม่ือพบว่าเงินเหลือ ก็ควรวางแผนจัดสรรว่าจะนาเงิน น้นั ไปทาอะไร เช่น นาไปเปน็ เงนิ ออมเพ่มิ เตมิ จากท่ีออมไปแล้วเม่ือมีรายได้เข้ามา นาไป บรจิ าค หรือตงั้ เป็นเงินออมอกี ก้อนหน่ึงเพื่อนาเงินไปลงทุน หากผลลัพธ์ติดลบ แสดงว่ามีการใช้เงินเกินรายรับที่มีอยู่ตามจานวนท่ีติดลบ จึง ต้องหาสาเหตุของการใช้เงินเกิน เช่น อาจมีค่าใช้จ่ายบางประเภทมากเกินไปหรือ มากกว่าปกติ ดังนั้น จะต้องวางแผนลดรายจ่าย โดยเริ่มพิจารณาจาก “รายจ่าย ไม่จาเป็น” ว่ามีรายการใดท่ีสามารถลดได้ หรือพิจารณาจาก “รายจ่ายจาเป็น” ว่ามี รายจ่ายไม่จาเปน็ แอบแฝงอย่หู รือไม่ 2. วิเคราะห์รายรับ-รายจา่ ย ตอบ 1) รายรับ ให้พิจารณาถึงจานวนและความถี่ของรายรับ เช่น รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนใช้เงินว่า เงินท่ีได้รับ นั้นจะต้องใช้อีกกี่วัน จึงจะได้รับเงินรอบใหม่ หากมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นในวันที่ ยังไม่ได้รับเงิน จะนาเงินส่วนไหนออกมาใช้จ่าย และหากจาเป็นต้องหา รายไดเ้ พิ่ม จะหารายไดเ้ พมิ่ จากแหลง่ ใด เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอื่ ง ชุดวิชาการเงินเพอื่ ชีวติ 2 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

152 2) เงินออม ให้พิจารณาถึงจานวนและความถ่ีของการออม เช่น ออมทุกวัน วันละ 20 บาท หรือออมสัปดาห์ละครั้ง คร้ังละ 500 บาท หรือ เดือนละครั้ง ครงั้ ละ 2,500 บาท ซ่ึงจะทาให้ทราบความสามารถในการออม ว่า สามารถออมได้เท่าไร และสามารถออมได้ทุกวัน สัปดาห์ละคร้ัง หรือ เดอื นละครง้ั โดยขอ้ มลู เหล่าน้จี ะเป็นประโยชน์ตอ่ การวางแผนการออม 3) รายจ่ายไม่จาเป็น โดยเปรียบเทียบกับรายจ่ายจาเป็นว่ารายจ่ายไหนสูงกว่า กัน หากมี “รายจ่ายไม่จาเป็น” สูงกว่า “รายจ่ายจาเป็น” นั่นแสดงว่า ควร ลดรายจา่ ยไม่จาเป็นลง ดงั นน้ั ควรวางแผนลดรายจ่ายไม่จาเปน็ โดยเร่ิมดูว่า มีรายจ่ายไหนในกลุ่มรายจ่ายน้ีสามารถลดได้บ้าง เช่น ค่าหวย ค่าเหล้า ค่าบุหรี่ ค่ากาแฟ และลองคานวณดูว่าหากลดรายจ่ายเหล่านี้แล้ว ใน 1 เดอื นจะมีเงนิ เหลือเทา่ ไร 4) รายจ่ายจาเป็น ให้ทบทวนรายจา่ ยจาเปน็ อกี ครัง้ ว่า ทกุ รายการเปน็ รายจา่ ย จาเปน็ ทง้ั หมดจริงหรอื ไม่ หากบางรายการสามารถลดหรือซอ้ื ของทถ่ี ูกกว่า มาทดแทนได้ กค็ วรลองลดหรือซือ้ ของทถี่ กู กวา่ มาใชแ้ ทน เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรอ่ื ง ชดุ วิชาการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 2 l ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

153 กิจกรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 4 การตัง้ เป้าหมายและจัดทาแผนการเงิน กจิ กรรมที่ 4.1 ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. ประโยชน์ของการมเี ปา้ หมายการเงนิ มอี ะไรบ้าง ใหอ้ ธิบาย ตอบ 1) ทาให้จัดทาแผนการเงินได้ง่ายข้ึน เช่น มีเป้าหมายที่จะปลดหน้ีจานวน 12,000 บาทภายใน 1 ปี ก็จะสามารถจัดทาแผนการเงินเพ่ือการปลดหน้ีได้ ว่า ต้องเก็บเงินเพ่ือจ่ายหน้ีเดือนละ 1,000 บาทนาน 12 เดือน เพื่อให้ครบ 12,000 บาท 2) ทาให้เกิดความมุ่งม่ันและบรรลุสิ่งที่ต้องการง่ายขึ้น เป้าหมายและแผน การเงินที่ชัดเจนเปรียบเสมือนแผนท่ีนาทางชีวิตเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย โดยไม่เสียเวลาไปกับส่ิงล่อใจอื่น ๆ เช่น มีเป้าหมายปลดหน้ีจานวน 12,000 บาทภายใน 1 ปี ซึ่งในระหว่างนี้อาจมีส่ิงล่อใจให้ซื้อหรือก่อหน้ีเพ่ิม เช่น ทีวีใหม่ โทรศัพท์มือถือเคร่ืองใหม่ แต่เม่ือต้ังเป้าหมายว่าจะปลดหนี้แล้ว ก็จะเกิดการยับยั้งช่ังใจขึ้น แทนที่จะซื้อของเหล่านั้นเลย ก็อาจเล่ือนไปซ้ือ หลงั จากปลดหนีแ้ ลว้ หรือไมซ่ ื้อเลย 3) ทาให้ทราบถึงอุปสรรคที่อาจทาให้ไม่บรรลุเป้าหมายที่ต้ังไว้ เช่น มีเป้าหมายเก็บเงินเพื่อไปเที่ยวจานวน 24,000 บาทภายใน 1 ปี จึงจัดทา แผนออมเงินเดือนละ 2,000 บาท แต่นึกข้ึนได้อีกว่าในอีก 4 เดือนข้างหน้า จะต้องจ่ายค่าชุดนักเรียนใหม่ จึงอาจต้องปรับเป้าหมายการท่องเท่ียวหรือ ตง้ั เปา้ หมายออมเงินเพอ่ื ซ้ือชุดนักเรยี นเพม่ิ เตมิ ดว้ ย 4) ช่วยให้บรรลุเป้าหมายด้านอื่น ๆ เช่น อยากมีรถไว้ขับรับจ้างเป็นอาชีพ ก็สามารถตัง้ เป้าหมายทางการเงินว่าจะเก็บเงินเพื่อซื้อรถ หรืออยากไปเท่ียว พกั ผ่อน ก็อาจตั้งเปา้ หมายออมเงนิ เพือ่ พักผอ่ นได้ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเร่ือง ชดุ วิชาการเงินเพอ่ื ชวี ิต 2 l ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

154 2. ให้ยกตัวอย่างเป้าหมายการเงินที่ควรมีในชีวิตอย่างน้อย 2 เป้าหมายในแต่ละด้าน ต่อไปน้ี ตอบ เป้าหมายดา้ นรายรับ เป้าหมายด้านการออม  เพ่ิมรายได้จากการทาอาชีพเสริม  ออมเผ่ือเหตฉุ ุกเฉิน เช่น ทาขนมขาย รับจ้างเย็บผ้า  ออมเพื่อเป็นคา่ เล่าเรยี น ซ่อมเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้  ออมเพอ่ื แต่งงาน  ฯลฯ  ออมเพอ่ื ซื้อรถ/บา้ น  ออมเพือ่ ลงทุน  ออมเพอ่ื ใชจ้ ่ายในวยั ชรา  ออมเพ่ือซอ้ื ของทอ่ี ยากได้  ฯลฯ เปา้ หมายด้านรายจ่าย เปา้ หมายด้านหนสี้ ิน  ลดรายจา่ ยค่าของใชไ้ ม่จาเปน็ เช่น  เพอ่ื ปลดหน้รี ถ/บ้าน/อนื่ ๆ ลดค่าหวย ลดค่าเหลา้ ลดคา่ บุหรี่  เพือ่ ลดหนี้ (จา่ ยหน้ใี ห้มากข้นึ  งดรายจา่ ยไม่จาเป็น เชน่ งดค่าน้า เพอ่ื ให้หน้หี มดเร็วขึ้น) สมุนไพรดับกระหาย งดค่าหวย  งดใช้บัตรผ่อนสนิ คา้ หรอื บัตร  ลดรายจา่ ยจาเปน็ โดยใชส้ ินคา้ ท่ี เครดติ ราคาถูกกวา่ แทน เช่น ใช้สบู่  กอ่ หนเี้ ฉพาะรายจา่ ยจาเป็น ธรรมดาแทนสบู่นาเขา้ จาก  ฯลฯ ต่างประเทศราคาแพง  ฯลฯ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรอ่ื ง ชดุ วิชาการเงินเพื่อชวี ติ 2 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

155 3. เปา้ หมายการเงินต่อไปน้ี เปน็ เปา้ หมายการเงนิ ทดี่ หี รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ตอบ เป้าหมายการเงนิ กวินต้องการซื้อรถราคา 20 ล้านบาท โดยท่ีมีรายได้เดือนละ 2 หม่ืนบาท ดีหรือไม่...? ไมด่ ี เพราะเหตุใด - ไม่มีความเปน็ ไปได้ เกวลินอยากไปเทยี่ วญ่ีป่นุ ด้วยงบประมาณ 48,000 บาท จึงฝาก เป้าหมายการเงิน เงินเข้าบญั ชฝี ากประจาทุกเดอื นปลอดภาษีเดือนละ 2,000 บาท เป็นเวลา 24 เดือน ดีหรือไม.่ ..? ดี เพราะเหตุใด - เปา้ หมายชัดเจน - วัดผลได้ - สามารถทาสาเรจ็ ได้ - มคี วามเปน็ ได้ - มรี ะยะเวลาแนช่ ดั เป้าหมายการเงนิ ก้องภพจะออมเงินเพอ่ื ซอื้ เครื่องออกกาลังกาย ดีหรือไม.่ ..? ไมด่ ี เพราะเหตใุ ด - ไม่สามารถวัดผลได้ เพราะไม่ได้ระบจุ านวนเงนิ - ไมร่ ะบุระยะเวลาท่แี น่ชดั เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรื่อง ชดุ วิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ติ 2 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

156 กิจกรรมท่ี 4.2 ใหว้ างแผนการเงินของตนเองลงในชอ่ งวา่ ง ตอบ วางแผนการเงินสามารถทาไดด้ ังน้ี 1) ระบุเป้าหมายการเงิน เพ่ือบอกจุดมุ่งหมายของแผนทั้งหมด โดยจะต้องเป็นไป ตามหลกั เปา้ หมายการเงินท่ดี ี (SMART) 2) ระบุจานวนเงินท่ีต้องการเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย โดยจะต้องระบุเป็นจานวนเงิน หรือตัวเลขให้ชัดเจนวา่ ต้องใชเ้ งินเท่าไร 3) ระบุระยะเวลาท่ีต้องใช้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเงิน โดยระบุเป็นจานวนวัน เดือน หรอื ปี 4) คานวณจานวนเงนิ ทต่ี อ้ งออมต่อเดือน โดยคานวณว่าต้องออมเงินเดือนละเท่าไร เพ่ือให้ได้จานวนตามท่ีต้องการ สามารถคานวณได้จากนาจานวนเงินท่ีต้องการ หารด้วยระยะเวลา (เดือน) ก็จะทาให้ทราบว่าควรเก็บเงินเดือนละเท่าไรเพ่ือให้ ไดเ้ งนิ ตามจานวนทต่ี ้องการ 5) จัดทาแผนการออม โดยกาหนดแหล่งเงินท่ีจะใช้เป็นเงินออมในแต่ละเดือน ซึ่งสามารถทาได้ทั้งการเพ่ิมรายรับและลดรายจ่าย โดยพิจารณารายจ่ายจาก การบันทึกรายรับ-รายจ่ายว่ามีรายจ่ายไม่จาเป็นใดที่สามารถลดหรือเลิกแล้ว นามาเป็นเงินออมได้หรือไม่ เช่น ลดค่ากาแฟจากท่ีด่ืมทุกวันเป็นด่ืมวันเว้นวัน หากกาแฟราคา 30 บาทต่อแก้ว ลดคา่ กาแฟจานวน 15 วัน จะได้เงนิ 450 บาท เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอื่ ง ชดุ วชิ าการเงินเพอื่ ชวี ติ 2 l ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

157 กจิ กรรมท้ายเร่อื งท่ี 5 การออม กิจกรรมท่ี 5 ตอบคาถามต่อไปน้ี 1. ใหบ้ อกความหมายของการออม ตอบ การออมเป็นการแบ่งรายได้ส่วนหนึ่งในปัจจุบันไปเก็บสะสมไว้ใช้ในอนาคต ซึง่ สามารถทาได้หลายรูปแบบ ต้ังแต่การเก็บสะสมด้วยตนเอง เช่น หยอดกระปุก ออมสิน เก็บสะสมไว้ที่บ้าน ไปจนถึงการนาไปฝากไว้กับสถาบันการเงิน ซึ่งมักอยู่ ในรูปแบบท่ีมีความเส่ียงต่อการสูญเสียเงินต้นต่า และได้รับผลตอบแทนไม่สูงนัก เม่ือเทียบกับการลงทุน เช่น การฝากในบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ บัญชีเงินฝาก ประจา การซื้อสลากออมทรพั ย์ 2. ประโยชนข์ องการออมมอี ะไรบ้าง ให้อธบิ าย ตอบ 1) ช่วยแบ่งเบาภาระเม่ือเกิดเหตุฉุกเฉิน โดยไม่ต้องก่อหน้ีหรือขอความ ช่วยเหลอื จากบุคคลอื่น 2) ช่วยลดความเส่ียงที่จะมีปัญหาการเงิน เมื่อมีเหตุทาให้เงินท่ีมีไม่พอต่อ คา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี กดิ ขน้ึ กส็ ามารถนาเงนิ ออมออกมาใช้ก่อนได้ ช่วยลดปัญหาเงิน ไมพ่ อใชซ้ ึ่งเปน็ สาเหตหุ น่งึ ของปัญหาการเงนิ ได้ 3) ช่วยทาให้ความฝันเป็นความจริง เงินออมท่ีมีอาจนาไปเป็นเงินทุนเพื่อทา กิจการของตนเอง เรียนเพ่ิมทักษะ คอมพิวเตอร์ ภาษา หรือปริญญาโท เป็นเงินดาวน์บ้าน ดาวน์รถ หรือเพื่อสร้างครอบครัว เช่น เพื่อจัดงาน แต่งงาน เพอ่ื การศกึ ษาบตุ ร เพ่ือทอ่ งเทีย่ วกบั ครอบครวั 4) ช่วยสร้างโอกาสให้มีรายได้มากข้ึน เช่น นาเงินออมไปซื้อหุ้น พันธบัตร กองทุนรวม หรือนาไปลงทุนซื้อห้องแถวให้เช่า ก็มีโอกาสท่ีจะทาให้เงินท่ีมี อยงู่ อกเงยมากขึ้น 3. ให้ตงั้ เปา้ หมายการออมทีด่ ีของตนเองลงในตาราง ตอบ อาจต้งั เปา้ หมายดังตอ่ ไปนี้ 1) เงนิ ออมเพ่อื ใช้ในยามฉกุ เฉนิ 2) เงินออมเพอ่ื ใช้จา่ ยในยามชรา 3) เงนิ ออมเพ่ือค่าใช้จ่ายจาเป็นท่เี ป็นกอ้ นใหญ่ 4) เงินออมเพ่ือการลงทนุ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชดุ วิชาการเงนิ เพ่ือชวี ิต 2 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

158 5) เงินออมเพื่อของท่ีอยากได้ 6) เงนิ ออมเพื่อปลดหนี้ 4. หลักการออมให้สาเร็จมีอะไรบา้ ง ใหอ้ ธบิ าย ตอบ 1) ออมก่อนใช้ เม่ือได้รับเงินมา ควรแบ่งเงินไปออมไว้ทันที เพราะหากใช้ กอ่ นออม สดุ ท้ายอาจไมเ่ หลอื เงนิ ออมตามที่ตง้ั ใจไว้ 2) แบ่งเงินเป็นส่วน ๆ ตามเป้าหมายที่ต้องการใช้ เช่น เงินออมเผ่ือฉุกเฉิน เงนิ ออมเพื่อใช้จา่ ยในยามชรา เงินออมเพ่ือซื้อของที่อยากได้ และใช้เงินตาม วัตถปุ ระสงค์นั้น ๆ ไม่ปะปนกัน 3) มีวินัยในการออม โดยใช้เทคนิคการออมท่ีสนุกสนาน ทาได้ง่าย เพื่อสร้าง แรงจงู ใจในการออมให้ไดต้ ามทตี่ ง้ั ใจไว้ เช่น  หยอดกระปุกกอ่ นออกจากบา้ นวันละ 10 บาท  ผูกการออมกบั พฤตกิ รรมทีช่ อบทา เช่น เล่นเกมชว่ั โมงละ 10 บาท  ไดแ้ บงก์ 50 มาเม่อื ไหร่ กเ็ ก็บไว้ไปหยอดกระปกุ ไม่นามาใช้  ไม่ชอบพกเหรียญเพราะมันหนัก พอได้เหรียญทอนมาก็หยอดกระปุก ให้หมด  ซ้ือของไม่จาเป็นไปเท่าไร ก็ให้นาเงินมาออมเท่าน้ัน เช่น ถ้าซ้ือของ ไมจ่ าเป็น 1,000 บาท ก็ต้องออมเงินให้ได้ 1,000 บาท  ออมให้พอ ที่เหลือใช้ให้เรียบ คือ การตั้งเป้าหมายว่าจะออมเดือนละ เท่าไร แล้วนาไปออมหรือลงทุนเท่าที่วางแผนไว้ เงินที่เหลือก็ใช้ได้ตาม สบาย  ตั้งคาสั่งหักเงินเดือนอัตโนมัติไปฝากเข้าบัญชีเงินออมหรือซ้ือหุ้น สหกรณ์ 5. กองทุนการออมแหง่ ชาติ (กอช.) คืออะไร และมีหลักการอยา่ งไร ตอบ กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) เป็นกองทุนสาหรับประชาชนท่ีมีอายุตั้งแต่ 15 – 60 ปี ซ่ึงไม่อยู่ในระบบบาเหน็จบานาญภาครัฐหรือเอกชนหรือกองทุน ตามกฎหมายอน่ื ทีไ่ ด้รบั เงนิ สมทบจากรัฐหรอื นายจ้าง หลักการออมแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ เงินท่ีสมาชิกออม และเงินที่รัฐ จา่ ยสมทบ ซ่ึงสมาชกิ ทุกคนไม่จาเป็นต้องส่งเงินสะสมเข้ากองทุนทุกเดือน ในกรณี เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเร่อื ง ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชีวติ 2 l ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

159 ท่ีส่งเงินสะสมต้องไม่ต่ากว่าคร้ังละ 50 บาท สูงสุดไม่เกิน 13,200 บาทต่อปี และ รัฐจะจา่ ยสมทบให้ตามช่วงอายุ ดังน้ี ช่วงอายุ 15 – 30 ปี 30 – 50 ปี 50 – 60 ปี จานวนเงนิ 50% ของเงนิ สะสม 80% ของเงนิ สะสม 100% ของเงนิ สะสม ที่จา่ ยสมทบ (ไมเ่ กิน 600 บาทต่อปี) (ไมเ่ กนิ 960 บาทต่อปี) (ไมเ่ กิน 1,200 บาทต่อป)ี ทง้ั น้ี หากเดือนใดสมาชกิ ไมส่ ่งเงินเขา้ กองทนุ รัฐก็จะไมจ่ า่ ยสมทบใหเ้ ชน่ กนั เงอ่ื นไขการไดร้ ับเงินคนื ของสมาชกิ กอช. 1) กรณีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ (รวมทั้งสมาชิกท่ีมีอายุต้ังแต่ 50 ปี ขึ้นไป เม่ือครบระยะเวลา 10 ปี หรือลาออกเมื่ออายุครบ 60 ปี) หากคานวณเงินบานาญได้ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด จะได้รับเงินบานาญ ตลอดชีวิต หากได้น้อยกว่าเกณฑ์จะได้รับเป็นเงินดารงชีพเดือนละ 600 บาทจนกว่าเงินในบัญชจี ะหมด 2) กรณีทุพพลภาพก่อนอายุครบ 60 ปี สามารถเลือกได้ว่าจะรับเงิน ท่ีสมาชิกสะสมเองพร้อมดอกผลทั้งจานวนหรือบางส่วน โดยขอรับ ได้เพียงครั้งเดียว และเงินส่วนท่ีรัฐจ่ายสมทบพร้อมดอกผลจะจ่าย เป็นเงินบานาญหลังอายุครบ 60 ปี หากยังมีเงินสะสมเหลืออยู่ใน กองทนุ ก็จะนามาคานวณการจา่ ยบานาญดว้ ย 3) กรณีลาออกจากกองทุน จะได้รับเงินที่สมาชิกส่งสะสมเองพร้อม ดอกผลทัง้ จานวน แต่เงนิ ส่วนทรี่ ัฐสมทบจะตกเป็นของกองทนุ กรณีเสียชวี ิต ผ้รู ับผลประโยชนท์ สี่ มาชิกแจง้ ชือ่ ไว้จะไดร้ ับเงิน ในบัญชที ั้งหมด เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเร่อื ง ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชีวิต 2 l ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

160 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 กจิ กรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 1 การประเมินความเหมาะสมกอ่ นตดั สินใจก่อหนี้ ให้พิจารณาแต่ละสถานการณ์ต่อไปนี้ และวิเคราะห์ว่าเป็นการก่อหนี้ประเภทใด โดยให้ ทาเครื่องหมาย  ในชอ่ งที่เห็นว่าเป็นคาตอบทถี่ ูกต้อง พร้อมอธบิ ายเหตุผล ขอ้ มลู บุคคล หน้ดี ี หน้ีพงึ เหตผุ ล  ระวัง 1. สมพรประกอบอาชีพเสริมสวย ต้องการขยายกิจการเพราะลูกค้า เพราะเป็นหน้ีที่สร้าง มากข้ึน จึงจะกู้เงินเพ่ือต่อเติมร้าน และซอื้ อุปกรณ์ให้เพียงพอกับจานวน รายได้ เนอื่ งจากเป็น ลกู คา้ การกเู้ พือ่ ใช้ในการ 2. อนงค์เป็นนักศึกษาต้องการกู้เงิน มาเสริมจมูก เนื่องจากเห็นเพื่อนไป ประกอบอาชีพ ทามาแลว้ สวยดี  เพราะเป็นการกอ่ หน้ี 3. มานะเป็นหัวหน้าอยู่ในโรงงาน ซึ่ง ในส่งิ ทีไ่ มจ่ าเปน็ ต่อการ โรงงานมีบริการรถรับ-ส่งพนักงานโดย ดารงชีวติ ประจาวนั ไมค่ ดิ ค่าใช้จ่าย แตม่ านะต้องการกู้เงิน เพ่ือออกรถมอเตอร์ไซค์บิ๊กไบค์เพราะ  เพราะเปน็ การกอ่ หนใ้ี น ดูเท่ และเผ่ือจะขับไปทางานเองใน ส่ิงทไี่ มจ่ าเปน็ ต่อการดารง วันท่ีต่ืนสาย แถมยังสามารถขับไปซ้ือ ชวี ิตประจาวนั เนอ่ื งจาก กับข้าวได้อีกด้วย (ตลาดกับท่ีพักอยู่ ปัจจบุ นั มีบรกิ ารรถรับ-สง่ ห่างกัน 200 เมตร) พนักงานอยูแ่ ล้ว และ ตลาดกอ็ ยใู่ กล้บา้ น เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอ่ื ง ชุดวชิ าการเงนิ เพือ่ ชวี ติ 2 l ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

161 กิจกรรมทา้ ยเรื่องที่ 2 ลักษณะของสินเชื่อรายยอ่ ยและการคานวณดอกเบย้ี กจิ กรรมที่ 2.1 ทาเครือ่ งหมาย หนา้ คาตอบที่ถกู ตอ้ ง ธนาคารมุ่งม่ัน จากัด (มหาชน) ให้บริการสินเช่ือแก่ประชาชนท่ัวไป โดยธนาคารมีประเภท สินเชอ่ื และผลติ ภณั ฑอ์ ื่น ๆ ท่ีหลากหลาย ให้เลือกคาตอบท่ีถูกต้องว่า ลักษณะของผลิตภัณฑ์ ทางขวามือนน้ั ตรงกับสินเชื่อหรือผลติ ภัณฑป์ ระเภทใดทางซา้ ยมอื ข้อท่ี ผลติ ภัณฑ์ ลักษณะ 1.  สนิ เชื่อเพื่อที่อยูอ่ าศัย 1. ให้วงเงนิ 5 เท่าของรายได้ตอ่ เดอื น 2. คิดอัตราดอกเบ้ีย ค่าปรับ ค่าบริการ และ  เช่าซ้อื รถ คา่ ธรรมเนยี ม รวมกนั ไมเ่ กนิ 20% ต่อปี  บตั รเครดิต 3. ผูส้ มคั รตอ้ งมีเงินเดอื นขั้นตา่ 15,000 บาท  สนิ เชือ่ สว่ นบคุ คลภายใตก้ ารกากบั 4. ได้รบั ระยะเวลาปลอดดอกเบีย้ 45 วนั 1. ผอ่ นชาระไดน้ านถึง 30 ปี 2.  สนิ เชื่อเพื่อที่อยู่อาศยั 2. อตั ราดอกเบี้ยมีทั้งแบบคงทแี่ ละแบบลอยตวั  เชา่ ซอ้ื รถ 3. คิดดอกเบ้ียแบบลดต้นลดดอก (effective  บตั รเครดติ rate)  สินเชื่อสว่ นบุคคลภายใต้การกากับ 1. คิดดอกเบี้ยแบบเงนิ ตน้ คงที่ (flat rate) 2. อตั ราดอกเบย้ี คงท่ี 3.  สนิ เช่ือเพื่อทอ่ี ยอู่ าศยั 3. ยงั ไมไ่ ดก้ รรมสทิ ธจ์ิ นกวา่ จะจา่ ยเงนิ ครบ  เช่าซือ้ รถ  บัตรเครดติ 1. คิดอัตราดอกเบ้ีย ค่าปรับ ค่าบริการ และ  สินเช่ือส่วนบคุ คลภายใต้การกากบั คา่ ธรรมเนยี ม รวมกนั ไม่เกนิ 28% ต่อปี 2. ให้วงเงินไม่เกิน 5 เท่าของรายได้ตอ่ เดือน 4.  สนิ เชอ่ื เพอ่ื ท่อี ยู่อาศัย 3. บัตรสมาชิกใช้สาหรับการเช่าซื้อสินค้ากับ  เชา่ ซอ้ื รถ ร้านคา้ ท่รี ่วมรายการ  บัตรเครดติ  สนิ เช่ือส่วนบคุ คลภายใตก้ ารกากับ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่อง ชุดวิชาการเงินเพอื่ ชวี ิต 2 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

162 กิจกรรมท่ี 2.2 ให้ตอบคาถามต่อไปนี้ ต้องการเชา่ ซอื้ รถจักรยานยนต์จากบรษิ ัทใจดี โดยบริษทั ให้กู้จานวน 30,000 บาท ดอกเบ้ียคงที่ 4% ต่อปี (คิดดอกเบ้ียแบบเงินต้นคงท่ี) ระยะเวลาผ่อน 4 ปี (48 งวด) ให้หาว่าต้องผ่อนชาระ ตอ่ เดอื นเป็นจานวนเงินเท่าใด พร้อมแสดงวิธกี ารคานวณ ตอบ ผ่อนชาระเดอื นละ 725 บาท แสดงวธิ คี านวณได้ ดงั น้ี กิจกรรมท้ายเรอ่ื งที่ 3 เครดติ บโู ร ใหเ้ ลอื กคาตอบท่ีถกู ต้อง 1. เครดติ บูโร หมายถงึ ข้อใด ข) บริษัท ขอ้ มลู เครดติ แหง่ ชาติ จากดั 2. ขอ้ ใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกบั ประวตั ิเครดิตท่ีเครดติ บโู รเปน็ ผจู้ ัดเกบ็ ก) ประวัติเครดิตคือข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ขอสินเช่ือ รวมถึงรายละเอียดบัญชีสินเช่ือ ที่ใชบ้ รกิ ารทกุ บญั ชี 3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใชห่ น้าทข่ี องเครดติ บโู ร ข) นาขอ้ มูลลกู ค้ามาวิเคราะหว์ า่ ลูกค้าควรไดร้ ับการพจิ ารณาสนิ เชอ่ื หรือไม่ อย่างไร 4. ผูข้ อสินเช่ือสามารถตรวจสอบข้อมลู เครดิตของตนเองไดอ้ ยา่ งไร ข) ตดิ ต่อด้วยตนเองไดท้ ี่ศูนยต์ รวจสอบเครดิตบโู ร 5. หากสถาบนั การเงินต้องการขอดปู ระวัติเครดติ ของผขู้ อสินเช่ือ ตอ้ งทาอยา่ งไร ข) ต้องขอความยินยอมจากผู้ขอสนิ เช่อื ก่อน จงึ จะดูประวัติเครดติ ได้ กิจกรรมท้ายเร่ืองท่ี 4 วธิ กี ารป้องกันปญั หาหนี้ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรือ่ ง ชดุ วิชาการเงินเพ่อื ชวี ิต 2 l ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

163 ให้ขีดเส้นใต้ข้อความท่ีเห็นว่าเป็นพฤติกรรมท่ีควรทา เพ่ือป้องกันไม่ให้หนี้กลายเป็นปัญหาใน ภายหลงั 1. กู้เงินมาเพ่ือต่อเติมบ้าน โดยแบ่ง 2. ชาระหน้ีตามยอดข้ันต่าจะได้นาเงิน เงินกู้ท่ีได้มาบางส่วนไปซื้อโทรศัพท์ ไปทาประโยชนอ์ ยา่ งอ่ืน รุ่นล่าสดุ ด้วย 3. แจ้งเจ้าหน้ีให้ทราบทุกคร้ังเม่ือมีการ 4. ชาระหน้ตี ามจานวนที่กาหนด เปลี่ยนแปลงทอี่ ยู่ 5. ย้ายบ้านทาให้ไม่ได้รับเอกสาร 6. ชาระหน้ีเม่ือมีเจ้าหน้าที่โทรมา ใบแจง้ หนี้อย่างเคย ทวงหนเี้ ทา่ น้นั 7. ชาระทันทีเมื่อมีเงินก้อน จะช่วยลด 8. ชาระหน้ตี รงเวลา ภาระหนไ้ี ด้ 9. ตรวจสอบความถูกต้องทุกคร้ังเมื่อ 10. ใช้เงินท่ีกู้มาให้ตรงตามวัตถุประสงค์ ไดร้ บั ใบแจ้งหน้ี ทต่ี ง้ั ใจ กิจกรรมท้ายเร่ืองท่ี 5 วิธีการแกไ้ ขปญั หาหนี้ กิจกรรมที่ 5.1 ให้เรียงลาดับแนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ของอ้อยใจ โดยใส่หมายเลข 1-4 ตามลาดับลงในกรอบสเ่ี หล่ยี มให้ถกู ต้อง 2 สารวจภาระหนี้ทง้ั หมด 3 จัดลาดับความสาคญั ของหน้ีท่ตี อ้ งชาระ 4 มองหาวิธีแกไ้ ขปญั หาหนี้ 1 ยอมรับปญั หาว่าตนเองมปี ญั หาหน้ี เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเร่อื ง ชุดวชิ าการเงนิ เพอื่ ชวี ิต 2 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

164 กิจกรรมที่ 5.2 จากข้อมูลหน้ีดา้ นล่าง ควรรีบปดิ หนี้ใดก่อน เพราะเหตใุ ด รายละเอียดเงินกู้ ลาดบั รายการหนี้ เงนิ ตน้ เงนิ ตน้ หลกั อตั ราดอกเบ้ีย วันครบ เงินผ่อน ท่ี ท้ังหมด คงเหลอื ประกนั (คิดแบบ กาหนด ต่อเดือน (บาท) (บาท) ลดต้นลดดอก) ชาระ (บาท) 1. หนีน้ อกระบบ 10,000 10,000 - 252% ทุกวนั 4,500 ทุกวนั ที่ 8 (150 บาทต่อ 2. กู้สหกรณ์ 40,000 14,235 ห้นุ 7.5% สหกรณ์ 7.2%* วนั ) 3. เช่าซ้ือรถ 40,000 40,000 - 3,400 จกั รยานยนต์ รวม 90,000 64,235 ทุกวันท่ี 25 966.67 * คานวณจากอตั ราดอกเบยี้ คดิ แบบเงนิ ต้นคงท่ี 4% คูณด้วย 1.8 8,866.67 ตอบ ควรรบี ปดิ หนีล้ าดบั ที่ 1 ก่อน เพราะเปน็ หน้ีที่มอี ตั ราดอกเบยี้ สงู ทสี่ ดุ กจิ กรรมท้ายเรอื่ งที่ 6 หนว่ ยงานทใ่ี หค้ าปรึกษาวิธกี ารแก้ไขปญั หาหน้ี ให้ทาเครอื่ งหมาย  ในชอ่ งทีเ่ ปน็ ขอ้ มูลเกยี่ วกบั หนว่ ยงานในชอ่ งซา้ ยมือ หนว่ ยงาน ให้คาปรึกษาเรอ่ื ง หมายเลขโทรศพั ท์ หนี้ หน้ี 1213 1359 1. ศนู ยค์ มุ้ ครองผู้ใช้บริการ ในระบบ นอกระบบ  ทางการเงนิ (ศคง.)  ธนาคารแห่งประเทศไทย  2. ศูนย์รบั แจ้งการเงิน  นอกระบบ กระทรวงการคลงั เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรอื่ ง ชุดวิชาการเงนิ เพอื่ ชีวติ 2 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

165 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 กจิ กรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 1 สทิ ธิของผใู้ ช้บริการทางการเงนิ กิจกรรมท่ี 1.1 ตอบคาถามต่อไปนี้ 1. สทิ ธิของผใู้ ชบ้ ริการทางการเงนิ มีอะไรบา้ ง ใหอ้ ธบิ าย ตอบ 1) สทิ ธทิ จ่ี ะได้รับข้อมลู ท่ีถูกต้อง (right to be informed) ผ้ใู ชบ้ รกิ ารทางการเงินมี สิทธิที่จะได้รับข้อมูลท่ีถูกต้องเก่ียวกับบริการท่ีสนใจ โดยเจ้าหน้าท่ีสถาบันการเงิน ต้องอธิบายรายละเอียดเก่ียวกับผลิตภัณฑ์และเง่ือนไขต่าง ๆ อย่างถูกต้อง ชัดเจน และครบถ้วนเพียงพอต่อการตัดสินใจในการใช้บริการ เช่น ลักษณะสาคัญของ ผลิตภัณฑ์ ผลประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ ความเส่ียง ค่าปรับ ค่าธรรมเนียม ตลอดจนค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนเม่ือไม่ทาตามเง่ือนไข และการใช้สื่อทางการตลาดเพ่ือ ส่งเสริมการขายตอ้ งไม่ชวนเชอื่ เกินจริง ไมท่ าให้ผ้ใู ชบ้ รกิ ารเข้าใจผดิ เมื่อได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วนแล้ว ผู้ใช้บริการทางการเงินก็ควร พิจารณา ตรวจสอบ และสอบถามรายละเอียดให้แน่ใจก่อนตัดสินใจใช้บริการ เพ่ือให้ได้ผลิตภัณฑ์และบริการที่เหมาะสมและตรงความต้องการของผใู้ ชบ้ ริการ 2) สิทธิท่ีจะเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริการได้อย่างอิสระ (right to choose) เจ้าหน้าท่ีสถาบันการเงินสามารถนาเสนอผลิตภัณฑ์และบริการอ่ืน ๆ ควบคู่กับ ผลิตภัณฑ์ที่ผู้ใช้บริการทางการเงินต้องการ แต่ผู้ใช้บริการทางการเงินควรเลือก ผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินที่ต้องการจริง ๆ เท่านั้น โดยคานึงถึงความจาเป็น ประโยชน์ที่ได้รับ ความคุ้มค่า รวมถึงความสามารถในการรับภาระค่าใช้จ่ายท่ี เก่ียวข้อง หากผู้ใช้บริการไม่ต้องการผลิตภัณฑ์และบริการท่ีเจ้าหน้าที่เสนอขาย ก็ สามารถปฏิเสธได้ 3) สิทธิท่ีจะร้องเรียนเพ่ือความเป็นธรรม (right to be heard) หากผู้ใช้บริการ ทางการเงินพบว่าตนเองได้รับการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องหรือถูกเอาเปรียบ เช่น ได้รับ ขอ้ มูลทไี่ ม่ถกู ต้อง ไม่ครบถ้วน ถูกบงั คบั ใหซ้ อ้ื ผลิตภัณฑ์ทางการเงินท่ีไม่ต้องการ ถูก ทาให้เข้าใจผิดเก่ียวกับผลิตภัณฑ์ คานวณดอกเบี้ยผิด ก็สามารถร้องเรียนไปยัง สถาบันการเงนิ ทใ่ี ชบ้ รกิ าร และหากยงั ไม่ได้รับความเป็นธรรม กส็ ามารถรอ้ งเรียนไป ยังหนว่ ยงานทก่ี ากับดูแลได้ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรื่อง ชดุ วชิ าการเงินเพือ่ ชวี ติ 2 l ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

166 4) สิทธิท่จี ะได้รบั การพิจารณาค่าชดเชยหากเกิดความเสียหาย (right to redress) ผใู้ ชบ้ รกิ ารทางการเงินมีสิทธิได้รับการชดเชยตามความเหมาะสม หากพิสูจน์แล้วว่า เปน็ ความผดิ พลาดของสถาบันการเงนิ เช่น ไมไ่ ด้ปฏิบัติตามแนวนโยบายที่เกี่ยวข้อง กับการนาเสนอข้อมูลหรือการเสนอขายผลิตภัณฑ์ทางการเงิน หรือปฏิบัติงานที่ เกี่ยวข้องกับการให้บริการทางการเงินอย่างไม่เหมาะสม ไม่ว่าจะจงใจหรือประมาท เลินเล่อ เป็นเหตุให้ผู้ใช้บริการได้รับความเสียหาย เช่น เจ้าหน้าที่ธนาคารขโมยเงิน ฝากจากบัญชี ระบบไม่ตัดเงินจากบัญชีทาให้มียอดหน้ีค้างชาระ แต่ผู้ใช้บริการทาง การเงนิ จะไมไ่ ดร้ บั การชดเชยหากความผดิ พลาดนน้ั เกิดจากผ้ใู ชบ้ รกิ ารเอง เช่น ฝาก สมุดบัญชีไว้กับเจ้าหน้าที่ธนาคารเพ่ือทารายการแทน โอนเงินจากเครื่องเอทีเอ็มไป ผดิ บัญชีหรอื ใส่ตวั เลขจานวนเงนิ ผดิ กจิ กรรมท่ี 1.2 ใหศ้ กึ ษากรณีตวั อย่างท่ีกาหนด แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ 1. กรณีค่าธรรมเนียมฟรีจริงหรือ: จากกรณีตัวอย่าง การกระทาดังกล่าวเก่ียวข้องกับสิทธิ ในขอ้ ใดบา้ ง ตอบ สิทธิที่จะได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง (right to be informed) ผู้ใช้บริการทาง การเงินมีสิทธิท่ีจะได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง และจะต้องถามหากไม่เข้าใจ โดย พนกั งานจะตอ้ งบอกขอ้ มูลใหช้ ัดเจนและครบถว้ น เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรอื่ ง ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชวี ติ 2 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

167 กิจกรรมท้ายเรื่องที่ 2 หน้าทีข่ องผใู้ ช้บริการทางการเงิน กิจกรรมที่ 2.1 ตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ผใู้ ช้บริการทางการเงนิ มหี น้าทีอ่ ะไรบ้าง ให้อธิบาย ตอบ 1) วางแผนการเงิน – เพ่ือจัดการรายจ่ายให้เหมาะสมกับรายรับ ซึ่งจะทาให้ทราบ ฐานะทางการเงินของตนเอง และหากมีปัญหาทางการเงิน ก็จะสามารถมองเห็น สญั ญาณและวางแผนรับมือกบั ปัญหาลว่ งหนา้ ได้ 2) ติดตามข้อมูลข่าวสารทางการเงินอย่างสม่าเสมอ - เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ ตัดสินใจเลือกใช้บริการให้เหมาะสมและตรงกับความต้องการของตนเอง นอกจาก ข่าวสารเกี่ยวกับบริการทางการเงินแล้ว ภัยทางการเงินก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ผู้ใช้บริการ ทางการเงินไม่ควรละเลยเพราะการติดตามข่าวสารจะทาให้เข้าใจและรู้ทันรูปแบบ การหลอกลวงของมจิ ฉาชีพ และสามารถปอ้ งกันตวั เองจากมจิ ฉาชพี ได้ 3) ศึกษารายละเอียดและเปรียบเทียบข้อมูลก่อนเลือกใช้ - จะทาให้เข้าใจลักษณะ ของผลิตภัณฑ์และบริการ เง่ือนไขที่เกี่ยวข้อง ผลประโยชน์ที่จะได้รับ ความเสี่ยง และต้องไม่ลืมที่จะเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ท่ีสนใจจากหลาย ๆ แหล่ง เช่น สถาบัน การเงิน ผู้ประกอบธุรกิจสินเชื่อท่ีไม่ใช่สถาบันการเงิน (non-bank) เพื่อเลือกสิ่งท่ี เหมาะสมและตรงกบั ความต้องการของตนเองมากที่สุด เช่น สอบถามพนักงาน อ่าน และทาความเข้าใจหนังสือช้ีชวนหรือเอกสารสรุปข้อมูลสาคัญประกอบการเสนอ ขายผลิตภณั ฑ์ (fact sheet) เพือ่ เปรียบเทียบผลติ ภณั ฑ์ นอกจากนี้ ก่อนลงนามหรอื เซน็ ช่ือในสัญญาทาธุรกรรมใด ๆ ผู้ใช้บริการทาง การเงินควรอ่านรายละเอียดสัญญาให้ถ่ีถ้วน และต้องเข้าใจเง่ือนไขของสัญญาก่อน ลงนาม หากไมเ่ ข้าใจ ให้สอบถามเจา้ หนา้ ที่ เพอ่ื ป้องกนั ปัญหาทอ่ี าจเกดิ ข้ึนภายหลัง 4) ตรวจทานความถูกต้องของธุรกรรมทางการเงินทุกคร้ัง - เพ่ือรักษาผลประโยชน์ ของตนเอง โดยเฉพาะอย่างย่ิงข้อมูลท่ีสาคัญ เช่น ชื่อบัญชี เลขที่บัญชี จานวนเงิน หากพบว่าไม่ถกู ตอ้ ง ควรรีบแจง้ เจ้าหน้าที่ทนั ที 5) ชาระหน้ีเมื่อเป็นหน้ี – ก่อนก่อหน้ีให้ดูความสามารถในการชาระหน้ีของตนเอง ซึ่ง หากมีความจาเป็นและสามารถผ่อนชาระไหว ก็สามารถก่อหน้ีได้ และเมื่อเป็นหนี้ แล้ว ผู้ใช้บริการทางการเงินมีหน้าที่ที่จะต้องชาระหน้ีนั้น หากไม่ชาระหนี้ นอกจาก จะทาให้หน้เี พม่ิ ขึ้นเพราะดอกเบี้ยแล้ว ก็จะทาให้ประวตั ิเครดติ เสีย และเม่ือต้องการ กู้เงนิ เพอ่ื สง่ิ จาเป็นในอนาคต อาจถกู ปฏิเสธการขอกไู้ ด้ เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเร่อื ง ชุดวิชาการเงินเพ่ือชวี ติ 2 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

168 กิจกรรมที่ 2.2 ให้ศึกษากรณตี วั อยา่ งทีก่ าหนด แลว้ ตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. กรณีเปิดบัญชีมีโปรโมช่ัน: จากกรณีตัวอย่าง ปัญหาท่ีเกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากอะไร และ สามารถป้องกันปญั หาได้อยา่ งไร ตอบ สาเหตุ เกิดจากการไม่ศึกษารายละเอียดและเง่ือนไขของผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ก่อนใช้บริการ โดยมีวิธีปอ้ งกนั ปญั หา ดงั นี้ 1) ศึกษารายละเอียดและเงื่อนไขการใช้บริการ และพิจารณาดูว่าสามารถปฏิบัติ ตามหรอื ยอมรบั ไดห้ รอื ไม่ 2) เปรยี บเทยี บหลาย ๆ ทางเลอื ก เพอ่ื หาสงิ่ ที่เหมาะสมกับตนเองมากทสี่ ุด 3) กอ่ นเซน็ สัญญาหรือตกลงทาธุรกรรมใด ๆ ตอ้ งอา่ นรายละเอยี ดให้เข้าใจกอ่ น กจิ กรรมท้ายเรือ่ งท่ี 3 บทบาทศูนย์คุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน (ศคง.) และหน่วยงานที่ รบั เร่ืองร้องเรียนอน่ื ๆ กิจกรรมท่ี 3.1 ศนู ย์คุ้มครองผ้ใู ช้บรกิ ารทางการเงนิ (ศคง.) มีหน้าที่อย่างไร ตอบ 1) ดูแลเรอ่ื งร้องเรียนทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั บริการทางการเงนิ ของสถาบันการเงินท่ีอยู่ภายใต้ การกากบั ของ ธปท. 2) สง่ เสรมิ ความรู้เก่ียวกบั บริการทางการเงนิ 3) ส่งเสริมบทบาทหน้าที่ของแบงก์ชาติในการกากับดูแลให้สถาบันการเงินให้บริการ แกล่ กู ค้าอยา่ งเป็นธรรม เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรือ่ ง ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชวี ิต 2 l ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

169 กจิ กรรมท่ี 3.2 เลอื กหน่วยงานจากตวั เลอื กทก่ี าหนดให้เติมลงในชอ่ งว่างให้ถูกต้อง เร่ืองท่ขี อคาปรกึ ษา/รอ้ งเรยี น หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 1. กองทุนรวม ง. สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์ และตลาดหลกั ทรพั ย์ (ก.ล.ต.) 2. ประกันชวี ิต จ. สานักงานคณะกรรมการกากบั และส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภยั (คปภ.) 3. แชร์ลูกโซ่ 4. ข้อมลู ประวตั เิ ครดติ ก. สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั (สศค.) 5. โฆษณาเกินจริง ข. บรษิ ัท ขอ้ มลู เครดิตแหง่ ชาติ จากดั (เครดติ บโู ร) ค. สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) กิจกรรมท้ายเรือ่ งท่ี 4 ขนั้ ตอนการรอ้ งเรยี นและหลักการเขียนหนงั สือรอ้ งเรยี น กิจกรรมที่ 4 ตอบคาถามต่อไปนี้ 1. การร้องเรยี นเกีย่ วกบั บรกิ ารทางการเงินมีข้นั ตอนอย่างไร ตอบ 1) ร้องเรียนที่ศูนย์บริการลูกค้า (call center) ของสถาบันการเงินหรือผู้ให้บริการ ทางการเงินนัน้ ๆ เพ่ือแจง้ เรื่องร้องเรียนหรอื ปัญหาที่พบ 2) หากไม่ได้รับการติดต่อกลับภายในระยะเวลาการให้บริการมาตรฐาน หรือ ไม่ได้รับการปฏิบัติท่ีเหมาะสม สามารถขอรับคาปรึกษาหรือร้องเรียนได้ที่ศูนย์ คุ้มครองผใู้ ชบ้ รกิ ารทางการเงิน (ศคง.) โทร. 1213 (ผู้เรียนอาจกล่าวถึงช่องทาง อื่น ๆ ด้วยก็ได้ เช่น e-mail เว็บไซต์ การร้องเรียนด้วยตนเอง จดหมาย/ โทรสาร) เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรือ่ ง ชุดวชิ าการเงินเพอื่ ชวี ติ 2 l ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

170 2. การเขียนหนงั สือรอ้ งเรียนมีหลกั การเขียนอย่างไร ตอบ 1) เล่าเหตกุ ารณส์ าคญั โดยมกี ารเรียงลาดบั เหตกุ ารณ์ 2) ให้ขอ้ มลู ท่ีสาคัญและจาเป็นใหค้ รบถ้วน 3) แจ้งส่งิ ทตี่ ้องการใหส้ ถาบนั การเงนิ ดาเนินการ 4) แจง้ ขอ้ มลู ส่วนตัว เชน่ ช่ือ ทอี่ ยู่ เบอรโ์ ทรศพั ทท์ ีส่ ามารถตดิ ตอ่ ได้ 5) แนบเอกสารท่ีเก่ียวข้องให้ครบถ้วน (ผู้เรียนอาจยกตัวอย่างเอกสารที่เก่ียวข้อง ประกอบดว้ ย เช่น สาเนาบตั รประจาตวั ประชาชน สาเนาใบแจ้งหน้)ี เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเรื่อง ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชีวิต 2 l ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

171 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองที่ 1 หนีน้ อกระบบ กจิ กรรมที่ 1.1 ตอบคาถามต่อไปน้ี 1. กลโกงหนน้ี อกระบบมีลกั ษณะอยา่ งไร ตอบ 1) ใช้ตัวเลขน้อย ๆ เพื่อจูงใจ 2) ใหเ้ ซ็นเอกสารทไี่ มไ่ ดก้ รอกตัวเลข 3) ไม่ใหล้ ูกหน้อี า่ นเอกสารท่ตี ้องเซน็ 4) บีบให้เซ็นสัญญาเงินกู้เกนิ จริง 5) ทาสัญญาขายฝากแทนสญั ญาจานอง 6) หลีกเลย่ี งใหก้ ู้โดยตรง 7) ทวงหนโี้ หด 2. มวี ธิ ีการป้องกันหนนี้ อกระบบอยา่ งไร ตอบ 1) หยุดใช้เงินเกินตัว – ตรวจสอบพฤติกรรมการใช้เงินของตนเองโดยการจดบันทึก รายรับ-รายจา่ ย แลว้ วางแผนใชเ้ งนิ อย่างเหมาะสมกบั รายไดแ้ ละความจาเปน็ 2) วางแผนการเงินล่วงหน้า – คานึงถึงค่าใช้จ่ายก้อนใหญ่ท่ีอาจเกิดข้ึนในอนาคต เช่น คา่ เลา่ เรียนลูก แล้ววางแผนทยอยออมลว่ งหนา้ รวมถงึ ออมเงินเผอื่ เหตุการณ์ฉุกเฉิน ด้วย 3) คิดให้ดีก่อนตัดสินใจก่อหนี้ – ทบทวนดูความจาเป็นว่าต้องใช้เงินจริง ๆ หรือไม่ และหากต้องกู้จริง ๆ จะสามารถชาระหนี้ได้หรือไม่ เพราะนอกจากดอกเบ้ียที่แสน แพงแลว้ อาจตอ้ งเจอกบั เหตุการณ์ทวงหน้แี บบโหด ๆ อกี ด้วย 4) เลือกกู้ในระบบ – หากจาเป็นต้องกู้ ควรเลือกกู้ในระบบดีกว่า เพราะนอกจากจะมี หนว่ ยงานภาครฐั คอยดูแลแลว้ ยงั ระบุดอกเบ้ียในสัญญาชดั เจนและเป็นธรรมกว่า 5) ศึกษารายละเอียดผู้ให้กู้ – ดูว่าผู้ให้กู้นั้นน่าเชื่อถือหรือไม่ มีเง่ือนไขชาระเงินหรือ อตั ราดอกเบ้ียทเ่ี อาเปรียบผู้ก้เู กนิ ไปหรอื ไม่ เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยเร่ือง ชดุ วิชาการเงินเพอ่ื ชีวติ 2 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

172 6) ศึกษาวิธีคิดดอกเบี้ย – หน้ีนอกระบบมักคิดอัตราดอกเบ้ียด้วยวิธีเงินต้นคงที่ (flat rate) ซ่ึงทาให้ลูกหนี้ต้องจ่ายดอกเบี้ยมากกว่าการคิดดอกเบ้ียแบบลดต้นลดดอก (effective rate) เพราะดอกเบ้ียจะถูกคิดจากเงินต้นท้ังก้อนแม้ว่าจะทยอยจ่ายคืน ทกุ เดือนก็ตาม 7) หากจาเป็นต้องกู้เงินนอกระบบต้องใส่ใจ  ไม่เซน็ สญั ญาในเอกสารท่ยี ังไมไ่ ด้กรอกขอ้ ความหรอื วงเงนิ กไู้ ม่ตรงกับความจรงิ  ตรวจสอบข้อความในสัญญาเงินกู้ รวมถงึ ดูว่าเป็นเง่ือนไขที่เราทาได้จรงิ ๆ  เก็บสัญญาคู่ฉบบั ไว้กับตัวเพอื่ เป็นหลักฐานการกู้  ทาสัญญาจานองแทนการทาสัญญาขายฝาก เพราะการขายฝากจะทาให้ กรรมสทิ ธ์ิตกเปน็ ของเจ้าหนี้ทนั ทหี ากผู้กู้ไมม่ าไถ่คนื ตามกาหนด 8) ตดิ ตามขา่ วสารกลโกงเปน็ ประจา กิจกรรมที่ 1.2 หน้นี อกระบบ ศึกษากรณีตัวอยา่ งต่อไปนี้ แลว้ ตอบคาถามตามที่กาหนดให้ 1. จากเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน นางมาลจี ะแกไ้ ขปัญหาได้อย่างไร ตอบ 1) หาแหล่งเงนิ กใู้ นระบบทีม่ ีดอกเบี้ยถกู กว่ามาชาระคืน 2) หากไมส่ ามารถกู้ยืมเงินในระบบได้ ผู้กู้อาจต้องยอมขายทรัพย์สินบางส่วนเพ่ือนามา ชาระหน้ี 3) ขอรบั คาปรึกษาได้จากองคก์ ร/หน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้อง เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเรอื่ ง ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชวี ติ 2 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

173 กิจกรรมท้ายเรอ่ื งที่ 2 แชร์ลกู โซ่ กิจกรรม 2 ศกึ ษากรณตี ัวอยา่ งตอ่ ไปน้ีแล้วตอบคาถามตามทกี่ าหนดให้ 1. จากกรณตี วั อย่างเปน็ ลกั ษณะของกลโกงประเภทใด ตอบ แชรล์ ูกโซห่ ลอกลงทนุ 2. มีวิธีปอ้ งกนั กลโกงในข้อ 1 อยา่ งไร ตอบ 1) ไม่โลภไปกับผลตอบแทนหรือสินค้าราคาถูกท่ีนามาหลอกล่อ เพราะผลตอบแทนย่ิงสูง ย่ิงมีความเสย่ี งมากท่จี ะเป็นแชร์ลูกโซ่ 2) ไมก่ รอกข้อมูลหรือให้ข้อมูลส่วนตัวในเว็บไซต์ หรือตอบกลับอีเมลที่ไม่น่าเช่ือถือ เพราะ อาจกลายเป็นเหย่อื แชร์ลกู โซ่ 3) หลีกเล่ียงการเข้าร่วมกิจกรรมกับกลุ่มธุรกิจท่ีไม่แน่ใจ เพราะอาจถูกหว่านล้อมให้ร่วม ลงทุนในธรุ กิจแชรล์ ูกโซ่ 4) อยา่ เกรงใจจนไม่กลา้ ปฏิเสธ เม่อื มีคนชกั ชวนทาธุรกจิ ที่มีลกั ษณะคล้ายแชร์ลูกโซ่ เพราะ อาจทาใหส้ ูญเสียเงนิ ได้ 5) ศึกษาท่ีมาที่ไปของการลงทนุ หรอื สนิ ค้าให้ดีก่อนการลงทุน โดยเฉพาะธุรกิจหรือสินค้าที่ ให้ผลตอบแทนสูงมากในเวลาอนั สั้น หรอื มีราคาถกู ผิดปกติ 6) ตดิ ตามข่าวสารกลโกงเป็นประจา 3. ผเู้ สยี หายจากคดีนี้ ควรขอรับคาปรกึ ษาจากหนว่ ยงาน/องค์กรใด ตอบ ส่วนป้องปรามการเงินนอกระบบ สานักนโยบายพัฒนาระบบการเงินภาคประชาชน สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง ซอยอารีย์สัมพันธ์ ถนนพระราม 6 สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ โทร. 1359 เฉลย/แนวตอบกจิ กรรมท้ายเร่อื ง ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชวี ิต 2 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

174 กจิ กรรมท้ายเร่อื งที่ 3 ภัยใกล้ตวั กจิ กรรมท่ี 3 ศึกษากรณตี วั อย่างตอ่ ไปนี้ แลว้ ตอบคาถามตามที่กาหนดให้ 1. จากกรณตี ัวอย่าง เปน็ ลกั ษณะของกลโกงประเภทใด ตอบ ภยั ใกลต้ วั /ลอตเตอร่ีปลอม 2. มีวิธปี ้องกนั กลโกงในขอ้ 1 อย่างไร ตอบ 1) ไม่โลภ ไม่อยากได้เงินรางวัลที่ไม่มีท่ีมา หากมีคนเสนอให้ ควรสงสัยไว้ก่อนว่าอาจ เปน็ ภัยทางการเงนิ 2) ไมร่ ู้จัก...ไมใ่ ห้ ไม่ให้ทั้งข้อมูลสว่ นตวั เช่น เลขทบ่ี ัตรประจาตวั ประชาชน วัน/เดือน/ ปีเกิด และข้อมูลทางการเงิน เช่น เลขที่บัญชี รหัสบัตรเอทีเอ็ม/บัตรเดบิต และ ไม่โอนเงนิ แมผ้ ตู้ ดิ ต่อจะอา้ งวา่ เป็นหนว่ ยงานราชการหรอื สถาบนั การเงิน 3) ศึกษาหาข้อมูล ก่อนเซ็นสัญญา ตกลงจ่ายเงิน หรือโอนเงินให้ใคร ควรศึกษาข้อมูล เงื่อนไข ขอ้ ตกลง ความน่าเช่ือถอื และความน่าจะเปน็ ไปได้ก่อน 4) อ้างใคร ถามคนน้ัน อ้างถึงใครให้สอบถามคนนั้น เช่น ธนาคารแห่งประเทศไทย โทร. 1213 หรือ DSI โทร. 1202 5) สงสัยให้ปรึกษา ควรหาท่ีปรึกษาท่ีไว้ใจได้ หรือปรึกษาเก่ียวกับภัยทางการเงินได้ท่ี ศคง. โทร. 1213 และศนู ยร์ บั แจง้ การเงนิ นอกระบบ โทร. 1359 6) ติดตามข่าวสารกลโกงเปน็ ประจา เพอื่ รเู้ ทา่ ทนั เล่ห์เหลีย่ มกลโกง เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรอ่ื ง ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 2 l ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

175 กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4 แก๊งคอลเซนเตอร์ กิจกรรมท่ี 4 ศึกษากรณตี ัวอยา่ งเพื่อตอบคาถามขอ้ ท่ี 1 - 3 1. จากกรณีตัวอย่าง เป็นลกั ษณะของกลโกงประเภทใด ตอบ แก๊งคอลเซนเตอร์/โชคดีได้รับรางวลั ใหญ่ 2. หากไม่ต้องการตกเปน็ เหยอื่ เหมอื นสายใจ จะมีวิธปี อ้ งกนั อย่างไร ตอบ 1) คิดทบทวน ว่าเร่ืองราวที่ได้ยินมามีความเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหน เคยทา ธุรกรรมกับหน่วยงานท่ีถูกอ้างถึงหรือไม่ หรือเคยเข้าร่วมชิงรางวัลกับองค์กรไหน จริงหรอื เปลา่ 2) ไม่รู้จัก ไม่คุ้นเคย ไม่ให้ข้อมูล ทั้งข้อมูลส่วนตัว เช่น เลขท่ีบัตรประชาชน วนั /เดอื น/ปเี กิด และขอ้ มูลทางการเงิน เชน่ เลขทบ่ี ญั ชี รหสั กดเงนิ 3) ไม่ทารายการที่เครื่องเอทีเอ็มตามคาบอก แม้คนท่ีโทรมาจะบอกว่าเป็นเจ้าหน้าท่ี ของรัฐหรือสถาบันการเงิน เพราะหน่วยงานของรัฐและสถาบันการเงินไม่มีนโยบาย สอบถามขอ้ มูลสว่ นตัวของประชาชนหรือลูกค้าผ่านทางโทรศพั ท์ 4) ไม่โอนเงินคืนเอง หากมีคนโอนเงินผิดเข้าบัญชี ควรสอบถามโดยตรงกับสถาบัน การเงินถึงท่ีมาของเงินดังกล่าว หากเป็นเงินท่ีโอนผิดจริง จะต้องให้สถาบันการเงิน เปน็ ผู้ดาเนินการโอนเงินคนื เท่านนั้ 5) ตรวจสอบข้อมูลก่อนโอนเงิน สอบถามสถาบันการเงินหรือหน่วยงานที่ถูกอ้างถึง โดยตรง โดยติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (Call Center) หรือสาขาของสถาบันการเงิน นั้น ๆ 3. หากตกเป็นเหยอ่ื แกง๊ คอลเซนเตอร์แลว้ ควรทาอยา่ งไร ตอบ 1) ตดิ ตอ่ ฝ่ายบรกิ ารลกู คา้ ของสถาบันการเงนิ นั้น ๆ เพื่อระงับการโอนและถอนเงิน โดย รวบรวมเอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ งเพอื่ เปน็ ขอ้ มูลประกอบการขอระงับการโอนและถอนเงิน ทั้งน้ี แต่ละสถาบันการเงินมีวิธีปฏิบัติท่ีแตกต่างกัน ควรติดต่อสอบถามขั้นตอนจาก สถาบันการเงินโดยตรง 2) แจ้งเบาะแสไปยังกรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) เลขที่ 128 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทงุ่ สองหอ้ ง เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ 10210 โทร. 1202 เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเร่อื ง ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชวี ติ 2 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

176 กจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 5 ภัยออนไลน์ กิจกรรมท่ี 5 1. จากกรณีตัวอย่าง สายรงุ้ ควรโอนเงนิ คา่ ธรรมเนียมหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ไมค่ วร เพราะเหตุการณท์ ี่เกิดข้นึ กบั สายรงุ้ เปน็ ลกั ษณะหนึง่ ของภยั ออนไลน์ 2. หากเหตกุ ารณ์ทเ่ี กิดขึ้นกบั สายรุ้งเป็นภัยทางการเงิน สายรุง้ จะมวี ธิ ปี ้องกันอยา่ งไร ตอบ 1) คิดทบทวน ว่าเรอื่ งทเี่ จอหรอื ไดย้ ินมามีความน่าเช่อื ถอื มากน้อยแค่ไหน หากโอนเงิน ไปแลว้ มีโอกาสได้คนื ไหม 2) เปิดเผยเท่าท่ีจาเป็น โดยเฉพาะข้อมูลส่วนตัวในโซเชียลมีเดียที่มิจฉาชีพอาจนาไป แอบอา้ งใชท้ าธรุ กรรมตา่ ง ๆ ได้ 3) ตรวจสอบข้อมูลก่อนโอนเงิน หากอ้างถึงบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรใด ๆ ควร ติดต่อสอบถามบุคคลนน้ั หรือองค์กรนั้น ๆ โดยตรง 4) ตดิ ตามขา่ วสารกลโกงเปน็ ประจา เพอื่ รู้เท่าทนั เลห่ ์เหลย่ี มกลโกง 3. สายรงุ้ ควรทาอยา่ งไร หากตกเป็นเหยื่อของมจิ ฉาชีพคนนแ้ี ล้ว ตอบ 1) ติดต่อฝ่ายบริการลูกค้า (call center) ของธนาคารน้ัน ๆ เพื่อระงับการโอนและ ถอนเงิน โดยรวบรวมเอกสารเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการขอระงับการโอนและ ถอนเงิน ท้ังน้ี แต่ละธนาคารมีวิธีปฏิบัติท่ีแตกต่างกัน ควรติดต่อสอบถามขั้นตอน จากธนาคารโดยตรง 2) แจ้งเบาะแสแก่เจา้ หน้าท่ีตารวจเพ่อื ติดตามคนร้าย เฉลย/แนวตอบกิจกรรมทา้ ยเรื่อง ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชวี ติ 2 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

177 บรรณานุกรม ตลาดหลกั ทรัพยแ์ ห่งประเทศไทย. (2553). การบรหิ ารการเงนิ ส่วนบคุ คล. กรุงเทพฯ: ตลาด หลกั ทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย. ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2016). รรู้ อบเร่อื งการเงิน กรงุ เทพฯ: ธนาคารแห่งประเทศไทย. Australian Securities and Investment Commission. (2012). Managing Your Money. Australia: Australian Securities and Investment Commission. Commission for Financial Capability. (2014). Set Your Goals. New Zealand: Commission for Financial Capability. Securities and Exchange Board of India. (2011). Financial Education for Middle Income. Mumbai: Securities and Exchange Board of India. The Investor Education Center. (2014). Financial Planning. Hong Kong: The Investor Education Center. บรรณานกุ รม ชุดวิชาการเงนิ เพ่อื ชีวติ 2 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

178 แหล่งอา้ งอิงออนไลน์ กรมอาเซยี น กระทรวงการต่างประเทศ. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก: http://www.mfa.go.th/asean/th/other/2363 (วนั ท่คี ้นขอ้ มูล: 8 มถิ นุ ายน 2559). กรมเอเชยี ใต้ ตะวนั ออกกลางและแอฟริกา กระทรวงการต่างประเทศ. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก: http://sameaf.mfa.go.th/th/country/ (วนั ท่ีค้นขอ้ มลู : 8 มิถนุ ายน 2559). ตลาดหลกั ทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย. (2558) การวางแผนการเงนิ คอื อะไร. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้ จาก: https://www.set.or.th/education/th/start/start_start.pdf. (วันท่ี ค้นขอ้ มูล: 22 เมษายน 2559). สานักงานราชบณั ฑติ ยสภา. ประเทศ. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก: http://www.royin.go.th/wp-content/uploads/2015/03/419_1494.pdf (วันทีค่ น้ ขอ้ มูล: 8มถิ นุ ายน 2559). Australian Securities & Investment Commission. (2016) Spending. [ออนไลน์]. เขา้ ถึง ไดจ้ าก: https://www.moneysmart.gov.au/managing-your- money/budgeting/spending#create (วนั ท่ีคน้ ข้อมูล: 8 มถิ ุนายน 2559). บรรณานกุ รม ชุดวิชาการเงินเพ่อื ชีวิต 2 l ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

179 ขอขอบคณุ กรมธนารกั ษ์ กองทนุ การออมแหง่ ชาติ บรษิ ัท ขอ้ มูลเครดติ แห่งชาติ จากดั สถาบนั คุ้มครองเงินฝาก สานักงานคณะกรรมการกากบั และส่งเสรมิ การประกอบธุรกิจประกนั ภัย สานกั งานคณะกรรมการกากับหลกั ทรัพย์และตลาดหลักทรพั ย์ บรรณานุกรม ชดุ วิชาการเงินเพอื่ ชีวติ 2 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

180 คณะผ้จู ดั ทา คณะที่ปรึกษา เลขาธิการ กศน. สานกั งาน กศน. นายสรุ พงษ์ จาจด รองเลขาธิการ กศน. สานักงาน กศน. นายประเสรฐิ หอมดี ผเู้ ช่ียวชาญเฉพาะดา้ นพฒั นาหลกั สตู ร นางศุทธนิ ี งามเขตต์ ผู้อานวยการศูนยค์ ุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน นางชนาธปิ จรยิ าวโิ รจน์ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ผอู้ านวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบ นางตรนี ชุ สขุ สุเดช และการศึกษาตามอธั ยาศัย ผู้บริหารสว่ น ส่วนสง่ เสรมิ การให้ความรู้ทางการเงนิ นางสาวชญานนิ พนมยงค์ ธนาคารแห่งประเทศไทย คณะทางาน ธนาคารแห่งประเทศไทย นายพชิ ญา สฤษเนตร ธนาคารแห่งประเทศไทย นางสาวจุฬาลกั ษณ์ พิบูลชล ธนาคารแห่งประเทศไทย นางสาวนริ ชั รา ปัญญาจักร ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นางสาวจนั ทร์ธดิ า พวั รตั นอรุณกร สถาบัน กศน.ภาคเหนอื นางอบุ ลรัตน์ มีโชค สานักงาน กศน.จังหวัดสรุ นิ ทร์ นางวิมลพรรณ กุลตั ถน์ าม สานักงาน กศน. จงั หวัดพษิ ณุโลก นางอนงค์ ฉนั ทโชติ สานกั งาน กศน. จังหวัดพิจิตร นางอมรา เหล่าวิชยา กศน.เขตหนองแขม กรงุ เทพมหานคร นายบุญชนะ ล้อมสิริอุดม กศน.เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร นายธณัลธวิ รรธน์ ภคพัฑวัฒนฐากรู กศน.อาเภอเมอื ง จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน นางมณั ฑนา กาศสนุก กศน.อาเภอเมอื ง จงั หวัดอทุ ยั ธานี นางสาวอนงค์ ชชู ยั มงคล กศน.อาเภอพล จงั หวดั ขอนแก่น นางยพุ นิ อาษานอก คณะผ้จู ัดทา ชดุ วชิ าการเงินเพื่อชวี ติ 2 l ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

คณะทางาน (ต่อ) 181 นางพิสมยั คาแก้ว นางกมลวรรณ มโนวงศ์ กศน.อาเภอพล จังหวัดขอนแก่น นางสุพัตรา ณ วาโย นางสาวพจนยี ์ สวสั ดริ ตั น์ กศน.อาเภอหางดง จังหวดั เชียงใหม่ นางกัลยา หอมดี กศน.อาเภอสะเดา จังหวัดขอนแก่น นางสาวมนทา เกรียงทวีทรัพย์ นางสาวจรรยา สงิ หท์ อง กศน.อาเภอเมือง จงั หวดั กาแพงเพชร นางพรรณทิพา ชนิ ชัชวาล นายสรุ พงษ์ ม่นั มะโน ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา นางญานศิ า สุขอดุ ม ตามอธั ยาศยั กลุ่มเป้าหมายพิเศษ นายศุภโชค ศรรี ัตนศลิ ป์ ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษารงั สติ นางสาววรรณพร ปทั มานนท์ หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ นางสาวสลุ าง เพช็ รสวา่ ง กลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบ นางกมลทพิ ย์ ช่วยแกว้ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั นางสาวทพิ วรรณ วงค์เรอื น กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั นางวรรณี ศรีศริ ิวรรณกุล กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั นางสาวชาลินี ธรรมธิษา กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศยั นางสาวชมพูนท สังข์พิชยั กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศยั กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั คณะผูจ้ ัดทา ชดุ วิชาการเงินเพือ่ ชวี ิต 2 l ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

คณะบรรณาธกิ าร 182 นางชนาธิป จริยาวิโรจน์ ผู้อานวยการศนู ย์คมุ้ ครองผูใ้ ช้บริการทางการเงิน นางสาวชญานิน พนมยงค์ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นายพิชญา สฤษเนตร ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นางสาวจุฬาลกั ษณ์ พิบูลชล ธนาคารแหง่ ประเทศไทย นางสาวนริ ชั รา ปญั ญาจักร ธนาคารแห่งประเทศไทย นางสาวจนั ทรธ์ ิดา พวั รัตนอรณุ กร ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ผู้ออกแบบปก นายศุภโชค ศรรี ัตนศลิ ป์ กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย คณะผู้จดั ทา ชดุ วิชาการเงนิ เพื่อชีวติ 2 l ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook