Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ครูพักลักจำ คำคมคารมปราชญ์

ครูพักลักจำ คำคมคารมปราชญ์

Published by Sarapee District Public Library, 2020-11-18 16:35:56

Description: ครูพักลักจำ คำคมคารมปราชญ์
โดย พระราชเมธี

Keywords: ธรรมะ

Search

Read the Text Version

ฅรูพก?^กฃา กา?1ม?ท7พน7า^ญ้ ฯร^ ข้นฝ็ทโกย น17ะ7า๔ฌ5 4

กรู(นก?เทฃ่า ๆร'^iJร^วt^Cy กโดย CU^t5า๔เมร 4๒-

J ..(^.๑.. ฅาฅมฅา7มน7icftu พระราชเมธื ที่ปรึกษา พระครูปลัดสุวัฒนใพธิคุณ(สมชาย ฮานวุฑุโฒ) ดร.อรทัย มูลคำ ประพ'ฒน์ จำ ปาไทย ประสานงานการจัดทำ อัฃวัน หงิมรักษา ดร.มุทิตา ป่นสุนทร บรรณาธการ จรรยาพร เจริญไทย สืลปกรรม ปวีร์ใจซื่อกุล พิ สจน์อักษร สุพัตรา มะโนนัย จัดพิมพ์โดย 978-616-7803-14-2 ลิฃสิทธี้ มูลนิธิธรรมะคุ้มครองโลก พิมพ์ครั้งที่ ๑ พระราชเมธี จำ นวน สิงหาคม ๒๕๖๐ พิมพ์ที่ ๑,๕๐๐ เล่ม บริษัท รุ่งศิลฟ้การพิมพ์(๑๙๓(๗)จำ กัด

นจมฮน1ฃน555«น571นาทา3 r mttm

ฃ?ไเฮาไวัไพัใฮฮา การทำวัตรสวดมนต์ มีบทหนึงทีต้องหยุดคิด คือ คำ ว่า \"สัญญา อนิจจา\" แปลว่า \"ความจำก็ไม'เที่ยง\" จึงเป็นที่มาของการบอกการสอน ต่อ ๆ กัน จากรุ่นสู่รุ่นว่า เมื่อเห็นกาพย์กลอนที่ประทับใจ บทความที่ซึ้งใจ คำ พูดคำสอนที่หยุดใจ อย่าปล่อยผ่าน จำ ไวัให้ซึ้นใจ ถ้าคาดว่าจำไม่ไต้ก็ ต้องรีบจด หากปล่อยผ่านจะกลายเป็นความว่างเปล่า จดจำอะไรมิไต้เลย และจะเสียดายเมื่อเรื่องราวที่น่าจะเอาความประทับใจมาบูรณาการให้ สมบูรณ์ที่สุดก็เกิดขึ้นไม่ได้ นึกแล้วก็จะเสียดาย เหตุเพราะมิไต้จดไว้และ จำ ไม่ไต้ เคยปรารภกับพระราชเมธีสมัยเป็นพระมหาวิชา อภิปณฺโณ ซึ้งเข้า มาช่วยงานในคำแหน่งเลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๘ สมัยนั้น ซึ้งติดตาม ไปในวัดต่าง ๆ ของภาค เห็นเธอทำตามที่บอก กาลเวลาผ่านไปนับหลายสิบปี ข้อคิดคำคม คารมของนักปราชญ์ที่ติดตระหง่านตามศาลา ข้างกุฏิ รั้ววัด แมักระทั่งต้นไม้พูดไต้ในอาราม เธอยังชอบจดชอบจำ

ข้อคิดคำคม คารมของนักปราชญ์ย่อมผ่านอารมณ์แห่งขีวิต ผ่าน If1 กาลเวลา ผ่านการทดลอบถูกหรือผิดครั้งแล้วครั้งเล่า ผู้นำ มาบอกกล่าวคง อยากจะบอกความจริงของชีวิต บทบาทลีลาที่ได้เผชิญชำแล้วชำเล่า บางที อาจปรารภเพื่อเป็นบทกลอนสอนใจ บางทีอาจเล่าเพื่อระบายความจริง ของชีวิต แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นล้วนเป็นข้อคิดคำคมที่น่านำมาบอกกล่าวยิ่งนัก นัดนี้รอยจารึกแห่งความยํ้าเตือนว่าต้องจำให้ได้กลายเป็นรอยทีนพื่ ในหนังสือครูพักลักจำ คำ คมคารมปราชญ์ นันทีกโดย พระราชเมธี น่าจะ เป็นสิ่งที่เธอภูมิใจ อุตส่าห์จดเขียนเพียรจำหลายลีบปี เป็นหนังสือที่อ่านเล่น ๆ ก็เป็นสุข ให้แง่คิดทางใจและให้ความคิวิไลชํทางวิญญาณ ขออนุโมทนากับ ความอุตสาหะของเธอ ที่เพียรเชียนเพียรทำเหมือนกำไม้จิ้มพีนวันละอัน ร้อยวันพันวันก็จะกลายเป็นไม้จิ้มฟ้นสูงเป็นกอง หนังลีอเล่มนี ให้คุณค่า ทางบทกวีที่น่าจดจำ ก็น่าจะเป็นถ้อยคำที่เอามาเติมเต็มชีวิตให้ดีได้อย่างหนึ่ง เหมือนกัน ขออนุโมทนา สมเด็จพระพุฒาจารย์ วัดไตรมิตรวิทยาราม วรวิหาร

ถฮยแถ?จง หนังลือ \"ครูพักสักจำ คำ คมคารมปราชญ์\" เล่มนี้ เกิดจากความ เมตตาชองเจ้าประคุณสมเด็จพระพฒาจารย์ ค่อย ๆ สื่อและสอนเชิงแนะนัา ผู้เขียนให้บันทึกสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เป็นผู้รักการสังเกต รักการอ่าน ตั้งแต่สมัย เป็นเลขานุการของรองเจ้าคณะภาค ๘ ใหม่ ๆ (ขณะนั้นพ่านดำรงสมณศกดึ๋ พระเทพปีญญาเมธี เจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยาราม วรวิหาร) พ่านเมตตา ให้ติดตามไปยังวัดวาอารามต่าง ๆ ที่ไปตรวจเยี่ยมตรวจการวัดในจ้งหวัดของ การปกครองคณะสงฆ์ภาค ๘ (จังหวัดอุดรธานี, หนองคาย, เลย, สกลนคร, หนองนัวลำภู และปีงกาฬ)หรือไปในสถานที่ฃี่งพระเดขพระคุณเห็นว่าจะได้ ความรัเพื่มมากขึ้น เป็นการเติมวิสัยทัศนให้กว้างไกล การกระทำเซ่นนี้บ่อย ๆ นานวันจนชิน จนเป็นนิสัย ทำ ให้เป็นคนขอน สังเกต ขอบอ่าน กลายเป็นการเพื่มหนัาของการจดนันทึก(ขึ้งได้นันทึกเพียง เพราะซอนตังแต่สมัยเป็นสามเณรอายุ ๑๗ ปี) โดยปริยาย ด้วยลายมือนับ พันหน้า จากวันเป็นปี จากปีเป็นหลายสิบปี เมื่อใดที่จะต้องย้ายสถานที่อยู่ หลายครัง ก็จำ เป็นต้องสะสางของเกินใช้เกินจำเป็นออกไป เมื่อนั้นจะต้อง แอบพกพาเอกสารบทกลอนที่นันทึกไว้เป็นของส่วนตัวติดกายติดใจไปเสียทุกคนั้^ ^i ในปี พ.ศ.๒๕๕๘ มิความตั้งใจจะเก็บเอกสารไวิในคอมพิวเตอร์เพ่านั้บ่ ตั้งใจจะให้สถานที่อยู่กว้างโดยมิเพียงเครื่องมือเครื่องใช้และหนังลือที่จำเป็น ถึงค^ามหลัง นังเอญมิกลยาณมิตรผู้เป็นที่รัก พ่านพระครูปลัดสุวัฒนโพธิคุณ

(สมชาย ฮานจุฑโฒ) ที่รู้จักมาหลายปีท่านทราบ จึงส่งผู้มีบุญมาช่วยตรวจ บทกลอนที่รวบรวมมากว่า ๔๐ ปี ช่วยจัดหมวดหมู่ ช่วยพิมพ์ กลายเป็น ตำ นานชองชีวิตที่ถูกลิขิตจากกัลยาณมิตรโดยท่ริยวย หนังสือเล่มปี แต่เดิมตังใจจดเป็นข้อคิดเตือนใจไว้อ่านเพิยงผู้เดียว จึงมิไตัจดนามผู้ประพ์นธ์ทุกท่านไว้ กลายเป็นเหมือนหยิบข้อคิดชองผู้อืน เป็นของตน ผิดวิสัยนักเชียนที่ฉลาดมืมรรยาทงามยิ่งนัก ชอกราบคารวะ พระเดชพระคุณด้วยใจที่ศร'ทธา และชื่นชมที่ท่านตั้งใจเชียนกลั่นมาจาก ประสบการณ์ และความรู้สึก ชอบคุณท่านผู้เป็นนักปราชญ์ บัณฑิต ครู อาจารย์ ชื่งเป็นเจ้าชองบทความ บทกลอน ร้อยแกัว ร้อยกรองทีนำมาลงไว้ หากเห็นว่ามิได้ลงนามท่านผู้ประพ์นธ์ แสดงว่าผู้บันทีกมิได้จดนามท่านเอา ไว้แต่ต้น ผู้เรียบเรียงชอกราบคารวะป้ญญาอันเป็นคมความคิดล่าย'ตอดฟ้ม อักษรเพื่อเป็นหลักดำเนินชีวิต เป็นประทีปแห่งปีญญาในยามทใจมืดมิด ชอ รอยลิขิตของนักปราชญ์บัณฑิตที่นำมาปรากฏเป็นร้จยแก้ว ร้อยกรอง บทกวี นิพนธ์ จงเป็นบทประพันธ์ที่ดลใจทำคนใ'ต้มืสติ มืสมาธิ มืปีญญา และเป็นสุข มีชีวิตที่ราบเรียบอยู่บนเส้นทางบุญ คือ อยู่ในบุญ ไม่ทำบาป และมีจิตตั้งมั่น อยู่ในธรรมของพระสัมมาสัมพทธเจัาตลอดกาลเป็นนิตย์ อนึ่ง บุญและปีญญาใดที่ท่านได้จากการอ่านหนังสึอเล่มนี้ แล้วได้คิด ได้สติ ได้แนวทางชีวิต มืจิตตั้งมั่น ขอบุญนั้นจงเกิดเป็นบุญญานุภาพ กลาย เป็นความสุขกายสุขใจ เป็นสุชนั้งในปีจจุบันและอนาคตกาลแก่ท่านเจ้าขอ'3 ผู้ประพันธ์บทกลอน ร้อยแก้ว ร้อยกรองที่นำมาพิมพไว้ในที่นี้ด้วยเทอญ ๆ พระราชเมธี (วิชา อภิปฌฺโณ) ผู้.ช่วยเจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยาราม วรวิหาร ไ^

;.ใ< เฬราะ(iปีmD^(i^Df^ifluo ร' ^'ไ^0ใ^รรนเ9๙ฬ§0ปี เพฬดQ ตหา'ใIilrffuvnod^u 1ร7าซส าฟ็นดำค^คารฟ้ซ wmmirmimriioi d<i(^นร77นะ^ดํใดํทไต้ร[^ ^ฬนทปีดำแนปีแ^โ]ทฎดน ^{gtfou^lfu^ไ] ^&ๅhi3£i\\ {ทระรา Q0iJmใimongfiTาม'atQmf.ร;,!โเ^^]\\ b i9m0U b๕})0 - ๙-^\\

4- 4:' ฃนโม;ทนากถา กระผมได้มีโอกาสรู้จักพระเดชพระคุณพระราชเมธี(วิชา อภิปณุโณ) ป.ธ.๗, ดร. เมื่อปีทุทธศักราช ๖๕๕๒ ท่านเป็นผู้ที่มีเมตตาต่อผู้น้อยเป็น อย่างมาก มีความอ่อนน้อมถ่อมตน ให้เกียรติทุกคน มีนํ้าใจทั้งต่อเพื่อนสหธรรมิก และญาติโยมสาธุชน มีจรยวัตรงดงาม ทั้งคำพูดและการกระทำมีความพอเหมาะ พอดีกับเวลา สถานที่ และบุคคล จึงเป็นที่เคารพรักชองทุกคน ที่สำศัญท่านยังเป็นผู้ใฝ่ใจในการศึกษาอย่างยิ่ง ศึกษาพระบาลีจน สำเร็จเปรียญธรรม ๗ ประโยคแล้ว ยังมีวิริยะอุตสาหะศึกษาจนสำเร็จเป็น พุทธคาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาพุทธบริหารการศึกษา ทั้งที่มีภารกิจงานการ คณะสงฆ์มากมาย ทั้งเป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยาราม วรวิหาร เป็นรองเจ้าคณะภาค ๘ เป็นด้น นอกจากนี้ท่านยังเป็นผู้มีความเคารพในครูบาอาจารย์อย่างยิ่ง เพียง พระเดชพระคุณท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒฺาจารย์ เจ้าอาวาสวัดไตรมิตร วิทยารามฯ เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นรองเจ้า- คณะภาค ๘ ได้ปรารภกับท่านซึ่งปฏิบัติหน้าที่เป็นเลขานุการ รองเจ้าคณะ ภาค ๘ ว่า ควรจดบันทึกข้อคิดคำคมของปราชญ์ทั้งหลายที่พบ ณ อาราม ต่าง ๆ ท่านก็ได้ถอปฏิบัติมาตลอดต่อเนื่องกว่า ๒๐ ปี รวบรวมข้อคิดคำคม ได้หลายพันชิ้น และมีนํ้าใจไมตรีจะรวบรวมจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มเพื่อชยาย วงยังประโยชน์แก'พหูชนต่อไป กระผมและเหล่ากัลยาณมิตรจึงได้กราบขอ โอกาสได้มีส่วนร่วมในธรรมทานอันเป็นมหากุศลชองท่านครั้งนี้ พระเดชพระคุณพระราชเมธี ท่านเป็นเหมือนพื่ที่พาน้องเดินให้รู้จัก การทำงานในการคณะสงฆ์ และเป็นแบบอย่างในความเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่ศึกษา 'สมนาม \"วิชา อภิปณฺโณ\" ซึ่งโยมบิดามารดาและพระอุป้ชฌาย่ได้ตั้ง'ให้ ^ J โยแท้ ขอกราบอนุโมทนาด้วย ความเคารพ ^ พระครูปล้ดสุวัฒนโพธิคุณ(สมชาย ธาน่รุฑโฒ)

rs รใ เ^ ? เกรา-iiผฺอน

หนังสือครูพักลักจำ คำคมคารมปราชญ์เล่มนี้ ถูกรวบรวมและ เรียบเรียงขึ้นจากวรรณกรรมภาษิตคำสอนทั่วทุกสารทิศ มีทั้งผลงาน ขึ้นเอกจากพระอาจารย์ซื่อดังในอดีตและฟ้จจุบัน นักประพันธ์ชั้นครู เจ้านายชั้นผู้ใหญ่ อาจารย์ปราชญ์ชาวบ้าน ตลอดจนนักเขียนมีอสมัครเล่น ผู้มีศาสตร์และศิลป่เชิงภาษา รวมทั้งนักเขียนนิรนามผู้สร้างผลงาน อนไม่ปรากฏหลักฐานที่มา ผลงานทรงคุณค่าเหล่านี้ ถูกรวบรวมมาจากทั้งบทประพันธ์ ในตำราเก่าเก็บ ทั้งบทกลอนข้อคิดคำคมใต้ต้นไม้ ที่ เมื่อใครผ่านไป ผ่านมาไต้อ่าน ก็ย่อมไต้ข้อคิดสะกิดใจไว้เป็นแนวทางในการปฏิบัติตน สืบไป หนังสือครูพักลักจำ คำ คมคารมปราชญ์ เกิดเป็นรูปร่างขึ้นไต้ ต้วยความรักและเล็งเห็นคุณค่าผลงานวรรณกรรมภาษิตคำสอนทุก บททุกตอนของไทย และต้วยความเมตตาของพระราชเมธี(อภิปณฺโณ) ที่มีต่อกัลยาณมิตรและศิษยานุคิษย์ทั่วทุกสารทิศ จึงต้องการรวมเล่ม หนังสือกลอนธรรม เพื่อเผยแผ่เป็นวิทยาทานแก'สาธุชนโดยทั่วกัน อีกทั้งผู้รวบรวมเนี้อหา คณะทำงาน และกองบรรณาธิการมิไต้ มีเจตนาอื่นใดแอบแฝง นอกจากใจรักหนังสือและความเทิดทูนใน ผลงานประพันธ์ของครูบาอาจารย์ทุกบททุกตอน หากคณะทำงาน และกองบรรณาธิการกระทำผิดพลาดประการใด ต้วยความรู้เท่าไม่ ถึงการณ์ ขอน้อมรับ และกราบคารวะครูบาอาจารย์เจ้าชองผลงาน ทุกท่านมา ณ ที่นี้ บรรณาธิการ

0 of% bo .ร. ?เา3นัญ หน้า เ^ หมวด ๑ ตน\"การแกตน ๑๔ ||||^ หมวด ๒ จิตใจ-อารมณ์ ๖๘ €!^ หมวด cn การสีกษา ^๐ ๑๒๔ cf?^ การทำงาน หมวด ๔ หมวด ๕ การดำเนินชีวิต ๑๕๒ /< ^)'' •ฟ้ v\\ > ■. C ^ -X.'O / ^ ร:> nN C:- •ะON- o-

'i^/% หน้า ใรฮ(โท๐ หมวด ๗ บญ-กุศล 12)๗๐ \\0 ^ หมวด ๘ กรรม-วิบาทกรรม ๒๘๐ หมวด ๙ ความตาย (โท๐๒

;/ X-; I: -) .Vii\" » •'.' ■^ /■v>. .\\. - . ร่ J'' i ' •V . / t,' •• •เ.' ^'/ ' '[ i. ' •ร ' ivV i- ''' r< •* v—v i V<^CP<5) '■ (■ แ: \\/ ••-เ \\ k • r-. .'\"V . 'T Y t' i ^s ■h ' /. ไ^-'* -'^, - > -' - -' JSPr - i »•-'■ ใ- ไ}เ•.^■ร^-'ฯ'^# --f*• iI- -'.' - A :f ^) ;rt: ■ ..-4

ถน-การอกถน 0 พ^ mmrn ^ ^iCf*\"*.'

\\/ เชิญเรามา พรหบวิหาร พรหมวิหาร สี่ประการ กั้นร่ม กันทุกข์ ให้สุขใส เชิญทุกเผ่า เจ้าถิ่น มาอยู่ใน แผ่นดินไทย ร่มพรหม ให้ร่มเย็น คือเมตตา หวังสุข แก่ทุกหน้า เพื่อนเกิดมา ร่วมสุข ร่วมทุกข์เข็ญ ■ผูกไมตรี หวีรีก เป็นหลักเกณฑ์' เช่นฆ่า ไม่จองเวร รบรากัน กรุณา เผื่อแผ่ เพื่อนยาก เหลืยวแลเอื้อ หวังช่วยเหลือ ทุกข์ด้วย พ้นทุกข์ ลำ บากขันธ์ เห็นเพื่อนทุกข์ เข้าช่วยกัน ' ให้เพื่อนนั้น ได้สุขใจ 1

มุทิตา หน้าแย้ม จิตแข่มขื่น เห็นคนอื่น ดีจริง ยศยิ่งใหญ่ พลอยปรีดา สาธุด้วย ว่าขอให้ อวยพรขัย เจริญสุข ทุกครากาล อุเบกขา คอยมองเป้า รวมจิตเข้า เพ่งจ้อง ไม่เอียงฐาน ปรารภกรรม ตั้งเที่ยง ดีชั่ว เป็นตัวการ ไม่ลนลาน ป้ายสีใคร เสริมดี สี่นี้คือ ร่มพรหม นิยมเถิด เป็นเสน่ห์ ไม่เฉไฉ จะได้เกิด พรหมแล้ว ย่อมแคล้วภัย เมื่อกั้นร่ม กางกั้น ทุกวันเทอญ เขิญขาวไทย (ฐjr<3\\>c^(พฟ้JW ร9งฺ^ร[ริ^

\\^ \\^ \\ J' \\V y ). ]. ■> < {• ♦ y i 4\" ♦ 0 /\\ ./ \\ £■^ \\ สำ รวบใจ ด้วยความหมั่น มั่นใจ ไม่ประมาท ไว้เป็นศรี รักษาอาตม์ ข่มใจ พำ นักดี มารังควาน ผู้ฉลาด อาจตั้งหลัก อันห้วงนํ้า ไม่มี yvs^s:dJ^c9@iy7^^u (<^ริ)(รuy7(^fp) พดไป นถไม่เนาใจ กลับขู่เขา ว่าโง่เง่า ตัวของตัว เขาไม่รู้ เซอะหนักหนา ว่าพดจา ไม่โกรธา งมเงอะ ไม่เข้าใจ ทำ ไม y^s'i^c;!^ 14 (1นร์^ 'ฟ้ -ไ' \\ \\ \\ /' \\ /* <• »ะ 5 -0 V}

\\p \\f \\p X- « ^ ^ -i ^4 o ^' V'^\\ \\p \\ p ^■1' \\- p\\ อัตตา R อัตตโน นาโถ มิใยใคร จะพึ่ง ซึ่งพระเจ้า แต่พวกเรา ซาวพุทธ- ศาสนา โอวาท พระศาสดา ผู้เซื่อฟ้ง พึ่งธรรมๆ คือพึ่ง ซึ่งตัวเอง ประกอบกรรม นำ มา ซึ่งโภคผล ตั้งแต่ต้น จนปลาย ไต้เหมาะเหม็ง ทั้งทางโลก ทางธรรม ก็ยำ เกรง ถือเลบง สร้างตัว อยู่ทั้วกัน อัตตา หิ อัตตโน นาโถ แปล ว่า \"ตัวพึ่ง ตัว\" แน่ ถ้าบิดผัน เปีนอื่นไป วงเวียน พาเทียรครัน พึ่งเขานั้น ไม่ \"หนึ่ง\" เหมือนพึ่งตัว ฯ V'\" พ' /XV'\"' , V\"', , ไ , x\"/\"' ' /XV' ''X }■ It \\ 4-4 -Jk ♦ V* <► * ■} v* ^ . < V* ^ X- * ^ f X- ♦ ^ ^ -1» X' 4 \\ p\\ p \\ p \\ \\ p \\. p'\\ \\ \\ •si iv

บัวยิ่งบาน บัวบาน ยิ่งมีมาก พระหัยยิ่ง พระผู้มีพระภาค เต็มที่ ยิ่งพอ จะบานจริง เหตุดังใfน บัวที่เริ่ม ล่อหลุบ ทุบเสียเอย ฯ อย่ากลอกกลิ้ง

จะเป็นสุข กว่าจะเป็น ทนเอาก่อน จะเป็นก้อน ค่อยประสม จะเป็นพระ ก็ต้องทุกข์ จะเป็นพรหม ทีละน้อย กามารมณ่ จะไปนิพพาน ก็ต้องละ ก็ต้องเพียร เรียนทำญาณ ก็ต้องปฏิบต วิป้สสนา I •t เกิดเปนคน กนคันถ มีแก่นสาร ต้นดูต้ว ก็จงคน เป็นผลญาณ เมื่อต้นดี ที่ต้นตัว ของตน เป็นผลงาน m. \"•

!เ,•.'\" s/ ^. '■y^»^'''-' y '^ \\ \\ i กำ ลังของนักพรต นักพรตแท้ ก็ต้องแก้ เหล่านักบวช ผู้ประกวด กองบณุ. เพิ่มพูนไว้ ขาดสันติ เป็นกำสัง หวังอะไร ขันติไซร้ เป็นกำสัง พังศัตร เมื่อเราบวช เมื่อเราบวช ภาวนา แผ่เมตตา สวดมนตํ ทีสุดสัตว์ อโหสิ ต่อมนุษย์ สารพัด ปฏิงต เวรา เป็นอาภรณ์ ธรรมา r-ไ' -y :โ!.\\'.โ'!/\\'y^\\ว์' ^ » •>> ♦ }■ f ^ \\y ' \\ ^ \\ < ■!> » ^ » } V ^ o » - ■ร * ^ ♦ }■ { « < ๙\\ y\\ ^ y •'i-! ti/ 'ร^ <^'

i» A { ร <0- ♦ ]- ^ *i ^ ' ^' \\ . น/์ \\ \\ ด้วยเดชร พระธรรม อันลํ้าค่า อิมินา เตือนสติ บุญกรรม คือคำสอน ตอนท้าย อาลัยวรณ์ ประทานพร เพิ่มสุข แก่ทุกคน เข้าเป็นญาติ พอรู้รส ศาสนา ตถาคต พระธรรม แหนพระคุณ มารดา จำ เริญผล เกิดเป็นคน กตัญญ ปูย่าตน ใด้ร่มผ้า รู้ตอบแทน กาสา -วพัสตร์นั้น ด้องเอาข้น โสรัจจะ -ติตั้ง เป็นผังแผน ถึงยากแค้น เป็นรั้ว ทั่วดินแดน เมื่อเราบวช ก็ด้องทน เพื่อด้นดี เหมือนหนึ่งแก้ว สวดญัตต เข้าวัดแล้ว ควรสังวร เลิศมณี เจียระไน สุกใสสี ทรงศีล เจียระไน ทั่งอินทรีย์ ไหนจะเทียม \\V', \\ Z- \\ ♦} {« y *^ {■* K - ••/\"C' \\ l/ \\ i/ \\

นึ่งตนไหัจงไถั ตนของตน พึ่งตน แล้วพ้นยุ่ง คนต้องมุ่ง พึ่งตน ให้จงไต้ ตนไม่พึ่ง แล้วจะดึง ไปพึ่งใคร คนเมื่อไต้ ทุกข์ถึง ต้องพึ่งตน ตนพึ่งตน ผลย่อมไต้ อย่างใกล้ขิด เพราะตนติด ตนไป ไต้ทุกหน ผลย่อมไกล พึ่งคนอื่น ไปจากตน ใครจะทน ให้เราพึ่ง ถึงเท่าไร ตนเสียก่อน จะพึ่งตน ต้องรกฝน เซ่น'รกสอน เสริมวิขา เครื่องอาศัย รกขยัน หมั่นในกิจ ด้วยจิตใจ และรกใช้ ศีลธรรม ประจำตน คนเซ่นนี้ เป็นที่พึ่ง ที่หายาก แต่ผลมาก หากไต้พึ่ง แล้วถึงผล หมื่นแสน มิแม้นตน พึ่งคนอื่น น้อยกว่าพึ่ง ซึ่งตัวเอง ร) ร่ C เพราะมีผล £ ฐ่ รั

เมาสิ่งใด มอมเบาคน เหมือนเมารัก ไม่เท่า กว่าแม่โขง 3?นเมาหนัก เต็มแก้ คิงคองค่าง ?)พรรณโรง บางยี่ขัน ถึงเต็มโอ่ง ไม่เท่ามัน ถ้าอยากเมา เมาไป ตามใจเถิด เมาหน้า แต่ถ้าเกิด ; มัวหน้า ก็น่าขัน เขาลืมตัว ยานตึง ได!ป นัยน์ตาพลัน ไม่รู้ทัน เคราถึงตา ดูไม่เบื่อ มักไร้ผล คนมักได้ ให้ขินหน้า ดีแต่ขน ขอเขา เหลือระอา ให้เท่าใด ถึงเวลา ว่าตนดี \\ ว่าดีหนัก คนเข้าใจ ไว้ทำ หน้าเง้างอ เพราะถือตัว ที่จะขม มักมืขั่ว ทำ องค์ใหญ่ มักขึ้นหม้อ ย่อมไม่พอ เป็นบ้าบอ นิยมดี

-f, , '3' 'น์ V 1 J^f. *T V* \\ Z' \\V'\\ \\y ^ 0y ^ ♦^ { ♦ ^ ♦ vi- /%ไ' y\\ 'V^\\ <» 4> ->^ i/ \\ \\ ๙\\ ลืมครู อม่าลม เป็นไรมี ก็ลืมได้ ลืมชั้น ลืมได้ เชิญลืมไป ลืมหนังลือ ลืมสถานที่ แต่ถ้อยคำ ลืมเพื่อน ไม่ควรลืม พรํ่าสอนไว้ อันความดี ถูถัวเรา ที่คนอื่น อย่าหลงตื่น คำ ซม งมโง่เขลา อันความดี นั่นมี ที่ตัวเรา ไม่ด้องเฝืา คอยรอ ขอจากใคร อยากรู้ว่า ดีชั้ว ดูตัวเรา ว่ากิเลส ใครจะว่า บางเบา ไปบ้างไหม พิษไม่มี ไม่เป็นไร ที่ใจ 1 นั่นแหละดี • ♦ ^ ♦} \\f \\ Z' <> « - ^\\ \\

■>< ' V ' 'Sh V V* ปลูกฮงเชั๋วถี การปลูกฝิง คุณธรรม ในตัวเด็ก เป็นเรื่องเล็ก ล้าผู้ใหญ่ ใจมุ่งมั่น ไม่ทำชั่ว ให้เด็กเห็น เป็นสำคัญ จนเด็กนั้น จำ ใส่จิต คิดทำตาม ความซื่อสัตย์ กตัญญ รู้ดีชั่ว ไม่เมามัว ตามตัณหา มาเหยียดหยาม ไม่ละโมบ ไม่หลงผิด คิดวู่วาม แล้วจึงห้าม เด็กเราได้ สบายเอย เกิดเป็นคน ถู๒ษคน สอนตนก่อน คำ สอนเขา เมื่อถูกสอน จะสอนคน จะติเรา จะติตน อย่าทำค้อน ดูโทษตน จะโกรธเขา หรือคนติ หรือเขาโกรธ '.Y .>> \\y ❖- *; {♦ <> ♦ -y t ♦ ♦i i ^ *^ }' V ^ ^ ^ x / \\. y\\ t/\\ i

จงเลิกลJ ละชั๋ว ถอถ พวกหัวดื้อ จงยึดถือ มีคืลมั่น คนชั่ว ทุกวันคืน คณอนันต์ คนดี จงสำคัญ ทำ บุณ ว่าแน่นอน ความแปร ถ้าเบนปราชญ์ นราบญิ เจนจัดธรรม ขันติหลง แต่กอปรกรรม ฉลาดอรรถ เสือมทรามองค์ ก็ย่อมดู ผลุนผลัน สมนามแล ถ้าขันติคง ไม่งาม องค์จึงงาม \"iZ i ^ \\i -> ร' -/ -/ \\, / 'A\" /i *

ถึงเปลี่ยนแปลง ของด ทั้งสดแห้ง สัตว์ที่ดี มีประโยชน์ เชายังใช้ ย่อมใช้1ด้ เป็นขี้เถ้า มีคุณ ก็อุ่นใจ แต่คนชั่ว เป็นหยูกยา ยิ่งตายซาก ชั้นกระดูก นื้1ช้ยาก ส่วนคนดี • ตัวจัญไร ยิ่งไร้ค่า แสนจัญไร มีอุตส่าห์ ชาญวิชา พร้อมทั้งมี ที่ชำ นาญ การที่ดี ถึงเขาม้วย สร้างงาน . ประจำด้วย ศีลธรรม ตายเป็นผี ยังทิ้งลาย ร้อยทีวี วอดวาย โชติช่วงเอย ให้คนดี ถ่ายรอย ได้ประโยชน์ ♦V //' -/ . น'* / M J-y' yi />■ '^ / .ไV

\\ ■0 ->c^ { ■> 0 ♦ 7 ■.f ♦ ^ 0 ^ < /\\. /\\ / \\„ เกิดเป็นคน เนี่บพร หาดีเถิด ดีจะเกิด ผลสขสันต์ จนหรือมี ช่วยเหลือกัน ดีที่หนึ่ง แก่ตน เป็นคนตรง พึงสงเคราะห์ ประจำจิต ดีสองนั้น ประสานสงฆ์ ดีที่สาม ต้องตั้งตน ครบสามองค์ เลิศแก่ตน ไมตรีมิตร คือมีธรรม อาจพ้นทุกข์ ถ้าทำดี มุ่งสมาน เกษมผล สุขประสงค์ นี้เจนจบ สุนทรพล ทั้งเป็นปราชญ์ ก็จะเกิด หาดีเอย ประสบสุข ทั้งฉลาด นี้แหละคำ ปรีดเปรม ไว้เตือนตน เพิ่มพร ศึกษา ร;? s • /'C' \\_ /•' \\ \\ Z' \\ //\"\\ ไ'' ■ริ.' vi;

1 \\ »} ร 4 ■^ เ} ■( ■> y »;- t* Z' . , x\"/'' , / \\y \\*z \\z> <> y «.1 4 o «• f -I\" C\" »; *7 .* ^\\ if \\ if \\ £f\\. z 'h - \\ ^\\ นัเงถ้วบถีบ่อมไถ้ชญญา รู้จักฟืง ถี่ถ้วน ไม่ด่วนหนี ฟ้งด้วยดี เหตุผล ค้นให้ทั่ว ก็ย่อมจะ ได้ป้ญญา เข้าหาตัว เคยเขลามัว ก็ต้องหาย สลายไป คนจะถมธรรมะ นิรนาม เขียนคติ นี้ให้คิด เป็นภาษิต ให้คิกษา อาจผิดพลั้ง เผลอไผล ไร้ปีญญา โปรดคิดว่า เขียนไว้ ได้เตือนตน เกิดเป็นคน จะติคน ติตนก่อน อย่าซอกซอน ติเขา «> vv หากรู้ตัว ว่าตนดี เห้ร้าวฉาน ก่อนติท่าน จงติตน ติคนพาล ผลเจริญ V '\\[z' \\V\" , \\V', , , \\ Z' ' ;^ Z' , ; <^ ♦ -J ข้ 4 4 -} {- ♦ l\" i * ^ i t ♦ -0 ♦ } ♦ y ' ',v^\\ไ' ^ \\ if \\

คนจะดี มิใช่ดี ที่พงค์พันธ์ ถ้าทำดี คุณอนันต์ ซูตา มีศักดสูง ย่อมเชิดหน้า อยู่ที่กรรม ทั้งป้าลุง จะตํ่าสูง ดีที่ กระทำเอง คนจะดี มีธรรมะ ถ้าเป็นพระ ก็ดี ข้าราชการ ที่ไม่หลง นวลอนงค์ นั้นดี ที่ซื่อตรง ที่จรรยา ก็ดี ' ถึงรูปชั่ว หัวไจมีศลทาน ตํ่าตักดศรี ^ ก็อย่านึก ตัวดำ ในสังขาร หากหัวใจ น้อยใจ มีดีลทาน ใครก็ขาน เราดี เจริญพร สรรเสริญ

ตนเตือนตน ใครจะเสอน ให้พ้นผิด ตนเตือนจิต ใครจะเหมือน ตนเตือนตน ซองตน ใครจะเตือน ตนแซเซือฺน ให้พ้นภัย ตนได้ ไม่ได้ ใครจะเตือน อยู่คนเดียว ใหัระวัง ยั้งความคิด อยู่ร่วมมิตร อยู่ร่วมราซ i/ V ยั้งคำขาน อยู่ร่วมพาล วง ระวังการ ให้ระวัง ทุกอย่างไป ให้ตั้ง ให้ระวัง

4e vi? «ff V?- -'- Itf •*- ' •*« '^ «r« ^St '^ ft 9i กวามอถทนเ0นตบ: ไม่ว่าโลก และธรรม จำเป็นนัก สำ บากแย่ อุปสรรค ก็ย่อมมาก เซ่นเกียจคร้าน กลบเกลื่อน และเชือนแช ต้องขันติ เป็นเครื่องแก้ แย่หมดไป กาน สล กาวบา ผลของทาน ย่อมบันดาล ให้รื่ารวย ให้สวย ผลศีลซ่วย มีภูมิฐาน ภาวนา ให้ฉลาด ปราดเปรื่องการ ควรกระทำ ทั้งสามฐาน ประจำรัน ทั้งสาม ถ้าทำไต้ ยิ่งมนษย์ เป็นดีเลิศ สุดเสกสรร แสนประเสริฐ สวยฉลาด มหัศจรรย์ จะรํ่ารวย อย่าใจเบา ตรัสไว้ พระทรงธรรม่ ^ *'^' 'I' ..^ ^ ร'' . ■ร-. . ^ ^ ^ร

.y, ff: •5' <?.■ *3' * - o » i -r« \\- o - ♦ }• -■ «\\Vy *-}• ♦ y o}, r, * - * r, ', * v'^-w *' \\ / \\ / \\ Z' \\ / \\ , // V . ^ *} i * ^ i* y^ ^ ^ พุ<^ #\\ \\ i/ \\, ,y \\^ y ถึงรํ่ารวย หากไม่สวย ก็สิ้นศรี ไม่มีทรัพย์ สะสวยดี สวยด้วย ก็อับเฉา ต้องรวยด้วย ถึงจะเข้า ตำ รา ช่วยคลุกเคล้า ถึงรํ่ารวย สวยฉลาด พระบาลี ยังอ่อนว่า ไม่เลิศ ชาดปีญญา ต้องรํ่ารวย สวยฉลาด ประเสริฐศรี จึงจะดี เลิศมนุษย์ ชาติเมธี ถ้าทุกคน รํ่ารวย พุทธทำนาย จะซูชาติ ศาสน์กษัตริย์ สวยฉลาด จะหมดโศก สิ้นทกฃ์ รัฐเหลือหลาย จบบรรยาย ราชวิสุท สชสบาย ซิโมลี ff: ■3' 't; ^ 3' rR' rf, 3' ,1, 3* 'ร; V\"\\ , , \\ y \\/ \\y *} V *: -[♦ <> ♦r ,t* , t* -^ ♦} i ^ »} v« y ■if » J- {• ♦ if » J- i* <> »} ^\\ i/ \\ t/\\ ^ \\ ,y\\ y ^„ •เ \\ \\ 'ร^ 'Si -S

•• 1 i ถ้าจะอ่อน อ่อนไหัเรน ตังวิเชียร เอาไว้ใช้ ถ้าจะแข็ง อ่อนให้เป็น เอาไว้'เจียน ผูกเสือโคร่ง ก็ให้แกร่ง ตัดกระจก ถ้าลืมพร^ ละศีล ก็สันศักดึ๋ ไม่มีหลัก ต้องมีศีล ศักดิ้สิทธื้ ผิดวิลัย เป็นกำไร ประจำใจ มีธรรม ที่เกิดมา ๆ ลํ้าเลิศ - --fi

\\ \\\\ M. เกิถเป็นบนษบ์คัวงบีธรรบ= เป็นมนุษย์ สุดลํ้า มีธรรมะ ถ้าขาดธรรม นำ พา น่าบัดสี ทศพล ตรัสไว้ ให้ทำดี คนอัปรีย์ ไร้ธรรม เลวทรามเอย จะสั่งสอน สอนคน ตนเสียก่อน ดังใจหมาย จึงจะสอน สอนสากล ให้ผ่อนคลาย ผสมจิต จึงคอยร่าย ผู้อื่นได้ คนทั้งปวง ตนเสียก่อน ไปผจญ

'♦,y ,X * •> *i, ,•{-»\"^'O'V ♦,} ,{■ ♦'^V ♦\\•» .X* t ,J- .-{ \\4 <V> » ]. / \\« 4V> ♦ J. X\\, ^V x <\\V.-r ', x X* ' y y\\ y \\ .^ \\ // \\ i/ \\ \\ y\\ .V'J tJ.', ฮคศลธรรมสวัสดิสุข อันสืลธรรม ที่ประพฤติ ยึดเป็นหลัก มีแต่จัก หนักแน่น เป็นแก่นสาร ไม่มีทางสูญ สลาย แม้วายปราณ ติดตามไป ยังบันดาล บุญฤหธี้ มีสืลธรรม คือลูกแก้ว ยามเป็นลูก ยามครองเรือน มีคู่แล้ว นางแก้วใช่ ยามเป็นแม่ คือแม่แก้ว แผ้วเวรภัย ศีลทำให้ สวัสดิสุฃ ทุกกาลเอย ไม่เ1าบาป ไปล่วงสล ไม่ทำบาป ทั้งปวง ไม่ล่วงศีล ทำ แต่ดี เป็นอาจิณ ทั่วดินฟ้า และทำจิต ใสสุก ทุกเวลา นี้วาจา พุทุธองค์ ทุรงตรัสเอย \\ ■\\V\" _ '\\V\" \\V \\ /yV\", \\' ไ' \\ ไ^ 4 ♦ ; { ■* o » 7 { 4 ^ ไ'* ไ^ 'si \"if

, ♦ ]'. I* 0- ♦ i {« ^ »} {- » <> » ]- f« y > ]• {* y » ]• { '^ * 7 {* '^ ♦ } 4 ■* ^ * J » ■® '. ๔' ร ' 'V \\.' ^ \\' ,.y\" -y \"'^. ..y_^V- y,^v -y •'■/ V?- ^'' ii' ■^.' Vr \"'■' ':'.* il' *\"'\"' 'i- 't '\"■;■• ''•^ • ''^' 'j' ^' ''^* \"^' จงละชั่ว หมั๋นประนฤถิถี ความขอบไว้ สะอาดศรี ทำ จิตให้ หมั่นประกอบ คือคนมี รดหสักธรรม คนประเสริฐ ผ่องผาด เลิศล้น พึ่งของตน ความรู้ดี คนเรานี้ และประพฤติ พลาดถสำ เป็นที่ ปรีขานำ เร่งขวนขวาย ไม่เข้าที อย่าประมาท เชื่อที่ดี เชื่องมงำ มีป็ญญา ตามเขา สถีบาขญญาเกิด สังขารา สัสสตา นัตถิ เป็นสติ สำ คัญ ป้องคันหลง ตัดยินดี ยินร้าย ให้คลายลง ไม่โง่งม ลืมตัว เพราะชั่วดี \\V\", \\ ^ \\ >ร? , \\ Z' , / ^ ^ ไ / , /^ {♦ ^ '* ■* ^ ข้* ^ *7 ■£■* ^ *7 i ^ ^ ♦ -1 X ♦ '> < ■'si '?■ ไ* \\ ^^ \\' <!ร? V \\ ^\\ ^\\ i ^ ' y vi? ' ^ iv

กลับจิถกลับใจ ผู้ใดซั่วรู้ตัวแล้วกลับจิต ไม่ถือผิดงมโง่โดยโมหันธ์ ควรจะซมว่าฝืมเป็นคนธรรม์ ผ่อนผันกลับตนเป็นคนตรง ฯ (.แ^94 อปาหาเหาใส่หัว เขาทำดีทำซัวตัวของเขา อย่าหาเหาใส่หัวของตัวหนา มันจะยุงนุงนักหนักอุรา ตามยถากรรมเขาเราสบาย ฯ (แ(ร่^4 รรรบที่ประนฤถิสแลัวนาสุบบาใหั ประพฤติธรรมสำคัญอยู่ที่จิต ล้าตั้งผิดมัวหมองไม่ผ่องใส I ล้าตั้งถูกผุดผ่องไม่หมองใจ สติไซร้คุมจิตไม่ผิดนา ฯ I. «1 (น(ร์94

อปา อย่าทำใจง่าย อย่าหมายเกินการ อย่าหาญเกินแรง อย่าแข่งเกินฤทธ อย่าคิดเทียมเจ้า อย่าเฝ็ากวนกัน อย่าหันทางผด อย่าคิดทางบาป อย่าหยาบทางงาน อย่าคร้านทางกิจ อย่าคิดทางเกียจ อย่าเบียดเบียนกัน อย่าขันอวดร้ อย่าว่าคนเมา อย่าสู้คนบ้า อย่าเอาของสงฆ์ ฯ m 'M

V?' ^ไ' ^'' V V\"' ,\\V\", , , A V\". \\^ \\ Z' \\ y\\ i/ \\ i/ \\ y\\ ^ \\' ' // \\ * ^ '■^ V * i/ \\ y\\ ■'น สุภาษิคนระร่วง ปางสมเด็จพระร่วงเจ้า เผ้าแผ่นสุโขทัย มลักเห็นในอนาคต จึงผายพจนประภาษ เป็นอนุสาสนกถา สอนคณานรซน ทั่วธราดลพึงเพียร เรียนอำรุงผดุงอาตม์ อย่าเคลื่อนคลาดคลาถ้อย เมื่อน้อยให้เรียนวิชา ให้หาสินมาเมื่อใหญ่ อย่าใฝ่เอาทรัพย์ท่าน ฯ (รเนน์ ะit^<sjyvx4G^&S^c^<^ๆร*)SJ เสวนใจถน เกิดเป็นคนเซิงดูให้รู้เท่า ใจของเราไม่สอนใจใครจะสอน อยากใช้เขาเราต้องถ้มประนมกร ใครเลยท่อนจะว่าตัวเป็นวัวมอฯ \\^ ๆCit «<? , r., _ 3^ 3' fV.' 31 , ^-' 'i.- 'ไ \\ , /\\ y \\V\"\\ ♦ o >A \\^ } ~--44 --o0 ♦♦ ]• ^ . y \\' \\*y Xs, y\\

/' \\ >ร' \\ f \\ \\ Z' \\ /» \\ /' *4 * y 4} f« y 4} V ♦ } {* y V }• { ♦ y < {« <v ♦ -1 ^ ♦I f ■». o 4 - iX ♦* ■**>? • i\" £/ \\ ,_ ' ๙' \\ ๙\\ ๙\\ ๙\\ i/ \\ ๙' (ฮงหูไวัหู อันเสาหินแปดศอกตอกเป็นหลัก ไปมาผลักปอยเข้าเสายังไหว จงฟ้งหไว้หคอยดไป เชื่อนำใจดีกว่าอย่าเชื่อยุ \"บ่ <0 'บ่ น^@c;fTtyncu อบ่าไว้ใจใคร จับให้มั่นคั้นหมายให้วายวอด ช่วยให้รอดรักให้ชิดพิสมัย ตัดให้ขาดปรารถนาหาสิ่งใด เพียรจงได้ตังประสงค์คงจะดี (^Uyjs'jT) อันรักษาศีลลัตย์กัดเวที รักษาใจ ย่อมเป็นที่สรรเสริญเจริญคน ทรลักษณ์อกตัญณุตาเขา ให้ทุกข์ร้อนงอนหง่อหรพล เทพเจ้าก็จะแช่งทุกแห่งหน พระเวทมนตร์เสื่อมคลายทำลายยศ ฯ \\^ J.♦\\^๙ » .f i- \\ ๙♦1 > ■} { •« ^ {. I i i ^ t ^ ^ ♦ -J. ^ 4 ^ \\\\ .1 « » y « -ft -i: น; it\" 'i.' vi' e^\\ ^\\ y\\ '■A ii'

■พ'' :/ A อบู่ที่ปาก เป็นมนุษย์สุดนิยมเพียงลมปาก จะได้ยากโหยหิวเพราะชิวหา แม้นาAjดดีมีคนเขาเมตตา จะ'คูตจาจงพิเคราะใง1ห้เหมาะความ (^isyys'^' เกิถเบนหณง เกิตเป็นหญิงให้เห็นว่าเป็นหญิง อย่าทอตทิ้งกิริยาอัชฌาสัย เป็นหญิงครึ่งชายครึ่งอย่าพีงใจ ใครเชาไม่สรรเสริญเมินอารมถ! แม้นผัวเดือดเจ้าจงดับระงับไว้ อย่าพอใจขึ้นเสียงเถียงประสม เชาเป็นไฟเราเป็นนํ้าค่อยพรำพรม แม้นระดมขึ้นทิ้งคู่จะวู่วาม ฯ 1

กนเบีบร คนรักดีรักงามได้หามจั่ว คนรักฃั่วไม่รักทรามต้องหามเสา คนฟิงครรัหลักหนักเป็นเบา คนโง่เขลาเบาเป็นหนักหักกำลัง คนมีเพียรเรียนตำราหาความรู้ จะเป็นผู้เบาใจเมื่อภายหลัง คนเกียจคร้านอ่านไม่ออกบอกไม่พีง เป็นจับกังหามเสาทั้งเข้าเย็น วาจามักบัอนคน ^ อย่ากล่าวคำหยาบข้าวาจาผลาญ นินทาท่านโดยแสร้งแกล้งให้ผล พจน์กันร้อนย่อมย้อนมาคืนตน ดุจคนสาดหยากเยื่อเหนือลมเอย SSTT^IUG^S'

^, โ:; \\ /f \\V' I I <f »i {♦ ^ »J. -f- ♦ ^ i \\..y y\\ เ^ \\ y\\ ความกรณาปราน อันว่าความกรุณาปรานี จะมืใครบังคับก็หาไม่ หลั่งมาเองเหมือนฝนอันซื่นใจ จากฟากฟ้าสุราลัยสู่แดนดิน อันมวลหมู่ต้นไม้ที่ในป่า ก็อย่างว่ามืนํ้าดินถิ่นอาคัย หากใร้ดินสินนํ้าตามพงไพร ไม่อยู่ไยใครจะยืดไห้อยู่ยืน เปรียบก็เหมือนมนุษย์ไซร้ไร้ศาสนา ไม่น่าพาหลักคิดจิตเฝืาแน คงเร่ร่อนเหลวแหลกแยกยั่งยืน คงกลํ้ากลืนความชั่วจนตัวตาย เป็นคนอย่าทำตน อม่าเหสิง น้อยใหญ่ก็ไจกาย ไห้เกินคนจนลืมอาย กำ เนิดคนแล้วกลคัน ยามรวยอย่าเหลิงฤทธี้ ถ้าพลาดผิดจักแปรผัน ยามยากสู้บากบั่น แม้นมิม้วยคงรวยเอย SfotySllt^ «5 \\ \\ >ร' {♦ รf - * <> »-}• '0 , </ \\

,\\v ;\\V' , , X V\", /\\ ^ < <f ♦ ]• < < <y » i {♦ ^ ♦ j- •{ ♦ ^\\ // \\ 1^ \\ ef 'i; '.€■ สอนเถ็ก อย่าเกียจคร้านการเรียนเร่งอุตส่าห์ มีวิชาเหมือนมีทรัพย์อยู่นับแสน จะตกถิ่นฐานใดคงไม่แคลน ถึงคับแค้นก็พอยังประทังตน อันความแกระจ่างแต่อย่างเดียว แต่ให้เชื่ยวชาญเถิดจะเกิดผล อาจจะซักเชิดซูฟูสกนธ์ ถึงคนจนพงศ์ไพร่คงไต้ดี เกิดเป็นชายชาวสยามตามวิสัย หนังสีอไทยก็ไม่รู้ดูบัดสี ถึงผู้ดีก็คงต้อยถอยตระกูล ต้องอับอายชายหน้าทั้งตาปี จะตํ่าเตี้ยเสียชื่อว่าโฉดช้า จะซักพายศลาภให้สาบสูญ ทั้งขายหน้าญาติวงศ์พงศ์ประยูร จะเพิ่มพูนติฉินคำนินทา หนึ่งหนังสีอหรีอตำรับฉน้บบท เป็นชองล้วนควรจดจำดีกษา บิดาปูสู้เสาะสะสมมา หวังให้บุตรนัดดาไต้รํ่าเรียน ปะบุตรโฉดตํ่าช้าก็พาเทียร จะไต้ทราบบาปบุญทั้งคุณโทษ ไม่สมหวังดังบิดาฟ้ตาเพียร เป็นจำเนียรแพลงพสัดกระจัดกระจาย •5*' 'ใ! Y< o > - \\ * o ♦ J* รั * •y, ,\"^. X ♦ ^ -i ^-4 ^ •'H V? รั ^ ^ j ช้ ♦ 'น -๕

รักดีจะเป็นดี รักถ แต่ดิบดีคง ก็กะนี้ประโยซน์ประสงค์ ผู้ดีและคนดี ขณะลักษณประจำ รู้ดีและทำดี ก็เพราะประหยัดประยำ ณ และดีจะมีเจริญ คาถาหบนเนบร อยากเป็นพระให้เรียนอด อยากเป็นนักพรตให้เรียนทำณาน อยากไปนิพพานให้ทำสมาธิ อยากเป็นนัณฑตให้นอนสี่ อยากเป็นเศรษฐีให้นอนหก อยากเป็นยาจกให้นอนแปด

ถนอมรักษาตัว เป็นคนควรสงวนวงศ!ห้จงหนัก ถนอมรักษาตัวเหมีอนหัวแหวน ถึงยากแค้นรักนวลสงวนกาย อย่าปนปิดให้เขาหลู่มาดูแคลน แต่ขนข้องอยู่เท่านั้นไม่หนีหาย จงดูเยี่ยงจามรีมีสัตย์มั่น ค่อยเปลื้องปลดเสียหมดราคีคาย ไม่เสียดายชีวาตม์จะขาดกระเด็น จงเสงี่ยมเจียมตน เวีบมถน ดอกไม้เมื่อครบถ้วน ว่าเป็นคนเขลาเบาปิญญา ย่อมบานเองเป็นธรรมดา เจริญทางวัตถุ ทางบองบเจริญ เจริญทางจิตใจ จะคุกรุ่นเป็นไฟ จะแจ่มใสสงบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook