อย่าเห็นแก่กาลยาว อย่าเห็นแก่กาลสั้น
ในอดีตกาล ดินแดนแห่งแคว้นกาสีและแคว้นโกศลนั้น มี พรมแดนติดตอ่ ถึงกัน แควน้ กาสีมีพาราณสีเป็นราชธานี พระราชา แห่งแคว้นน้ันทรงพระนาม “พรหมทัต” ส่วนแคว้นโกศลมีสาวัตถี เปน็ ราชธาน ี พระเจ้าโกศลทรงนาม “ฑฆี ตี ิ” เป็นผ้คู รอง พระเจ้าพรหมทัต มีพระประสงค์จะรวม ๒ แคว้นให้เป็น อาณาจักรเดียวกัน จึงทรงกรีธาทัพมาสู่ราชธานีแห่งแคว้นโกศล ทรงให้ราชทูตเชิญพระราชสารไปยังพระเจ้าฑีฆีติโกศล ใจความใน พระราชสารว่า บัดน้ี หม่อมฉันพรหมทัต จอมคนแห่งแคว้นกาสี ได้ยก กองทัพอันเป็นเกียรติยศย่ิง มาตั้งค่ายอยู่ ณ ชานพระนครสาวัตถี ดว้ ยประสงค์จะจ�ำเรญิ ทางพระราชไมตรกี บั กษตั ริย์แห่งแคว้นโกศล หมอ่ มฉนั รสู้ กึ มานานแลว้ วา่ แควน้ ทงั้ สองคอื กาสแี ละโกศลนนั้ ควร จะเปน็ ทองแผน่ เดยี วกนั หากพระองคท์ รงพจิ ารณาด้วยปญั ญาอนั ยง่ิ แลว้ วา่ กาสมี เี กยี รตยิ ศพอทพี่ ระองคจ์ ะทรงรบั ราชไมตรไี ด ้ กข็ อ ใหท้ รงจดั กองทพั ออกไปจ�ำเรญิ พระราชไมตรตี อ่ กนั หากเฉยอย ู่ ทาง กาสจี ะถอื วา่ แควน้ โกศลลบหลพู่ ระราชาแหง่ ชาวกาสที ง้ั ปวง ผลแหง่ การลบหลนู่ ั้น จะเป็นภยั แก่แคว้นโกศลอยา่ งมาก พระเจา้ ฑฆี ตี โิ กศลไดร้ บั พระราชสารแลว้ ทรงปรกึ ษาอ�ำมาตย์ ราชมนตรีท้ังปวง รวมท้ังเสนาบดีผู้ถือก�ำลังทหารด้วย ที่ประชุมมี ความเหน็ เปน็ สองฝา่ ย คอื หนง่ึ เหน็ วา่ ควรตอ่ สเู้ พอ่ื กเู้ กยี รตกิ ษตั รยิ ์
และฐานะของแคว้นอิสระไว้ ข้อความในพระราชสารพระเจ้าพรหม ทัตน้ัน ผู้สันทัดทางการเมือง ย่อมแปลความหมายออกว่า ทรง ตอ้ งการดินแดนแคว้นโกศลทั้งมวลไวอ้ ยใู่ นปกครองของพระองค์ อกี ฝา่ ยหนง่ึ กเ็ หน็ ดว้ ย ในเรอ่ื งการรกั ษาฐานะแหง่ กษตั รยิ ์ ของตนและกู้เกยี รตยิ ศแห่งแควน้ อิสระเชน่ โกศล แต่หว่ งอยใู่ นเรอ่ื ง ของก�ำลังพล เพราะโกศลเป็นเมืองสงบ ไม่เคยคิดรุกรานใคร จึง มิได้ปรนปรือทหารและช้างม้าไว้เพื่อสงคราม ที่มีอยู่บ้างฝีมือก็ล้า ลงเพราะขาดการฝึกฝน อน่ึงเล่า ก�ำลังพลคือทะแกล้วทหารของ โกศลกม็ นี อ้ ย ไมพ่ อตอ่ สกู้ องทพั อนั เกรยี งไกรของพระเจา้ พรหมทตั หาก จะสรู้ บกพ็ อทำ� ได ้ แตจ่ ะหวงั ชนะนนั้ ยาก ธรรมดาการรบ ยอ่ มตอ้ งการ ชัยชนะ เมื่อแน่ใจว่าต้องพ่ายแพ้แน่นอนจะรบท�ำไมให้เปลืองก�ำลัง พล เสยี ชวี ติ เลอื ดเนอ้ื ของราษฎร ยอมรบั เปน็ ประเทศราชของพระเจา้ พรหมทตั เสยี มดิ กี วา่ หรือ หลังจากประชุมปรึกษาหารือกันอยู่เป็นเวลานานแล้ว ที่ ประชุมถวายความเห็นว่า พระราชาและพระมเหสีซึ่งก�ำลังทรง ครรภ์แก่ ควรเสด็จหนีออกจากพระนครเสีย ส�ำหรับทางพระนคร น้ัน เสนาบดแี ละมขุ อำ� มาตยท์ ั้งหลายจะรับผิดชอบแทนพระองค์ พระเจา้ ฑฆี ตี โิ กศล ทรงเชอ่ื คำ� แนะนำ� ของทป่ี ระชมุ พระองค์ ทรงเตรียมการจะปลอมพระองค์ พร้อมด้วยพระมเหสีเสด็จหนีไป อยทู่ างปัจจนั ตเขตต์ 52 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ส้ั น
ราตรีนั้น ทั้งพระราชาและพระราชินีมิอาจบรรทมหลับได้ โดยเฉพาะพระราชินีนนั้ ทรงกรรแสงอย่ตู ลอดเวลา พระนางประสตู ิ มาเปน็ ขตั ตยิ นาร ี ทรงเปน็ อภุ โตสชุ าต เคยประทบั แตใ่ นรวั้ วงั ไมเ่ คย ตอ่ ความลำ� บากตรากตรำ� เมอื่ เปน็ เชน่ น ้ี กอ็ ดทจ่ี ะคดิ มากไมไ่ ดว้ า่ ทาง ขา้ งหนา้ จะเตม็ ไปดว้ ยขวากหนามทรุ กนั ดาร พระนางจะทรงมพี ระชนม์ ชพี อยไู่ ดอ้ ย่างไร ประหน่งึ มจั ฉาชาตเิ คยวา่ ยวนอยูใ่ นวารี เมื่อมเี หตุ ต้องเกลือกกลง้ิ อยู่บนบก ก็เปน็ เรือ่ งทรมาน พระราชาประทบั ลงบนพระยภี่ ู่ อนั พระราชนิ ที รงเกลอื กกลงิ้ ครวญอย ู่ ลบู พระปฤษฎางคข์ องพระนางเบาๆ พลางปลอบประโลม “นิ่งเสียเถิดน้อง การร้องไห้ไม่มีประโยชน์อะไร ไม่ท�ำให้ พระเจ้าพรหมทัตยกทัพกลับไปได้ เราคิดหาทางแก้ไขทางอ่ืนเถอะ อยา่ เอาแตร่ อ้ งไหเ้ ลย เวลานน้ี อ้ งกำ� ลงั มคี รรภแ์ ก ่ ขอใหเ้ หน็ แกล่ กู ” “มนั อยากรอ้ งไหค้ ะ่ ” พระนางทลู พระสวาม ี “อยากรอ้ งไห้ ค่ะ รอ้ งไห้เพอื่ ประชาชนชาวโกศลและแคว้นโกศล” พระเจ้าฑีฆีติโกศลนิ่ง พระองค์ทรงตรองอย่างลึกซึ้งว่า พระองคท์ รงเปน็ จอมคนในแผน่ ดนิ มหี นา้ ทตี่ อ้ งปกปอ้ งประชาราษฎร์ เมือ่ มีภัยมาสแู่ ควน้ พระองค์ไดร้ ับสว่ ยจากราษฎรทกุ ๆ ปี เขาเหล่า น้ันยกย่องพระองค์ไว้ในต�ำแหน่งสมมติเทพ เพื่อปกป้องเขาให้พ้น จากการเบยี ดเบยี นของศตั รภู ายนอก และเพอ่ื บ�ำบดั ทกุ ขอ์ นั จกั เกดิ 53อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
ขนึ้ ภายในพระราชอาณาเขต เมอื่ มภี ยั มา ถงึ พระองคไ์ มอ่ าจปกปอ้ ง เขาได ้ สมควรแลว้ ทพี่ ระองคจ์ ะสละบลั ลงั ก ์ โดยไมต่ อ้ งหวนกลบั มา อกี เลย คนเราเมอ่ื รตู้ วั วา่ ไมม่ คี วามสามารถในหนา้ ท ่ี กไ็ มค่ วรเหนยี่ ว รง้ั เอาหนา้ ทนี่ น้ั ไวส้ ำ� หรบั ตน เพราะเปน็ การกดี กนั คนผสู้ ามารถ ทำ� ให้ งานหยดุ ชะงกั ไมก่ ้าวหนา้ ไปเทา่ ทค่ี วร “เรามกี ำ� ลงั นอ้ ย” พระเจา้ โกศลตรสั พระเนตรจอ้ งฝาผนงั นง่ิ “นำ้� นอ้ ยยอ่ มแพไ้ ฟเปน็ ธรรมดา อนง่ึ ผมู้ ปี ญั ญาไมค่ วรคดิ หาญ สู้ส่ิงท่ีแน่นอนว่าไม่มีทางจะสู้ได้ น้องอย่านึกว่าเราเป็นคนขลาด แตเ่ ราเกรงจะนำ� ราษฎรไปตายเสยี เปลา่ เหมอื นปลอ่ ยแมลงเมา่ เขา้ กองไฟ มีแตค่ วามพินาศจะเกิดขน้ึ ทั้งพระราชาและราชินีปลอมพระองค์เป็นชาวชนบทเสด็จ หนอี อกจากพระราชวงั ในคนื วนั หนงึ่ ไปอาศยั อย ู่ ณ บา้ นชา่ งหมอ้ ใน เขตแควน้ กาส ี ชา่ งหมอ้ สองสามภี รรยาตอ้ นรบั พระราชาและพระราชนิ ี อย่างดีย่ิง เขามิได้รู้ว่าผู้ที่มาอาศัยอยู่นั้นเคยเป็นจอมคนแห่งโกศล รัฐ แตเ่ ขากร็ ูส้ กึ เหมอื นกันวา่ อาคันตุกะทงั้ สอง มอี ะไรหลายอย่าง ที่ไมเ่ หมือนคนสามญั อย่างทเ่ี ขาเคยเห็นมา ณ บ้านช่างหม้ออันตั้งอยู่แนวป่าเขตแคว้นกาสีน้ัน พระ ราชินีทรงรู้สึกว่าอากาศดี ปลอดโปร่งร่มร่ืน พระนางมีความสบาย อกี แบบหนง่ึ ตา่ งจากในพระราชวงั หลวง สงิ่ ทพี่ ระนางทรงด�ำรวิ า่ จะตอ้ ง ล�ำบากนัน้ เมอ่ื ทรงคนุ้ เขา้ ก็เป็นความสบาย 54 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ส้ั น
ท�ำนองเดียวกับคนส่วนใหญ่ ที่ชอบคิดชอบวาดภาพแห่ง ความล�ำบากยากเขญ็ เมอ่ื จะมกี ารเปลยี่ นแปลงจากสภาพหนง่ึ ไปสู่ อีกสภาพหนึ่ง เขาคิดว่าเขาจะอยู่ไม่ได้ เขาลืมคิดไปว่า คนท่ีอยู่ใน สภาพนน้ั เขาอยกู่ นั ไดอ้ ยา่ งไร ท�ำไมเขาจงึ อยไู่ ด-้ ความเคยชนิ -ความ เคยชนิ นน่ั เอง ท�ำใหม้ นษุ ยแ์ ละสตั วท์ ง้ั หลายอยไู่ ด ้ ในทกุ สภาพทตี่ น จ�ำเป็นจะต้องอยู่ “เคยแลว้ สบาย” ค�ำนท้ี รงความจรงิ ไว้ไดท้ กุ กาล ทุกสมัย และแกค่ นทกุ คน แกส่ ง่ิ มชี วี ติ ทกุ จ�ำพวก ท�ำไมมนษุ ยจ์ งึ ไมค่ อ่ ยพอใจ ในสภาพท่ตี นอยู่ เบื่อหนา่ ย ระอิดระอา แต่พอจะเปล่ียนแปลงไปสู่ สภาพใหม่ก็กลัวความล�ำบาก ความช่างคิดช่างกลัวของเขาน่ันเอง ท�ำใหเ้ ขามคี วามทกุ ขก์ งั วลไมร่ จู้ กั จบสน้ิ เขาลมื นกึ ไปวา่ มนษุ ยแ์ ละ สตั วท์ ง้ั หลายอยไู่ ดใ้ นทกุ ฐานะ ขอใหเ้ คยเสยี อยา่ งเดยี วเทา่ นน้ั ท�ำไม เด็กขาหกั ตาพิการ แขนขาดจงึ ยังยมิ้ แย้มแจ่มใสอยู่ได ้ ท�ำไมจงึ ไม่ ทกุ ขท์ นหม่นไหม้จนตายไป “ทอ่ี ยา่ งนล้ี กู ของเราจะตอ้ งแขง็ แรง มอี นามยั ด”ี วนั หนง่ึ พระราชาตรสั กบั พระราชนิ ี เมอื่ ประทบั อยดู่ ว้ ยกนั ทเี่ นนิ เตย้ี ๆ แหง่ หนงึ่ “ถา้ ลกู มอี นามยั ด ี หมอ่ มฉนั กม็ คี วามสขุ เพคะ” พระราชนิ ที ลู “ความรกั ของเราสองมารวมอยทู่ ลี่ กู ” พระราชาทรงเปรย 55อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
“เราจะใหล้ กู ศกึ ษาเลา่ เรยี นอยา่ งไรเพคะ เมอื่ เราตอ้ งหลบ ซอ่ นอยูอ่ ยา่ งน?้ี ” พระราชนิ ีทลู มแี ววแหง่ ความวิตกกงั วล “ไม่ยากเลย” พระราชาตรัส “เมื่อเติบโตพอสมควร เราก็ สง่ ไปสำ� นกั ตกั กสลิ า สง่ ไปอยา่ งเดก็ ทย่ี ากจน แกมโี อกาสอยใู่ กลช้ ดิ อาจารย ์ และมกั เรียนดกี ว่าเด็กทเี่ สยี เงินให้อาจารย์” “ลูกพระราชาต้องไปเรียนอย่างเด็กอนาถาหรือเพคะ? น่า สลดใจเหลือเกิน หม่อมฉันอาจทนไมไ่ ด”้ “เวลานเ้ี ราไมไ่ ดเ้ ปน็ พระราชาแลว้ เราเปน็ คนธรรมดาและ เปน็ คนธรรมดาที่ยากจน อยใู่ นสภาพทนี่ ้องกร็ ดู้ ีอยแู่ ล้ว” “หมอ่ มฉนั พยายามใหล้ มื ความสะดวกสบายในพระราชฐาน พยายามปลูกความพอใจในสภาพใหม่ แต่มีน้อยครั้งเหลือเกินท่ีจะ สำ� เรจ็ ได ้ เมอื่ จะทำ� อะไร กอ็ ดนกึ ไมไ่ ดว้ า่ เคยมคี นทำ� ให ้ การระลกึ ถงึ อดีตเรือ่ งนยี้ งั ทรมานใจหม่อมฉันอยู่” พระราชนิ ที ูล “พยายามลมื พยายามลืมอดีตอนั สะดวกสบาย!!” เรือ่ งน้ี สตรีลืมได้ยากมาก ถ้าเคยสบายมาแล้ว เธอจะระลึกถึงแต่ความ สบายนนั้ ความทกุ ขน์ น้ั สตรลี มื ไดง้ า่ ยกวา่ ความสขุ เธอจะไดร้ บั ความ ทกุ ขท์ รมานมาปานใดกต็ าม พอไดร้ บั ความสขุ ในระยะหลงั เธอกล็ มื 56 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล สั้ น
ความทกุ ขอ์ นั นน้ั สว่ นชายมกั จดจำ� ความทกุ ขม์ ากกวา่ ความสขุ ทเี่ คย ไดร้ บั เพศชายจงึ มกั เลา่ แตเ่ รอื่ งความลำ� บากทเ่ี คยผา่ นมา สว่ นเพศ หญิงชอบเล่าแต่เร่ืองความสุขที่เคยได้รับ เธอชอบความโอ่อ่า หรู และความสขุ กระจกุ กระจกิ ทมี่ คี นคอยพะเนา้ พนอเอาใจ สว่ นเพศชาย นั้นชอบสนใจในความสุขท่ีคนอื่นยกย่องให้เกียรติว่าเป็นคนส�ำคัญ มคี วามสามารถสงู เปน็ วีรชนอัจฉริยมนษุ ย์ อะไรทำ� นองน้ี “เร่ืองเหล่าน้ีต้องอาศัยเวลา” พระราชาทรงปลอบ “อีก หนอ่ ย นอ้ งกล็ มื ไปเอง ความคนุ้ กบั ปา่ เขา เมอ่ื เขา้ เมอื งกเ็ กดิ ความ รำ� คาญ” แสงแดดอ่อนสายัณห์ส่องต้องผิวกาย ขับให้พระฉวีของ พระราชนิ ดี เู ปลง่ ปลงั่ นวล และสดใส ลมพดั มาเบาๆ เคลา้ ดว้ ยเสยี ง นกเลก็ ๆ ลานหญา้ ขจพี รรณ ณ เบอ้ื งหนา้ อนั ธรรมชาตสิ รรไว ้ มอง ดชู นื่ ตา สง่ิ เหลา่ นลี้ ว้ นอำ� นวยความสขุ แกม่ นษุ ยผ์ แู้ สวงหาวเิ วก และ พอใจในวเิ วกนน้ั “เมื่อไหร่จะครบก�ำหนดคลอด” พระราชาตรัสถามเพ่ง พระเนตรมาจับอยู่ที่พระพักตร์แห่งราชินี, พระนางเธอหลบสาย พระเนตรลงต�ำ่ มีพระอาการขวยเลก็ นอ้ ย “หมอ่ มฉนั คดิ วา่ คงไมเ่ กนิ เดอื นหนา้ ” ทลู ตอบทงั้ พระเนตร ยงั มองดูพ้นื หญา้ อยู่ 57อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
“ขอให้เป็นชายเถอะนะ จะได้ไม่ต้องเป็นห่วงมาก” พระ ราชาตรสั “หมอ่ มฉนั ขอใหเ้ ขาเปน็ คนด ี จะเปน็ หญงิ หรอื ชายกไ็ มว่ า่ ” “ขอใหเ้ ขาเปน็ คนด”ี เปน็ ความปรารถนาสงู สดุ ของมารดา บดิ าทีต่ ้องการเหน็ ลกู เปน็ คนดี มีศลี ธรรมอยใู่ นโอวาท ไมป่ ระพฤติ นอกลู่นอกรอยแห่งจารีตอันดีงาม เป็นความปล้ืมใจอย่างสูงสุด ของพ่อแม่ที่ได้ฟังกิตติศัพท์ว่าลูกของตนเป็นคนดี การประพฤติ ตนเปน็ คนดนี นั้ เปน็ การตอบแทนคณุ ของพอ่ แมอ่ ยา่ งหนง่ึ ซงึ่ ลกู ทุกคนไมค่ วรลมื คนอน่ื ๆ ไดย้ ินกิตตศิ พั ท์คุณความดขี องเราอาจ มีบ้างที่มีจิตริษยา แล้วหาทางทับถมขุดคุ้ยเอาเรื่องอันจริงบ้าง ไมจ่ รงิ บา้ งมาเกลย่ี กลบคณุ ความดนี น้ั แตค่ วามรสู้ กึ เชน่ นจี้ ะไมม่ ี ในมารดาบดิ าเลยเป็นอนั ขาด ขอใหล้ กู ๆ แน่ใจในเร่ืองน้ี ทางฝา่ ยพระเจา้ พรหมทตั เมอื่ ครองแควน้ โกศลไดอ้ กี แควน้ หนึ่งแล้ว ก็ส่งคนเที่ยวตามหาพระเจ้าฑีฆีติ ด้วยเกรงพระทัยว่า พระเจ้าฑีฆตี โิ กศลจะซ่องสมุ ผ้คู นมาตีเมอื งคนื ในภายหลัง พระองค์ ทรงประกาศวา่ หากใครจบั พระเจา้ โกศลได ้ หรอื เพยี งแตท่ ราบทอี่ ยู่ แลว้ ทลู ใหท้ ราบ จะทรงประทานรางวลั อยา่ งงาม และทองเทา่ ลกู ฟกั พระเจ้าพรหมทตั ประทับอยู่ ณ สาวัตถรี าชธานขี องแคว้นโกศลตอ่ มาอกี นาน พระองคย์ งั ไมม่ หี มายกำ� หนดการวา่ จะเสดจ็ กลบั พาราณสี เม่อื ใด 58 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล สั้ น
เปน็ ธรรมดาทเี่ มอ่ื มนี ายคนใหมม่ าครอง ราษฎรทยี่ งั จงรกั ภักดีต่อพระราชาองค์เก่า ก็กระด้างกระเด่ืองบ้าง ไม่ยอมเสียส่วย ภาษีตามก�ำหนดบ้าง แข็งขืนต่อเจ้าหน้าที่บ้านเมืองบ้าง พระเจ้า พรหมทัตรับสั่งให้ประหารชีวิตเสียเลยก็มาก ประการหน่ึง เพราะ ทรงถอื วา่ มใิ ชร่ าษฎรของพระองค ์ อกี ประการหนงึ่ เพอื่ แสดงใหเ้ หน็ ความเดด็ ขาด ไม่ให้ราษฎรคนอื่นถอื เปน็ เย่ยี งอยา่ ง มอี ยรู่ ะยะหนงึ่ พระราชนิ ที รงแพพ้ ระครรภ ์ อยากเสวยนำ้� ลา้ ง พระแสงดาบของพระเจา้ พรหมทตั อยากทอดพระเนตรจาตรุ งคนิ เี สนา คือทัพชา้ ง ทัพมา้ ทัพรถและทัพพลเดินเท้าของพระเจ้าพรหมทัต อาการแพ้ท้องน้ัน เป็นความอยากอย่างรุนแรง ยากท่ีจะ หกั หา้ มได ้ มกั เกดิ แกส่ ตรที กุ คน แตกตา่ งกนั ในความปรารถนา บาง คนอยากกนิ ดนิ บางคนอยากกนิ ขเ้ี ถา้ บางคนอยากสบู บหุ รแ่ี ละกนิ เหลา้ ทงั้ ๆ ทโี่ ดยปกตติ นไมเ่ คยมคี วามตอ้ งการเลย เมอ่ื อยใู่ นอาการ แพท้ อ้ งเช่นน ้ี สามีและญาตมิ กั ตามใจแสวงหาส่ิงที่ต้องการ พระราชินีไดท้ ูลเรอื่ งนแ้ี กพ่ ระเจา้ โกศล “อยากไดน้ ้�ำลา้ งพระแสงดาบของคนอน่ื ไม่อยาก อยากได้ เสวยน�้ำล้างพระแสงดาบของพระเจ้าพรหมทัตเสียด้วย” พระราชา ตรสั “ไมเ่ พยี งแตอ่ ยา่ งเดยี ว ยงั อยากจะดกู องทพั ของเขาอกี พไ่ี มร่ ู้ จะไปเอามาไดอ้ ย่างไร และจะจดั กองทพั อยา่ งไร” 59อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
“หม่อมฉันไม่ได้บังคับหรือขอร้องให้พระองค์จัดให้” พระราชินีทูล “หม่อมฉันเพียงแต่เล่าอาการแพ้ท้องให้ทรงทราบ เท่าน้ัน อยู่ด้วยกันเพียงสองคนเท่าน้ี ถ้าไม่เล่าให้พระองค์ฟัง ก็ไม่ ทราบจะเล่ากบั ใคร” “ไม่ทราบจะเล่ากับใคร” ความรู้สึกอันน้ีเป็นความอึดอัด คบั แคน้ อยา่ งยง่ิ ประการหนง่ึ ของมนษุ ย ์ หากมเี รอื่ งคบั อกใดๆ แลว้ ไมม่ ที รี่ ะบาย ไมม่ บี คุ คลซง่ึ เปน็ ทไี่ วใ้ จวา่ จะระบายความรสู้ กึ อนั นน้ั ได้ เขาจะรสู้ กึ อดึ อดั รำ� คาญฟงุ้ ซา่ น แตเ่ มอื่ ไดร้ ะบายเสยี แลว้ ความหนกั กเ็ ปน็ เบา ไมเ่ พยี งแตค่ วามทกุ ข ์ ความผดิ หวงั ดอก แมค้ วามสขุ ความ สมหวังก็ท�ำนองเดียวกัน เม่ือเกิดขึ้นแล้วมนุษย์เราก็อยากจะบอก เล่าให้ใครสักคนหนึ่งฟัง เขาไม่จ�ำเป็นจะต้องแก้ปัญหานั้นได้ เพียง แตย่ ินดรี บั ฟังเท่าน้นั กม็ สี ว่ นช่วยผเู้ ลา่ ได้มาก พระราชาทรงวติ กกงั วลอยา่ งมาก ทรงดำ� รอิ ยเู่ กอื บตลอด เวลาว่า จะได้สิ่งที่พระราชินีทรงประสงค์มาได้อย่างไร พระราชินีก็ ซูบซีดลงตามวันเวลาท่ีล่วงไป เพราะพระอาการแพ้พระครรภ์น้ัน เป็นต้นเหตุ พระนางทรงเห็นพระทัยพระสวามีเหมือนกันว่า สิ่งท่ี พระนางทรงประสงคน์ น้ั เปน็ สง่ิ ยากทจี่ ะสนองได ้ แตค่ วามกระวนกระวาย อันเกิดจากความอยากน้ัน คอยรบกวนพระทัยให้ดิ้นรนเร่าร้อนอยู่ เสมอ พระนางเสวยไม่ได้ บรรทมไมห่ ลบั 60 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ส้ั น
เมอ่ื เปน็ ดงั น ี้ กส็ ดุ ทพี่ ระราชาจะทรงทนดอู กี ตอ่ ไป จงึ เสดจ็ เล็ดรอดเข้าไปในเมืองสาวัตถี ไปหาพราหมณ์ปุโรหิตผู้เคยถวาย อรรถศาสตรแ์ กพ่ ระองค ์ พระองคท์ รงทราบดวี า่ ตำ� แหนง่ พราหมณ์ ปุโรหิตผู้ถวายอรรถศาสตร์น้ันเป็นต�ำแหน่งถาวร แม้จะเปลี่ยน พระราชาแล้ว เปลยี่ นเสนาบดีแล้ว แต่ตำ� แหนง่ นกี้ ไ็ มเ่ ปลี่ยนแปลง พราหมณ์ปุโรหิตเห็นแล้วจ�ำได้ และเป็นคนที่มีกตัญญู จึงต้อนรับพระราชาด้วยอาการอันดี ถวายคารวะอันควรแก่ฐานะ พระราชาผู้ไร้บัลลังก์ทรงปลื้มพระทัย ท่ีได้เห็นพราหมณ์ปุโรหิตมี นำ�้ ใจเชน่ นนั้ การแสดงความเออ้ื เฟอ้ื แกผ่ ตู้ กทกุ ขไ์ ดย้ ากนน้ั เปน็ สง่ิ มคี ณุ คา่ อยา่ งยงิ่ เหมอื นราดรดอทุ กลงสพู่ น้ื ดนิ อนั แหง้ ผาก พน้ื ดนิ น้ันยอ่ มพลันดูดซมึ เอาไว้ทง้ั หมด การเอือ้ เฟื้อแกค่ นที่ม่ังคั่งพรง่ั พรอ้ มอยแู่ ลว้ เขาไมค่ อ่ ยจะเหน็ ความเออ้ื เฟอ้ื นนั้ เปน็ สง่ิ สำ� คญั เหมอื น รดวารลี งไปในพน้ื ดนิ อนั เจงิ่ นองดว้ ยนำ�้ มแี ตจ่ ะหลากลน้ ไปสทู่ อ่ี นื่ พราหมณ์ปุโรหิตแสดงความเสียใจต่อพระราชา ที่ต้อง นิราศบัลลังก์ และพร�่ำถึงพระคุณซ่ีงพระราชาได้ชุบเลี้ยงให้ม ี ความสุขสบายมาเป็นเวลานานปี พร้อมท้ังบุตรและภรรยา เขามี คุณธรรมสูงพอที่จะระลึกถึงพระคุณของผู้มีคุณได้ การคบกับคนมี คุณธรรมน้ัน มีความปลอดภัยและน�ำความสุขใจมาให้เสมอ เขา กราบทลู พระราชาวา่ มสี ง่ิ ใดทเ่ี ขาพอจะชว่ ยเหลอื ไดก้ จ็ ะยนิ ดที ำ� ทกุ อยา่ ง 61อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
มาถึงจุดท่ีพระราชาทรงประสงค์ พระองค์จึงได้เล่าเรื่อง ทง้ั ปวงใหพ้ ราหมณ์ปุโรหติ ทราบ แล้วตรัสว่า “ขา้ พเจา้ อยากจะปรกึ ษาอาจารยว์ า่ จะทำ� อยา่ งไรด ี อยากจะ ขอปญั ญาอาจารยเ์ ป็นที่พึ่งสกั ครั้งหนง่ึ ” พราหมณ์ปุโรหิต ผู้อันพระราชาทรงเรียกว่า “อาจารย์” นนั้ เมอื่ ทราบแลว้ กท็ รงหนกั ใจอย ู่ เขามอี าการตรองนงิ่ อยเู่ ปน็ นาน ในทส่ี ุดจึงกราบทลู วา่ “ข้าพระพุทธเจ้าจะพยายามช่วยเร่ืองนี้ให้สมพระประสงค์ แต่ขอเวลาสักเล็กน้อย เป็นเร่ืองใหญ่อยู่เหมือนกัน ไว้ข้ึน ๑๔ ค�่ำ ขอพระองค์เสด็จมาฟังใหมอ่ ีกครั้งหนึ่ง ข้าพระพุทธเจา้ จะพยายาม สนองคณุ พระราชนิ จี นสุดความสามารถ” ความจริงพราหมณ์ปโุ รหิตผถู้ วายอรรถศาสตร์แกพ่ ระเจา้ โกศลนนั้ วา่ โดยฐานะกเ็ ปน็ ทงั้ อาจารยแ์ ละเปน็ ทงั้ สหายอนั เปน็ ทร่ี กั เขาทงั้ สองตา่ งมคี วามเคารพนับถือในฐานะของกนั และกัน เมอ่ื พระเจา้ ฑฆี ตี เิ สดจ็ กลบั แลว้ วนั รงุ่ ขนึ้ พราหมณป์ โุ รหติ จึงเข้าเฝ้าพระเจ้าพรหมทัต พระราชาองค์ใหม่ทรงทักทายปราศรัย อย่างดี พระองค์ทรงทราบเหมอื นกันว่า ต�ำแหนง่ ปุโรหติ นนั้ ไม่เป็น ภยั กบั ใคร 62 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล สั้ น
“อาจารย์มาแต่เช้า มีธุระอะไรหรือ? แต่ท�ำไมดูอาจารย์มี สหี น้าเศร้าหมองไป?” พระราชาตรัส “เทวะ” ปุโรหิตทูล “เมื่อคนื น้ีขา้ พระพุทธเจา้ ฝนั ไป” “ฝันเรอื่ งอะไร อาจารย์ เก่ียวกบั ขา้ พเจ้าหรือเปล่า?” “เกีย่ ว พระเจา้ ขา้ ” “ไหนลองเลา่ ไปซ ิ ดหี รอื รา้ ยประการใด” พระเจา้ พรหมทตั ตรสั อย่างเร็ว “ข้าพระพุทธเจ้าฝันไปว่า พระแสงดาบของพระองค์ลุก โพลงเป็นไฟ มรี ศั มีสรี งุ้ งามระยับ พระเจา้ ขา้ ” “แลว้ อยา่ งไรอีก?” “ครู่หนึ่งผ่านไป พระแสงดาบน้ันก็กลิ้งลงไปแช่อยู่ในน�้ำ และไฟกไ็ ม่ดบั พระเจา้ ขา้ ” พระเจา้ พรหมทตั ตะลงึ ตอ่ ความฝนั นนั้ ประทบั นง่ิ อยคู่ รหู่ นง่ึ แลว้ ตรัสว่า “เอ จะมีเหตุดีร้ายประการใดนะอาจารย”์ 63อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
“ขา้ พระพทุ ธเจา้ คดิ วา่ ตามลกั ษณะความฝนั เปน็ นมิ ติ รดี สำ� หรับพระองค ์ พระเจา้ ข้าฯ” พระราชาทรงย้มิ “ดีอย่างไรนะ ทา่ นอาจารย”์ “การที่พระแสงดาบลุกเป็นไฟนั้น เป็นการแสดงกฤษฎา ภนิ หิ ารแหง่ พระองค ์ และทว่ี า่ พระแสงดาบกลงิ้ ลงไปในนำ�้ แลว้ ไมด่ บั น้ัน พระองค์จะได้บุรุษผู้มีความสามารถมาใช้ในราชการในโอกาส ตอ่ ไป พระเจา้ ขา้ ฯ” “เออ อย่างน้ีค่อยเข้าทีหน่อย” พระราชาตรัสอย่างพอ พระทัย “แตข่ า้ พระองคม์ าคดิ ดว้ ยเกลา้ วา่ ” พราหมณป์ โุ รหติ กราบทลู ต่อไป “ต้ังแต่พระองค์ปราบดาภิเษกเสวยราชย์ในแคว้นโกศลนี้ มี ขา้ ราชการจำ� นวนมากมายทงั้ ใหมแ่ ละเกา่ ผรู้ บั ราชการสนองพระเดช พระคณุ ยงั มไิ ดเ้ ขา้ พธิ ดี มื่ น�้ำพพิ ฒั นส์ ตั ยา คอื การใหส้ ตั ยส์ าบานวา่ จะจงรักภกั ดีต่อเบ้อื งยุคลบาทพระเจา้ ขา้ ” “เร่ืองนี้ส�ำคัญเหมือนกัน” พระราชาตรัส “ข้าพเจ้ามัวยุ่ง เรื่องอ่ืนจนลืมนกึ ไป” “สำ� คญั มาก พระพทุ ธเจา้ ขา้ ฯ” ปโุ รหติ ทลู “คนจำ� นวนมากๆ 64 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล สั้ น
ยากที่จะรู้ว่าคนไหนซื่อสัตย์สุจริต หรือไม่ซ่ือสัตย์ ในการท�ำพิธี แชง่ นำ�้ นน้ั ตอ้ งนำ� พระแสงดาบของพระองคล์ งในภาชนะอนั มลี กั ษณะ เปน็ พานใหญ ่ เพอ่ื เปน็ ทเี่ กรงขามของปวงขา้ ราชบรพิ าร หากใครไม่ ซือ่ สตั ยส์ ุจริต ก็ใหค้ ดิ เกรงพระแสงดาบอาญาสิทธ์ินั้น แล้วแจกน�้ำ ในพานใหญน่ ้ัน ให้ด่มื โดยทั่วกนั ” “เข้าทีอาจารย์ ข้าพเจ้าจะสั่งให้เตรียมการนี้เร็วท่ีสุด” พระราชาตรสั “มีอีกประการหน่ึงพระเจ้าข้า” ปุโรหิตทูล “คือตั้งแต่ พระองคค์ รองราชยใ์ นแควน้ โกศลแลว้ ราษฎรชาวโกศลยงั ไมไ่ ดเ้ ห็น ความสงา่ งามแหง่ พระองคอ์ ยา่ งใกลช้ ดิ แทจ้ รงิ ในระหวา่ งทปี่ ระทบั อยใู่ นทา่ มกลางจตรุ งคนิ เี สนาเลย แสนยานภุ าพแหง่ กองทพั พระเจา้ พรหมทตั นนั้ เปน็ ทเี่ ลอื่ งลอื ไปทวั่ ชมพทู วปี แตช่ าวโกศลยงั มไิ ดท้ ศั นา อย่างเต็มตา วันท่ีพระองค์เดินทัพเข้าสู่สาวัตถีนั้น ประชาชนส่วน ใหญต่ กใจกลวั จงึ พากนั หลบหน ี ไมก่ ลา้ อยชู่ ม ขา้ พระพทุ ธเจา้ เหน็ วา่ ถงึ เวลาอนั สมควรแลว้ ทพี่ ระองคจ์ ะจดั ใหม้ กี ารสวนสนามของกอง ทพั ทงั้ ๔ เหลา่ และพระองคท์ รงตรวจพลดว้ ยพระองคเ์ อง ทรงผกู สอดเครอื่ งรบอยา่ งครบครนั คมั ภรี โ์ บราณยอ่ มวา่ กษตั รยิ ส์ งา่ งาม เมื่อผกู สอดเครื่องรบและอย่ใู นทา่ มกลางจาตุรงคนิ เี สนา” “เห็นด้วย-ท่านอาจารย์! ข้าพเจ้าจะให้เตรียมการเร่ืองนี้ โดยเร็ว” พระเจา้ พรหมทัตตรัส 65อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
ถงึ วนั ขนึ้ ๑๔ คำ่� พระเจา้ ฑฆี ตี โิ กศลกเ็ ลด็ ลอดมาหาพราหมณ์ ปุโรหิต-พระสหาย พระองค์ได้ทราบว่าสิ่งที่พระองค์ประสงค์น้ัน ส�ำเร็จไปแล้วทุกประการโดยปัญญาของปุโรหิต พระองค์ทรงปลื้ม พระทยั เขา้ สวมกอดปโุ รหติ โดยมไิ ดน้ กึ วา่ ครง้ั หนงึ่ พระองคเ์ คยทรง เป็นพระราชาของเขา พระองค์ได้น�้ำแช่พระแสงดาบของพระเจ้า พรหมทตั ไปใหพ้ ระราชนิ สี มประสงค ์ ยงั เหลอื อกี เพยี งประการเดยี ว คือการดูกองทัพของพระเจ้าพรหมทัตสวนสนาม ส�ำหรับเร่ืองน้ี พราหมณ์ปุโรหิตได้นัดแนะวันเวลาและสถานที่ส�ำหรับพระราชินี ไว้ เรยี บร้อยหมดแล้ว พระเจ้าฑีฆีติโกศลเสด็จกลับไปแล้ว น�ำน�้ำไปให้พระราชินี พระนางทรงดพี ระทยั เหลอื ลน้ เมอ่ื ดม่ื แลว้ อาการแพพ้ ระอทุ รกร็ ะงบั ลงสว่ นหนงึ่ ทรงมอี าการแชม่ ชน่ื ขนึ้ เหมอื นตน้ ขา้ วทขี่ าดนำ�้ มาเปน็ เวลานานไดพ้ ระพริ ณุ หลง่ั ใหผ้ นื นาเจงิ่ นอง ตน้ ขา้ วนน้ั กฟ็ น้ื จากอาการ ซบเซา ฝา่ ยพราหมณป์ โุ รหติ กม็ คี วามปลาบปลม้ื อยา่ งเหลอื ลน้ ท ี่ ได้ช่วยให้ความประสงค์ของพระราชาและพระราชินีส�ำเร็จลุล่วงไป ด้วยดี แลในการช่วยน้ันเขามิได้เบียดเบียนให้พระเจ้าพรหมทัต ต้องทรงเดือดร้อนแต่ประการใด ยังจะอ�ำนวยประโยชน์แก่พระเจ้า พรหมทัตเสียอีก รวมความว่าได้ประโยชน์ด้วยกันท้ังสองฝ่าย เขา ประจักษ์ดีว่า ความกตัญญูท่ีไม่มีกตเวทีน้ัน เป็นส่ิงไร้ประโยชน์แก่ บุพการี พูดให้เข้าใจง่ายกว่าน้ีก็ว่า ความส�ำนึกคุณอย่างเดียว โดย 66 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ส้ั น
ไม่มีการตอบแทนคุณบ้างนั้น ผู้ท�ำอุปการะก่อนไม่ได้รับประโยชน์ อะไรเลย ถึงวันเวลาที่พระเจ้าพรหมทัตจะทรงตรวจพลสวนสนาม พราหมณ์ปุโรหิตได้ทราบหมายก�ำหนดการหมดแล้ว จึงแจ้งแก ่ พระราชาฑีฆีติโกศล ใหน้ �ำพระราชินมี าแอบซ่อนอย่ ู ณ ท่แี หง่ หนงึ่ ซึง่ กองทพั ทัง้ สีจ่ ะตอ้ งเดนิ ผา่ น ทุกสิ่งทุกอย่างเปน็ ไปโดยเรียบรอ้ ย ข้อเสนอแนะของพราหมณ์ปุโรหิตเป็นที่พอพระทัยของพระเจ้า พรหมทัตเป็นนักหนา เพราะเป็นการเสริมพระบารมีแห่งพระองค์ อยา่ งไมเ่ คยมมี ากอ่ น ตง้ั แตพ่ ระองคท์ รงครองแควน้ ทง้ั สองมา การ ทำ� อะไรดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ และประกอบดว้ ยปญั ญานนั้ มกั อำ� นวย ประโยชนแ์ ก่ผทู้ ำ� และผรู้ ับเสมอ อาการแพ้พระอทุ รของพระราชินรี ะงบั ลงโดยส้ินเชิง ทรง มีพระอาการผ่องใสข้ึนทุกๆ วัน จนถึงก�ำหนดทศมาสก็ประสูต ิ พระราชโอรส งดงามสมลักษณะแห่งขัตติยราชกุมาร เป็นที่พอ พระทัยของพระชนกชนนีเป็นนักหนา ทรงบ�ำรุงเล้ียงอย่างดีท่ีสุด เท่าท่ีจะทรงท�ำได้ พระราชกุมารทรงมีพลานามัยสมบูรณ์ ได้รับ ขนานพระนามวา่ “ฑฆี าวุ” (ฑฆี าวุ = ฑฆี ายุ ผ้มู อี ายยุ นื ฯลฯ) เวลาลว่ งมาอกี ๑๖ ป ี หลังจากพระราชกมุ ารประสตู แิ ลว้ แปลวา่ บดั น ้ี ฑฆี าวพุ ระชนมายไุ ด ้ ๑๖ พรรษา พระชนกชนนกี ท็ รง ปรกึ ษากนั ที่จะส่งพระโอรสไปศกึ ษา ณ ส�ำนักอาจารยท์ ศิ าปาโมกข์ 67อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
เมืองตักกสิลา ข่าวเรื่องพระเจ้าพรหมทัตทรงประกาศจับพระเจ้า โกศลนน้ั ยงั มไิ ดเ้ พกิ ถอน พระเจา้ โกศลเองกท็ รงทราบเรอ่ื งนด้ี ี พระองค์ ทรงหว่นั วิตกอยเู่ สมอวา่ อาจถูกจับท้งั หมดคือ พอ่ แม ่ และลกู “เราควรส่งลูกเราไปอยู่เสียในที่ห่างไกล” พระราชาทรง ปรารภในเย็นวนั หน่ึง “หากเราท้ังสองถกู จับ กย็ งั เหลอื ลูกอยู่” “เหตุผลท่ีจะทรงส่งลูกไปเรียนมีเท่าน้ีหรือ?” พระราชิน ี ทลู ถาม “นี่เป็นเหตุผลประการหน่ึง” พระราชาตอบ “อีกประการ หนงึ่ คอื ลกู เราเปน็ ชาย ธรรมดาชายควรจะมคี วามรเู้ ปน็ เครอ่ื งประดบั กายจงึ จะงาม และควรอยหู่ า่ งพอ่ แมบ่ า้ ง เมอื่ ถงึ เวลาอนั ควร มฉิ ะนน้ั แล้วต่อไปภายหน้า เมื่อหาบิดามารดาไม่แล้ว จะปกครองตัวเอง ไมไ่ ด้” “หมอ่ มฉนั ไมอ่ ยากใหเ้ ขาจากไปเลย” พระราชนิ ที ลู “อยาก ใหเ้ ขาอย่ใู กล้ๆ ตลอดชวี ติ มันเป็นความอบอนุ่ เปน็ ความสขุ ” “พอ่ แมท่ กุ คนมคี วามรสู้ กึ อยา่ งนที้ ง้ั นน้ั แตต่ อ้ งตดั ใจ-ตดั ใจ เพือ่ อนาคตของลูก เพอ่ื ลกู จะได้มโี อกาสสร้างชวี ติ ของตนเอง-ด้วย ล�ำแข้งล�ำขาของตนเอง พ่อแม่ทุกคนรักลูก อยากให้ลูกอยู่ใกล้ ตลอดชีวิต แต่เม่ือจ�ำเป็นก็ต้องยอมให้พรากจากไป เขาจากไป 68 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ส้ั น
เพื่อความดีมิใช่ไปเพ่ือความร้าย หรือความล้มเหลว อนาคตนั้น เราสร้างให้ลูกได้เหมือนกัน แต่สร้างได้เพียงเล็กน้อยหรือเพียง แนะแนวเท่าน้ัน ส่วนใหญ่เขาต้องท�ำเอาเอง การให้เขาจากไป ช่ัวคราว ท�ำให้เขามีประสบการณ์ในชีวิต ให้เขาได้มีโอกาสเทียบ เคยี งระหวา่ งการอยกู่ บั พอ่ แมก่ บั การอยกู่ บั ผอู้ น่ื บางทอี าจทำ� ให้ เขาระลึกถึงพระคุณของพ่อแม่มากขึ้น รู้จักคุณค่าแห่งความรัก ของพ่อแม่มากขนึ้ ” หนึ่งวันก่อนวันจาก ท้ังพระชนกและพระชนนีได้ช่วยกัน สงั่ สอนฑีฆาว ุ มขี ้อความสำ� คญั บางตอนดงั น้ี:- “ลูกรัก ต้ังแต่น้อยจนบัดน้ี ๑๖ ปีแล้ว เจ้ายังไม่เคยจาก พอ่ และแมเ่ ลย เรา ๓ คน พอ่ แม ่ และลกู มคี วามผกู พนั เปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั มคี วามรสู้ กึ เหมอื นชวี ติ เดยี วกนั แตบ่ ดั นม้ี คี วามจำ� เปน็ ทเ่ี จา้ ตอ้ งจากไปเพอื่ ศกึ ษาหาความร ู้ อนั เปน็ อาภรณป์ ระดบั กายของ บรุ ษุ พอ่ และแมม่ คี วามร้สู ึกเหมอื นเจ้านำ� ดวงใจของเราไปดว้ ย แต่ พอ่ แมท่ ด่ี ี ต้องยอมทนทกุ ขท์ รมานทงั้ ทางกายและทางใจเพอ่ื ลกู ได้ ในการจากไปอยไู่ กลครงั้ น ้ี ขอใหเ้ จา้ จ�ำคำ� ของพอ่ และแมไ่ ว้ บา้ ง เปน็ ทางดำ� เนนิ ชวี ติ เพอ่ื ลกู จะไดส้ มาคมดว้ ยคนอนื่ ได ้ ไมว่ า้ เหว่ เหงาหงอยจนเกนิ ไป ไมเ่ ปน็ ทรี่ งั เกยี จของเพอ่ื นรว่ มส�ำนกั ขอ้ ความ ทเี่ จ้าควรจำ� ใส่ใจมีดังนี้ :- 69อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
๑. จงเอาใจใส่ต่อผู้อื่น และรักเพ่ือนฝูงท่ีดี อย่าหมกมุ่น คิดแต่เร่ืองของตัวฝ่ายเดียว ถ้าเราต้องการให้คนอื่นเขาเอาใจใส่ต่อ เรา เราจะตอ้ งเอาใจใสส่ นใจผอู้ นื่ สนใจในงานของเขา สนใจในชวี ติ ของเขา แสดงความชอบพอเขาอยา่ งแทจ้ รงิ การผกู มติ รกบั ผอู้ นื่ จะ ส�ำเร็จเรียบร้อยในระยะเวลารวดเร็ว หากเราเอาใจใส่ต่อเขาอย่าง แทจ้ รงิ แตถ่ า้ ผกู มติ รโดยวธิ ใี หเ้ ขาเอาใจใสต่ อ่ เรานน้ั นานเทา่ นานก็ ไมค่ อ่ ยสำ� เรจ็ ทงั้ นเ้ี พราะมนษุ ยส์ ว่ นใหญอ่ ยากใหค้ นอนื่ เอาใจใสส่ นใจ ตน มากกวา่ ที่ตนจะเอาใจใสแ่ ละสนใจผู้อืน่ ๒. จงอย่าแสดงกิริยา วาจาใดๆ อันจักท�ำให้ผู้อ่ืนรู้สึกว่า เขาดอ้ ยความสำ� คญั ลง หรอื ไมม่ คี วามสำ� คญั เลย มนษุ ยท์ กุ คนกระหาย ใคร่ได้รับความยกย่องว่าเป็นคนส�ำคัญ ไม่ด้านใดก็ด้านหนึ่ง ดังน้ัน ลกู จงปฏบิ ตั กิ ารใหค้ ลอ้ ยตามความรสู้ กึ ของมนษุ ยท์ วั่ ไปในเรอื่ งน ี้ เมอ่ื ลกู ยกยอ่ งชมเชยเขาดว้ ยความจรงิ ใจ ใหค้ วามสำ� คญั แกเ่ ขา เขากจ็ ะ เหน็ ลกู เปน็ คนสำ� คญั ทค่ี วรเอาใจใสเ่ ชน่ เดยี วกนั หลกั ความจรงิ มอี ยู่ ว่าคนทุกคน หรืออย่างน้อยแทบทุกคนมีความส�ำคัญอยู่อย่างน้อย ก็อย่างหนึ่ง แม้พระราชาเองก็ไม่ได้เก่งไปกว่าคนอ่ืนๆในทุกๆ ด้าน การใหค้ วามส�ำคญั แกผ่ อู้ น่ื ในทางทเี่ หมาะสม จงึ เหมอื นน้�ำพใุ นทะเล ทราย ใหค้ วามชมุ่ ชน่ื แกผ่ กู้ ระหายใครด่ ื่ม ๓. จงยิ้มแย้มแจ่มใสต่อเพ่ือนฝูง และบุคคลที่ลูกต้อง สมาคมดว้ ย การยม้ิ ทำ� ใหผ้ อู้ น่ื รสู้ กึ วา่ เราชอบเขา นอกจากนย้ี งั ทำ� ให้ 70 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล สั้ น
จติ ใจของเราชน่ื บานอกี ดว้ ย เปน็ การใหค้ วามสขุ ทง้ั แกต่ วั เราเองและ ผอู้ ื่น ๔. เมื่ออยู่ในส�ำนักอาจารย์ ใหเ้ อาใจใส่ต่อท่าน ช่วยเหลือ ท่าน ปฏบิ ตั ิท่านให้มีความสุข การที่ต้องเสยี เวลาไปในการปฏิบตั ิ อาจารยน์ นั้ ยอ่ มไดผ้ ลตอบแทนมาเกนิ กวา่ เวลาทเี่ สยี ไปเสมอ อยา่ นึกว่าเป็นการเสียเวลาเปล่า ศิษย์ที่อาจารย์รักเหมือนได้รับพร จากสวรรค์ มีความสุขความเจริญ และเรียนเก่ง มีความส�ำเร็จ รวดเร็วเพราะกุศลทปี่ ฏบิ ตั บิ �ำรุงอาจารย์เป็นแรงหนนุ อกี ดว้ ย ๕. หากมีความผิดพลาดอันใดจงรีบสารภาพผิด อย่า ดื้อรั้นดันทุรัง การไม่ยอมรับผิดเป็นเรื่องของคนขลาด ส่วนการ ยอมรับผิดเมื่อได้ท�ำผิดเป็นเรื่องของคนกล้าหาญ การสารภาพผิด ทำ� ให้อีกฝา่ ยหนึ่งมีเมตตากรณุ า และมีใจกวา้ งตอ่ เรา อยากใหอ้ ภัย ในความผดิ พลาด วสิ ยั มนษุ ยน์ นั้ อยากใหค้ นอน่ื เหน็ ตนเปน็ คนสำ� คญั การทเี่ รายอมสารภาพผดิ เปน็ การใหค้ วามสำ� คญั แกเ่ ขา ทำ� ใหเ้ ขามี จิตใจอ่อนโยนต่อเราได้ง่าย ๖. เปน็ ขอ้ สดุ ทา้ ย ขอใหล้ กู อยา่ เหน็ แกก่ าลยาว อยา่ เหน็ แก่กาลสั้น เวรย่อมไม่ระงับด้วยการจองเวร แต่เวรย่อมระงับด้วย การไมจ่ องเวร 71อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
คำ� ว่าอยา่ เหน็ แก่กาลยาวน้ัน พ่อมีความหมายว่า เมอ่ื ใคร ท�ำให้เจ็บช�้ำน�้ำใจ ท�ำให้โกรธแค้นขุ่นเคืองก็อย่าผูกเวร อย่าผูก พยาบาทตอ่ ผนู้ นั้ ถา้ มเี รอื่ งโกรธแคน้ ซง่ึ เปน็ เรอ่ื งธรรมดาของจิตใจ กจ็ งรบี กำ� จดั ความโกรธนน้ั เสยี อยา่ โกรธนาน อยา่ ผกู เวร ผกู พยาบาท ตอ่ ใครนานๆ เพราะเปน็ เรอ่ื งทำ� ใหจ้ ติ ใจเราเศรา้ หมอง เดอื ดรอ้ นเอง มากกว่า ค�ำว่า อย่าเห็นแก่กาลสั้นน้ัน พ่อหมายความว่า อย่ารีบ ดว่ นแตกจากมติ ร หากมเี รอ่ื งไมเ่ ขา้ ใจอะไรกนั จงรบี ปรบั ความเขา้ ใจ กนั เสยี โดยการรจู้ กั ผอ่ นสน้ั ผอ่ นยาว ผอ่ นหนกั ผอ่ นเบา อยา่ รบี ดว่ น แตกจากมิตร เพื่อนฝูงน้ันหายาก สนิทสนมกันยาก เม่ือรักใคร่ สนิทสนมกันแล้ว จงประคับประคองมิตรภาพไว้ให้ดี มีมิตรดีแล้ว จงดตี อ่ มติ ร ใหส้ มคณุ คา่ แหง่ มติ รนน้ั มติ รสหายทด่ี เี ปน็ เกราะปอ้ งกนั ภัยท้ังปวง เม่ือมีเรื่องเข้าใจผิดกันเพราะเหตุใดก็ตาม จงยับย้ังชั่ง ตรองให้ดี สอบสวนเรื่องราวให้ดี อย่าหูเบา อย่ารีบด่วนแตกจาก มิตร ใหค้ ดิ เสยี นานๆ หลายรอบ เงยี บกนั ไปครูห่ น่ึง พระราชนิ จี ึงมพี ระเสาวนยี ์วา่ ลูกรัก มีข้อความท่ีแม่จะส่ังลูกประการหน่ึง คือ กว่าลูก จะเรียนส�ำเร็จก็อาจจะถึงอายุ ๒๑ ปี ในระหว่างน้ัน ลูกอาจคบหา 72 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ส้ั น
สมาคมดว้ ยสตรคี นใดคนหนงึ่ ตามธรรมดาของคนหนมุ่ ซงึ่ มกั ไมพ่ น้ เรอ่ื งหญงิ สาว หากลกู มคี วามจ�ำเปน็ ตอ้ งเกย่ี วขอ้ ง จะเพราะลกู ชอบ เขา เขาชอบลูกก็ตาม หรือจะเพราะความจ�ำเป็นในหน้าท่ีท่ีจะต้อง เก่ียวข้องกันก็ตาม ขอให้ลูกมีความซ่ือตรงสุจริต อย่าได้คิดเอารัด เอาเปรียบสุภาพสตร ี อยา่ ไดค้ ดิ ท�ำลายสุภาพสตรีด้วยความคะนอง แห่งวัยหนุ่ม หากไม่จริงจังกับเขา ก็จงเว้นการเกี่ยวข้องกับเขาใน แงเ่ สนห่ า อยา่ พดู วา่ “รกั ” เมอ่ื มไิ ดร้ กั จรงิ อยา่ ทำ� ใหส้ ตรเี ขา้ ใจผดิ หลงรักตัว โดยที่ถือตัวเธอเป็นเพียงเครื่องเล่น เป็นการท�ำลายท้ัง ร่างกายและจิตใจเธอ เป็นบาป ผลแหง่ บาปนั้นมันก่อความย่งุ ยาก ให้เกิดขึ้นภายหลัง หากลูกจะได้รับความเจ็บช้�ำน�้ำใจเพราะสตรีคน ใดคนหนง่ึ กอ่ ให ้ กอ็ ยา่ ถอื เปน็ สาเหตเุ ทย่ี วทำ� ลายสตรที วั่ บา้ นทวั่ เมอื ง เมอื่ มโี อกาสขอใหร้ ะลกึ วา่ สตรมี ไิ ดเ้ หมอื นกนั ทกุ คน ทชี่ วั่ กม็ ที ดี่ กี ม็ าก เรอื่ งของคนไหนกเ็ ป็นเรอื่ งของคนนัน้ อยา่ น�ำเอาความไมด่ ีของคน หน่ึงมาเปน็ เหต ุ แลว้ ท�ำลายความดขี องอกี คนหนง่ึ ถ้าลูกบอกว่ารักสตรีคนใด ก็ขอให้รักหล่อนจริง รักด้วย จติ ใจ มใิ ชเ่ พยี งอารมณ ์ และถนอมความรกั ใหย้ ง่ั ยนื นาน ดว้ ยความ อดกลัน้ และใหอ้ ภัยในความผิดพลาดบกพรอ่ งเลก็ ๆ น้อยๆ ฑีฆาวุได้น้อมรับโอวาทของชนกชนนีด้วยคารวะอย่างสูง และปฏิญาณกับท่านว่า จะยึดเป็นแนวทางด�ำเนินตลอดชีวิต จะ พยายามปฏิบัติตามโอวาทของท่านทัง้ สองตลอดไป 73อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
อกี ๔ ปตี อ่ มา มพี รานปา่ ชาวเมอื งพาราณสคี นหนงึ่ เทย่ี ว หาของปา่ มาพบพระเจา้ ฑฆี ตี โิ กศลและพระราชนิ ี เวลานน้ั กาลเวลา ได้ล่วงเลยมา จากการนิราศบัลลังก์ของพระเจ้าโกศลถึง ๒๐ ปี แล้ว แต่การประกาศจับตัวพระเจ้าโกศลของพระเจ้าพรหมทตั ยังไม่ ระงับ พรานป่าต้องการรางวัลน�ำจับ จึงกลับมากราบทูลพระเจ้า พรหมทัต พระเจ้าพรหมทัตจึงทรงส่งทหารไปจับตัวพระเจ้าโกศล และพระราชินีมาผูกติดรถเทียมม้าด้วยเชือกเส้นใหญ่ ให้ทั้งสอง พระองค์เดินตาม เมื่อม้าวิ่งก็ต้องวิ่งตาม เมื่อวิ่งตามไม่ทันก็ล้มลุก คลกุ คลาน ถูกม้าลากถูลูถ่ ูกังไป น่าสงสารย่งิ นัก เมื่อมาถึงเมืองพาราณสีแล้ว พระเจ้าพรหมทัตรับส่ังให้ ปลงพระเกศาของทงั้ ๒ พระองคอ์ อกเสยี ครง่ึ หนงึ่ แลว้ ใหน้ ำ� ตระเวน นำ้� ๗ วนั ตระเวนบก ๗ วนั เพ่ือประจานใหอ้ บั อายยง่ิ ขนึ้ แลว้ น�ำ ไปประหารชีวติ วนั นน้ั เอง ฑฆี าวกุ มุ าร พระราชโอรสของพระเจา้ ฑฆี ตี โิ กศล ได้เสด็จกลับจากเมืองตักกสิลา มาถึงหมู่บ้านช่างหม้อท่ีพระชนก ชนนีเคยประทับอยู่ ทราบจากคนท่ีนั่นว่า พระชนกชนนีถูกทหาร พระเจ้าพรหมทัตจับไปแล้ว โดยการนำ� จบั ของพรานปา่ จงึ รีบตาม มาท่เี มอื งพาราณส ี มาถงึ สถานทฆ่ี า่ เขาเหน็ ฝงู ชนกำ� ลงั แวดลอ้ มอยู่ เปน็ หมใู่ หญ ่ จึงแหวกฝูงชนเข้าไป เวลานั้นเพชฌฆาตก�ำลังเตรียม การลงดาบ ความตื่นเต้นตกใจผสมด้วยความรักมารดาบิดา ท�ำให้ 74 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล สั้ น
เขาเกอื บวง่ิ เขา้ ไปกอดเทา้ ของทา่ นทงั้ สองแลว้ ยอมตายดว้ ย แตค่ วาม เฉลยี วฉลาด ซงึ่ มปี ระจำ� ตวั และความรอบคอบ ทำ� ใหเ้ ขายงั้ คดิ วา่ จะ มีประโยชน์อะไรในการท�ำเช่นนั้น เขายืนลังเลหล่ังน้�ำตาอยู่ ในท่ีไม่ ไกลจากสมเด็จพระราชบดิ าและพระราชมารดาเท่าใดนกั พระเจา้ ฑฆี ตี โิ กศล เหลยี วมาเหน็ ฑฆี าว ุ โอรสของพระองค์ เขา้ เกรงวา่ พระราชโอรสจกั กระทำ� อะไรอนั ไมเ่ หมาะสม จงึ ทรงเตอื น ดว้ ยพระโอวาทเกา่ ว่า “ลูกเอย อย่าเห็นแก่กาลยาว อย่าเห็นแก่กาลสั้น เวร ยอ่ มไมร่ ะงบั ดว้ ยการจองเวร แตเ่ วรยอ่ มระงบั ดว้ ยการไมจ่ องเวร” พระเจ้าโกศลตรัสพระโอวาทนถี้ ึง ๓ ครงั้ พวกเพชฌฆาต และประชาชนเขา้ ใจวา่ พระองคท์ รงเพ้อเพราะไมอ่ าจครองพระสตไิ ด้ จึงมิได้ใส่ใจต่อพระด�ำรัส อนึ่งในสมาคมน้ันไม่มีใครรู้จักฑีฆาวุเลย ฑฆี าวุจึงยนื ดเู พชฌฆาตลงดาบพระชนกชนนี ด้วยหัวใจท่ีสน่ั ระริก พระบรมศพของท้ังสองพระองค์ มิได้เผาและมิได้ฝัง คงทง้ิ ใหเ้ ปน็ เหยอ่ื ของฝงู สตั ว ์ เปน็ ตน้ วา่ แรง้ และกาหรอื สนุ ขั ความ มงุ่ หมายของพระเจา้ พรหมทตั กค็ อื ตอ้ งการประจาน แตท่ รงใหท้ หาร เฝา้ ไวใ้ นระยะไกล 75อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
ตกกลางคืน ฑีฆาวุกุมารท�ำทีเป็นเตร่มา ณ ที่นั้น ท�ำที เป็นเมาสุราด้วยความเบิกบานใจท่ีพระเจ้าโกศลส้ินพระชนม์เสียได้ แล้วมอมสุราทหารท่ีเฝ้าศพจนเมามายขาดสติหลับไป ฑีฆาวุจึงรีบ เก็บใบไม้แห้งหญ้าแห้งและฟืนเท่าที่จะหาได้ในบริเวณนั้นได้เป็น กองใหญ่ แล้วเผาพระบรมศพของพระชนกชนนี ประมาณ ๓ นาฬกิ าของวนั ใหม ่ พระเจา้ พรหมทตั ทรงตน่ื บรรทม ทอดพระเนตรผา่ นชอ่ งพระแกลเหน็ ควนั ไฟพวยพงุ่ ขน้ึ ทรง สนั นษิ ฐานวา่ คงเปน็ ไฟจากทป่ี ระหารชวี ติ พระเจา้ โกศล จงึ ใหร้ าชบรุ ษุ ๓-๔ คนรบี ไปดวู า่ เกดิ เหตอุ ะไรขน้ึ เมอื่ ราชบรุ ษุ ไปถงึ นนั้ พระบรมศพ ได้มอดไหม้ไปหมดแล้ว ฑีฆาวุเห็นคนถือคบเพลิงมาแต่ไกล จึงรีบ หนีออกจากทนี่ ่นั เขาได้ไปอาศัยอยู่กับนายกองช้างของพระเจ้าพรหมทัต เพราะเหตุท่ีเขามีการศึกษาดีและมีนิสัยดี จึงเป็นที่รักใคร่พอใจของ นายกองชา้ งโดยเรว็ วนั การศกึ ษาดแี ละนสิ ยั ด ี ๒ อยา่ งน ี้ มคี วามหมายตอ่ ชวี ติ มาก คนท่ีมีคุณสมบัติท้ัง ๒ ประการน้ี เป็นผู้ที่มีขุมทรัพย์อัน ประเสรฐิ อยู่ในตน ยากท่จี ะหาขุมทรัพย์ใดเสมอเหมือน และเปน็ พรอนั ประเสรฐิ ทบ่ี คุ คลผนู้ น้ั อวยใหแ้ กต่ นเอง ทง้ั นเี้ พราะความจรงิ มีอยู่ว่า คนท่ีมีการศึกษาดีนั้น มิใช่จะมีนิสัยดีเสมอไป และคนท่ีมี 76 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล สั้ น
นสิ ยั ดกี ม็ ิใชจ่ ะไดร้ ับการศึกษามาดที กุ คนไป การศกึ ษาเลา่ เรยี นเปน็ เรอ่ื งของโอกาส สมองและทนุ สว่ นนิสยั ดนี ้นั เกดิ จากการฝกึ อบรม ด้วยตนเองบ้าง ทางสถาบันและครอบครัวช่วยเหลือบ้าง มีอยู ่ ไม่น้อยท่ีคนมีการศึกษาดี แต่นิสัยเลวเต็มทน เข้าท่ีไหนบ่อนแตก ที่น่ัน เขาเอาแต่ใจตัว มีความเห็นฟุ่มเฟือย พูดจาก้าวร้าว เห็นแก่ ตวั เหยยี ดหยามผอู้ นื่ ซงึ่ มไิ ดศ้ กึ ษาเสมอตวั หรอื มไิ ดม้ าจากสถาบนั เดยี วกบั ตวั เมอื่ พนื้ เพแหง่ นสิ ยั เปน็ มาดงั นแี้ ลว้ บวกดว้ ยความเมาตน และเสพสุรามึนเมาอยู่เป็นประจ�ำด้วยแล้ว ถ้าเขามองดูตัวเองด้วย ความเป็นธรรมเสียสักนิดหน่ึง เขาคงเกลียดตัวเองจนอยากฆ่าตัว ตาย หรอื มฉิ ะนน้ั กค็ งแขยงตวั เองเปน็ ทสี่ ดุ แตบ่ คุ คลประเภทนก้ี ม็ กั ไมม่ องตัวเองโดยยตุ ิธรรม เขาแลเหน็ ตวั เขาเองเลศิ ลอยอยู่เสมอ ในทางตรงกันข้ามก็เช่นเดียวกัน มีคนอยู่ไม่น้อยที่มีการ ศึกษาไม่มากนัก แต่มีอัธยาศัยดีงาม พูดจาไพเราะ ให้ก�ำลังใจแก ่ ผอู้ น่ื มคี วามสขุ เมอื่ เหน็ ผอู้ นื่ ไดด้ ี มโี ชควาสนา รจู้ กั เคารพบชู าคนที่ ควรเคารพบชู า มคี วามเจยี มตวั เจยี มใจ รวมลกั ษณะทง้ั ปวงเปน็ คน น่าคบ การศึกษาช่วยได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ส�ำหรับการท่ีจะเป็น คนดีหรือเลว ซ่ือสัตย์หรอื คดโกง ทรยศหรือภักดี การฝกึ ฝนอบรม และการปลกู ฝงั ตา่ งหากเลา่ ทท่ี ำ� ใหเ้ ปน็ เชน่ นนั้ ในการน ้ี การฝกึ ฝน อบรมตนเองเปน็ ส่ิงสำ� คัญทีส่ ดุ 77อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
หนุ่มน้อยฑีฆาวุเป็นที่โปรดปรานของนายกองช้างเพ่ิมขึ้น ทกุ วนั เพราะความออ่ นนอ้ มถอ่ มตน ๑ ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ ๑ ความ ช่างเอาใจคน ๑ การรู้ความประสงค์ของผู้อ่ืนแล้วพยายามสนอง ความประสงค ์ ๑ เหล่าน้ีลว้ นเปน็ คณุ สมบตั ิให้ผอู้ ยใู่ กล้ชดิ รักใคร่ เมอื่ วา่ งตอนกลางคนื ฑฆี าวกุ ด็ ดี พณิ เลน่ เพลนิ ๆ เสยี งเพลง พณิ แวว่ ถงึ พระเจา้ พรหมทตั ทรงฉงนวา่ ใครหนอดดี พณิ ไพเราะจบั ใจ เพลงพณิ ท�ำนอง ลลี าในการดดี เปน็ ลกั ษณะสงู เยย่ี ม เพลงนน้ั แวว่ มาจากบา้ นของนายกองชา้ ง รบั สงั่ ใหน้ ายกองชา้ งเขา้ เฝา้ ทรงทราบวา่ ผูด้ ีดพณิ คอื หนุ่มนอ้ ยจากบ้านนอกมาขออาศัยอยูแ่ ละชว่ ยเล้ยี งช้าง พระเจ้าพรหมทัตให้นายกองช้างน�ำฑีฆาวุเข้าเฝ้าตรัสถาม ว่า เขาเรียนการดีดพิณมาจากไหน ฑีฆาวุทูลตอบว่า เรียนมาจาก บิดาซ่ึงเป็นครูสอนดนตรี และได้ล่วงลับไปแล้ว ค�ำว่า “บิดา” เขา นกึ หมายถงึ อาจารยท์ ศิ าปาโมกขเ์ มอื งตกั กสลิ า ซงึ่ เขาเคารพนบั ถอื เปน็ บดิ าคนท ่ี ๒ ของตน มไิ ดเ้ จตนาลบหลพู่ ระคณุ ของครอู าจารยเ์ ลย พระเจ้าพรหมทัตขอให้ฑีฆาวุอยู่เสียในวัง เป็นมหาดเล็ก ของพระองค์ ฑีฆาวุมองนายกองช้างเป็นเชิงปรึกษา เมื่อเห็นนาย กองช้างไม่ขัดข้อง ฑีฆาวุก็กราบทูลตกลง เป็นความมุ่งหมายของ เขาอยู่แล้ว ที่จะมาอยู่ใกล้ชิดพระเจ้าพรหมทัต เพื่อแก้แค้นแทน พระราชบิดา การบรรเลงพณิ ของเขากด็ ้วยจุดประสงค์อนั น้ี 78 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล สั้ น
เม่ือเข้าอยู่ในวังหลวงแล้ว ฑีฆาวุก็เป็นที่โปรดปรานของ พระเจ้าพรหมทัตเป็นนักหนา พระเจ้าพรหมทัตนั้นทรงโปรดดนตรี และโปรดการทรงมา้ เปน็ อยา่ งยงิ่ ฑฆี าวมุ คี วามชำ� นาญทงั้ ๒ อยา่ ง สามารถให้ความเบิกบานพระทัยแก่พระเจ้าพรหมทัตตามพระราช ประสงค ์ ดงั นน้ั จึงโปรดให้ฑีฆาวุเป็นราชวลั ลภ อยูร่ ับใชใ้ กล้ชดิ ย่ิง กว่าผู้อ่ืน เข้าออกในราชสำ� นักได้เสมอด้วยพระราชโอรสธิดา หรือ พระราชภาคิไนย (หลาน) พระเจา้ พรหมทตั มไิ ดท้ รงเฉลยี วพระทยั แมแ้ ตน่ อ้ ยวา่ ฑฆี าวุ นน้ั ทแี่ ทค้ อื พระราชโอรสของพระเจา้ ฑฆี ตี โิ กศล จงึ หลงโปรดปราน อยา่ งมาก พระราชเทวีก็เชน่ เดียวกนั วนั หนงึ่ พระเจา้ พรหมทตั มพี ระราชประสงคจ์ ะเสดจ็ ประพาส ป่า รับส่ังให้ราชวัลลภฑีฆาวุจัดเตรียมราชรถเทียมด้วยม้าและให ้ ขา้ ราชบรพิ ารตามเสดจ็ เพยี งเลก็ นอ้ ย ส�ำหรบั รถพระทนี่ ง่ั นนั้ ทรงให้ ฑฆี าวุเป็นผูข้ บั เหตุการณ์ครั้งนี้ฑีฆาวุคิดวนเวียนอยู่เป็นอันมากว่าเวลา แห่งการแก้แค้นมาถึงแล้ว หรือจะคอยโอกาสต่อไปอีก ธรรมดา บุคคลผู้มีความตั้งใจแน่วแน่ในส่ิงใด หากไม่ล้มเลิกเสียกลางคัน โอกาสจะตอ้ งเปดิ ใหอ้ ยา่ งแนน่ อน ฑฆี าวคุ ดิ ตอ่ ไปวา่ โอกาสเชน่ นหี้ า ได้ยากนัก เขาจึงวางแผนปลงพระชนม์พระเจ้าพรหมทัตไว้แต่ในใจ อนง่ึ เล่า ความเช่ือในฝมี อื ของตนกม็ ีอยอู่ ยา่ งหนกั แนน่ 79อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
เวลาทคี่ อยไดม้ าถงึ ขบวนเสดจ็ ออกแตเ่ ชา้ เมอ่ื แสงอาทติ ย์ ยังไม่แรงกล้า ฑีฆาวุได้ขับรถพระที่น่ังน�ำขบวนชมป่าเป็นท่ีร่ืนเริง พระราชหฤทัย ในระหว่างน้ัน เขาหาช่องทางอยู่ตลอดเวลาท่ีจะน�ำ รถพระที่นั่งลดเลี้ยวไปในทางเปล่ียว เมื่อมาถึงเชิงเขาลูกหน่ึง เขา ไดข้ บั รถพระทน่ี ง่ั วนเวยี นจนขา้ ราชบรพิ าร ไมอ่ าจตามใหท้ นั ได ้ ขณะ ลับเหล่ียมเขาแห่งหน่ึง ฑีฆาวุกระตุกม้าอย่างแรงพร้อมด้วยลงแส้ มา้ กระโจนอยา่ งเรว็ รถเลย้ี วเขา้ ไปในปา่ ลกึ หา่ งไกลจากขา้ ราชบรพิ าร ซง่ึ ตามเสด็จเปน็ อันมาก พระเจ้าพรหมทัตสะดุ้งพระทัย เห็นเป็นผิดสังเกตจึงตรัส ถามวา่ “ฑีฆาว!ุ เธอท�ำอะไรนี่ ฑีฆาว!ุ ” “เพอื่ ความสำ� ราญพระราชหฤทยั พระเจา้ ขา้ ” ฑฆี าวเุ หลยี ว มาทลู ตอบนดิ หนึ่ง และขับรถตอ่ ไป “มนั มากเกนิ ไปแลว้ นะ ฑฆี าว”ุ พระเจา้ พรหมทตั ทรงทกั ทว้ ง “พระราชาผู้ทรงเกียรติและกล้าหาญ ต้องเสด็จประพาส ป่าและทรงกีฬาท่ีโลดโผนอย่างนี้พระเจ้าข้า เป็นเรื่องสนุกสนานท่ี หาไดย้ าก” ฑีฆาวุทลู ตอบโดยมิได้เหลียวหนา้ มาเลย 80 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล สั้ น
ขัตติยมานะเกิดขึ้นแก่พระเจ้าพรหมทัต จึงทรงเงียบเสีย มิได้ตรัสอะไรอีก มาถงึ บรเิ วณแหง่ หนง่ึ ฑฆี าวเุ หน็ วา่ เปน็ ทเี่ หมาะจงึ ไดจ้ อด รถพระท่ีนั่ง พระเจ้าพรหมทัตนั้นทรงพระชรามากแล้วจึงทรง เหนด็ เหนอ่ื ย เพราะความกระทบกระเทอื น หนมุ่ ฑฆี าวไุ ดอ้ มุ้ พระองค์ ลงจากรถพระท่ีน่ัง พระราชาตรัสวา่ “ฑีฆาว ุ ฉันเหน่ือยเหลอื เกนิ ” “ทรงพักผอ่ นเสยี หน่อยเถิด พระเจา้ ข้า” ฑีฆาวทุ ลู “ปา่ น้ี รน่ื รมยย์ ง่ิ นกั มพี รรณไมห้ ลายหลากอนั ควรชม เสยี งนกรอ้ งเสนาะ โสตร อนั พระองค์จะหาฟงั ไม่ได้ในราชสำ� นัก หา่ งออกไปทางโน้นไม่ ไกล” พลางชม้ี ือ “มลี �ำธารใสสะอาดอทุ กธาราไหลเอ่อื ยอยตู่ ลอดปี มีปปุ ผชาตกิ ลน่ิ หอมตลบขึน้ อยู่เรยี งราย นา่ อภิรมยย์ งิ่ ” “ท�ำไมเธอรู้เร่ืองราวของป่านี้มาก ฑีฆาวุ” พระราชาตรัส ถาม ฉงนพระทยั “ข้าพระองค์เคยมาเที่ยวเสมอ พระเจ้าข้า เมื่ออยู่บ้าน นายกองช้าง” 81อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
พระราชามีพระอาการรบั ทราบ “แต่บัดนี้พระองค์ทรงเหน็ดเหนื่อยมาก บรรทมพักผ่อน เสยี กอ่ นเถดิ เมอื่ ทรงมกี ำ� ลงั ดแี ลว้ ขา้ พระองคจ์ ะนำ� เสดจ็ ชมธรรมชาติ อนั สวยงามนัน้ ” ด้วยความเหน็ดเหน่ือยพระวรกาย พระราชาจึงมิได้กังวล ถงึ ขา้ ราชบรพิ ารทต่ี ามเสดจ็ ทรงใชต้ กั ของฑฆี าวแุ ทนพระเขนย วาง พระแสงดาบไวใ้ กลพ้ ระองค ์ ลมในอรญั ญประเทศโชยเบาๆ หอบเอา กล่ินสุคนธชาติมากระทบฆานประสาท ทรงก้าวสู่นิทรารมย์อย่าง สนทิ โดยมไิ ดท้ รงระแวงภยั ซงึ่ อยู่ ณ ทใี่ กลน้ น้ั เลย ขณะนน้ั เองไฟแหง่ ความแคน้ ซง่ึ คกุ รนุ่ อยใู่ นดวงใจของฑฆี าวุ มาเปน็ เวลานานป ี ไดล้ กุ โพลงขนึ้ เผาจติ ใจของเขาใหเ้ รา่ รอ้ น ภาพแหง่ สมเด็จพระชนกชนนีซึ่งถูกประหารชีวิตท่ามกลางชุมชนในอดีต ได้ เล่ือนเข้าสู่มโนทวารอันเป็นประสาทที่หกเด่นชัด ประหน่ึงภาพซ่ึง เพิ่งเกิดข้นึ ในวนั นี้ ขณะนั้นเองกระแสธาราแห่งปุพเพกตกรรมอันพระเจ้า พรหมทัต ได้เคยทรงชุบเล้ียงตัวมาอย่างปรานีอันถือได้ว่าเป็น ปุพพการีชน ได้ไหลเลื่อนเข้ามาสู่ความรู้สึกของฑีฆาวุ เขาเคยได้ รับค�ำสอนจากพระชนนีและอาจารย์ ณ ส�ำนักตักกสิลา ให้มีความ 82 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล สั้ น
กตัญญูกตเวทีต่อผู้มีอุปการะแก่ตน เม่ือคิดได้ดังน้ีจิตใจเขาก็อ่อน ลง เสมอื นได้อุทกวารี แม้เพยี งเล็กน้อยมาชโลมไฟ แต่น้�ำน้อยยอ่ มแพ้อคั นฉี ันใด ความรู้สึกกตญั ญแู ละเพลิง แคน้ ในจติ ใจของฑฆี าวกุ ฉ็ นั นนั้ ครหู่ นงึ่ ความกตญั ญหู ายไป ดวงใจ ของเขาเหลือแต่ไฟพยาบาท ราชโอรสแห่งพระเจ้าฑีฆีติโกศล จึง ถอดพระแสงดาบออกจากฝัก เงื้อง่าข้ึนตรงพระศอของพระเจ้า พรหมทตั พรอ้ มครางกระหมึ่ ว่า “ตายเสียเถดิ พรหมทตั !!” ขณะนั้นเสียงหวาดแว่วเคล้ามาตามสายลมเสมือนพระ กระแสเสยี งแหง่ พระชนกนาถ มากระทบโสตประสาทของหนมุ่ นอ้ ย ฑีฆาววุ ่า “ฑฆี าว ุ ลกู เอย เจา้ อยา่ เหน็ แกก่ าลยาว อยา่ เหน็ แกก่ าลสน้ั เวรยอ่ มไมร่ ะงบั ดว้ ยการจองเวร แตย่ อ่ มระงบั ไดด้ ว้ ยการไมจ่ องเวร” ภาพแห่งพระชนกเด่นชัดข้ึนเบ้ืองหน้าของฑีฆาวุ แขนซ่ึง เงอ้ื งา่ พระแสงดาบระทวยลง เขาเกบ็ พระแสงดาบเขา้ ฝกั วางไวท้ เี่ ดมิ 83อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
ลมกระโชกมาอย่างแรงสลัดดอกไม้สีแสดร่วงพรูลงมา แล้วเงียบ นกกางเขน ๒-๓ ตัวร่อนถลาไปเบ้ืองหน้าของหนุ่มน้อย ฑีฆาวุ เสียงโกกิลาแว่วมาเป็นครั้งคราว ป่าบริเวณน้ันเงียบสงบ ประหนึ่งคอยจอ้ งดูเหตกุ ารณ์ทจี่ ะเกดิ ขึน้ แกค่ นท้งั สอง ครู่หน่ึงผ่านไป ไฟพยาบาทได้ลุกโพลงข้ึนอีก ฑีฆาวุ จับพระแสงดาบถอดออกจากฝัก เงือ้ งา่ จะสังหารพระเจ้าพรหมทัต พร้อมค�ำรามวา่ “อย่าอยใู่ ห้หนกั แผน่ ดินเลย พรหมทตั !!” ทนั ใดน้ันเสียงหวาดแวว่ เคลา้ มาตามสายลมอกี ว่า “ฑฆี าว ุ ลกู เอย เจา้ อยา่ เหน็ แกก่ าลยาว อยา่ เหน็ แกก่ าลสนั้ เวรยอ่ มไมร่ ะงบั ดว้ ยการจองเวร แตย่ อ่ มระงบั ไดด้ ว้ ยการไมจ่ องเวร” ภาพแหง่ พระชนก เดน่ ชดั ขน้ึ เบอ้ื งหนา้ ของฑฆี าว ุ แขนซงึ่ เงอ้ื งา่ พระแสงดาบระทวยลง เขาเกบ็ พระแสงดาบเขา้ ฝกั วางไวท้ เ่ี ดมิ ในครง้ั ทส่ี ามกค็ งเปน็ ไปทำ� นองเดยี วกนั แตค่ รงั้ นอ้ี ดตี แหง่ รัชทายาทแห่งแคว้นโกศลตัดสินใจอย่างเด็ดขาดว่าจะปลงพระชนม์ มหาราชพรหมทัต มอื ซ้ายจบั มวยพระเกศามอื ขวาจบั พระแสงดาบ 84 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล สั้ น
พรหมทตั ผวาตน่ื บรรทม ลมื พระเนตรเหน็ เหตกุ ารณเ์ ชน่ นนั้ ทรงลกุ ทะลง่ึ ขนึ้ ประทบั ยืน จอ้ งมองฑฆี าวดุ ้วยอาการประหลาดพระทัยถงึ ขดี สุด ฑีฆาวุยังจบั มวยพระเกศาไวแ้ น่น มือหนงึ่ จบั พระแสงดาบ “ฑฆี าว!ุ อะไรกนั น?่ี ” พระเจา้ พรหมทตั ตรสั ถาม กงึ่ ประหลาด พระทัยกึ่งหวาดหวน่ั “เราจะฆา่ ท่าน” ฑีฆาวุตอบอยา่ งหนกั แนน่ “ฑีฆาวุ! เราท�ำความเดือดร้อนอะไรให้เธอหรือ? เรา กอ่ ความชอกชำ้� อะไรใหเ้ ธอหรอื ? เธอจงึ คดิ ทำ� การอนั ไมน่ า่ เปน็ ไปได้ เช่นน้”ี “พรหมทตั ! ท่านไม่รู้ดอกหรือวา่ เรานค้ี ือฑฆี าว!ุ ” “เรารแู้ ลว้ ฑฆี าว!ุ เธอเปน็ บา้ ไปหรอื ? จงึ ถามชอ่ื ตวั ซงึ่ เรา เรยี กใช้อยทู่ กุ วัน” “แต่ท่านไม่รหู้ รอกว่า บิดาของเราคอื ใคร” “ใคร ฑฆี าว!ุ ใครเปน็ พอ่ ของเธอ มาเกย่ี วขอ้ งกบั เราอยา่ งไร เกี่ยวอะไรกับการทเ่ี ธอจงใจจะฆา่ เราดว้ ย รบี บอกมาเถิด” 85อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
“พรหมทตั ! หลายปมี าแลว้ ทา่ นยงั จำ� ไดอ้ ยหู่ รอื ถงึ พระเจา้ ฑีฆีติโกศลและพระราชินีซึ่งก�ำลังทรงพระครรภ์ เล็ดลอดออกจาก แคว้นโกศลไปพ�ำนักอยู่ ณ เขตพาราณสี เพราะท่านยกกองทัพมา ชิงราชสมบัติ เม่ือท่านให้คนตามจับได้ ใช้เชือกผูกพระองค์ให้ม้า ลากมา โกนศีรษะเสียคร่งึ หนึง่ นำ� ไปตระเวนน้�ำ ๗ วัน ตระเวนบก ๗ วนั ประกาศแกม่ หาชนไมใ่ หเ้ อาเยยี่ งอยา่ งพระราชา แลว้ ใหป้ ระหาร ชวี ิตเสีย” “พระเจา้ ฑฆี ตี โิ กศลและพระราชนิ !ี !” พระเจา้ พรหมทตั อทุ าน อยา่ งตกพระทัย “เธอเป็นโอรสของพระเจ้าฑีฆีตโิ กศลหรือ?” “แนน่ อนทเี ดยี ว พรหมทตั ! เรานคี้ อื โอรสของพระเจา้ ฑฆี ตี ิ โกศล” พระเจา้ พรหมทตั สพี ระพกั ตรส์ ลดลง จอ้ งฑฆี าวสุ งบนงิ่ อยู่ ครหู่ น่ึงแล้วตรสั วา่ “ฑฆี าว ุ โปรดอภยั แกเ่ ราเถดิ เราสำ� นกึ ผดิ ในการกระทำ� นนั้ แลว้ ” อดีตรัชทายาทแห่งแคว้นโกศลโกรธมาก พดู ดว้ ยเสียงอนั เต็มไปด้วยความเคียดแคน้ ชิงชงั ว่า 86 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล สั้ น
“พรหมทัต ท่านคิดวา่ การปลงพระชนมพ์ ระราชาและพระ ราชินีจะให้อภัยกันได้โดยง่าย เพียงแต่ท่านบอกว่าท่านได้ส�ำนึกผิด แลว้ เทา่ นน้ั หรอื ? พรหมทตั เมอื่ คราวทำ� ลายชวี ติ ของผอู้ นื่ ทา่ นมไิ ด้ ค�ำนึงสักนิดหน่ึงว่า ผู้อื่นก็รักชีวิตตัวไม่มีอะไรเปรียบได้ แต่พอถึง คราวอนั ตรายมาถงึ ชวี ติ ตวั บา้ ง ทา่ นกลบั ออ้ นวอนรอ้ งขอชวี ติ เยยี่ ง คนขลาดทงั้ หลาย ประหนง่ึ โจรใจเหย้ี มเทย่ี วปลน้ ชาวบา้ นฆา่ ชาวเมอื ง โดยมิได้ปรานี แต่พอถึงท่ีถูกจับได้ก็น่ังลงขอความกรุณา ฉะน้ีหรือ ควรแก่เกียรติยศของผกู้ ล้าหาญ” ขัตติยมานะพลุ่งโพล่งข้ึนในพระทัยของพระเจ้าพรหมทัต ครหู่ นง่ึ แลว้ ดบั ลง เพราะความชรานน้ั ประการหนงึ่ อกี ประการหนงึ่ เพราะความกรณุ าทพ่ี ระองคม์ ตี อ่ ฑฆี าวเุ สมอดว้ ยบตุ รหลาน ในทส่ี ดุ พระองค์จึงตรสั ว่า “ฑฆี าว ุ เกบ็ พระแสงดาบเสยี กอ่ นเถดิ ขอใหเ้ ราทง้ั สองพดู กันด้วยดี หากเธอเห็นว่าเราเป็นผู้ควรฆ่าก็จงฆ่าเถิด ขอให้เธอฟัง เหตุผลของเรา” เงยี บกนั ไปครหู่ นงึ่ ในความเงยี บนน้ั เอง โอวาทแหง่ สมเดจ็ พระบิดาที่ทรงให้ไว้ก่อนส้ินพระชนม์ ได้หวาดแว่วมาอีก พระเจ้า พรหมทัตตรสั ทำ� ลายความเงียบขนึ้ ว่า 87อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
“ฑีฆาวุ เราและครอบครัวมีความรักความปรานีแก่เธอ เสมือนบุตรหลาน แม้จะอยู่ด้วยกันช่ัวระยะไม่นานนัก แต่ลักษณะ และนสิ ยั ของเธอนน้ั เปน็ ทต่ี อ้ งใจคน เรามไิ ดน้ กึ เลยวา่ เธอจะเปน็ ศตั รู ซอ่ นเร้นมาในรูปแห่งมิตร” เม่ือได้ยินว่าครอบครัว หัวใจของฑีฆาวุก็กระหวัดถึงพระ ราชบดิ า พระเจา้ พรหมทัตตรัสต่อไปวา่ “อนงึ่ เลา่ ชวี ติ ของเรานน้ั คงอยตู่ อ่ ไปอกี ไมน่ านแลว้ แมเ้ ธอ ไมฆ่ า่ ใหต้ ายกค็ งตายไปเองในไมช่ า้ เมอื่ เราตายไปแลว้ พระชนกชนนี ของเธอจะทรงฟืน้ คืนชพี ขึ้นได้หรือ อกี ประการหนง่ึ เธอคิดหรือวา่ หากเราตายในลักษณะเช่นน้เี ธอจะเอาชีวติ รอดไปได้ บริวารของเรา จะไม่ตดิ ตามล้างผลาญเธอตอ่ ไป ฑีฆาวุ เราไม่ตอ้ งการให้เร่ืองนย้ี ืด ยาวตอ่ ไป ฑฆี าวุ เราไม่ตอ้ งการให้เรือ่ งน้ียืดยาวต่อไปอกี เรอื่ งการ จองเวรนนั้ เปน็ สง่ิ ไมร่ จู้ กั จบสน้ิ แตเ่ วรยอ่ มระงบั ลงดว้ ยการไมจ่ องเวร เราเองกแ็ กม่ ากแลว้ ทตู ของความตายมาตกั เตอื นอยเู่ สมอ เรามีแต่ราชธิดาหามีผู้สืบสันตติวงศ์แทนไม่ เราได้เคยคิดว่าเธอน้ัน มีลักษณะเหมาะท่ีจะครองแผ่นดิน ยิ่งมาได้ทราบว่าเธอเป็นโอรส ของพระเจ้าโกศล ยิ่งท�ำให้เราไม่ลังเลใจอีกต่อไปเลย ที่จะมอบราช 88 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล สั้ น
สมบัติให้เธอครองทั้ง ๒ แคว้น เพราะเราชอบลักษณะของเธอน้ัน ประการหน่ึง อีกประการหน่ึงเพื่อเป็นการไถ่ถอนบาปที่เราได้ท�ำไว้ แกพ่ ระราชบดิ าและพระมารดาของเธอ นอกจากนเ้ี ธอนนั้ เปน็ ครขู อง พระราชธดิ าในวชิ าพณิ ขอ้ นีเ้ ราควรระลกึ ถึงความดขี องเธออย ู่ เรา เคยทราบมาว่าครูนั้นไม่อาจฆ่าศิษย์ได้ หากเธอฆ่าเราซึ่งเป็นบิดา ของศษิ ย ์ เธอเองกเ็ ป็นเหมือนฆา่ คน ๒ คนให้ตายพร้อมกัน” เมอ่ื ได้ยินพระราชดำ� รัสคร้ังแรก จติ ใจของฑฆี าวกุ อ็ อ่ นลง มองดูพระเจ้าพรหมทัตเหมือนเรียวหนามอันกางก้ันช่อดอกไม้งาม ไว้เบ้ืองหลัง อยากจะท�ำลายเรียวหนามน้ันเพ่ือดึงดอกไม้งามมาไว้ เชยชม แตเ่ มอื่ มองไปอย่างถ่ีถ้วนกเ็ หน็ ชอ่ งทางทจ่ี ะเดด็ ดอกไม้งาม ได้ โดยมิต้องท�ำลายเรียวหนามให้ราบลง เมื่อเป็นเช่นน้ี จะยอม เหนอ่ื ยแรงฟาดฟนั เรยี วหนามทำ� ไมกนั เลา่ หากเขาฆา่ พระเจา้ พรหมทตั พระราชธดิ าหรอื จะสมคั รรกั เขาดว้ ยความสนทิ ใจ หากเขาไดข้ นึ้ ครอง ราชย ์ พระนางวชริ าก็คงจะไมพ่ ้นไปได้ แต่อะไรเลา่ จะเปน็ เครอ่ื งประกันพระราชด�ำรสั ของพระเจา้ พรหมทัตว่าเป็นจริงดังที่ตรัสไว้ อาจะหลอกลวงเพ่ือเอาชีวิตรอด เม่อื ไม่แน่ใจดังนนั้ ฑีฆาวจุ งึ ทลู ถามว่า “พรหมทตั อะไรเปน็ หลกั ประกนั คำ� ของทา่ นวา่ เปน็ ความจรงิ ทพี่ อเชอ่ื ถือได”้ 89อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
“เกียรติของกษัตริย์ซิ ฑีฆาวุ เกียรติของกษัตริย์ส�ำคัญ เหนอื ชวี ิต และเราขอสญั ญาต่อเทพไท้เทวาทง้ั หลายบนดินและบน ฟา้ เราจะไมก่ ลบั กลอกคำ� เปน็ อนั ขาด จะขอมอบราชสมบตใิ หฑ้ ฆี าวุ ครองท้ัง ๒ แคว้น… แต่ฑีฆาวุ เธอมีอะไรเป็นหลักฐานว่าเธอเป็น โอรสของพระเจ้าโกศลจรงิ ” ฑฆี าวไุ ดน้ ำ� พระธำ� มรงค ์ สญั ลกั ษณแ์ หง่ ราชวงศฑ์ ฆี ตี อิ อก แสดง พระเจา้ พรหมทตั ทราบดงั นนั้ กท็ รงแนพ่ ระทยั ยงิ่ ขนึ้ และทรง ปฏญิ าณวา่ หากฑฆี าวใุ หช้ วี ติ แกพ่ ระองค ์ พระองคจ์ ะมอบราชสมบตั ิ ทง้ั ๒ แคว้นให้เป็นสิทธิอย่างแน่นอน ฑีฆาวุตดั สินใจท�ำตามคำ� ขอรอ้ งของพระเจ้าพรหมทตั แต่ นำ้� หนกั การตดั สนิ ใจ อยทู่ พี่ ระราชโอวาทของสมเดจ็ พระราชบดิ า กอ่ น ส้ินพระชนม์ที่วา่ “อย่าเห็นแกก่ าลยาว (คอื อยา่ ผกู เวร อยา่ พยาบาท) อยา่ เห็นแก่กาลสน้ั (คืออยา่ ดว่ นแตกจากมิตร) เวรย่อมไม่ระงับด้วยการจองเวร แต่ย่อมระงับด้วยการไม่ จองเวร” 90 อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล ย า ว อ ย่ า เ ห็ น แ ก่ ก า ล สั้ น
เพราะการด�ำรงอยู่ในโอวาทของบิดาผู้เป็นบัณฑิต ฑีฆาวุ กุมารจึงมีโชคใหญ่ คือพระเจ้าพรหมทัตทรงยกราชสมบัติให้ครอง ท้ัง ๒ แคว้น คือท้ังแคว้นกาสีและโกศล และทรงยกพระราชธดิ าผู้ งามเลศิ ให้เปน็ อคั รมเหสดี ว้ ย จะเหน็ วา่ พอ่ ในเรอื่ งเหลา่ นม้ี คี วามรกั มคี วามปรารถนาดี ต่อลูกเพียงไร ลูกๆ ท่ีท�ำตามโอวาทของบิดามักไม่พลาดจากความ สขุ ความเจรญิ รงุ่ โรจนใ์ นชวี ติ นอกจากจะมกี รรมในอดตี ของตนเอง ตามมาทัน ท�ำให้ชีวิตต้องตกระก�ำล�ำบากบ้าง ถึงกระนั้น ถ้าเราไม่ ได้ทำ� ความผิดพลาดบกพร่องไวใ้ นปัจจบุ ัน เรากย็ ังได้ความสบายใจ แชม่ ชน่ื วา่ เราเดนิ อยใู่ นทางถกู ไมต่ อ้ งเดอื ดรอ้ นใจ เพราะการทำ� ผดิ พลาดของตน ไดช้ อื่ วา่ เปน็ ลกู ทด่ี ี เปน็ อนชุ าตบตุ ร หรอื อภชิ าตบตุ ร (บุตรท่ีเสมอมารดาบิดา หรือมีคุณงามความดียิ่งกว่ามารดาบิดา) เป็นผ้เู กดิ มาเพอ่ื ความดแี กโ่ ลกโดยแท้ 91อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
ฝกึ ลกู ให้มคี วามอดทน
ความอดทนเปน็ ตบะอยา่ งหนึ่ง เปน็ เคร่อื งเผา และทำ� ลายอหงั การ คือความทะนงตน อยูท่ ไี่ หนกต็ ้องอดทนท้ังนั้น ไมอ่ ย่างใดก็ต้องอย่างหนง่ึ ความอดทนเป็นทางสำ� เรจ็ ของผมู้ ุ่งความส�ำเรจ็
นาคราชสองตวั พน่ี อ้ ง ผพู้ ใี่ จเยน็ ผนู้ อ้ งมกั โกรธจนบดิ าขบั ไลใ่ หอ้ อกจากนาคพภิ พถงึ สองครง้ั แตน่ าคผพู้ ข่ี ออภยั ไว ้ พอถงึ ครงั้ ที่สาม บิดาไม่ยอมให้อภัยจึงไล่ออกไปท้ังพี่และน้อง ไปอยู่ริมทะเล ใกล้หมู่บ้านแห่งหนง่ึ เพอ่ื เป็นการลงโทษดดั นสิ ัยนาคผนู้ อ้ ง แต่นาคผู้น้องยังละนิสัยข้ีโกรธไม่ได้ วันหน่ึงพวกเด็ก ชาวบา้ นมาเหน็ นาคสองพนี่ อ้ งกำ� ลงั จบั กบเขยี ดกนั อย ู่ จงึ เอาทอ่ นไม ้ และกอ้ นดนิ ปา พลางยว่ั เยา้ วา่ ตวั อะไรโวย้ หวั ใหญ ่ ตวั ยาว หางนดิ เดยี ว นาคผนู้ อ้ งโกรธมากจงึ บอกพว่ี า่ ฉนั จะพน่ พษิ ทำ� รา้ ยเดก็ พวกน ี้ เดก็ พวกน้ีไม่มีฤทธ์ิเดชอะไร แต่มาเย้าแหย่เราผู้มีพิษมาก พวกมันหา รจู้ กั เราวา่ เป็นผูม้ พี ิษรา้ ยแรงไม่ นาคผพู้ ไ่ี ดฟ้ งั ดงั นน้ั จงึ สอนนอ้ งวา่ “นอ้ งถกู ไลอ่ อกจากภพ ของตนก็เพราะขี้โกรธ มาอยู่ต่างถ่ินอย่างนี้แล้ว ควรอดทนระงับ ความโกรธไว ้ คนไปอยู่ต่างถ่ินดนิ แดนของคนอืน่ พึงสรา้ งฉางใหญ่ ไว้เก็บกิริยาวาจาอันหยาบคายเถิด ในท่ีใดคนเขาไม่รู้จักเรา เราไม่ ควรถือตัวทะนงตนในที่น้ัน ควรอดทนแม้ซ่ึงค�ำขู่ตะคอกของพวก ทาส จรงิ อยคู่ นท้งั หลายสร้างฉางใหญไ่ วใ้ สข่ า้ วเปลอื ก แต่คนไป อยตู่ า่ งถนิ่ พงึ สรา้ งฉางใหญไ่ วเ้ กบ็ ถอ้ ยค�ำดา่ วา่ เสยี ดสขี องผอู้ น่ื ” นาคสองพน่ี อ้ งทนอย ู่ ณ ทนี่ น้ั ครบ ๓ ป ี จงึ ไดร้ บั อนญุ าต จากบิดาให้กลับสู่นาคพิภพได้ นาคผู้น้องสิ้นมานะอหังการ กลาย เป็นผ้อู ดทนสงบเสงีย่ ม 94 ฝึ ก ลู ก ใ ห้ มี ค ว า ม อ ด ท น
เร่ืองนี้เป็นคติส�ำหรับผู้ไปอยู่ต่างประเทศ หรือไปอยู่ต่าง ถิ่น คือไม่ควรพกเอาอหังการหรือความทะนงตนไปด้วย ต้องตั้งใจ อดทนตอ่ ค�ำลว่ งเกนิ คำ� หยาบชา้ ของคนอนื่ ท่เี ปน็ เจา้ ของถน่ิ ตัวอย่างอันพึงยกข้ึนให้ดูได้ในเรื่องน้ีก็คือ คนจีนในเมือง ไทย ส่วนมากล้วนแต่เคยได้รับค�ำดูหมิ่นถิ่นแคลนมาจากคนไทยผู้รู้ เทา่ ไมถ่ งึ การณม์ าแลว้ ทง้ั นนั้ โดยเฉพาะคนจนี ทเ่ี รมิ่ สรา้ งตวั ดว้ ยการ ค้าขายเล็กๆ น้อยๆ ด้วยรถเข็นบ้าง ด้วยการตั้งร้านเล็กๆ บ้าง แก่ คราวพ่อคราวแม่แล้วเด็กไทยยังเรียกไอ้ เรียกอี เวลาซ้ือของก็พูด กบั เขาดว้ ยคำ� หยาบ แตเ่ ขากไ็ มถ่ อื สาหาเรอื่ ง เขายอมอดทน ไมน่ าน นักคนพวกนี้ก็ร่�ำรวยเป็นอาเส่ีย คราวน้ี คนไทยท่ีเคยพูดค�ำหยาบ กบั เขา เคยลอ้ เลยี นเขากต็ อ้ งไปงอ้ เขา ไปเปน็ ลกู จา้ งเขา ตอ้ งพนิ อบ พเิ ทาตอ่ เขา เมอื่ เขาหยาบกลบั มาบา้ ง คนไทยกอ็ ดทนไมไ่ ดอ้ ยา่ งเขา ตอ้ งออกจากงาน ไปหางานใหมก่ ไ็ ปไดค้ นจนี เปน็ นายจา้ งอกี เพราะ การเศรษฐกจิ ในเมอื งไทยแทบทกุ ดา้ นคนจนี ไดก้ มุ ไวห้ มดแลว้ ตลอด ไปถงึ นกั การเมอื ง ผบู้ รหิ ารประเทศกต็ อ้ งหากนิ กบั คนจนี จงึ ร�่ำรวย ขน้ึ มาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ประเทศใดนกั การเมอื งรวยเพราะเลน่ การเมอื ง ประเทศน้ันมีคอรัปช่ันมาก ประเทศใดมีคอรัปช่ันมาก ประเทศน้ัน ประชาชนต้องอยู่อย่างล�ำบากยากจน มีคนรวยน้อยประเทศชาติ ไมเ่ จรญิ ดอ้ ยพฒั นา คอรปั ชนั่ เหมอื นมะเรง็ ของประเทศ เมอื่ ยงั แก้ ปญั หาเรื่องคอรปั ชั่นไม่ได้ การพัฒนาประเทศก็เป็นไปไดโ้ ดยยาก 95อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
การเลือกคนเขา้ สู่สกลุ
การน�ำคนเขา้ สู่สกลุ หรอื การเขา้ สู่ สกุลอืน่ ของผ้แู ต่งงาน เปน็ เร่อื งสำ� คํญ มคี วามหมายกบั การครองเรือน และอนาคตมาก
ในมชั ฌมิ ยามแหง่ ราตร ี ภกิ ษปุ ระมาณ ๕๐๐ รปู ในวดั เชตวนั พากันตรึกในกามวิตก (คิดเร่ืองกามารมณ์) ตามปรกติพระศาสดา ทรงตรวจดูอุปนิสัยและงานทางจิตของภิกษุอยู่เสมอ คืนน้ันทรง ทราบว่าภิกษุสาวกของพระองค์ก�ำลังตรึกในกามวิตก ทรงรู้สึกว่า เสมือนโจรท่ีเกิดขึ้นในพระราชนิเวศแห่งพระเจ้าจักรพรรดิ จึงทรง เปิดพระคนั ธกฎุ ีตรสั เรยี กพระอานนท์เขา้ เฝา้ ตรสั สงั่ ใหพ้ ระอานนท์ นดั หมายใหภ้ กิ ษทุ ง้ั หลายมาประชมุ กนั ในหอประชมุ ใหญ ่ ทรงเตอื น ภกิ ษทุ ง้ั หลายวา่ ไมค่ วรตรกึ ในกามวติ ก อยา่ นกึ วา่ คนอน่ื จะไมร่ เู้ พราะ ความลบั ไม่มใี นโลก แมบ้ ณั ฑิตในปางก่อนก็ไมย่ อมท�ำบาปอกุศลใน ทล่ี ับ ทรงนำ� เร่อื งมาเลา่ ดงั น้ี ในอดตี กาล อาจารยท์ ศิ าปาโมกขต์ อ้ งการมอบลกู สาวของ ตนใหแ้ กศ่ ษิ ยค์ นใดคนหนง่ึ แตศ่ ษิ ยน์ น้ั ตอ้ งเปน็ ผมู้ ศี ลี เมอ่ื หาอบุ าย อย่างหนึ่งได้แล้ว จึงให้ศิษย์ท้ังปวงมาประชุมกันแล้วบอกว่า จะ จดั การแตง่ งานบตุ รแี กม่ านพคนใดคนหนงึ่ แตอ่ ยากไดผ้ า้ และอลงั การ เพื่อบุตรีก่อน ขอให้มานพแต่ละคนไปขโมยผ้าและเคร่ืองอลังการ ของพ่อแม ่ หรอื ญาตพิ ่นี อ้ งมา มานพเหลา่ นน้ั รบั คำ� แลว้ พากนั ไปขโมยผา้ และเครอื่ งอลงั การ ของพอ่ แมญ่ าตพิ น่ี อ้ งมา แตม่ านพคนหนงึ่ กลบั มามอื เปลา่ ไมไ่ ดอ้ ะไร มาเลย เมื่ออาจารยถ์ าม จงึ เรียนใหอ้ าจารย์ทราบว่า 98 ก า ร เ ลื อ ก ค น เ ข้ า สู่ ส กุ ล
นตฺถิ โลเก รโห นาม ปาปกมฺมํ ปกุพฺพโต ปสฺสนฺต ิ วนภูตานิ ตํ พาโล มญฺเต รโห อหํ รโห น ปสฺสามิ สุญฺ วาปิ น วิชฺชต ิ ยตฺถ สญุ ฺ น ปสฺสามิ อสุญฺ โหต ิ ต ํ มยา [ที่ลับส�ำหรับผทู้ �ำบาปกรรมไม่มีในโลกนี้ คนพาลเข้าใจวา่ ป่าเป็นท่ีลับ แต่ในป่าก็ยังมีคนเห็น ข้าพเจ้าไม่เห็นที่ลับ หรือว่าท่ี ว่างเลย ที่ใดว่างจากคนอ่ืน ที่น้ันยังไม่ว่างจากตัวของข้าพเจ้าเอง ความลับจึงไมม่ ใี นโลก] อาจารยท์ ศิ าปาโมกขไ์ ดฟ้ งั ดงั นน้ั เลอ่ื มใส ชอบใจในคำ� ของ พระโพธิสัตว ์ จงึ กล่าวว่า “มานพเอย! ทรัพย์สมบตั ใิ นเรือนของเรา จะไมม่ ีให้บุตรกี ็ หามไิ ด ้ แตเ่ ราทำ� อยา่ งนน้ั เพอ่ื ทดลองศลี ของพวกเจา้ ธดิ าของเรา เหมาะสมแกผ่ มู้ ศี ลี มสี ตั ยเ์ ชน่ เธอ สว่ นมานพอน่ื ๆ จงเอาของทขี่ โมย เขามาไปคนื ให้เจ้าของเสีย” มานพผู้เป็นบัณฑิตได้สตรีสาวธิดาของอาจารย์เพราะเป็น ผมู้ ศี ีลมีสัตย์ 99อ. ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114