Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ

ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ

Published by Sarapee District Public Library, 2020-10-17 02:51:50

Description: ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ
โดย เขมรังสี ภิกขุ

Keywords: ธรรมะ

Search

Read the Text Version

ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏเิ วธ เขมรงั สี ภกิ ขุ

ปริยัติ ปฏิบตั ิ ปฏิเวธ เขมรงั ส ี ภิกขุ พมิ พ์คร้ังที่ ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗   จำ� นวนพมิ พ์ ๒๕,๐๐๐ เล่ม จดั พิมพ์โดย วัดมเหยงคณ์ ต�ำบลหันตรา อำ� เภอพระนครศรอี ยุธยา จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา ๑๓๐๐๐ โทรศพั ท์ : ๐๓๕-๘๘๑-๖๐๑-๒, ๐๘๒-๒๓๓-๓๘๔๘ โทรสาร : ๐๓๕-๘๘๑-๖๐๓ www.mahaeyong.org  www.watmaheyong.org ออกแบบ / จัดท�ำรูปเล่ม / พสิ จู นอ์ ักษร  คณะศษิ ย์ชมรมกัลยาณธรรม พมิ พท์ ี่ บรษิ ัทบุญศิริการพมิ พ ์ จำ� กัด  โทรศพั ท ์ ๐-๒๙๔๑-๖๖๕๐-๑









การปฏบิ ตั ธิ รรมะตา่ งๆ ตอ้ งใหเ้ ขา้ ใจ ทง้ั ภายในและภายนอก   ธรรมะท่ีจะปฏิบัติภายใน ก็คือการมี สติสัมปชัญญะ ดูในใจ ดูในกาย ฝึกหัด การละ การปลอ่ ย การวาง ธรรมะที่จะปฏิบัติภายนอก ก็ต้องขยัน หมน่ั เพยี ร ปฏบิ ตั ใิ หส้ มหนา้ ท ี่ ตามหนา้ ท่ี

นะมตั ถ ุ รตั ตะนะตะยสั สะ ขอถวายความ นอบนอ้ มแดพ่ ระรตั นตรยั  ขอความผาสกุ  ความ เจริญในธรรม จงมีแก่ญาติสัมมาปฏิบัติธรรม ท้งั หลาย ต่อไปนี้จะได้ปรารภธรรมะ ตามหลักค�ำ สั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพอื่ เปน็ การสง่ เสรมิ ศรทั ธาปสาทะ คอื ความเชอ่ื 8 ปรยิ ตั ิ ปฏิบตั  ิ ปฏิเวธ

ความเลื่อมใส ให้ยิ่งข้ึนไป ตลอดท้ังสติปัญญา ใหม้ คี วามกา้ วหนา้  หรอื มคี วามเจรญิ ขน้ึ  เพราะ ธรรมะค�ำส่ังสอนท่ีพระพุทธเจ้าแสดงไว้ เป็นส่ิง ทใี่ หค้ วามกระจา่ ง ใหค้ วามร ู้ ใหค้ วามเขา้ ใจ และ ใหค้ วามเปน็ ไปเพอ่ื ความดบั ทกุ ข ์ ถา้ เราไดป้ ฏบิ ตั ิ ตามธรรม ไมเ่ พยี งแตฟ่ งั เทา่ นน้ั  แตว่ า่ ไดน้ อ้ มนำ� เอามาปฏิบัติ เหมือนบุคคลที่รู้จักตัวยา รู้จักวิธี กนิ ยารกั ษา แลว้ กล็ งมอื กนิ ยา กจ็ ะทำ� ใหโ้ รคภยั ไข้เจ็บได้คล่ีคลาย เบาบาง และหายไปในท่ีสุด หรือเหมือนคนที่ได้รับประทานอาหาร ก็จะได้ ลม้ิ รสอาหาร แลว้ กไ็ ดร้ บั ความอมิ่ จากอาหารนนั้ ธรรมะคำ� สอนในพทุ ธศาสนาจงึ มรี ะดบั ขนั้ มีการลงมือปฏิบัติ แล้วก็เกิดผลข้ึนมา ในพุทธ  ศาสนาจงึ มขี นั้ ปรยิ ตั  ิ ขน้ั ปฏบิ ตั  ิ และขนั้ ปฏเิ วธ 9เขมรงั สี ภกิ ขุ

“ปริยัติ” คือ การศึกษาเล่าเรียน การที่ เราฟงั  เราสอบถาม กถ็ อื วา่ เปน็ ปรยิ ตั  ิ มกี ารฟงั มีการสนทนา ศึกษาในต�ำรับต�ำราท่ีบันทึกค�ำ ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงไว ้ ถา้ เปน็ สมยั พทุ ธกาล กเ็ ปน็ การฟงั โดยตรงจากพระโอษฐข์ องพระพทุ ธ- เจ้า หรือฟังจากสาวก สมัยน้ีก็มีต�ำรับต�ำราให้ ศึกษา มีครูบาอาจารย์ที่ท่านศึกษา ท่านปฏิบัติ น�ำมาถ่ายทอด ขยายความ เราได้ฟัง ได้ถาม ก็ถือว่าเป็นปริยัต ิ เราจ�ำเป็นต้องรู้จักปริยัติด้วย มิฉะน้ันก็ไม่รู้เรื่องว่าจะปฏิบัติอย่างไร ไม่เข้าใจ ว่าอะไรเป็นอะไร เหมอื นกบั วา่  ถา้ เราไมศ่ กึ ษาใหเ้ ขา้ ใจเรอ่ื ง ตวั ยา แลว้ กร็ บั ประทานไมถ่ กู ตอ้ ง แทนทจี่ ะหาย โรค กลบั จะมโี ทษมากกไ็ ด ้ คนทไ่ี มท่ ำ� ความเขา้ ใจ 10 ปรยิ ัต ิ ปฏบิ ตั  ิ ปฏเิ วธ

ใหด้  ี แลว้ ลงมอื ปฏบิ ตั  ิ ปฏบิ ตั ผิ ดิ เพยี้ น เสยี หาย ไปกม็  ี เสยี สต ิ เสยี จรติ จากการปฏบิ ตั กิ รรมฐาน เลย ทำ� ใหค้ นทไ่ี มเ่ ขา้ ใจมองวา่ การปฏบิ ตั เิ ปน็ เรอ่ื ง ไมด่  ี ทำ� ใหค้ นวปิ รติ ผดิ ไปได ้ แตค่ วามเปน็ จรงิ แลว้ การปฏบิ ตั เิ ปน็ เรอื่ งด ี แตท่ ไ่ี มด่ เี พราะปฏบิ ตั ไิ มถ่ กู เหมือนยาเป็นสิ่งที่ดี แต่กินไม่ถูก ยาบางอย่าง เขาใหก้ นิ ตามขนาดเทา่ นๆ้ี  บางคนกนิ เกนิ ขนาด กท็ ำ� ใหม้ โี ทษ ฉะนน้ั  กต็ อ้ งศกึ ษาทำ� ความเขา้ ใจ อา่ นฉลากยาใหเ้ ขา้ ใจ แลว้ จงึ จะกนิ ยาไดถ้ กู ตอ้ ง คือการท่ีเราศึกษาท�ำความเข้าใจให้ดี แล้วเราก็ ลงมอื ปฏบิ ัต ิ กจ็ ะปฏบิ ตั ิได้ถกู ตอ้ ง บางคนปฏบิ ตั ถิ กู ตอ้ งแตใ่ จรอ้ น เพราะเกดิ ความเขา้ ใจผดิ  คดิ วา่ ไมม่ ผี ลอะไร ปฏบิ ตั ไิ มเ่ หน็ ได้ผล ท�ำไมปฏิบัติแล้วจึงไม่สงบ ท�ำไมปฏิบัติ 11เขมรังสี ภิกขุ

แล้วไม่เกิดปัญญา ท�ำไมปฏิบัติแล้วไม่หลุดพ้น บางคนเลยเลกิ ราจากการปฏบิ ตั ิ มองเหน็ วา่ การ ปฏบิ ตั นิ นั้ ไรผ้ ล ทำ� แลว้ ไมม่ ผี ล ไมไ่ ดผ้ ล เหมอื น คนท่ีถึงแม้จะกินยาถูกต้อง แต่ว่ากินไปได้ระยะ หน่ึงแล้วก็เลิกกิน เพราะรู้สึกว่ามันไม่หายโรค เขาเรียกว่า ยาน้ันมันยังไม่ถึงขนาด การกินยา บางอย่างต้องใช้เวลาหลายวัน หรือเป็นเดือน หรือหลายเดือน โรคจึงจะหาย การปฏิบัติก็ เหมอื นกนั  ถงึ แมจ้ ะปฏบิ ตั ถิ กู ตอ้ ง แตก่ จ็ ะตอ้ งมี เวลาใหก้ ารปฏบิ ตั  ิ ทจี่ ะตอ้ งใชเ้ วลาในการพฒั นา ขนึ้ ไปตามลำ� ดบั  หลายเดอื น...หลายป.ี ..กแ็ ลว้ แต่ เม่ือปฏิบัติถูกต้อง มีความเพียร และให้ เวลากบั การปฏบิ ตั  ิ กจ็ ะเขา้ ถงึ  “ปฏเิ วธ” คอื ผล (ปฏเิ วธศาสนา) คอื ผลนนั้ เกดิ ขน้ึ  เหมอื นกนิ ยา 12 ปริยัติ ปฏบิ ตั ิ ปฏเิ วธ

ถงึ ระดับ ผลเกิดขนึ้  กค็ ือหายจากโรคภัยไขเ้ จ็บ คนลงมือปฏิบัติ เม่ือถึงท่ี ก็ได้รับผล คือเข้าถึง วมิ ตุ ตหิ ลดุ พน้  นน่ั คอื เขา้ ถงึ ปฏเิ วธ ปฏเิ วธสำ� หรบั การเจริญวิปัสสนาก็คือ การเข้าถึงมรรค-ผล- นพิ พาน การเจรญิ วปิ สั สนานนั้ มผี ล คอื  เขา้ ถงึ   นิพพาน คำ� วา่  “วมิ ตุ ต”ิ  แปลวา่  หลดุ พน้  คอื  หลดุ พ้นจากอาสวะกิเลส หมายถึง กิเลสได้หมดสิ้น ไปจากจติ ใจ หรอื ว่าขาดลงไปจากใจเปน็ ระดบั ๆ แล้วแตว่ า่ วิมตุ ตริ ะดับไหน “ตทังควิมุตติ” หมายถึง หลุดพ้นเป็น ขณะๆ คอื  ขณะใดมสี ตสิ มั ปชญั ญะ ระลกึ รเู้ ทา่ ทนั ตอ่ รปู ตอ่ นามทก่ี ำ� ลงั ปรากฏ กเิ ลสกถ็ กู ละไป 13เขมรงั สี ภกิ ขุ

ขณะใดเผลอ กเิ ลสกเ็ กดิ ขน้ึ  เมอ่ื มสี ต ิ รเู้ ทา่ รทู้ นั รอู้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และตรง กเิ ลสกถ็ กู ละไป...ละไป อยา่ งนีเ้ ปน็ ตทงั ควิมตุ ต ิ หลุดพ้นเป็นขณะๆ “วิกขัมภนวิมุตติ” หมายถึง หลุดพ้นได้ ช่ัวคราว ได้นานๆ นั่นก็คือระดับของผู้มีสมาธิ คนทป่ี ฏบิ ตั แิ ลว้ จติ เขา้ ถงึ สมาธ ิ โดยเฉพาะสมาธิ ระดับสูง ย่ิงถึงขั้นอัปปนาสมาธิ จิตเข้าถึงฌาน กิเลสท้ังหลายก็ถูกระงับลงไป เรียกว่าเป็น วิกขัมภนวิมุตติ สภาพจิตของผู้นั้นเหมือนไม่มี กิเลสในช่วงที่สมาธิยังครองใจอยู่ แต่เมื่อสมาธิ คลายตวั  กเิ ลสกฟ็ ขู ้นึ มาได้อีก ถา้ ถงึ ขน้ั  “สมจุ เฉทวมิ ตุ ต”ิ  เปน็ การหลดุ พน้ โดยเดด็ ขาด คอื  กเิ ลสถกู ตดั ขาดลงไป นน่ั ก็ 14 ปริยัติ ปฏิบตั ิ ปฏเิ วธ

หมายถึงว่าต้องเจริญวิปัสสนาถึงข้ันบรรลุมัคค-  ญาณ คอื เขา้ ถงึ โสดาปตั ตมิ รรค สกทาคามมิ รรค อนาคามิมรรค อรหัตตมรรค จึงจะประหาณ อนสุ ยั กเิ ลสไดข้ าด เปน็ สมทุ เฉจ มรรคทง้ั  ๔ นี้ เป็นญาณที่จะตัดกิเลสในระดับอนุสัยกิเลส จดั เปน็ กศุ ลทใี่ หผ้ ลโดยไมม่ รี ะหวา่ งคน่ั  (ในความ หมายของพระธรรม ปรากฏในศพั ทค์ ำ� วา่  “อกาล-ิ   โก” ซ่ึงแปลว่า ปฏิบัติได้และให้ผลได้ไม่จ�ำกัด กาล) มรรคเปน็ กุศล ผลเป็นวิบาก ผลจติ ทเ่ี กิด ต่อจากมรรคเป็นผลของมรรค จะเกิดต่อทันที เมอื่ มรรคเกดิ ขน้ึ  ผลกเ็ กดิ ตอ่  ใหผ้ ลทนั ท ี ถา้ วา่ โดยญาณ ท่านเรียกว่า “มัคคญาณ” กับ “ผล  ญาณ” จัดเป็นโลกุตตรธรรม คือเป็นธรรมท่ี 15เขมรังสี ภิกขุ

พน้ โลก เปน็ ธรรมทเี่ หนอื โลก เพราะวา่ อปุ าทาน เขา้ ไปยึดไมไ่ ด้ อปุ าทาน คอื ความยดึ มน่ั ถอื มนั่ อนั ประกอบ ด้วยโลภะ ทิฏฐิ ไม่สามารถเข้าไปยึดมรรคจิต ผลจิต หรือมคั คญาณ ผลญาณได้เลย เอื้อมไป ไมถ่ งึ  จงึ จดั จติ พวกนเ้ี ปน็ โลกตุ ตระ คำ� วา่  “โล- กตุ ตระ” แปลว่า เหนือโลก หรือพ้นโลก โดย เฉพาะว่าหน่วงเอานิพพานเป็นอารมณ์ มรรค เกิดข้ึนจะหน่วงนิพพานเป็นอารมณ์ คือเข้าไป รับอารมณน์ ัน้ จติ น ี้ เมอื่ เกดิ ขน้ึ มาแลว้ ตอ้ งรบั อารมณ ์ จติ ทกุ ดวงเวลาเกดิ ขน้ึ จะตอ้ งรบั อารมณ์ ถา้ เปน็ จติ ท่ีเป็นโลกียะ คือจิตท่ียังท่องอยู่ในเร่ืองของโลก 16 ปรยิ ตั  ิ ปฏิบตั  ิ ปฏิเวธ



ยงั เปน็ เหยอื่ ของอปุ าทานได ้ เรยี กวา่  “โลกยี จติ ” ก็จะมีอารมณ์ท่ีเป็นโลกียะ คือ มีอารมณ์เป็น รูป เปน็ เสียง เป็นกล่ิน เป็นรส เป็นโผฏฐพั พะ เปน็ ธรรมารมณใ์ นสว่ นโลกยี ะ ตลอดทงั้ บญั ญตั ิ แต่ “โลกุตตรจิต” จะมีอารมณ์เป็นนิพ- พานเท่าน้ัน นิพพานเป็นธรรมท่ีพ้นโลก เป็น ธรรมท่ีเหนือโลก เป็นสภาพ “สันติลักขณะ” คอื  สงบจากกเิ ลส สงบจากขนั ธท์ ้งั  ๕ “นตฺถิ สนฺติปรํ สขุ ”ํ      สุขอืน่ ย่ิงกว่าความสงบไมม่ ี “นพิ พฺ าน ํ ปรมํ สขุ ํ”      นิพพานเป็นความสุขอยา่ งย่ิง 18 ปรยิ ตั ิ ปฏิบัต ิ ปฏเิ วธ

นพิ พานมลี กั ษณะคอื  “สนั ตลิ กั ขณะ” เปน็ ความสงบจากรปู -นามขนั ธ ์ ๕ เปน็ วมิ ตุ ตหิ ลดุ พน้ ซ่ึงผู้ปฏิบัติวิปัสสนาเท่าน้ันจะเข้าถึง พ้นจาก  การเจริญวิปัสสนาแล้วก็ไม่มีโอกาสจะเข้าถึง  มรรคผลนิพพานได้เลย ฉะน้ัน บุคคลจึงต้อง  เจรญิ วปิ สั สนา วปิ สั สนา เปน็ ชอ่ื ของปญั ญา แปลวา่  ปญั ญา ทรี่ แู้ จง้  ความรแู้ จง้ เหน็ จรงิ  ความรเู้ หน็ ตามความ เปน็ จรงิ  เกดิ ปญั ญารแู้ จง้ เหน็ จรงิ ขน้ึ มา เรยี กวา่ เปน็ วปิ สั สนา คอื ปญั ญานน่ั เอง ปญั ญาทรี่ แู้ จง้ นี้ จะเกดิ ขน้ึ มาได ้ กต็ อ้ งอาศยั การเจรญิ สตปิ ฏั ฐาน ๔ บ่อยๆ เนอื งๆ 19เขมรังสี ภิกขุ

“สติปัฏฐาน ๔” คือ การเข้าไประลึกรู้ ตามด ู รเู้ ทา่ ทนั  ในฐานทตี่ งั้ ของสต ิ ๔ ฐาน คอื กาย เวทนา จิต ธรรม ทต่ี งั้ ของสต ิ เรียกวา่  สติปฏั ฐาน สตเิ ขา้ ไประลกึ รฐู้ านทง้ั  ๔ กเ็ รยี กวา่  สต-ิ   ปัฏฐาน เหมอื นกัน กาย-เวทนา-จิต-ธรรม มสี ตติ ามระลกึ รกู้ ายในกายอยเู่ นอื งๆ เรยี ก ตามภาษาธรรมะวา่  “กายานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน” มสี ติตามระลึกรเู้ วทนาในเวทนาอยู่เนืองๆ เรียกวา่  “เวทนานปุ สั สนาสติปฏั ฐาน” 20 ปริยตั ิ ปฏิบตั  ิ ปฏิเวธ

มสี ตติ ามระลกึ รจู้ ติ ในจติ อยเู่ นอื งๆ เรยี กวา่ “จติ ตานุปัสสนาสติปฏั ฐาน” มีสติตามระลึกรู้ธรรมในธรรมอยู่เนืองๆ เรยี กวา่  “ธรรมานุปัสนาสตปิ ฏั ฐาน” บคุ คลผหู้ วงั ความพน้ ทกุ ขจ์ รงิ ๆ ตอ้ งเจรญิ   สติปัฏฐานเท่าน้ัน คือ เจริญสติระลึกรู้กาย เวทนา จิต ธรรม จึงจะเข้าไปรู้แจ้ง เห็นจริง สภาพท่ีเห็นแจ้งหรือรู้จริงเห็นจริงในเบ้ืองต้น หรอื ในสว่ นทย่ี งั เปน็ โลกยี ะ กค็ อื  จะเหน็ รปู -นาม ตามความเป็นจริง รูป-นามเป็นของจริง รูปธรรม-นามธรรม เป็นของจริง หรอื เป็นธรรมชาติที่มอี ยูจ่ รงิ 21เขมรังสี ภกิ ขุ

ความจรงิ ของรปู  ความจรงิ ของนาม นนั้   ก็คือ มันเปล่ียนแปลง มันเกิด-ดับ มันบังคับ  ไม่ได้ มันไม่ใช่ตัวตน รูปธรรม-นามธรรมเป็น สภาพท่ีไม่ใช่สัตว์ บุคคล ไม่ใช่ตัวตน เรา เขา แตเ่ ปน็ ธรรมชาต ิ เปน็ ธาต ุ หรอื ธรรมชาตทิ ม่ี อี ยู่ เปน็ อยจู่ รงิ ๆ แตเ่ ปน็ อยใู่ นสภาพทเ่ี กดิ -ดบั  เปลย่ี น แปลง ย่อยยับ แต่มันเกิด-ดับของมันอยู่ เกิด- ดับ เกิดข้นึ ใหม่...ดบั ไป เกดิ ขนึ้ ใหม.่ ..ดับไป รูปแต่ละรูป เกิดข้ึนมาก็แตกดับ นาม แตล่ ะนามเกดิ ขน้ึ มากด็ บั  เกดิ มากด็ บั  แตม่ นั เกดิ ขึ้นอยู่เร่ือยๆ ดับไปอยู่เร่ือยๆ การท่ีจะเข้าไปรู้ เห็นมันต้องอาศัยการเจริญสติ จึงจะเข้าไปเห็น ได้ 22 ปรยิ ัติ ปฏิบัต ิ ปฏเิ วธ

“เห็น” ในท่ีน้ีคือ ไม่ใช่ตาเน้ือเห็น ไม่ใช่ มองด้วยตา แต่เป็นการเห็นด้วยใจ มองด้วยใจ เหน็ ดว้ ยญาณ เหน็ ดว้ ยปญั ญา เปน็ การรเู้ หน็ ใน ความรสู้ กึ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ภาพ ไมใ่ ชเ่ หน็ แบบเปน็ ภาพ แตเ่ หน็ ในความรสู้ กึ  คอื รบั รใู้ นความรสู้ กึ นนั่ เอง รับรู้ รู้เหน็ ดว้ ยใจ ดว้ ยสต ิ ดว้ ยปญั ญา เกดิ การ รู้แจ้งว่ามันเปลี่ยนแปลง มันเกิด-ดับ มันไม่ใช่ ตัวตน ปกตธิ รรมดาของปถุ ชุ นกจ็ ะเขา้ ใจวา่  ตวั เอง เปน็ คน เปน็ เรา เปน็ ของเรา เปน็ หญงิ  เปน็ ชาย เป็นของเที่ยง เป็นของสวยงาม โดยเฉพาะมี ความเขา้ ใจวา่ มนั เปน็ ตวั ตนอย ู่ นค่ี อื ความเหน็ ผดิ เป็นความหลงผิด เป็นความยึดผิด เป็นวิปลาส คือความเหน็ ทค่ี ลาดเคล่ือนจากความเป็นจริง 23เขมรงั สี ภกิ ขุ

ความเป็นจริงแท้ๆ น้ัน ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่ บคุ คล ไม่ใชต่ ัวตน อา้ ว...ถา้ ไมใ่ ชต่ วั ตน แลว้ อะไรละ่ ทนี่ ง่ั อย?ู่ ก็ไม่ใช่ตัวตน แต่มันเป็นสภาพธรรมที่ประกอบ กนั อย ู่ ไมใ่ ชว่ า่ ไมม่ ตี วั ตนแลว้ มนั วา่ งเปลา่ ไปหมด ไมม่ อี ะไรเลย ไมใ่ ช่อย่างนน้ั  มนั กม็ ีอย ู่ มธี รรม ชาติ มีธาตุดิน น้�ำ ลม ไฟ มีตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ มรี ปู  มเี วทนา มสี ญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ มนั มอี ยู่ แตม่ ันไมใ่ ช่ตัวตน รปู มอี ยจู่ รงิ ๆ คอื  ส ี เสยี ง กลนิ่  รส โผฏ- ฐัพพะ ได้แก่ เย็น ร้อน อ่อน แข็ง หย่อน ตึง มันมีอยู่จริงๆ แต่มันมีลักษณะท่ีเปล่ียนแปลง แตกดบั  สภาพทเ่ี ปลยี่ นแปลงแตกดบั คอื สภาพ  24 ปรยิ ัติ ปฏิบัต ิ ปฏิเวธ

ของการบังคับไม่ได้ การท่ีบังคับไม่ได้น้ี ถือวา่   ไมใ่ ชต่ ัวตน มีแลว้ หมดไปๆ เหมือนฟองน�้ำ, ต่อมน้�ำที่ผุดข้ึนมาก็แตก ดับ ผดุ ข้นึ มากแ็ ตกดับ ไมส่ ามารถจะตั้งอยู่ เหมือนพยับแดดที่เรามองดูไกลๆ มัน ยบิ ยบั ๆ เหมอื นเปน็ ตวั ตน พอเขา้ ไปใกลจ้ รงิ ๆ  มนั ก็ไมม่ ี เหมือนต้นกล้วยท่ีเราดูว่า เออ...มันมีเป็น ลำ� ตน้  เหมอื นมแี กน่  แตเ่ มอ่ื ปอกไปๆ ลอกออก ทีละชั้นๆ ก็ไมม่ ีแกน่ อะไร 25เขมรงั สี ภกิ ขุ

สังขารชีวิตนี้ก็เหมือนกัน ดูเหมือนมันมี ตวั ตนอย ู่ แตเ่ มอื่ ดเู ขา้ ไป รเู้ ขา้ ไป พจิ ารณาเขา้ ไป อยเู่ นอื งๆ กก็ ลบั ไมม่ อี ะไร ไมม่ ตี วั ตน มแี ตส่ งิ่ ที่ อาศัยกัน เกิดข้ึน เปลี่ยนแปลง แตกดับกันอยู่ อย่างน้ี ท่านเรียกว่าเป็นปรมัตถ์ เรียกว่าเป็น ธรรมชาติ เรียกวา่ เปน็ รูป เปน็ นาม เพราะฉะนน้ั  ปญั ญาของผปู้ ฏบิ ตั  ิ เมอ่ื สอ่ ง ไป พจิ ารณาไปในสงั ขารรา่ งกายจติ ใจ กจ็ ะเหน็ อนตั ตา คอื ความวา่ งเปลา่ จากความเปน็ ตวั ตน แต่ท่ีว่า “ว่างเปล่า” ก็ไม่ใช่ว่าว่างไม่มีอะไรเลย นงั่ ไปไมม่ อี ะไร กไ็ มใ่ ชอ่ ยา่ งนนั้  สตติ อ้ งจบั  ตอ้ ง รับรอู้ ยู่กบั สภาวะทเี่ ปลยี่ นแปลง ทแ่ี ตกดบั อยู่ 26 ปริยตั ิ ปฏบิ ัติ ปฏิเวธ

รูป-นาม เป็นความจริง เป็นสิ่งที่เป็นจริง รูปต่างๆ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย สี เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เหล่าน้ีเป็นส่ิงท่ีมีอยู่จริง สงั ขารรา่ งกายประกอบดว้ ยธาตดุ นิ  นำ�้  ลม ไฟ อากาศ ประสาทตา ประสาทหู ประสาทจมูก ประสาทลิ้น ประสาทกาย มันมีอยู่จริง แต่มัน เปล่ียนแปลง แตกดับ เกิดใหม่ ดับไป ชดเชย กันอยู่อย่างน้ี อีกส่วนก็เป็นนามธรรม ซึ่งมาอาศัย มา เกิดข้ึนในร่างกายน้ี เมื่อมีเหตุปัจจัยประกอบ กม็ นี ามเกดิ ขน้ึ  นามไมใ่ ชข่ องคงท ี่ มนั่ คง ตงั้ อยู่ ตลอด ไม่ใช่อย่างนั้น นามจะเกิดข้ึนเพราะมีส่งิ เป็นเหตุปัจจัย เหตุปัจจัยประกอบกัน จึงเกิด นามธรรมขึน้ 27เขมรังสี ภิกขุ

เช่น มีสี มีประสาทตา มีความต้ังใจมอง ไป การเหน็  หรอื  “นามเหน็ ” จงึ เกดิ ขน้ึ  อยา่ งน้ี แลว้ มนั ก็ดบั ไป มปี ระสาทห ู มเี สยี ง มชี อ่ งห ู มคี วามสนใจ เป็นเหตุปัจจัยกนั  “นามไดย้ นิ ” จงึ เกดิ ขน้ึ  แลว้ ก็ ดบั ไป ไมใ่ ชข่ องทมี่ อี ยตู่ ลอดเวลา มันมีเพราะว่า มีสิ่งนี้ สิ่งน้ีประกอบเป็นปัจจัยจึงเกิดขึ้นมา พอ ส่ิงน้ีแยกกันไป มันก็ดับไป มันเป็นธรรมดา อยา่ งนนั้ มปี ระสาทจมกู  ถา้ มกี ลนิ่ มากระทบ “นาม ร้กู ลน่ิ ” ก็เกดิ ขนึ้  พอรู้กลน่ิ แลว้ กด็ ับไป 28 ปริยตั  ิ ปฏิบัติ ปฏเิ วธ

มปี ระสาทลนิ้  มรี สะ (ระ-สะ, คอื  รส) มา กระทบประสาทลนิ้  มอี าโป เชอื่ ม (คอื  ธาตนุ ำ้� ) กเ็ กดิ รรู้ ส “นามรรู้ ส” จงึ เกดิ ขน้ึ  แลว้ มนั กด็ บั ไป มปี ระสาทกาย มโี ผฏฐพั พารมณ ์ มปี ระสาท กายอยู่ตรงไหน มโี ผฏฐพั พารมณม์ ากระทบ จึง เกดิ  “นามรสู้ กึ ” ขน้ึ  ทร่ี สู้ กึ เยน็  รสู้ กึ รอ้ น รสู้ กึ อ่อน รู้สึกแข็ง รู้สึกหย่อน รู้สึกตึง เพราะมี การกระทบสัมผัสกันระหว่างกายประสาทกับ โผฏฐพั พะ คอื  เยน็  รอ้ น ออ่ น แขง็  หยอ่ น ตงึ มากระทบประสาทกาย จงึ เกดิ  “นามรสู้ กึ ” ขนึ้ จงึ เกดิ  “กายวญิ ญาณรสู้ กึ ” ขนึ้  แลว้ มนั กแ็ ตกดบั ไม่ใช่ว่ามันตั้งอยู่ตลอดไปหรอก มีประสาทกาย มีโผฏฐัพพะกระทบ มันจึงเกิดข้ึน แล้วมันก็ แตกดับ 29เขมรังสี ภกิ ขุ



แม้แต่วิญญาณที่เป็น มโนวิญญาณธาตุ เช่น การนึกคิด จิตที่เป็นไปด้วยโลภะ โทสะ การปรุงแต่ง วิตกวิจารในจิตใจ ก็ไม่ใช่ว่าเกิด... ต้ังอยู่...ม่ันคงตลอดไป แต่อาศัยมีเหตุมีปัจจัย ความนึกคิดก็เกิดข้ึน ถ้ามีการปรุงแต่งในจิตใจ มีวิตก มีวิจาร มีอารมณ์มาปรุงจิต จิตก็คิดไป นกึ ไป เมอ่ื วติ กวจิ ารดบั  จติ กห็ ยดุ คดิ  พอมวี ติ ก วจิ าร มนั กค็ ดิ อกี  ถา้ คดิ ไป คดิ ไป ขาดสต.ิ .. ก็ ฟุ้งอีก ฟุ้งซ่าน แล้วก็หงุดหงิด ร�ำคาญ เดี๋ยวก็ โกรธ เดีย๋ วก็โลภ เดีย๋ วกห็ ลง ความโลภ ความโกรธ ความหลงก็ไม่ใช่ สิ่งที่มีอยู่ตลอดเวลา มันมีเพราะว่ามีการปรุง แต่งขึ้นมา คิดนึกข้ึนมา จิตมันก็มีโทสะบ้าง มี ฟงุ้ บา้ ง มหี งดุ หงดิ บา้ ง แลว้ มนั กเ็ ปลย่ี นแปลง... 31เขมรังสี ภกิ ขุ

หายไป...ดับไปเม่ือหมดเหตุหมดปัจจัย เม่ือมี เหตุมีปัจจัย มันก็เกิดอีก มันเกิดสืบต่อๆๆ สืบ ต่อกันอย่างกระชั้นชิดก็เลยดูเหมือนว่าเป็นของ จีรงั ย่ังยืน เป็นตัวเปน็ ตน  เพราะฉะนนั้  ดว้ ยปญั ญาของผปู้ ฏบิ ตั  ิ เมอ่ื ไดเ้ จรญิ สตเิ ฝา้ ด ู เฝา้ ร ู้ เฝา้ ตดิ ตามในสงั ขาร ใน ร่างกาย ในจิตใจ ต่อเนื่องไปเร่ือยๆ ก็จะรู้เห็น ตามความเป็นจริง จะเห็นกระแสท่ีขาดตอน ไดย้ นิ กด็ บั  คดิ นกึ กด็ บั  เยน็ -รอ้ นกด็ บั  ตงึ -หยอ่ น กด็ บั  ปวดเจบ็ ก็เปลย่ี นแปลงเกิด-ดับ “เวทนา” เปน็ นาม ปวดบา้ ง เจบ็ บา้ ง เมอ่ื ย บ้าง ร้อนเกินไปบ้าง หนาวเกินไปบ้าง ชาบ้าง แนน่ บา้ ง ฯลฯ เหลา่ นเี้ ปน็ ทกุ ขเวทนา มนั กไ็ มใ่ ช่ 32 ปรยิ ตั  ิ ปฏิบตั  ิ ปฏิเวธ

ตัวตนหรอก แล้วก็ไม่ใช่ต้ังอยู่ตลอดไป อาศัย มีเหตุมีปัจจัย...มันก็เกิด หมดเหตุหมดปัจจัย... มนั ก็ดับ ถ้ามเี หตใุ หเ้ กดิ อีก มนั กเ็ กิดอีก มีการ เกิดสืบต่อๆ สืบต่อกันอย่างรวดเร็ว ท�ำให้รู้สึก เหมือนว่าปวดอยู่ตลอดเวลา เจ็บตลอดเวลา เมื่อยตลอดเวลา แล้วก็เลยรู้สึกเป็นตัวเรา เป็น ตวั ตนของเรา เปน็ คน เปน็ สตั ว ์ เปน็ เราปวด เปน็ เราเจบ็  เปน็ เราเมอ่ื ย เปน็ เราชา เปน็ ตวั เปน็ ตน เมอื่ สำ� คญั มน่ั หมายยดึ ถอื เปน็ ตวั ตนเสยี แลว้  จติ ก็เปน็ ทกุ ข์ วุน่ วาย เสยี ใจ เร่ารอ้ น แตเ่ มอ่ื เจรญิ สต ิ ระลกึ ร ู้ คอยด ู คอยร ู้ คอย พจิ ารณาใสใ่ จลงไปทคี่ วามปวดความเจบ็  วางใจ  เป็นกลาง ดูไป...รู้ไป มากๆ เข้าก็เห็นว่า เอ... เวทนาก็เปลี่ยนแปลงเหมือนกัน มันก็ไม่ตั้งอยู่ 33เขมรงั สี ภิกขุ

จติ ทเ่ี ขา้ ไปร ู้ กไ็ มใ่ ชร่ ตู้ ลอดเวลา เหน็ ปวดสกั แตว่ า่ ปวด เห็นรู้สักแต่ว่ารู้ เมื่อจิตเข้าไปรับรู้จึงรู้สึก ปวด เม่ือไม่รับรู้ก็ไม่รู้สึกปวด มันปวดเพราะ มจี ติ เขา้ ไปร ู้ แลว้ จติ กไ็ มใ่ ชร่ ตู้ ลอดเวลา เวลาจติ คิดไปเรื่องอื่น...อ้าว! ความปวดก็ขาดหาย พอ จิตเข้าไปรู้ตรงที่ปวด ก็รู้สึกปวดอกี สังเกตอย่างนี้ก็จะพบว่า มันมีการเปลี่ยน แปลง ขาดชว่ ง ขาดตอน เหน็ วา่ มนั เกดิ -ดบั  มนั บังคับไม่ได้ เม่ือใส่ใจสังเกตไปที่ความปวดน้ัน  ดลู กึ ซง้ึ ลงไปแลว้ กไ็ มม่ แี กน่  ไมม่ ตี วั ตน แตว่ า่   ความปวดนั้นมีจริง ความเจ็บมีจริง ความไม่  สบายมจี รงิ  แตม่ นั กไ็ มใ่ ชต่ วั ตน บงั คบั มนั ไมไ่ ด ้ ถา้ มนั เปน็ ตวั เรา ตวั ตนของเรา มนั กต็ อ้ งบงั คบั   ได ้ บงั คบั อยา่ ปวด อยา่ เจบ็  กต็ อ้ งบงั คบั ได ้ แต ่ นมี่ ันบังคับไม่ได้เพราะมันไมใ่ ชต่ วั ตน 34 ปริยตั ิ ปฏิบัติ ปฏเิ วธ

ความปวด ความเจบ็ มนั กป็ ระกาศตวั มนั เอง ตลอดเวลา ว่ามันไม่ใช่ตัวตน มันไม่เที่ยง มัน บังคับไม่ได้ แต่ความท่ีไม่รู้ตามความเป็นจริง จติ กอ็ ยากจะบงั คบั  จติ กอ็ ยากจะใหม้ นั หายปวด หายเจ็บ แต่แล้วจิตก็ไม่สมปรารถนา แล้วจิตก็ เสยี ใจ แลว้ จติ กก็ ลมุ้ ใจ แลว้ จติ กเ็ ปน็ ทกุ ข ์ ทจี่ ติ ทกุ ขก์ เ็ พราะวา่ ไมไ่ ดอ้ ยา่ งใจ ไมเ่ ปน็ ไปตามความ ปรารถนา จงึ ทกุ ขใ์ จ เสยี ใจ เรา่ รอ้ นใจ เกดิ ทกุ ข์ ทางใจข้ึนมาอกี ความทกุ ขจ์ งึ ม ี ๒ ดา้ น คอื  ทกุ ขก์ ายกบั   ทุกข์ใจ  “ทุกข์กาย” ก็คือ ความปวด ความเจ็บ ความเมื่อย ความไม่สบายต่างๆ ที่เกิดกับ รา่ งกาย 35เขมรังสี ภิกขุ

“ทกุ ขใ์ จ” กค็ อื  ความเรา่ รอ้ น ความขนุ่ ขอ้ ง หมองใจ กระวนกระวายใจ ฯลฯ เหล่าน้ีเป็น ทุกขท์ ่ใี จ บุคคลต้องหมั่นฝึก หม่ันพิจารณา ศึกษา เข้าไปดูในกายในจิต เห็นความจริงของเวทนา เหน็ ความจรงิ ของสงั ขาร วา่ เปน็ สง่ิ ทบี่ งั คบั ไมไ่ ด้ เป็นสิ่งที่เป็นธรรมดาของมันอย่างนั้น จิตรู้จัก  วาง รจู้ กั ปลอ่ ย ไมอ่ ยาก ไมย่ ดึ  ไมบ่ งั คบั ใหเ้ ปน็   อยา่ งนนั้ อยา่ งน ี้ วางเขาอยตู่ ามสภาพ ปวดกค็ อื   ปวด เจบ็ กค็ อื เจบ็  แตจ่ ติ ไมป่ วดไมเ่ จบ็ ไมท่ กุ ข ์ ดว้ ย เฝา้ มสี ต ิ คอยด ู คอยร ู้ แยกตวั กนั อย ู่ กาย  สว่ นกาย จิตส่วนจติ   ความปวดก็ไม่ใช่กาย แต่มาอาศัยแฝงอยู่ ท่ีกาย 36 ปริยัติ ปฏบิ ัต ิ ปฏเิ วธ

จติ ใจก็ไมใ่ ชค่ วามปวด แต่มันไปรปู้ วดได้ ความปวดไมใ่ ชส่ ภาพร ู้ สภาพรกู้ ไ็ มใ่ ชค่ วาม ปวด ความปวดก็ไม่ใช่ตัวตน ผู้รู้ปวดก็ไม่ใช่ตัว ตน สักแต่เป็นธรรมชาติ เป็นนามแต่ละอย่างๆ เทา่ นน้ั ถ้าผู้ปฏิบัติมองเห็นมันเป็นธรรมชาติแต่ ละอัน แต่ละอย่าง แต่ละชนิด ไม่เท่ียง บังคับ ไมไ่ ด ้ จติ กจ็ ะรจู้ กั วาง รจู้ กั ยอมรบั  จติ ทยี่ อมรบั ได้ เรียกว่ามันปลง มันปล่อยวาง มันปลงก็คือ มนั ละ มนั ยอม เมอ่ื ยอมลงปลงได ้ มนั กห็ ลดุ พน้ คนเรานน้ั ถา้ ไมย่ อม กม็ แี ตท่ กุ ขเ์ พม่ิ  เหมอื นคน ทถ่ี กู มดั ไวแ้ ลว้ ดนิ้  ยง่ิ ดน้ิ กย็ ง่ิ บาดเจบ็  ถา้ เราโดน โซ่มัดไว้ โดนลวดหนามมัดไว้ ถ้าเราด้ินจะเจ็บ 37เขมรังสี ภกิ ขุ

มากขนึ้ อกี  แตถ่ า้ เราอดใจ ขม่ ใจ ควบคมุ ใจ ตง้ั สติ ท�ำตัวเองให้อยู่เฉยๆ น่ิงๆ มันก็จะไม่บาดเจ็บ แล้วมนั ก็จะหลุดได้ หลุดดว้ ยทางจิตใจ คนท่ีติดคุก ติดตะราง ถูกขังในคุก ถ้าใจ เขาวิตกวุ่นวาย เขาก็ติดคุกทางใจด้วย แต่ถ้าใจ เขาไมว่ นุ่ วาย กายตดิ แตใ่ จไมต่ ดิ  ใจมนั กไ็ มท่ กุ ข์ ตรงกนั ขา้ ม คนทรี่ า่ งกายไมไ่ ดต้ ดิ คกุ  จะเดนิ ไป ไหน จะอยู่ท่ีไหน ไปได้ตามใจชอบ แต่ว่าจิตใจ ยึดม่ันถือม่ัน เขาก็กลับเป็นทุกข์...น่ีคือ ติดคุก ทางใจ มนั กเ็ ปน็ ทกุ ข ์ ทกุ ขใ์ จนห่ี นกั กวา่  อยตู่ รง ไหนก็ทุกข์ที่น่ัน แต่ทางใจน้ี เราสามารถฝึกหัด ปรับ พัฒนาข้นึ ได้ อาตมาเพิ่งได้รับจดหมายจากคนคุก นัก โทษเขียนจดหมายมาท่ีอาตมา วันก่อนมี ๒ 38 ปรยิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิ ปฏเิ วธ

ราย วนั นก้ี ม็ มี าอกี รายหนงึ่  เขาอยากไดห้ นงั สอื ธรรมะต่างๆ เขาต้องติดคุก ๑๐ ปี เพ่ิงติดมา ได้ประมาณ ๔ ปี เขาบอกว่าเขามีความส�ำนึก ในบาปบญุ คณุ โทษ กเ็ ลยมองเหน็ วา่ ไมม่ อี ะไรจะ ดบั ทกุ ขไ์ ด ้ นอกจากธรรมะ กเ็ ลยหนั หนา้ เขา้ หา ธรรมะ พยายามหาหนงั สอื ธรรมะอา่ น พยายาม ปฏิบัติตนเอง พยายามท�ำตนเองให้เป็นคนดี เชอื่ ฟงั คำ� สงั่ ผบู้ งั คบั บญั ชาหรอื ผคู้ วบคมุ  มอี ะไร จะชว่ ยงานเขาไดก้ ช็ ว่ ย มคี วามรกู้ เ็ อาความรมู้ า เปน็ วทิ ยาทาน แลว้ กร็ กั ษาศลี  ๘ ดว้ ย ขนาดอยู่ ในคกุ  เขาขอหนงั สอื มา อาตมากค็ ดิ วา่ จะเตรยี ม สง่ หนังสือตา่ งๆ ไปให้ ถ้าอย่างน้ี เขาก็จะได้มีความเบาใจข้ึน รา่ งกายตดิ คกุ กจ็ รงิ  แตถ่ า้ ใจมธี รรมะแลว้  ใจกไ็ ม่ 39เขมรังสี ภิกขุ

ทุกข ์ น่ีเพราะว่าได้รู้จักทางดำ� เนินของจิตใจ ถ้า จติ รจู้ กั ปลง รจู้ กั วาง มนั กไ็ มว่ นุ่ วาย ทจ่ี ติ วนุ่ วาย กเ็ พราะไมป่ ลง ไมว่ าง คอื มนั อยากจะใหไ้ ดอ้ ยา่ ง นนั้  จะใหไ้ ดอ้ ยา่ งน ้ี จะใหเ้ ปน็ อยา่ งนนั้  จะใหเ้ ปน็ อย่างน้ี มันก็กลุ้ม มันก็เสียใจ มันก็วุ่นวายใจ เพราะไมม่ อี ะไรทจี่ ะเปน็ ไปตามความปรารถนาได้ เพราะฉะนั้น บุคคลต้องรู้จักวาง รู้จักปลง คือ  ยอมรับความไม่เที่ยง ยอมรับความเป็นทุกข ์ ยอมรับความเป็นอนตั ตา บงั คับบญั ชาไมไ่ ด้ พงึ เขา้ ใจวา่  จติ นสี้ ามารถฝกึ ใหม้ นั ไมท่ กุ ข์  ได้ ให้เข้าใจว่าจิตมีสิทธิ์จะฝึก แล้วจิตก็ฝึก ตัวมันเองด้วยสติปัญญา ฝึกไม่ให้มันทุกข์ได้ ส�ำหรับคนท่ีไม่ได้ฝึก ก็ดูเหมือนกับว่ามันต้อง ทกุ ข ์ ไมม่ ที างเลอื ก เมอ่ื กายทกุ ข.์ ..ใจกต็ อ้ งทกุ ข์ 40 ปริยัติ ปฏิบตั  ิ ปฏิเวธ



เมอ่ื ใจทกุ ข.์ ..กายกต็ อ้ งทกุ ข ์ แตค่ วามเปน็ จรงิ แลว้ สามารถฝกึ ใหท้ กุ ขเ์ พยี งกาย แตใ่ จไมท่ กุ ขด์ ว้ ย  ได้ คนทเ่ี จริญสต ิ ฝกึ หัดกรรมฐานมากๆ ขนึ้ มากๆ ข้ึน กายเขาปวด กายเขาเจ็บ แต่ใจเขา วางเฉยได ้ อยา่ งนเ้ี รยี กวา่ มนั ไมร่ วมตวั กนั  มอง... รสู้ กึ  กายสว่ นกาย จติ สว่ นจติ  สตดิ แู ลรกั ษาจติ ให้ปล่อย ให้วางอยู่ จิตมันก็รู้จักเบาตัวของมัน โดยเฉพาะวา่  ยง่ิ จติ ดนิ้ รน กระวนกระวาย กส็ ง่ ผลไปสู่ร่างกายให้ตึง ให้เคร่งเครียด เลยเบียด ให้เป็นทุกข์ย่ิงขึ้น ตรงกันข้าม...ถ้าจิตรู้จักทน รู้จักวาง รู้จักนง่ิ  ท่ีสดุ แล้ว...กายกค็ ล่ีคลายตาม เราจะสังเกตเห็นได้เลยถึงความสัมพันธ์ ระหว่างจิตใจกับร่างกาย โดยเฉพาะส่วนสมอง 42 ปรยิ ัต ิ ปฏิบตั ิ ปฏิเวธ

ถา้ จติ เราวนุ่ วาย ดน้ิ รน กระวนกระวาย กระสบั กระส่าย สมองจะเคร่งตึง เคร่งเครียด แล้วก็ เป็นทุกข์ ดีไม่ดีก็ปวดศีรษะ ฉะน้ัน ที่สมองมัน เคร่งตึง เคร่งเครียด ปวดศีรษะ มันก็มาจาก จิต...จิตท่ีวุ่นวาย วิตกกังวล จิตที่เร่าร้อน มัน ส่งผลให้สมองเครียด แล้วถ้าสมองเครียด มัน ก็แผ่ไปท่ีอวัยวะส่วนอ่ืนด้วย เพราะว่าสมอง ควบคุมอวัยวะส่วนต่างๆ ระบบการท�ำงานของ ร่างกายก็ถกู บีบรดั  รดั ตัว ท�ำงานไม่ปกติ เพราะฉะนั้น ถ้าหากว่า บุคคลใดฝึกจิต  รกั ษาจติ ใจใหด้ งี ามดว้ ยสต ิ สมาธ ิ ปญั ญา ดว้ ย  การเจริญภาวนาอยู่เสมอ จนจิตใจรู้จักวางได้  เฉยได ้ นงิ่ ได ้ กจ็ ะสงั เกตพบวา่ สมองจะคลค่ี ลาย  เราพิสูจน์ได้ด้วยตนเอง ธรรมะเป็นเรื่องพิสูจน์ 43เขมรังสี ภิกขุ

ได้ เวลาจิตใจของเราเกิดสภาพท่ีดีงาม สมอง จะคลายตวั  จะโปรง่  จะเบา การเจริญวิปสั สนา จงึ ไมใ่ ชส่ ง่ิ ทตี่ อ้ งทำ� ดว้ ยความครำ่� เครง่  ถา้ เราทำ� แบบคร่�ำเคร่ง สมองก็จะบีบตัว เคร่งตึง ส่งผล ไปสู่อวยั วะตา่ งๆ ท�ำให้เคร่งตงึ ตามไป การเจริญวิปัสสนาเป็นเรื่องของการฝึก  จิตใจให้มีความเป็นปกติ ให้จิตมีสติ...รู้ตื่นอยู่  ภายใน ปล่อยวางอยู่ในตัว รู้...ดู...เท่าทันอยู ่ แตว่ า่ ไมบ่ งั คบั  ไมก่ ดขม่  มคี วามเปน็ ปกต ิ เปน็   ธรรมดา น่ันแหละคือภาวนา เป็นความเจริญ  ของสติ ยิ่งใครที่สมองเคร่งตึงได้ง่าย ก็ยิ่งจะมี เกณฑ์วัดให้ปฏิบัติได้ถูกตรงมากยิ่งขึ้น เพราะ 44 ปรยิ ตั  ิ ปฏบิ ตั ิ ปฏเิ วธ

ถา้ เราทำ� ผดิ นดิ หนงึ่  กจ็ ะมผี ลตอ่ สมองใหต้ งึ  ให้ เกรง็  เกดิ ทกุ ขเวทนา เพราะฉะนนั้  ทกุ ขเวทนา  จงึ มาเปน็ เกณฑว์ ดั  คอยจบั  วดั ใหว้ างจติ วางใจ  ใหป้ กต ิ ถา้ จติ ผดิ ปกตเิ มอ่ื ไร ความเครง่ ตงึ ของ  สมองก็จะเกิดขึ้น การปวดศีรษะก็จะตามมา  ฉะนน้ั  ทกุ ขเวทนานแ่ี หละจงึ เปน็ เกณฑว์ ดั  เปน็ ตัววัดการปฏิบัติ ว่าท�ำได้ตรง ได้ถูกส่วน พอดี ไหม บังคับไหม อยากไหม ยึดไหม วางใจวาง เฉยไดด้  ี ไดแ้ นบเนียนไหม ย่ิงเราฝึกหัดปฏิบัติไป ย่ิงวาง ต้องวาง อย่างแนบเนียน ใจต้องมีความเป็นกลาง เป็น ปกติ ระลึกรู้อย่างปกติจริงๆ แต่ส�ำหรับคนที่ ฝกึ หดั เบอื้ งตน้ ใหมๆ่  กจ็ ำ� เปน็ ตอ้ งเพง่ บา้ ง บงั คบั บ้าง ดึงมาบ้าง มีรูปแบบบ้าง เพ่ง...จับไปทีละ 45เขมรงั สี ภิกขุ

อย่างบ้าง อันนั้นก็เป็นธรรมดาของคนฝึกใหม่ ยังจ�ำเป็นเพราะว่ายังไม่เข้าใจ ยังไม่รู้ท่ัวถึงใน สภาวธรรมต่างๆ ก็ต้องดูไปทีละอย่างสองอย่าง ก�ำหนดดูลมหายใจก่อนบ้าง หายใจเข้าให้รู้... หายใจออกให้ร ู้ หายใจเขา้ ใหร้ .ู้ ..หายใจออกให้รู้ ดกู ายทนี่ งั่ อย ู่ ดกู ายทย่ี นื  ทเี่ ดนิ  ทน่ี อน เมอ่ื ได้ รู้จักเข้าไปถึงสภาวะตา่ งๆ ที่เป็นปรมตั ถ์ เข้าไป สมั ผสั ความเยน็  ความรอ้ น ความออ่ น ความแขง็ ความตงึ  ความไหว ความรสู้ กึ นกึ คดิ  ดจู ติ  ดใู จ ดู ความเปน็ ไปในกระแสจติ เปน็  กจ็ ะพบธรรมชาติ ต่างๆ แล้วก็ค่อยปรับ วาง เป็นกลาง เป็นปกติ ขน้ึ ไปตามลำ� ดบั  นค่ี อื ทางดำ� เนนิ ของจติ วญิ ญาณ ท่ีจะหลดุ รอดจากความทุกข์ 46 ปริยัติ ปฏบิ ัติ ปฏิเวธ

ถา้ เราไมท่ ำ� ทางน ้ี กไ็ มร่ จู้ ะไปทำ� ทางไหน  มันไม่มีทางอ่ืน เวลาท่ีมีทุกข์ เราจะไปตีโพย  ตพี ายอยา่ งอนื่  กด็ บั ทกุ ขไ์ มไ่ ด ้ กลบั ยงิ่ ทกุ ข ์ ยง่ิ   วนุ่ วายมากขน้ึ  มแี ตต่ อ้ งฝกึ ตอ้ งหดั  ความทกุ ข์  จงึ จะกลายเปน็ ประโยชน ์ เปน็ ขอ้ มลู  เปน็ สงิ่ ที่  จะปอ้ นใหเ้ กดิ สติปญั ญาขน้ึ ฉะนนั้ ... ถา้ ไมม่ ีทกุ ข์ ไฉนเลยจะเกดิ ปญั ญา ถ้าไม่มปี ัญหา ไฉนเลยจะเกิดบารมี ความทุกข์และปัญหาคือบทเรียนและ ขอ้ สอบ จงใชส้ ตปิ ญั ญาเข้าแก้ไขปญั หาทกุ ชนดิ อยา่ แกไ้ ขปญั หาด้วยกิเลส 47เขมรังสี ภิกขุ

ถา้ แกไ้ ขปญั หาดว้ ยกเิ ลส จะไมเ่ ปน็ ความ พน้ วเิ ศษอย่างแนน่ อน ปัญหาของคนเรา มันก็อยู่ที่ใจนั่นแหละ ปัญหาทุกอย่าง ถ้าเราแก้ใจได้ ปัญหาก็ไม่มี ถึงมันจะมีปญั หา ก็เหมือนไมม่ ีปัญหา ถา้ ใจมนั หลุดได้เสียอย่าง ถึงมันจะมีปัญหาอะไรต่างๆ ภายนอกวนุ่ วายมากมาย เรอ่ื งนน้ั เรอ่ื งโนน้  เรอ่ื ง อะไรตา่ งๆ แมแ้ ตค่ วามทกุ ขท์ รี่ า่ งกาย ความปว่ ย ความเจบ็  ถา้ เราฝกึ จติ ใหว้ าง ใหห้ ลดุ  ถงึ มปี ว่ ย มีเจ็บ มันก็เหมือนไม่มีปัญหา เพราะจิตมัน ไม่ทุกข์เสียอย่าง เม่ือจิตมันปลง มันวาง มัน  ไม่ยึดถือ มันก็ไม่ทุกข์ จิตท่ีไม่ทุกข์เสียแล้ว  เราจะเอาอะไรกวา่ นนั้  จติ ทไี่ มท่ กุ ข ์ ไมว่ นุ่ วาย  ไมเ่ รา่ รอ้ น ไมเ่ ดอื ดรอ้ น นนั่ แหละคอื มนั หมด  ปญั หาได้ 48 ปรยิ ัติ ปฏบิ ัติ ปฏเิ วธ

เพราะฉะนน้ั  การแกป้ ญั หานนั้ จงึ แนะให้  มาแก้ที่ตนเอง โดยเฉพาะให้เข้ามาถึงจิตถึงใจ ตนเอง ถา้ เรามวั แตจ่ ะไปแกส้ งิ่ อน่ื ภายนอก เราก็ จะมแี ตว่ นุ่ วาย เรอื่ งนนั้ เรอื่ งโนน้  เรอ่ื งนเี้ รอ่ื งนนั้ แลว้ กไ็ มไ่ ดด้ ใู จตวั เอง ไมไ่ ดห้ ดั ใจตวั เอง เราจะไป ตามแก้ไหวได้อย่างไร เร่ืองต่างๆ มันมีอยู่เรื่อย มีแต่ทุกข์มากข้ึนๆ แต่ถ้าเราแก้ท่ีใจของเรา... ปลด ปลง ลง วาง ว่าง สบาย เมื่อวางก็ว่าง ไม่วางกว็ นุ่ วาย เมอ่ื วางกเ็ บา เม่อื เอาก็หนกั แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น...ก็ไม่ได้หมายความว่า เรา วางแบบไมเ่ อาธรุ ะกบั ใคร ไมแ่ กไ้ ขปญั หา ไมท่ ำ� หน้าท่ีให้ถูกหน้าที่ วางแบบไม่รู้ไม่ชี้ ไม่ใส่ใจ ไมส่ นใจ ใครจะมา ใครจะไป เรามหี นา้ ทอ่ี ยา่ งไร กเ็ ลกิ หนา้ ทเ่ี หลา่ นน้ั  นน่ั กไ็ มถ่ กู  ตอ้ งกระทำ�  ตอ้ ง 49เขมรงั สี ภกิ ขุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook