Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชีวิตมีธรรมแม้ราตรีเดียวก็ประเสริฐ

ชีวิตมีธรรมแม้ราตรีเดียวก็ประเสริฐ

Published by Sarapee District Public Library, 2020-10-04 01:05:46

Description: ชีวิตมีธรรมแม้ราตรีเดียวก็ประเสริฐ
โดย เขมรังสี ภิกขุ

Keywords: ธรรมะ

Search

Read the Text Version

ชีวิตมีธรรม แมร้ าตรเี ดียวก็ประเสรฐิ เขมรังสี ภกิ ขุ

ปฏทิ นิ 2563 • 2020 Calendar มกราคม January กมุ ภาพนั ธ์ Febuary มีนาคม March เมษายน April Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat 12 34 1 1 23 45 5 6 7 8 9 10 11 1 2 3456 78 6 7 8 9 10 11 12 12 13 14 15 16 17 18 2 3456 78 9 10 11 12 13 14 15 13 14 15 16 17 18 19 19 20 21 22 23 24 25 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 20 21 22 23 24 25 26 26 27 28 29 30 31 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 27 28 29 30 23 24 25 26 27 28 30 31 พฤษภาคม May มิถุนายน June กรกฎาคม July สงิ หาคม August Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat 123 1 2345 6 7 1 23 45 12 4 5 6 7 8 9 10 8 9 10 11 12 13 14 6 7 8 9 10 11 12 3 456 7 89 11 12 13 14 15 16 17 15 16 17 18 19 20 21 13 14 15 16 17 18 19 10 11 12 13 14 15 16 18 19 20 21 22 23 24 22 23 24 25 26 27 28 20 21 22 23 24 25 26 17 18 19 20 21 22 23 25 26 27 28 29 30 31 29 30 27 28 29 30 31 24 25 26 27 28 29 30 31 กันยายน September ตลุ าคม October พฤศจกิ ายน November ธันวาคม December Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat Sอuาn Mจon Tอue Wพed Tพhฤu Fศri Sสat 12 34 12 34 56 12 34 56 5 6 7 8 9 10 11 1 7 8 9 10 11 12 13 7 8 9 10 11 12 13 12 13 14 15 16 17 18 2 3456 78 14 15 16 17 18 19 20 14 15 16 17 18 19 20 19 20 21 22 23 24 25 9 10 11 12 13 14 15 21 22 23 24 25 26 27 21 22 23 24 25 26 27 26 27 28 29 30 31 16 17 18 19 20 21 22 28 29 30 31 28 29 30 23 24 25 26 27 28 29 30

ชีวิตมีธรรม แม้ราตรีเดียวก็ประเสริฐ เขมรงั สี ภกิ ขุ

แชมีว้ริตาตมรีเีธดียรวรกม็ประเสริฐ เขมรังส ี ภกิ ขุ พิมพค์ รัง้ ที ่ ๑  ตลุ าคม  ๒๕๖๒  จำ� นวนพิมพ์  ๕๐,๐๐๐  เลม่ จดั พิมพ์เปน็ ธรรมทานโดย วัดมเหยงคณ ์ ต�ำบลหันตรา  อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา  ๑๓๐๐๐ โทรศัพท์  :  ๐๘๒-๒๓๓-๓๘๔๘ e-mail : [email protected] กรุณาเพิม่ เพือ่ นทางไลน์  เพอื่ รบั ข่าวสาร www.watmahaeyong.org ติดตามขา่ วสาร  สาระธรรม  และกจิ กรรมของวัดมเหยงคณ์ Facebook  : ๑ (๑)  วัดมเหยงคณ ์ ข่าวสด  สาระธรรม (๒)  วดั มเหยงคณ์  ธัมโมวาท Line  ID  : @mhy2527 หรอื   สแกน  QR  Code สมัครเข้าปฏบิ ตั ิวปิ ัสสนากรรมฐาน ๒ วัดมเหยงคณ์ท่กี ล่มุ คอรส์ กรรมฐาน Line  ID  : @mhy95 หรอื   สแกน  QR  Code ออกแบบ  /  จดั ท�ำรูปเลม่   /  พิสจู น์อักษร คณะศษิ ยช์ มรมกลั ยาณธรรม (หนังสอื ชมรมฯ  ล�ำดับท ี่ ๓๙๙) พิมพท์ ่ี บริษทั ขมุ ทองอตุ สาหกรรมและการพิมพ์  จ�ำกัด  โทร.  ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๐-๓





พระพทุ ธเจา้ จงึ ไดต้ รัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย ความเปน็ อยู่ แม้เพียงวันเดียวของพวกเธอ ผ้ดู ำ� รงอยู่ในปัญญาสมั ปทาเชน่ น้ ี ประเสรฐิ กว่า การมชี วี ติ อยู่ตั้งร้อยปี ของผไู้ รป้ ญั ญา”

ชีวิตมีธรรม แม้ราตรีเดียวก็ประเสริฐ นะมัตถุ  รัตตะนะตะยัสสะ  ขอถวายความ  นอบนอ้ มแดพ่ ระรตั นตรยั   ขอความผาสกุ   ความเจรญิ   ในธรรม  จงมีแกญ่ าติสมั มาปฏบิ ตั ิธรรมท้งั หลาย ต่อไปนี้ก็พึงต้ังใจฟังธรรมะ  อันเป็นการได้สั่งสม  บุญกุศลอีกประการหน่ึง  เรียกว่า  ธัมมัสสวนมัย  บุญส�ำเร็จจากการฟังธรรม  จะยังจิตให้ผ่องใส  ใจ  เบิกบาน  ก�ำจัดความสงสัย  ได้ฟังสิ่งท่ียังไม่เคยได้ฟัง  สิ่งที่ได้ฟังแล้วก็จะได้เข้าใจแจ้งชัดขึ้น  เรามีชีวิตอยู่  6 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

ก็ต้องอยู่ด้วยการส่ังสมบุญกุศล  ยิ่งเราได้มาอยู่ในวัด  กไ็ ดม้ โี อกาสสงั่ สมบญุ หลายประการ  ขอจ�ำแนกอธบิ าย  ตามบญุ กริ ิยาวัตถ ุ ๑๐  ประการ  ดงั น้ี บุญกริ ยิ าวัตถุ ๑๐ ตอนเช้าก็ได้มีการส่ังสม  คือ  (๑)  ทานมัย  บุญ  ส�ำเร็จจากการบริจาคทาน  (๒)  สีลมัย  บุญส�ำเร็จ  จากการรักษาศีล  สมาทานศีล  ๘  บ้าง  ศีล  ๕  บ้าง  (๓)  ภาวนามัย  บุญส�ำเร็จด้วยการเจริญภาวนา  คือการที่เราได้ตั้งใจมาอบรมกาย  วาจา  ใจ  ของเรา  (๔)  อปจายนมัย  บุญส�ำเร็จจากการอ่อนน้อม  ได้มี  การกราบไหว ้ เคารพบชู า  ทำ� วตั รสวดมนต ์ สรรเสรญิ   คุณของพระพุทธเจ้า  พระธรรม  พระสงฆ์  ปูชา  จะ  ปูชะนียานัง  เอตัมมังคะละมุตตะมัง  การบูชาบุคคล  ทคี่ วรบชู า  เป็นมงคลอนั สูงสดุ เ ข ม ร ั ง สี  ภิ ก ขุ 7

(๕)  เวยยาวัจมัย  บุญส�ำเร็จจากการขวนขวาย  ช่วยเหลือการงานท่ีชอบที่ควร  แม้เพียงการได้ช่วย  กวาดช่วยถู  ช่วยล้างถ้วยล้างชาม  ช่วยยก  ช่วยจัด  ก็นับว่าเป็นบุญ  การพูดจา  สุภาพ  อ่อนโยน  เพ่ือ  เกื้อกูลต่อผู้อื่น  ส่งเสริมการกระทำ� เพื่อเก้ือกูลต่อผู้อื่น  ก็เป็นบญุ เกิดขน้ึ   (๖)  ปัตติทานมัย  บุญส�ำเร็จจากการอุทิศส่วน  กศุ ล  เชน่   การอทุ ศิ บญุ กศุ ลใหแ้ กญ่ าตทิ ลี่ ว่ งลบั ไปแลว้   การแบ่งบญุ   ใหบ้ ุญแก่ผูอ้ ืน่ ที่มชี วี ติ อยู่ (๗)  ปัตตานุโมทนามัย  บุญส�ำเร็จจากการ  อนุโมทนา  อนุโมทนาสาธุการ  ในบุญ  ในกุศล  ใน  ความดีท่ีผู้อื่นได้ท�ำ  ช่ืนชมในความดีที่เขาท�ำ  เห็นเขา  ใหท้ าน  เหน็ เขารกั ษาศลี   เหน็ เขาเดนิ จงกรม  นง่ั สมาธิ  เหน็ เขาช่วยงานพระศาสนา  ก็อนุโมทนาสาธุ  8 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

(๘)  ธัมมเทสนามัย  บุญส�ำเร็จจากการแสดง  ธรรม  แม้ว่าเราไม่ได้มีโอกาสแสดงอย่างพระ  แต่เรา  ก็มีการบอกกล่าว  สั่งสอน  แนะน�ำบุคคลอื่น  ให้รู ้ ใหเ้ ขา้ ใจในธรรมกด็  ี หรอื สนบั สนนุ จดั ใหม้ กี ารไดแ้ สดง  ธรรม  ใหม้ กี ารสงั่ สอนธรรม  กเ็ รยี กวา่   ธมั มเทสนามยั   บญุ ส�ำเรจ็ จากการใหธ้ รรมะ (๙)  ธัมมัสสวนมัย  เป็นบุญท่ีเกิดจากการได้  ฟงั ธรรม (๑๐)  ทฏิ ฐชุ กุ มั ม ์ บญุ จากการมคี วามเหน็ ถกู ตรง  พิจารณา  แล้วก็เกิดความรู้ความเข้าใจในธรรมย่ิงข้ึน  เขา้ ใจวา่ บญุ เปน็ บญุ  บาปเปน็ บาป การใหท้ าน การบชู า  การภาวนา  การรักษาศีลเป็นบุญ  การฆ่าสัตว์  การ  ลักทรัพย์  การประพฤติผิดในกาม  เหล่าน้ีเป็นบาป  มคี วามเห็นตรงยงิ่ ขนึ้   ก็ไดส้ ่งั สมบุญกุศลต่างๆ เ ข ม ร ั ง สี  ภิ ก ขุ 9

ทานบด ี ๔ ประเภท พระพุทธเจ้าได้ตรัสถึงบุคคลได้บ�ำเพ็ญกุศล  ในการให้ทาน  ทรงแบ่งบุคคลออกเป็น  ๔  ประเภท  ด้วยกัน  คอื ๑.  บุคคลบางคนให้ทานด้วยตนเอง  แต่ไม ่ ชกั ชวนผอู้ น่ื   ตนเองให ้ บรจิ าค  ทำ� ทาน  แตไ่ มช่ กั ชวน  คนอ่ืนให้มีส่วนร่วมท�ำด้วย  เม่ือไปเกิดในภพใด  ก็จะ  เป็นผู้ท่ีสมบูรณ์ในทรัพย์สมบัติ  แต่ขาดบริวาร  รวย  อยู่คนเดียว  มีทรัพย์  แต่ไม่มีบริวาร  อาจจะไม่มีญาต ิ หรือมิตรสหาย  อยู่ตัวคนเดียว  เหตุเพราะขาดการ  ชกั ชวนผู้อ่ืนให้ท�ำทาน  ทำ� เองส่วนตวั เทา่ น้นั 10 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

๒.  บางคนไมไ่ ดใ้ หท้ านดว้ ยตนเอง  แตว่ า่ ชกั ชวน  ผู้อื่นให้ท�ำทาน  เที่ยวป่าวประกาศ  ร้องเชิญชวน  ให้คนอ่นื ท�ำบญุ   ให้ทาน  ทอดกฐนิ   ผ้าปา่   อะไรตา่ งๆ  สารพัดอย่าง  แต่ตนเองไม่เคยสละเลย  แต่ชวนให ้ คนอ่ืนท�ำ  ตัวเองไม่ยอมสละ  ไม่ยอมบริจาค  เมื่อไป  เกิดข้นึ   ณ  ภพภมู ใิ ด  ย่อมไม่ไดโ้ ภคทรพั ยส์ มบตั  ิ เกิด  เป็นคนไม่มีทรัพย์  เป็นคนจน  แต่ได้บริวารสมบัติ  มีพวกพ้องมาก  มีบริวารมาก  แต่ตนเองยากจน ๓.  คนบางคนไม่ได้ให้ทานด้วยตนเอง  แล้วก็  ไมช่ กั ชวนใหผ้ อู้ น่ื ใหด้ ว้ ย  ตนเองกไ็ มไ่ ดท้ ำ�   และไมช่ วน  คนอนื่ ใหท้ ำ� ดว้ ย  เมอ่ื ไปเกดิ ในภพใหม ่ กเ็ ปน็ คนทไ่ี มไ่ ด้  โภคสมบตั  ิ แลว้ กย็ งั ขาดบรวิ ารสมบตั  ิ เรยี กวา่   จนดว้ ย  ไรญ้ าตขิ าดมติ รดว้ ย  ตวั คนเดยี ว  จนอยคู่ นเดยี ว  ยากไร้ อยคู่ นเดยี วอยา่ งนนั้   แบบนก้ี ็ถือว่าแย่กวา่ แบบอ่นื เ ข ม รั ง ส ี  ภิ ก ขุ 11

๔.  บางคนนั้นให้ทานด้วยตนเอง  แล้วก็ชักชวน  ผู้อื่นด้วย  ตนเองก็ท�ำด้วย  ชวนคนอื่นให้ท�ำด้วย  เมื่อ  ไปเกดิ ภพใหม ่ ยอ่ มเปน็ ผทู้ ไี่ ดท้ งั้ โภคสมบตั แิ ละบรวิ าร  สมบัติ  เกิดมาเป็นคนสมบูรณ์  มั่งค่ังในทรัพย์  พร้อม  ด้วยบริวาร  ญาติมิตร  พวกพ้องมากมาย  เพราะ  ท�ำเหตุไว้อยา่ งนน้ั   ดังตัวอย่าง  บุรษุ บัณฑติ ผูห้ นึ่ง บณั ฑติ ผ้ฉู ลาดในทาน ในครง้ั นนั้   มบี รุ ษุ บณั ฑติ ผหู้ นง่ึ ไดฟ้ งั พระพทุ ธเจา้   แสดงธรรมถึงบุคคลท่ีให้ทานด้วยตนเองด้วยและ  ชักชวนให้ผู้อื่นให้ด้วย  แล้วมีจิตใจเล่ือมใสศรัทธา  ได้กราบอาราธนาพระสงฆ์  อันมีพระพุทธเจ้าเป็น  ประมขุ   ไปฉนั ภตั ตาหารทบี่ า้ นของตนเอง  ในวนั รงุ่ ขน้ึ   เมอ่ื นมิ นตไ์ วแ้ ลว้   จากนน้ั กก็ ลบั มาบา้ น  มาปา่ วประกาศ  เชิญชวนมหาชนท้ังหลายว่า  “ข้าพเจ้าได้นิมนต ์ 12 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

พระสงฆ์อันมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข  จะมาฉัน  ภัตตาหารที่บ้านของข้าพเจ้าในวันพรุ่งน้ี  ขอเชิญชวน  ท่านทั้งหลายได้มีส่วนแห่งบุญกุศล  บริจาคทรัพย์ตาม  ก�ำลังศรัทธา  ใครจะบริจาคข้าวสาร  จะบริจาคถ่ัว  งา  หรือจะบริจาคส่ิงของอะไรก็แล้วแต่  จะเป็นสิ่งใดก็ได ้ ข้าพเจ้าจะน�ำมารวมกัน  แล้วจะปรุงเป็นภัตตาหาร  ถวายพระสงฆ”์ ก็ปรากฏว่า  มหาชนได้ฟังค�ำประกาศแล้ว  เกิดศรัทธา  คนน้ัน  คนน้ี  ก็ร่วมบริจาคหลายอย่าง  เป็นข้าวสารบา้ ง  เป็นวัตถุอืน่ ๆ  บา้ ง  ตา่ งๆ  กันไป มีเศรษฐีผู้หนึ่ง  เห็นบุรุษบัณฑิตมาร้องเชิญชวน  อยู่หน้าร้านของตัวเอง  ก็รู้สึกไม่พอใจว่า  เจ้าน่ี  เท่ียว  มาชวนคนอื่น  ตัวเองจะท�ำบุญก็ท�ำไปเฉพาะตนสิ  มีทรัพย์แค่ไหนก็ท�ำเฉพาะตนแค่นั้น  เท่ียวมาบอกให้  เ ข ม ร ั ง สี  ภ ิ ก ขุ 13

คนอ่ืนเขาไปท�ำด้วย  มารบกวนผู้อื่น  วุ่นวาย  รู้สึก  ไมพ่ อใจ  แตก่ เ็ สยี ไมไ่ ด ้ ยงั รกั ษาหนา้ อย ู่ เกรงวา่ คนอนื่   จะเห็นว่า  ตนเป็นเศรษฐี  เขามาร้องชวนท�ำบุญถึง  หนา้ รา้ น  จะใจจดื   ไมใ่ หอ้ ะไรบา้ งเลย  กจ็ ะดกู ระไรอย่ ู จึงใหท้ านแบบจ�ำใจใหไ้ ป โดยใช ้ ๓  นวิ้   หยบิ ขา้ วสารหยบิ มอื หนง่ึ ให ้ หยบิ   ถวั่ มาหยบิ มอื หนง่ึ   สว่ นพวกนำ�้ ผง้ึ   นำ�้ ออ้ ย  ทใ่ี สข่ วดไว้  เกรงว่าถ้าเทให้  อาจจะเทไปมาก  ก็เลยต้องเอาขวด  ไปจ่อไว้กับฝาหม้อ  แล้วก็ให้มันหยดลง  พอได้สัก  ๒ - ๓  หยด  กใ็ หท้ านไป  ปรากฏวา่   ชนทง้ั หลายไดเ้ หน็   ดังน้ันก็ติเตียน  โพนทะนากันว่า  เศรษฐีข้ีเหนียว  เลยใหช้ อ่ื เศรษฐนี ว้ี า่   พฬิ าลปทกะ  ผมู้ เี ทา้ เหมอื นแมว  คอื เบามาก  หมายถงึ วา่   หยบิ มอื หยบิ นดิ เดยี ว  เรยี กวา่   ศรทั ธานอ้ ยเหลือเกิน 14 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ



เมื่อบุรุษบัณฑิตได้รับของที่เศรษฐีบริจาคให้มา  ก็แยกไว้ต่างหาก  เศรษฐีหยิบข้าวสารมาหยิบมือหนึ่ง  ถ่ัวมาหยิบมือหนึ่ง  น้�ำอ้อยมา  ๒ - ๓  หยด  ก็แยกไว้  ตา่ งหาก  เศรษฐกี ม็ องเหน็ วา่   นายบรุ ษุ บณั ฑติ น ้ี แยก  ของตัวเองไว้ต่างหาก  ก็เลยให้คนใช้ติดตามไปดูว่า  บรุ ษุ น ้ี จะเอาของของเราไปทงิ้ ใหเ้ สยี หายหรอื อยา่ งไร ปรากฏว่า  บุรุษบัณฑิตน้ัน  น�ำสิ่งของที่ชน  ท้ังหลายได้บริจาคมา  เอามารวมกลุ่มกันไว้  แต่ก็แยก  ประเภท  เช่น  อันไหนเป็นข้าว  เป็นถั่ว  แยกก่อน  เสร็จแล้วก็เอามารวม  แล้วก็เอาส่ิงของที่เศรษฐีให ้ ได้แก่  น�้ำผ้ึง  น�้ำอ้อย  ๒ - ๓  หยด  เอามาเคล้าส่ิงของ  ทั้งหมด  ข้าวสารท่ีเศรษฐีหยิบมาหยิบมือหน่ึงก็ดี  ถั่วมาหยิบมือหน่ึงก็ดี  ก็เอามาเคล้ารวมกันทั้งหมด  แล้วจึงปรุงเปน็ อาหาร 16 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

แล้วบุรุษนั้นก็กล่าวค�ำอธิษฐานดังๆ  ว่า  “ขอให ้ กุศลผลบุญ  จงได้ทั่วถึงกันท้ังหมด”  คนใช้แอบดู  ไดเ้ หน็   ไดย้ นิ แลว้   กก็ ลบั มาบอกเศรษฐ ี เศรษฐกี ค็ ดิ วา่   เดี๋ยวเถอะ  วันรุ่งข้ึน  ถ้าหากว่าเจ้าบุรุษบัณฑิตผู้น้ี  เอาเราไปโพนทะนาวา่ เปน็ เศรษฐขี ี้เหนียว  ใหข้ ้าวสาร  เพียงหยิบมือหน่ึง  ให้ถ่ัวหยิบมือหน่ึง  กับน้�ำผ้ึงแค่  ๒ - ๓  หยด  เราจะฆา่ มนั เสยี   แอบเอากรชิ   (มดี )  ไปท่ ี โรงครัวในวันน้ัน  คิดว่าถ้าบุรุษนี้โพนทะนาตน  ก็จะ  ฆ่าเขาเสยี น่ีเป็นตัวอย่างว่า  คนเราโดยมาก  ไม่ได้มองว่า  ตนเองท�ำผิดท�ำถูกแค่ไหนอย่างไร  จ้องแต่จะจับผิด  คนอ่นื เม่ือถึงเวลา  บุรุษบัณฑิตนั้นก็ได้น�ำส่ิงของต่างๆ  ที่ปรุงเสร็จเรียบร้อยแล้ว  เตรียมพร้อมไว้  เม่ือพระ  เ ข ม ร ั ง ส ี  ภ ิ ก ขุ 17

ภิกษุสงฆ์มาถึงท่ีบ้าน  โดยพระพุทธเจ้าเสด็จเป็น  ประมุข  บุรุษบัณฑิตก็ได้กล่าวค�ำถวายทานว่า “ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ  อันมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข  ภตั ตาหารเหล่านี้  ขา้ พระองค์ได้มาโดยได้บอกชักชวน  มหาชนท้ังหลาย  ได้ร่วมบุญกันมา  มากบ้าง  น้อย  บา้ ง  ตามกำ� ลงั ศรทั ธา  ขอนอ้ มถวายแดพ่ ระสงฆ ์ อนั ม ี พระพุทธเจ้าเป็นประธาน  ขอบุญกุศลเหล่าน้ี  จงได้  จงถึงแก่บรรดามหาชนท้ังหลาย  โดยถ้วนหน้ากัน  (คือได้เสมอกัน)  เทอญ” พอเศรษฐีตีนแมวได้ฟังเช่นน้ันก็เกิดร้อนใจว่า  บัณฑิตผู้นี้  เขาก็ไม่ได้มาโพนทะนาเรา  แต่เขากลับ  อธษิ ฐาน  ขอใหเ้ ราและทกุ คนไดบ้ ญุ เสมอกนั   ถว้ นหนา้   กันแก่ทุกคนท่ีร่วมท�ำบุญมา  ไม่ได้แบ่งว่าคนไหน  ให้มากให้น้อยเลย  ตัวเองก็เกิดความร้อนใจว่า  เรา  มาคิดร้ายต่อคนท่ีเขาไม่ได้คิดร้ายต่อเรา  เขาเป็น  18 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

คนดี  แต่เรากลับคิดไม่ดีกับเขา  เกิดเกรงกลัวอาญาที่  จะตกลงมาท่ีตนเอง  คิดว่า  ถ้าเราไม่ขอโทษ  อาชญา  จากเทวดาคงจะมาตกลงทศี่ ีรษะของเราเปน็ แน ่ จึงได ้ เข้าไปหมอบแทบเท้าของบุรุษบัณฑิต  เอ่ยว่า  “ขอให้  ทา่ นอดโทษใหข้ ้าพเจา้ ดว้ ย” บุรุษบัณฑิตก็ถามว่า  “อะไรกัน  ท่านเศรษฐี”  เศรษฐีก็เลยเล่าความจริงให้ฟังว่า  “เราพกมีดมาแล้ว  คิดว่า  ถ้าท่านมาโพนทะนาเรา  ว่าให้ทานมาเพียง  เล็กน้อย  เราก็จะฆ่าท่านเสีย  แต่เม่ือเห็นท่านพูด  โดยเมตตา  ไม่ได้รังเกียจเรา  แล้วก็ยังอธิษฐานให้  เกดิ ผลบญุ โดยเสมอทว่ั หนา้ กนั   เรากเ็ ลยเกดิ ความเกรง  ต่ออาชญาของเทวดา  เพราะฉะนั้น  ขอให้ท่านได ้ อดโทษให้ด้วย”  บุรุษได้ฟังก็บอกว่า  “ฉันอดโทษ  ให้ท่าน” เ ข ม ร ั ง สี  ภิ ก ขุ 19



พระพทุ โธวาท ณ  ที่นนั้ เอง  พระพทุ ธเจ้าจงึ ไดต้ รัสวา่ มาวมญ ฺ เถ  ปุญฺ สสฺ น  มตตฺ ํ  อาคมสิ ฺสติ อทุ พนิ ฺทุ นิปาเตน อทุ กมุ ฺโภป ิ ปรู ติ อาปูรติ  ธีโร  ปุญฺ สสฺ โถกํ  โถกปํ ิ  อาจนิ ํ บุคคลไม่ควรดูหม่ินบุญว่า  บุญมีประมาณน้อย  จักไม่มาถึง  แม้หม้อน้�ำยังเต็มด้วยหยาดน�้ำท่ีตกลงมา  (ทีละหยดๆ)  ได้ฉันใด  ธีรชน  (ชนผู้มีปัญญา)  ส่ังสม  บุญแมท้ ีละน้อยๆ  ยอ่ มเตมิ ดว้ ยบุญได้  ฉนั นั้น เ ข ม ร ั ง ส ี  ภ ิ ก ขุ 21

พระพทุ ธองคต์ รสั วา่   ไมค่ วรดหู มนิ่ บญุ วา่ เลก็ นอ้ ย  ที่จะไม่มาถึงตน  แต่ถ้าหากผู้ใดสั่งสมบุญแม้ทีละเล็ก  ทีละน้อย  ก็ย่อมจะเต็มด้วยบุญนั้นได้  เหมือนภาชนะ  ที่รองน้�ำไว้  ฝนตกลงมาทีละหยาดๆ  ทีละน้อยๆ  มัน  ก็เต็มได้เหมือนกัน  ฉะนั้น  บุคคลจึงไม่ควรดูหม่ิน  บุญกุศล  จะเล็กจะน้อย  ให้เราท�ำไป  มีน้อย  ท�ำน้อย  แตเ่ ราทำ� ดว้ ยจติ เลอ่ื มใสใจศรทั ธา  กไ็ ดบ้ ญุ ไดก้ ศุ ลมาก  เพราะฉะนั้น  เรากต็ ้องสะสมบญุ กศุ ลไว้ ในครง้ั นน้ั   ทา่ นเศรษฐฟี งั ธรรมแลว้   ไดเ้ กดิ ดวงตา  เห็นธรรม  บรรลุโสดาปัตติผล  พระธรรมเทศนาได้  เปน็ ประโยชน์แก่บรษิ ัทที่มาชมุ นมุ เปน็ อนั มาก และเราก็จะต้องเป็นผู้เว้นบาปด้วย  บางคน  ทำ� บญุ ทำ� กศุ ลจรงิ   ใหท้ าน  บำ� เพญ็ ทาน  จะมบี ญุ อะไร  ก็ท�ำ  แต่ว่าก็ยังไม่ยอมรักษาศีล  ไม่ยอมเว้นบาป  22 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

มีโอกาสโกงได้ก็โกง  มีโอกาสฆ่าได้ก็ฆ่า  มีโอกาส  โกหกหลอกลวงได้ก็โกหก  เรียกว่า  บางคราวก็ทำ� บุญ  บางคราวก็ท�ำบาป  อย่างน้ีแล้ว  บุคคลน้ันก็จะต้องไป  เผชญิ กบั สขุ   ทกุ ข ์ คละเคลา้ กนั ไป  คราวใดบาปใหผ้ ล  กป็ ระสบความทกุ ข ์ คราวใดบญุ ใหผ้ ล กป็ ระสบความสขุ ฉะน้ัน  ชีวิตของคนเรา  มันก็เลยลุ่มๆ  ดอนๆ  อยา่ งน ี้ เพราะวา่   ในอดตี ทำ� บญุ มาบา้ ง  ทำ� บาปมาบา้ ง  เพราะฉะนั้น  บุคคลควรจะต้องม่ันคงในการรักษา  ศีลไว้  ท�ำบุญด้วย  เว้นบาปด้วย  รักษาศีลของเราให้  ม่ันคง  โดยเฉพาะศีล  ๕  เว้นฆ่าสัตว์  เว้นลักทรัพย์  เว้นประพฤติผิดในกาม  เว้นโกหกหลอกลวง  เว้นสุรา  เมรัย  อย่างการใช้ค�ำพูด  ต้องรักษาสัจจะ  พูดตรง  พูดความจริง  หรือบางทีมีความจริงบางอย่างท่ีไม่ควร  พดู   กไ็ มพ่ ดู   เพราะพดู แลว้ ทำ� ใหเ้ ขาเดอื ดรอ้ น  จงึ ตอ้ ง  เลอื กกาลทีค่ วร เ ข ม ร ั ง ส ี  ภ ิ ก ขุ 23

พระตสิ สเถระ ดังเรื่องพระติสสเถระ  พระติสสเถระท่านศึกษา  ในวิธีการปฏิบัติกรรมฐาน  แล้วท่านก็ปลีกออกไปอยู ่ ป่า  เพื่อบ�ำเพ็ญเพียร  ท่านมีความคุ้นเคย  ไปมาหาสู่  กับนายช่างแก้ว  ซึ่งเป็นช่างเจียระไนแก้วเพชรพลอย  คุ้นเคยกันมาเป็นเวลา  ๑๒  ปี  ในวันหน่ึง  พระติสส-  เถระก็ไปเย่ียมที่บ้านของนายช่างแก้ว  ในขณะท ี่ นายช่างเจียระไนแก้วก�ำลังนั่งห่ันเน้ืออยู่ต่อหน้า  พระติสสเถระ  มือก็เปื้อนเลือดของเนื้อสัตว์  (เน้ือสด)  วันนั้นพอดีมีราชบุรุษของพระเจ้าปเสนทิโกศลได้น�ำ  แก้วมณีดวงหน่ึงที่พระราชาให้น�ำมามอบให้นายช่าง  ได้เจียระไน  ราชบุรุษได้น�ำแก้วมณีมาส่งให้  นายช่าง  ก็รับแก้วมณี  ในขณะท่ีมือก็ยังเปื้อนเลือดอยู่  รับแล้ว  กเ็ อาแกว้ มณวี างไวต้ รงนน้ั   แลว้ ตวั เองกเ็ ขา้ ไปหลงั บา้ น  เพ่ือไปล้างมือก่อน 24 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

พอออกมาก็ไม่เห็นแก้วมณี  ก็ตกใจ  ถามภรรยา  ภรรยาก็บอกไม่รู้ไม่เห็น  ถามบุตรทุกคนก็ไม่มีใครรู้  ใครเห็น  นายช่างก็เลยเกิดความสงสัยว่า  อาจจะเป็น  พระติสสะท่ีหยิบแก้วมณีไป  เพราะก็ไม่มีใครคนอื่น  แลว้   กม็ แี ตพ่ ระเทา่ นน้ั ทนี่ งั่ อยตู่ รงน ี้ กส็ อบถามทา่ นวา่   ได้เห็นแก้วมณีบ้างไหม  ท่านเอาแก้วมณีไปหรือเปล่า  ท่านกบ็ อกว่า  ท่านไม่ไดเ้ อาแกว้ มณไี ป ความจริงคือ  นกกระเรียนที่นายช่างแก้วเล้ียงไว้  มันเห็นแก้วมณีที่เปื้อนเลือด  นึกว่าเป็นชิ้นเนื้อ  นึกว่า  เปน็ อาหาร  มนั กเ็ ลยกลนื แกว้ มณลี งไปเลย  พระตสิ สะ  ท่านก็เห็นแล้วว่า  นกกระเรียนกลืนแก้วมณีลงไป  แตค่ รนั้ นายชา่ งมาถาม  ทา่ นกไ็ มบ่ อกความจรงิ   เพราะ  ถ้าบอกไป  นกกระเรียนต้องโดนฆ่าแน่  น่ีคือท่าน  รักษาศีลด้วยชีวิต  ไม่ยอมบอกแม้เป็นความจริงท่ีจะ  ท�ำให้ชีวิตอ่ืนต้องพินาศ  แม้นายช่างแก้วจะคาดค้ัน  เ ข ม ร ั ง ส ี  ภ ิ ก ขุ 25

ท่านก็บอกเพียงว่า  ท่านไม่ได้เอาไป  แต่ท่านก็ไม ่ บอกว่า  แก้วมณี  ตอนนี้อยู่ในท้องนกกระเรียนนะ  ความจริงอย่างน้ีท่านบอกไม่ได้  บอกแล้วทำ� ให้คนอื่น  เดอื ดรอ้ น  ท่านไมย่ อมเสียศีล ในท่ีสุด  นายช่างแก้วก็เลยคิดว่า  ต้องเป็นพระ  ตสิ สะนแี่ หละ ทเี่ อาแกว้ มณไี ป เขาโกรธ จงึ ไปเอาเชอื ก  เอาไม้มาขันศีรษะ  ขันชะเนาะ  แล้วก็ใช้ไม้บิดเข้าไปๆ  พระติสสะท่านได้รับความเจ็บปวด  ทุกข์ทรมาน  แต ่ ท่านก็ไม่ยอมบอก  พอขันชะเนาะแน่นมากๆ  เข้า  เลือดก็ไหล  ไหลมาท่ีศีรษะ  ไหลออกทางหู  ทางปาก  ทางจมูก  ท่านทนเสวยทุกขเวทนามาก  แม้กระน้ัน  ทา่ นก็ไมพ่ ดู   นคี่ ือพระอรยิ ะ  ยอมตายเพือ่ รักษาศีล เมื่อท่านเสียเลือดมาก  ท่านก็ล้มลง  เลือดไหล  รินไป  นกกระเรียนจะมากินเลือด  นายช่างแก้วกำ� ลัง  26 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

โมโหอยแู่ ลว้   กเ็ ลยเตะนกกระเรยี นทเี ดยี ว  นกกระเดน็   แน่นิ่งไป  เมื่อพระติสสะเห็นนกแน่นิ่งไป  ก็ถามว่า  นกน้ันตายแล้วหรือ  นายช่างบอกว่า  นกตายแล้ว  รวมทั้งท่านก็จะต้องตายด้วยเหมือนกัน  พอรู้ว่า  นกตายแลว้   พระตสิ สะจงึ บอกความจรงิ วา่   แกว้ มณอี ย่ ู ในทอ้ งนกกระเรยี นนน่ั แหละ  เมอื่ นายชา่ งแกว้ ผา่ ทอ้ ง  นกกระเรยี น  เขากพ็ บแก้วมณจี รงิ ๆ โทษของวัฏฏะ พอรู้ว่าพระติสสะไม่ได้เป็นผู้เอาแก้วมณีไป  ตัวเองไปเข้าใจผิดท่านเอง  ท�ำร้ายท่าน  จนท่าน  เสียเลือดมาก  เลือดไหลออกมามากมาย  ก็เกิดความ  ส�ำนึกผิด  เข้าไปกราบเท้าขอโทษท่าน  พระติสสะ  ทา่ นกย็ กโทษให ้ บอกวา่   อยา่ คดิ มากไปเลย  ถอื วา่ เปน็   เรอ่ื งโทษของวฏั ฏะ  เปน็ เรอ่ื งของกฎแหง่ กรรม  อาตมา  เ ข ม ร ั ง สี  ภิ ก ขุ 27

มีกรรมมา  ก็ต้องมาเสวยผลกรรม  ท่านไม่โกรธอะไร  ถอื วา่ เปน็ เรอ่ื งของเวรกรรม  เปน็ เรอ่ื งของวฏั ฏะ  จรงิ ๆ  แล้ว  ท่านคิดอย่างน้ันก็ถูก  เพราะว่าท่านต้องมีกรรม  ในอดีตไว ้ จงึ ต้องมาถูกกระทำ�   ท่านเข้าใจ  จงึ ใหอ้ ภยั นายช่างเจียระไนแก้วก็บอกท่านว่า  ขอให ้ พระคุณเจ้ามารับอาหารท่ีบ้านเหมือนเดิม  ท่านก็เลย  พูดว่า  อาตมาเห็นโทษของการเข้าสู่สกุลโดยตรง  น่ีแหละ  เป็นโทษของการที่พระเข้าสู่สกุลโดยตรง  จึงต้องเป็นอันตรายอย่างน้ี  อาตมาจึงขอตั้งอธิษฐาน  ธุดงค์ว่า  ต่อไปนี้  อาตมาจะไม่เข้าสู่สกุลใดๆ  จะไป  รับอาหารด้วยล�ำแข้งตัวเองในที่ต่างๆ  จะยืนอยู่  นอกบา้ นนอกชายคาเทา่ นน้ั   ตอ่ มาไมน่ าน  พระตสิ สะ  ท่านก็มรณภาพ  เพราะได้รับบาดเจ็บมาก  นายช่าง  แกว้ ก็เสียชีวิตเหมือนกนั 28 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

ภิกษุท้ังหลายก็ได้สนทนากันถึงเร่ืองนี้  แล้วก็ได้  กราบทูลถามคติของคนท้ังหลายเหล่านี้  พระพุทธเจ้า  ท่านก็ได้ตรัสว่า  ก�ำเนิดคติของสัตว์ทั้งหลาย  ก็มีเป็น  ไปตา่ งๆ  สัตว์บางพวกก็ก�ำเนิดในครรภ์  บางพวกก็ก�ำเนิด  ในนรก  เพราะท�ำบาป  บางพวกท�ำกรรมดี  ก็เกิดบน  สวรรค ์ สว่ นผทู้ ไ่ี มม่ อี าสวะ  ยอ่ มปรนิ พิ พาน  ปรากฏวา่   นกกระเรียนที่ถูกนายช่างเตะจนตาย  ก็เกิดในครรภ์  ของภรรยานายช่างนั้นเอง  ตายตรงน้ัน  แล้วเกิดใน  ครรภ์ของภรรยา  ส่วนนายช่างแก้วน้ันก็ไปตกนรก  อ�ำนาจที่ท�ำกรรมไม่ดีกับพระอริยะไว้  แม้ท่านจะ  อโหสิกรรมให้  แต่ว่า  เขาได้ท�ำร้ายผู้บริสุทธ์ิ  จึงต้อง  ตกนรก  ส่วนพระติสสะ  ท่านก็ปรินิพพาน  พ้นจาก  ทุกขท์ ั้งปวง เ ข ม ร ั ง สี  ภ ิ ก ขุ 29

ก�ำเนิดทง้ั  ๔ ก�ำเนิดชีวิตของสัตว์ท้ังหลาย  มีอยู่  ๔  แบบ  ดว้ ยกัน  คือ ชลาพุชะก�ำเนิด  เกิดในครรภ์  เช่น  มนุษย์ใน  ปัจจุบัน  พวกสัตว์ท่ีเล้ียงลูกด้วยนม  ส่วนมากจะ  เกิดในครรภ์  เช่น  หมู  หมา  วัว  ควาย  อยู่ในมดลูก  ออกมาเป็นตวั อัณฑชะก�ำเนิด  เกิดในไข่  มีสัตว์บางชนิดเกิด  ในไข ่ เชน่   พวกจ้ิงจก  ตกุ๊ แก  ง ู เปด็   ไก่ สังเสทชะก�ำเนิด  เกิดในท่ีโสโครก  ในท่ียาง  เหนียว  ท่ีโสโครก  มันก็เกิดมีชีวิตสัตว์ขึ้นมาได้  บางที  ก็เกิดมีหนอนขึ้นมา  อย่างเช่น  ศพ  ทิ้งเอาไว้  มันก็ม ี หนอนข้ึนมาได้  หรือว่าสัตว์เล็กๆ  ในน�้ำคร�ำ  มันจะม ี 30 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

พวกสัตวเ์ กิดขนึ้ มา  มันไม่ตอ้ งมีพ่อมีแม ่ มนั เกดิ อาศยั   น้�ำโสโครกนัน้ โอปปาติกะก�ำเนิด  เกิดขึ้นผุดโตทีเดียว  เกิดมา  ก็โตสมบูรณ์แบบเลย  อย่างพวกเทวดา  พอเกิดแล้ว  ก็มีรูปร่างสมบูรณ์แบบ  พวกสัตว์นรก  พวกเปรต  เขา  เกิดก็เกิดไปเลย  เกิดเป็นสัตว์นรก  หน้าตาแบบไหน  ก็เสวยผลกรรมในน้ัน  เกิดเป็นเปรตก็รูปร่างอย่างน้ัน  เสวยผลกรรมอย่างนั้น  เกิดเป็นเทวดา  เสวยวิมาน  ก็มรี ูปร่างอยา่ งนนั้ ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย  ก็เวียนว่ายตายเกิดกันไป  อยา่ งน ี้ เราทกุ คนนก้ี เ็ กดิ  - ตาย ตาย - เกดิ  มานบั ไมถ่ ว้ น  แล้วก็ยังต้องเกิดต่อไป  ถ้าหากเรายังมีอาสวกิเลส  การเกิดทุกคราว  เป็นทุกข์ร�่ำไป  ความเกิดมาแล้วก็  ส่งให้ความแก่  ความแก่ก็ส่งให้ความเจ็บ  ความเจ็บ  เ ข ม รั ง ส ี  ภิ ก ขุ 31

ก็ส่งให้ความตาย  ชีวิตต้องแก่  ต้องเจ็บ  ต้องตาย  ต้องพลัดพราก  ต้องทุกข์ยากล�ำบากนานัปการ  เพราะฉะนั้น  ถ้าเรามีชีวิตอยู่อย่างไม่ใช่ผู้ขวนขวาย  พากเพียรในการส่ังสมบุญกุศล  ก็ถือว่า  เราปล่อยให้  ชีวติ ผ่านไปอย่างน่าเสยี ดาย  ฉะนั้น  การที่เรามีชีวิตอยู่ด้วยการปฏิบัติธรรม  ท�ำให้ชีวิตในวันน้ัน  เวลาน้ัน  เป็นชีวิตที่มีคุณค่า  มีสาระ  ยิ่งปฏิบัติ  ได้ปัญญา  แม้มีชีวิตเพียงวันเดียว  ก็ประเสริฐกว่าผู้มีชีวิตเป็นร้อยปี  แต่ไม่มีธรรม  ค�ำนี้  พระพทุ ธองคต์ รสั ไว้  ในเร่ืองพระขานโุ กณฑญั ญเถระ 32 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ



พระขานโุ กณฑัญญเถระ พระขานุโกณฑัญญเถระ  ท่านศึกษาเกี่ยวกับ  กรรมฐานท่ีจะปฏิบัติให้เข้าถึงซ่ึงอรหัตตผล  แล้วท่าน  กอ็ อกไปสปู่ า่   ประพฤตปิ ฏบิ ตั เิ จรญิ ภาวนา  จนในทสี่ ดุ   ท่านก็ได้ส�ำเร็จเป็นพระอรหันต์รูปหน่ึง  คนท่ีปรารภ  ความเพียรอย่างต่อเนื่อง  เดินจงกรม  น่ังปฏิบัติ  กก็ ำ� หนดดรู ปู ดนู าม ดสู ภาวะในกายในใจตนเอง ท่ีสุด  ก็เกิดญาณปัญญา  เห็นรูปเห็นนาม  เห็นสภาวะเกิด  ดับ  เห็นอนิจจงั   ทุกขงั   อนตั ตา  ถอนอาสวกเิ ลสได้ เข้าใจสภาพความเป็นจริงของชีวิต  ชีวิตน้ีเป็น  เพียงสักแต่ว่าธาตุ  ธรรมชาติ  มีความเกิดข้ึนเป็น  ธรรมดา  มีความดับไปเป็นธรรมดา  ที่รู้สึกเป็นตัวเรา  เป็นของเรา  เป็นสัตว์  เป็นบุคคล  เป็นความยึดมั่น  ถือม่ัน  ในความเห็นผิด  เมื่อปฏิบัติเข้าไปรู้แจ้ง  ท่าน  34 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

ก็จะเห็นว่า  ชีวิตนี้เป็นเพียงสักแต่ว่าธรรมชาติ  ที ่ เปลย่ี นแปลง  เกิดดบั   บังคับไมไ่ ด้  ไม่ใชต่ ัวเราของเรา  ละความยึดม่ันถือมั่น  ท�ำลายอวิชชาหมดสิ้นไปจาก  จิตใจ  ท่านก็ค้นพบว่าจิตใจของท่านไม่มีทุกข์  เมื่อ  ส้นิ ชีวติ ก็ดบั ขนั ธปรนิ พิ พาน พระขานโุ กณฑญั ญะ  ซงึ่ เปน็ พระอรหนั ตร์ ปู หนง่ึ   เม่ือท่านปฏิบัติส�ำเร็จเป็นพระอรหันต์  ท่านก็เดินทาง  กลบั มา  เพอื่ จะมากราบทลู พระพทุ ธเจา้   ถวายรายงาน  ว่า  ท่านได้ปฏิบัติส�ำเร็จเป็นพระอรหันต์  ระหว่าง  เดนิ ทางมา  เหนด็ เหนอื่ ยเมอื่ ยลา้   ทา่ นกแ็ วะพกั ทแ่ี หง่   หนึ่ง  ในป่านั้น  การพักของพระอรหันต์ก็โดยท่ีท่าน  จะเขา้ ฌานสมาบตั  ิ ดบั ความรสู้ กึ   ไมร่ บั รอู้ ะไรทง้ั หมด  ทางตา  หู  จมูก  ลิ้น  กาย  ใจ  สงบนิ่ง  แนบแน่นใน  อารมณเ์ ดียว  น่งั นงิ่ อยู่ในทา่ น้ัน เ ข ม ร ั ง ส ี  ภ ิ ก ขุ 35

วนั นน้ั ปรากฏวา่   พวกโจรกลมุ่ ใหญ ่ ไดป้ ลน้   ไดจ้ ี้  ไดท้ รพั ย ์ แลว้ กห็ นเี ขา้ ไปอยใู่ นปา่   ไปถงึ ตรงนนั้   โจรก็  พักเหมือนกัน  ก็เอาห่อทรัพย์ท่ีตนเองปล้นมาได้  ไป  วางบนศรี ษะของพระขานโุ กณฑญั ญะ  คนโนน้ กม็ าวาง  คนน้ีก็มาวางข้างๆ  คือเข้าใจว่าท่านเป็นตอไม้  เพราะ  ท่านนั่งน่ิงๆ  บริเวณตรงนั้นก็คงไม่สว่างนัก  โจรก็เอา  ห่อของวาง  ทีน้ีโจรมันมีมากด้วยกัน  มันก็มาวางสุมๆ  ทรัพย์สมบัติที่ปล้นมา  วางคลุมปิดตัวท่านหมดเลย  แล้วโจรกน็ อนพกั อยูบ่ ริเวณตรงนั้นตลอดท้งั คนื พอรุ่งสว่าง  พวกโจรก็เตรียมจะเดินทางต่อไป  มันก็ช่วยกันหยิบห่อทรัพย์ที่ตนเองวางไว้  ก็จึงเห็น  พระอยู่ข้างใน  มันก็ตกใจ  จะว่ิงหนี  คงนึกว่าเป็นผ ี นึกว่าโดนผีหลอก  พระขานุโกณฑัญญะก็บอกว่า  เราเป็นบรรพชิต  เราไม่ใช่โอปปาติกะ  อย่ากลัวเลย  พวกโจรก็เลยเกิดความเลื่อมใสศรัทธาว่า  พระรูปนี้  36 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

มีอานุภาพมาก  น่ังนิ่งอยู่ได้ท้ังคืน  โดยท่ีเราไม่รู้เลย  ว่ามีพระน่ังอยู่  ก็เลยเข้าไปกราบขอขมาลาโทษ  ท่าน  ก็ให้อภัย  พวกโจรเลยขอบวช  พระขานุโกณฑัญญะ  ก็เลยพาพวกโจรนั้นมาเฝ้าพระพุทธเจ้า  เพ่ือจะได ้ ขอบวช พระพทุ ธเจา้ จงึ ไดต้ รสั วา่   “ภกิ ษทุ งั้ หลาย  ความ  เป็นอยู่แม้เพียงวันเดียวของพวกเธอ  ผู้ด�ำรงอยู่ใน  ปัญญาสัมปทาเช่นนี้  ประเสริฐกว่า  การมีชีวิตอยู ่ ตัง้ รอ้ ยปขี องผไู้ ร้ปัญญา” มชี วี ติ อยวู่ นั เดยี ว ถา้ หากวา่ อยดู่ ว้ ยปญั ญาอยา่ งนี้  มองเห็นโทษเห็นภัยของการท�ำช่ัว  เห็นโทษเห็นภัย  แห่งวัฏฏสงสาร  ชีวิตน้อมเข้ามาสู่ทางธรรม  ที่จะ  ประพฤตปิ ฏบิ ตั ธิ รรม  การมชี วี ติ อยโู่ ดยมปี ญั ญาอยา่ งน้ี  แม้มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว  ก็ประเสริฐกว่าชีวิตท่ีอยู ่ เ ข ม ร ั ง สี  ภิ ก ขุ 37

อย่างคนไม่มีธรรมเป็นร้อยปี  อยู่อย่างไม่มีธรรม  เป็น  ร้อยป ี ไมป่ ระเสริฐอะไรเลย  แล้วพระองคจ์ ึงไดต้ รสั เป็นคาถาว่า  โย  จ  วสสฺ สต ํ ชเี ว  เปน็ อาทิ ซ่ึงแปลเป็นใจความว่า  “ผู้ใดไร้ปัญญา  ใจ  ไมม่ น่ั คง  พงึ มชี วี ติ อยถู่ งึ รอ้ ยปกี ไ็ มป่ ระเสรฐิ   สว่ นผมู้ ี  ปญั ญา มฌี าน แมม้ ชี วี ติ อยเู่ พยี งวนั เดยี วกป็ ระเสรฐิ   กวา่ ” วันน้ีเราทำ� อะไรอยู่ ฉะนั้น  ท่านท้ังหลายฟังค�ำสอนอย่างนี้แล้ว  ก ็ มาพิจารณาถึงตัวเราว่า  เรามีชีวิตอยู่  เรามีลมหายใจ  ผ่านไปทุกวันๆ  เรามีชีวิตอยู่อย่างประเสริฐไหม  38 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

ชีวิตของเราอยู่ในธรรมหรือไม่  หรืออยู่ด้วยบาป  ใน  วันหนึ่งๆ  เราท�ำบุญหรือท�ำบาป  ถ้าเราพิจารณาว่า  ชีวิตเรานี้  วันๆ  หนึ่ง  เดี๋ยวก็ท�ำบาป  เด๋ียวก็โกหก  หลอกลวง  เดี๋ยวก็ทุจริตข้อนั้นข้อนี้  ก็ต้องส�ำนึกว่า  นี่เรามีชีวิตอยู่อย่างไม่ประเสริฐเลย  อยู่มานานเท่าไร  ก็ยิ่งเพิ่มบาปให้ตัวเองเท่าน้ัน  เกิดมาทั้งที  ไม่ได้สร้าง  ความดี  ไมไ่ ดพ้ ัฒนาตวั เองให้สงู ส่ง  ให้เจรญิ ในธรรม เม่ือพิจารณา  แล้วได้ข้อคิด  ก็เลิกละความ  ประพฤติผิดเหล่าน้ัน  หันเข้าสู่ทางธรรม  ช�ำระกาย  วาจาของตน  ให้สะอาด  ด้วยศีล  สมาทาน  เว้นการ  ฆา่ สตั ว ์ เวน้ การลกั ทรพั ย ์ เวน้ ประพฤตผิ ดิ ในกาม  เวน้   การโกหก  หลอกลวง  หยาบคาย  ส่อเสียด  เพ้อเจ้อ  แล้วก็ฝึกจิตใจของตนเอง  ให้เกิดสติ  สมาธิ  ปัญญา  เจริญภาวนาอยู่เสมอ  แข่งกับเวลา  แข่งกับชีวิตท่ ี ค่อยๆ  หมดไป  สิ้นไป  อยู่ทุกขณะ  อย่างไม่มีโอกาส  เ ข ม รั ง ส ี  ภ ิ ก ขุ 39

จะกลับคืน  ชีวิตมันไหลไป  เหมือนกระแสน�้ำ  ท่ีไม่ม ี วันหวนกลับคนื มาได้ กาลเวลาผา่ นไปผ่านไปทกุ นาที กลืนกนิ ชีวิตนไ้ี ปทุกขณะ เราท�ำอะไรเปน็ แกน่ สารบา้ งล่ะ หรอื แคเ่ กะกะเกดิ แกเ่ จ็บตาย ชีวิต  ถ้าเกิดมาแล้วไม่ได้สั่งสมคุณงามความดี  มันก็แค่  แก่  แล้วก็เจ็บ  แล้วก็ตาย  เกิดมาก็เป็นเพียง  กองกระดูก  ถมทับแผ่นดินหมดไป  จิตวิญญาณต่อไป  กไ็ ปเสวยกรรมในอบายภมู  ิ มดื มนตอ่ ไป  ถา้ เรารอู้ ยา่ งน้ี  เราต้องพยายามท�ำชีวิตของตนให้มีสาระ  สาระของ  ชวี ติ อยทู่ คี่ ดิ ด ี ทำ� ด ี พดู ด ี ทำ� หนา้ ทอี่ ยา่ งถกู ตอ้ ง  ตาม  ครรลองประโยชน์ตนและคนอื่น  ท�ำชีวิตของตนให ้ มีสาระ  ให้มีประโยชน์  ให้มีคุณค่า  ให้ได้ประโยชน ์ 40 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

ตนเอง  ให้ได้ประโยชนค์ นอื่น  ชีวิตมนั กม็ ีสาระขึน้ ประโยชน์ตนเอง  ก็คือได้ส่ังสมบุญกุศลต่างๆ  ความดตี า่ งๆ  แตล่ ะวนั ๆ  บำ� เพญ็ กศุ ลตา่ งๆ  ประโยชน์  ผู้อ่ืน  ก็คือได้ช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อ่ืน  ช่วยผู้อ่ืนให้ได้  รับประโยชน์  เรามาช่วยวัด  ช่วยศาสนา  ช่วยสังคม  ในทางที่ถูกต้อง  นี่แหละทำ� ให้ชีวิตเรามีสาระ  ในส่วน  ตวั ของตน  กพ็ ยายามฝกึ ฝนอบรมเจรญิ สตสิ มั ปชญั ญะ  ไว้เนืองๆ  เสมอๆ  ให้จิตเข้าถึงความสงบ  ให้จิตเข้าถึง  ปญั ญา  ความสงบม ี ๒  อย่าง  คือ  สงบจากอารมณ์  คือ  ท�ำสมาธิ  จิตนิ่ง  ไม่ไหว  ไปรับอารมณ์ต่างๆ  จิตอยู่ในอารมณ์เดียว  น่ีเรียกว่า  สงบจากอารมณ ์ ยงั เป็นสมถกรรมฐาน  เ ข ม ร ั ง สี  ภิ ก ขุ 41

สงบจากกเิ ลส  คอื   จติ สะอาดบรสิ ทุ ธขิ์ น้ึ   แบบนี ้ เป็นวิปัสสนากรรมฐาน  คือแม้จิตจะรับอารมณ์ต่างๆ  รับรู้สี  เสียง  กลิ่น  รส  โผฏฐัพพะ  ธัมมารมณ์  แต่ว่า  สะอาดในการรับอารมณ์  หรือว่าสงบจากกิเลส  สงบ  จากอกุศลธรรม  ไม่ใช่ว่าน่ิงเฉยๆ  ยังรับ  ยังรู้  ยังด ู เท่าทันต่อสภาวะ  อะไรจะมากระทบที่กาย  เช่น  เย็นมากระทบ  ร้อนมากระทบ  ก็ก�ำหนดรู้  ความตึง  ความหยอ่ น ความไหว ความสบาย ไมส่ บาย กก็ ำ� หนดร ู้ เรียกว่า  จิตไม่ได้สงบจากอารมณ์  ยังรับอารมณ์ต่างๆ  แต่ว่าสงบจากกิเลส  เพราะว่าจิต  เวลาก�ำหนดรู ้ มีการละความยินดี  ละความยินร้าย  ก�ำหนดด้วยใจ  เป็นกลาง  วางเฉย  เปน็ ปกติอยู่ แม้ว่าจิตจะรับอารมณ์  ทางตา  ทางหู  ทางจมูก  ทางลน้ิ   ทางกาย  ทางใจ  เสยี งดงั มา  ไดย้ นิ   สตริ ะลกึ ร้ ู ใจรู้สึกอย่างไร  ก�ำหนดรู้  ตาเห็นรูป  ก�ำหนดรู้  ดูใจ  42 ช ีวิ ต มี ธ ร ร ม   แ ม้ ร า ต รี เ ดี ย ว ก็ ป ร ะ เ ส ริ ฐ

ตนเอง  รักษาใจตนเองไม่ให้เกิดราคะ  โทสะ  มานะ  ทิฏฐิ  รักษาใจของตนเองเป็นกลาง  วางเฉยเป็นปกติ  กจ็ ะเขา้ ถงึ ซงึ่ ความสงบจากกเิ ลส เมอื่ มสี ตปิ ญั ญาเกดิ ขนึ้   ละความยนิ ด ี ยนิ รา้ ย  เรยี กวา่   สงบจากกเิ ลส  ซง่ึ เปน็   เหตุแหง่ ความบริสุทธิ์  เหตแุ ห่งความดบั ทกุ ข์ ฉะนั้น  ขอให้ท่านทั้งหลายได้ส่ังสมบุญกุศล  ท�ำความดีกนั อยา่ งต่อเนอื่ งไว ้ ตามที่ได้แสดงมาก็พอสมควรแก่เวลา  ขอยุติไว ้ แต่เพียงเท่าน้ี  ขอความสุขความเจริญในธรรม  จงมี  แก่ทกุ ทา่ น  เทอญ. เ ข ม รั ง ส ี  ภิ ก ขุ 43

พงึ ฝึกจิตใจของตนเอง ให้เกิดสติ สมาธิ ปญั ญา เจรญิ ภาวนาอยู่เสมอ แขง่ กบั เวลา แขง่ กบั ชีวติ ที่คอ่ ยๆ หมดไปส้ินไป อยู่ทกุ ขณะ  อยา่ งไม่มโี อกาสจะกลบั คนื ชีวติ มนั ไหลไป เหมอื นกระแสนำ�้   ที่ไมม่ ีวันหวนกลบั คนื มาได้



กําหนดการปฏิบัติธรรมบวชเนกขัมมภาวนา   ปี   ๒๕๖๓ ณ  วัดมเหยงคณ์  ต.หนั ตรา  อ.พระนครศรอี ยุธยา  จ.พระนครศรีอยุธยา ท่ี วันส�ำคญั พิธี กำ� หนดวนั บวช และ ลาสิกขา วนั ศุกรท์ ่ี ๗ ก.พ. ๖๓ (ขึน้  ๑๔ คำ�่  เดือน ๓) ๑ วันมาฆบชู า บวช วันจันทรท์ ่ ี ๑๐ ก.พ. ๖๓ (แรม ๒ ค�่ำ เดอื น ๓) ลาสิกขา วนั เสารท์ ่ี ๑๑ เม.ย. ๖๓ (แรม ๔ ค�ำ่  เดอื น ๕) บวช วนั องั คารท ี่ ๑๔ เม.ย. ๖๓ (แรม ๗ คำ่�  เดอื น ๕) ๒ วันสงกรานต์ ลาสิกขา วันจันทรท์ ่ี ๔ พ.ค. ๖๓ (ขึน้  ๑๓ คำ�่  เดอื น ๖) วนั พฤหสั ที ่ ๗ พ.ค. ๖๓ (แรม ๑ ค�ำ่  เดือน ๖) ๓ วนั วิสาขบูชา บวช วนั พุธที่ ๓ มิ.ย. ๖๓  (ข้นึ  ๑๓ ค�่ำ เดอื น ๗) ลาสกิ ขา วนั อาทิตย์ท ี่ ๗ ม.ิ ย. ๖๓  (แรม ๔ ค่�ำ เดอื น ๗) วันเฉลมิ พระชนมพรรษา  บวช วันศกุ ร์ท ่ี ๓ ก.ค. ๖๓ (ข้ึน ๑๔ ค่�ำ เดือน ๘) ๔ พระราชินฯี ลาสกิ ขา วนั จนั ทร์ที่ ๖ ก.ค. ๖๓ (แรม ๒ ค�่ำ เดือน ๘) วันเสารท์ ี ่ ๒๕ ก.ค. ๖๓ (ข้นึ  ๖ คำ�่  เดือน ๙) ๕ วนั อาสาฬหบูชา บวช วันพุธท่ี ๒๙ ก.ค. ๖๓ (ขึน้  ๑๐ ค่ำ�  เดือน ๙) และวนั เข้าพรรษา ลาสิกขา วนั เสารท์ ี ่ ๘ ส.ค. ๖๓ (แรม ๕ ค่ำ�  เดือน ๙) วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา  บวช วนั พฤหัสท่ ี ๑๓ ส.ค. ๖๓ (แรม ๑๐ ค�่ำ เดอื น ๙) ๖ ร.๑๐ ลาสกิ ขา ๗ วันแม่แห่งชาติ บวช ลาสิกขา

๘ วันออกพรรษา บวช วันพฤหสั ท ี่ ๑ ต.ค. ๖๓ (ขึน้  ๑๕ ค�ำ่  เดอื น ๑๑) ลาสกิ ขา วนั อาทิตย์ท่ ี ๔ ต.ค. ๖๓ (ข้นึ  ๓ คำ�่  เดือน ๑๑) ๙ วันคลา้ ยวนั สวรรคต  บวช ร.๙ ลาสกิ ขา วันเสาร์ท ่ี ๑๐ ต.ค. ๖๓ (แรม ๙ ค่ำ�  เดอื น ๑๑) บวช วนั พธุ ท ่ี ๑๔ ต.ค. ๖๓ (แรม ๑๓ คำ่�  เดอื น ๑๑) ๑๐ วนั ปยิ มหาราช ลาสกิ ขา วันศกุ ร์ท ่ี ๒๓ ต.ค. ๖๓ (แรม ๘ คำ�่  เดอื น ๑๒) บวช วันจนั ทรท์ ี่ ๒๖ ต.ค. ๖๓ (แรม ๑๑ ค�ำ่  เดือน ๑๒) ๑๑ วันพอ่ แห่งชาติ ลาสกิ ขา วนั ศุกรท์ ่ ี ๔ ธ.ค. ๖๓ (แรม ๕ คำ�่  เดอื น ๑) บวช วนั จนั ทรท์ ่ี ๗ ธ.ค. ๖๓ (แรม ๘ ค�ำ่  เดอื น ๑) ๑๒ วนั ขึ้นปใี หม่ ลาสิกขา วันพฤหัสท ่ี ๓๑ ธ.ค. ๖๓ (แรม ๓ ค�่ำ เดอื น ๒) วันอาทิตยท์ ี ่ ๓ ม.ค. ๖๔ (แรม ๖ ค่ำ�  เดือน ๒) บวชเนกขมั มภาวนาในช่วงเทศกาล  (วนั ส�ำคัญของชาต ิ ศาสนา  พระมหากษัตริย์  และ  วันประเพณไี ทย) •  พิธบี วช  มวี นั ละ  ๓  รอบ  คอื   ๑ เวลา  ๑๒.๐๐  น.  (วันแรกเวลา  ๑๐.๐๐  น.)   ๒ เวลา  ๑๕.๓๐  น.   ๓  เวลา  ๒๑.๐๐  น.  [ผ้จู ะบวชตอนบ่ายและคำ�่ ได ้ ตอ้ งไม่ได้รับประทานอาหาร  ในเวลาวิกาล  (เลยเท่ยี งวัน)] •  พิธลี าสกิ ขา  มีวันละ  ๑  รอบ  คือ  เวลา  ๐๖.๐๐  น. บวชเนกขมั มภาวนาประจำ� วัน  (นอกเทศกาล)  บวชได้ทุกวนั     •  พธิ บี วชเวลา  ๐๙.๐๐  น.

ก�ำหนดการอุปสมบทหมพู่ ระภิกษุ ประจ�ำปี  ๒๕๖๓ ณ   วัดมเหยงคณ ์  ต.หันตรา อ.พระนครศรีอยุธยา   จ.พระนครศรีอยุธยา ท่ี เดือน วนั พธิ ีอุปสมบท ๑ มกราคม วันอาทิตยท์ ี่  ๕  มกราคม  ๒๕๖๓ ๒ กุมภาพันธ์ วนั อาทติ ย์ที่  ๒  กุมภาพนั ธ์  ๒๕๖๓ ๓ มนี าคม วนั อาทติ ย์ท ี่ ๑  มีนาคม  ๒๕๖๓ ๔ เมษายน วันอาทิตยท์  ่ี ๕  เมษายน  ๒๕๖๓ ๕ พฤษภาคม วันอาทิตยท์ ี ่ ๓  พฤษภาคม  ๒๕๖๓ ๖ มิถนุ ายน วนั เสารท์  ่ี ๖  มิถนุ ายน  ๒๕๖๓ วันอาทิตยท์  ่ี ๒๘  มิถุนายน  ๒๕๖๓ ๗ ตุลาคม (บวชอยจู่ ำ� พรรษา  ๓  เดือน) วันเสาร์ท่ี  ๓  ตุลาคม  ๒๕๖๓ ๘ พฤศจกิ ายน วันอาทิตย์ที่  ๑  พฤศจิกายน  ๒๕๖๓ ๙ ธันวาคม วนั พุธท ี่ ๒  ธนั วาคม  ๒๕๖๓  (ชาวศรลี งั กา) ๑๐ ธันวาคม วนั อาทิตยท์ ่ี  ๖  ธนั วาคม  ๒๕๖๓ หมายเหตุ  : อุปสมบทแลว้   ต้องเข้าปฏิบตั ิวปิ ัสสนากรรมฐาน ในวนั ถัดไป  จนถงึ วนั ลาสิกขา สมคั รไดท้  ี่ : คุณสมพงษ์  คงศิริถาวร  โทร.  ๐๘-๑๘๕๓-๕๖๖๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook