Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สตรีเป็นศัตรูของพรหมจรรย์จริงหรือ

สตรีเป็นศัตรูของพรหมจรรย์จริงหรือ

Published by Sarapee District Public Library, 2020-10-29 04:55:16

Description: สตรีเป็นศัตรูของพรหมจรรย์จริงหรือ

Keywords: ธรรมะ

Search

Read the Text Version

สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 1

สารบัญั ๑ ความนำำ� ๑ ๒ พรหมจรรย์ค์ ืืออะไร ๒ ๓ การประพฤติพิ รหมจรรย์์ หรืือการประพฤติิ ๓ ที่่�ประเสริฐิ มีีลัักษณะอย่า่ งไร ๔ เมถุนุ ธรรมคืืออะไร ๔ ๕ ทำ�ำ ไมจะต้้องงดเว้น้ ๗ ๖ ผลของการงดเว้้นคือื อะไร ๙

สารบัญั ๗ เมถุุนวิิรััติิ จำ�ำ เป็น็ ต่อ่ การดำำ�รงชีีวิิต ๑๐ ๑๔ เป็น็ สมณะในทุกุ กรณีีหรืือไม่่ ๒๒ ๒๗ ๘ สตรีีเป็็นศััตรูขู องพรหมจรรย์์จริิงหรืือไม่่ ๓๔ ๓๗ ๙ พระพุุทธเจ้า้ ทรงห้้ามมิิให้้เกี่ย�่ วข้้องกัับสตรีี หรือื ทรงสอนให้้มีีท่า่ ทีีที่ถ่� ูกู ต้อ้ งต่อ่ สตรีี ๑๐ พระพุทุ ธเจ้า้ ทรงสอนให้้พระภิิกษุุมีีท่า่ ทีีหรืือ มีีกฎเกณฑ์ส์ ำ�ำ หรับั การปฏิิสัมั พันั ธ์ก์ ัับสตรีีอย่า่ งไร ๑๑ ท่า่ ทีีที่พ่� ึึงประสงค์์ต่อ่ การปฏิิสัมั พันั ธ์ ์ ระหว่่างพระภิกิ ษุุกับั สตรีี อ้า้ งอิงิ

4 สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่

๑ ความนำำ “สตรีีมักั จะมีีภาพพจน์ใ์ นแง่ร่ ้า้ ย เป็น็ ความเชื่อ� ที่ไ�่ ด้ร้ ับั อิทิ ธิพิ ลจากคติิ ทางพุทุ ธศาสนาที่ว�่ ่า่ สตรีีเป็น็ ศัตั รูขู องพรหมจรรย์์ เป็น็ เหตุทุ ี่ม่� าแห่ง่ ทุกุ ข์”์ [๑] จากท่่าทีีและมุุมมองในลัักษณะดัังกล่่าว รวมไปถึึงการตั้�งข้้อสัังเกตของนััก วิิชาการทางศาสนา และผู้�สนใจศึกึ ษาพระพุุทธศาสนาทั่่ว� ไป ทำำ�ให้เ้ กิิดการ ตั้�งคำำ�ถามว่่า พระพุุทธศาสนามองว่่า สตรีีเป็็นมลทิิน หรืือเป็็นศััตรููของ พรหมจรรย์์ใช่่หรืือไม่ ่ หรือื ว่่าจริิง ๆ แล้ว้ พระพุุทธพจน์ข์ ้้อนี้้ต� ้อ้ งการที่จ่� ะสื่�อ นัยั ที่ล่� ึกึ ซึ้้ง� มากกว่า่ นี้้� ฉะนั้้น� ก่อ่ นที่ผ�ู่้�เขีียนจะตอบปัญั หาที่ว�่ ่า่ “สตรีีเป็น็ ศัตั รูขู องพรหมจรรย์”์ [๒] หรืือไม่ ่ จำ�ำ เป็น็ ที่่จ� ะต้้องศึกึ ษาบริขิ ้้อของพระพุุทธเจ้า้ ดัังกล่่าว รวมไปถึงึ การวิเิ คราะห์ค์ วามหมายของคำำ�ว่า่ “พรหมจรรย์”์ เสีียก่อ่ นว่า่ หมายถึงึ อะไร เมื่อ� เราเข้า้ ใจ้อ้ ย่า่ งแจ่ม่ ชัดั เกี่ย่� วกับั ความหมายของพรหมจรรย์แ์ ล้ว้ เราจึงึ จะ สามารถตอบได้ว้ ่า่ สตรีีเป็น็ ศัตั รูขู องพรหมจรรย์จ์ ริงิ หรือื ไม่ ่ ในความเป็น็ จริงิ แล้ว้ พระพุุทธศาสนามีีท่่าทีีต่่อสตรีีในลักั ษณะเช่น่ นี้้�หรืือไม่่ สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 1

๒ พรหมจรรย์์คือื อะไร คำำ�ว่า่ “พรหมจรรย์์” นี้้� มาจากศััพท์ว์ ่า่ “พฺรฺ หฺมฺ ” ซึ่่�งแปลว่า่ “ประเสริิฐ” และศััพท์์ว่า่ “จริยิ า” ซึ่่�งแปลว่่า “ความประพฤติ”ิ ฉะนั้้น� คำ�ำ ว่่า “พรหมจรรย์์” จึึงหมายถึึง “พฺฺรหฺฺมํํ จริิยํํ พฺรฺ หฺฺมจริยิ ํํ”[๓] แปลว่า่ “ความ ประพฤติิที่�่ประเสริิฐ” นอกจากจะเป็็นคำ�ำ กิิริิยาที่�่หมายถึึงการกระทำ�ำ ยััง หมายถึึงตััวบุุคคลผู้้�กระทำำ�ด้้วย ดัังมีีเนื้้�อหาตามที่�่ปรากฏในอรรถกถาแห่่งอุุ โปสถสูตู รที่�่ว่่า “พฺฺรหฺฺมํํ เสฏฺฐฺ ํํ อาจารํํ จรตีีติิ พฺฺรหฺฺมจารีี”[๔] แปลว่า่ “บุคุ คล ใด ย่อ่ มประพฤติิอาจาระอัันประเสริิฐ คือื ล้ำ�ำ�เลิศิ เหตุุนั้้น� บุุคคลใด ชื่่�อว่่า “พรหมจารีี” (ผู้�ประพฤติิอาจาระอันั ประเสริิฐ) เมื่�อคำำ�ว่่า “พรหมจรรย์”์ หมายถึึง ความประพฤติอิ ันั ประเสริฐิ นั้้น� คำำ�ถามที่�ก่ ็ค็ ืือว่า่ คำ�ำ ว่่า “การประพฤติปิ ระเสริิฐ” ตามที่่�ปรากฏในพุทุ ธพจน์์ ที่�่ว่า่ “สตรีีเป็็นศัตั รููของพรหมจรรย์”์ นั้้น� มีีนััยที่�แ่ สดงให้้เห็็นถึึงความความ ประพฤติิที่่ป� ระเสริิฐอย่่างไร 2 สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่

๓ การประพฤติพิ รหมจรรย์์ หรือื การประพฤติิที่ป�่ ระเสริฐิ มีีลักั ษณะอย่่างไร เมื่�อวิิเคราะห์์ถึึงนััยของคำ�ำ ว่่า “ประพฤติิประเสริิฐ” ในพุุทธพจน์์ที่�่ ว่่า “สตรีีเป็็นมลทิินของการประพฤติิอัันประเสริิฐ” นั้้�น ย่่อมเป็็นที่�่แน่่ชััด ว่า่ หมายถึึง “เมถุุนวิิรััติิ” ฉะนั้้�น สิ่่ง� ที่จ�่ ะต้อ้ งวิิเคราะห์ต์ ่อ่ ไปอีีกก็ค็ ือื ว่า่ เมื่อ� คำ�ำ ว่า่ “พรหมจรรย์”์ หรือื “การประพฤติิที่�่ประเสริิฐ” ตามบริขิ ้้อนี้้ห� มายถึงึ “เมถุุนวิิรััติิ” นั้้�น คำ�ำ ว่า่ เมถุนุ วิิรัตั ิิ นี้้� หมายถึงึ อะไร ทำ�ำ ไมพระพุทุ ธเจ้้าจึึง มีีจุดุ ประสงค์์ให้้พระภิิกษุุงดเว้น้ จากสิ่ง� เหล่า่ นี้้� และมองว่่า สตรีีนั้้�นเป็น็ ที่ม�่ า ของสิ่�งที่่�ก่่อให้้เกิิดมลทิินต่่อพรหมจรรย์์ หรืือจะกล่่าวอีีกนััยหนึ่่�งก็็คืือ สตรีี เป็็นที่่�มาของเมถุนุ ธรรม ฉะนั้้น� สิ่่�งสำ�ำ คัญั ก็ค็ ือื การศึึกษาวิเิ คราะห์ถ์ ึึงคำำ�ว่่า “เมถุุนธรรม” เพราะเมื่�อเราเข้้าใจถึึงคำ�ำ ว่่า “เมถุุนธรรม” อย่่างกระจ่่าง ชััด ก็็จะสามารถทำำ�ให้้เราเข้้าใจถึึงวััตถุุประสงค์์ที่�่แท้้จริิงของการที่�่พระพุุทธ ศาสนามองว่่า สตรีีนั้้�นจะเป็็นสิ่่�งขััดขวางมิิให้้การประพฤติิพรหมจรรย์์เจริิญ ก้้าวหน้า้ ต่อ่ ไปได้้ สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 3

๔ เมถุุนธรรมคืืออะไร เมื่อ� ถือื เอาตามนัยั แห่่งฎีีกาอุุโปสถสูตู ร[๕] จะพบว่่า คำำ�ว่า่ “เมถุุน” นั้้น� จะมีีนัยั ที่ต่� รงกันั ข้า้ มกับั “เมถุนุ วิริ ัตั ิ”ิ ดังั จะเห็น็ ว่า่ คำำ�ว่า่ “พรหมจรรย์”์ จะสอดรัับกัับคำ�ำ ว่่า “เมถุุนวิิรััติิ” ส่่วนคำำ�ว่่า “เมถุุน” จะมีีนััยที่่�สอดรัับกัับ คำำ�ว่่า “อพรหมจรรย์์” หรืือ “อพฺฺรหฺฺมจริิยํํ” หรือื “อเสฏฺฺฐจริิยํํ” ซึ่่�งหมาย ถึงึ การประพฤติขิ องคนไม่ป่ ระเสริิฐ คือื คนเลว หรืือจะกล่่าวอีีกนัยั หนึ่่�งว่า่ “ความประพฤติไิ ม่่ประเสริิฐ คือื ทราม คืือ เลว ความหมายเหล่า่ นี้้� เป็็นคำ�ำ ที่�่ส่อ่ แสดงให้้เห็็นถึึงคำำ�ว่า่ “เมถุุน” ทำ�ำ ไมท่่านจึงึ ต้้องมองว่า่ “เมถุนุ ” เป็น็ สัญั ลักั ษณ์์ หรืือเครื่�องหมาย ของความเลวทรามตามบริขิ ้อ้ นี้้ � และเมื่อ� พิจิ ารณารายละเอีียดต่า่ งๆ เกี่ย่� วกับั เมถุนุ นี้้ก� ็ไ็ ม่ไ่ ด้ม้ ีีประเด็น็ ใดที่ส�่ ามารถจะอธิบิ ายให้เ้ ห็น็ ถึงึ ภาพของไม่ป่ ระเสริฐิ ได้้ ฉะนั้้�น เพื่่�อให้้เกิิดความชััดเจนมากยิ่ง� ขึ้�นเกี่�่ยวกัับคำ�ำ ว่่า “เมถุุน” ผู้้�เขีียน จะนำำ�เอาประเด็็นของคำ�ำ ว่่า “เมถุุน” ตามที่�่ปรากฏในอรรถกถาแห่่งปฐม ปาราชิิกมาอธิบิ ายเพิ่่ม� เติมิ 4 สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่

ในอรรถกถาปฐมปาราชิิก[๖] ให้้คำำ�จำำ�กััดความของคำำ�ว่่า “เมถุุน” เอาไว้อ้ ย่า่ งน่า่ สนใจว่า่ “การเห็็นก็ด็ ีี การจับั ก็็ดีี การลูบู คลำ�ำ ก็ด็ ีี การถููกต้อ้ ง ก็็ดีี การเบีียดสีีก็็ดีี ซึ่่ง� เป็็นบริิวารของกรรมนั้้น� จัดั เป็น็ กรรมชั่ว� หยาบ แม้้ เพราะเหตุนุ ั้้�น กรรมนั้้น� จึึงเป็็นกรรมชั่�วหยาบ กรรมชั่�วหยาบนั้้น� ชื่่อ� ว่่า “เมถุนุ ธรรม” หรืือ น้ำ��ำ อัันบุคุ คลย่่อมถืือเอา เพื่่อ� ความสะอาดในที่�ส่ ุดุ แห่ง่ กรรมนั้้�น เหตุุนั้้�น กรรมนั้้น� ชื่่�อว่า่ มีีน้ำ�ำ� เป็็นที่ส�่ ุุด กรรมมีีน้ำ��ำ เป็น็ ที่ส่� ุุดนั่่�นแล ชื่อ� ว่่า “โอทกัันติิกะ” กรรมมีีน้ำำ��เป็็นที่�ส่ ุดุ ชื่่�อว่า่ “เมถุนุ ธรรม” ธรรมนั้้�น เป็็นกรรมลัับ เพราะความเป็็นกรรมที่่ต� ้้องทำำ�ในที่�่ลับั คืือ ในโอกาสอันั ปิิดบััง กรรมนั้้�น ชื่่อ� ว่่า “เมถุุนธรรม” กรรมนั้้น� ชื่่�ออัันบุคุ คลเป็็นคู่่� ๆ พึงึ ถึงึ ร่ว่ มกันั ชื่อ� ว่่า “เมถุุนธรรม” สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 5

เมื่อ� พิิจารณาจากความหมายของคำำ�ว่่า “เมถุนุ ” ตามที่ป่� รากฏใน อรรถกถาจะพบที่่�มาของคำำ�ว่่า “ไม่ป่ ระเสริฐิ เลวทราม หรืือชั่ว� หยาบ” ได้้ อย่่างชัดั แจ้ง้ ว่่ามีีที่�่มาอย่่างไร จะอย่า่ งไรก็็ตาม เมื่�อวิิเคราะห์์จากประเด็น็ นี้้� จะพบว่า่ การเข้า้ ไปเกี่ย่� วข้อ้ งกับั เมถุนุ ธรรมนั้้น� เมื่อ� กล่า่ วตามนัยั ที่ท่� ่า่ นอธิบิ าย ไว้้จััดได้้ว่่าเป็็นสิ่่�งที่่�ไม่่ประเสริิฐ แต่่สำำ�หรัับวิิถีีของปุุถุุชนแล้้ว การเข้้าไป เกี่�ย่ วข้้องอาจจะทำำ�ให้ส้ ภาพจิิตเศร้า้ หมองเนื่่�องจากถููกราคะครอบงำ�� แต่่การเข้้าไปเกี่�่ยวข้้องอย่่างมีีสติิปััญญาตามวิิสััยของปุุถุุชน โดยไม่่ ก่อ่ ให้เ้ กิดิ ผลเสีียต่อ่ สังั คมนั้้น� ก็ถ็ ือื ได้ว้ ่า่ เป็น็ สิ่่ง� ที่พ่� ระพุทุ ธศาสนาก็ม็ ิไิ ด้ป้ ฏิเิ สธ ต่อ่ ท่า่ ทีีดังั กล่า่ ว แต่เ่ มื่อ� กล่า่ วโดยสรุปุ ในประเด็น็ นี้้จ� ะพบว่า่ พระพุทุ ธศาสนา มีีท่า่ ทีีที่ส�่ นับั สนุนุ และส่ง่ เสริมิ ให้ท้ ุกุ คนได้ห้ ลีีกออกจากเมถุนุ หรือื งดเว้น้ จาก เมถุนุ (เมถุุนวิิรัตั ิ)ิ 6 สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่

๕ ทำำไมจะต้อ้ งงดเว้้น เมื่อ� วิเิ คราะห์จ์ ากเนื้้อ� หาตามที่ป่� รากฏในคัมั ภีีร์อ์ รรถกถาจะพบว่า่ ที่่� จะต้อ้ งงดเว้น้ ก็เ็ พราะเมถุุนเป็น็ สิ่่ง� ที่ไ�่ ม่ป่ ระเสริฐิ เป็น็ ความทราม หรือื เลว แต่่ นััยที่ส�่ื่อ� มากไปกว่า่ นี้้ � ท่า่ นก็ไ็ ม่ไ่ ด้้บอกว่า่ ทำ�ำ ไมจึงึ ไม่ป่ ระเสริฐิ ฉะนั้้น� เพื่่�อให้้ ประเด็น็ นี้้�แจ่ม่ ชัดั จำำ�เป็น็ ที่่�จะต้้องนำ�ำ เอาเนื้้�อหาในในอรรถกถาตามที่�่ปรากฏ ในปฐมปาราชิิกมาตอบในประเด็น็ นี้้�วา พระอรรถกถามองว่่า เมถุนุ ธรรมได้้ ชื่�อว่่าเป็็นอสััทธรรม อสััทธธรรมคืืออะไร ธรรมของพวกอสััตบุุรุุษ คืือคน ต่ำ��ำ ช้า้ และทำ�ำ ไมเมถุนุ ธรรมจึงึ เรีียกว่า่ อสัทั ธรรม พระอรรถกถาจารย์ม์ องว่า่ อสัทั ธรรมนั้้น� เป็็นของคนคู่่�ผู้้�กำ�ำ หนััดแล้้ว ผู้้�กำ�ำ หนัดั จััดแล้้ว ผู้้�อันั ราคะชุ่�มใจ แล้้ว คืือ ผู้้�อันั ราคะกลุ้�มรุมุ แล้ว้ เหตุุนั้้น� จึึงเรีียกว่่า เมถุุนธรรม เมื่�อสรุุปจากประเด็็นนี้้�จะพบถึึงสาเหตุุที่่�แท้้จริิงของการที่�่จะต้้อง งดเว้้นจากเมถุุน เพราะเมถุุนนั้้�นเป็็นที่�่มาของกิิเลส เมถุุนจััดได้้ว่่าเป็็น กามตัณั หา โดยเฉพาะประเด็น็ ที่เ�่ กี่ย่� วข้อ้ งกับั เพศตรงข้า้ ม การเข้า้ ไปเกี่ย่� วข้อ้ ง ในเชิิงเมถุุนธรรมนั้้�น เป็็นที่�่มาของราคะ โทสะ และโมหะ สิ่่�งเหล่่านี้้�เป็็น ตััวยึึดเหนี่่�ยวจิิตเอาไว้้ไม่่ให้้ได้้มีีโอกาสพััฒนาตนเองไปสู่ �ความดีีสููงสุุดในทาง พระพุุทธศาสนาได้้ และนี่่�เองเป็็นเหตุุผลอีีกประการหนึ่่�งว่่า เพราะเหตุุใด จึึงควรงดเว้้น สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 7

การเข้า้ ไปเกี่่�ยวข้อ้ งในเชิิงเมถุนุ ธรรมนั้้�น เป็็นที่�ม่ าของราคะ โทสะ และโมหะ สิ่�งเหล่า่ นี้้เ� ป็็นตัวั ยึดึ เหนี่่ย� วจิติ เอาไว้้ไม่่ให้ไ้ ด้้มีีโอกาส พััฒนาตนเองไปสู่ค�่ วามดีีสููงสุดุ ในทางพระพุทุ ธศาสนาได้้ 8 สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่

๖ ผลของการงดเว้น้ คืืออะไร ผลจากการงดเว้น้ นั้้น� เราสามารถที่จ่� ะวิเิ คราะห์ไ์ ด้จ้ ากกรณีีศึกึ ษาที่�่ ปิปิ ผลิมิ าณพ และนางภััททิิกาปิิลานีี พากัันเว้น้ จากเมถุนุ ไม่ไ่ ด้้ถููกเนื้้�อต้้อง ร่่างกาย ในขณะเดีียวกัันก็็มิิได้้แสดงอาการที่�่จะนำำ�ไปสู่�การมีีเมถุุนธรรมนั้้�น เป็็นเหตุุให้้ทั้้�งคู่�บรรลุธุ รรมเป็็นพระพระอรหัันต์์ในที่ส�่ ุดุ จากกรณีีศึึกษาที่�่ได้้นำ�ำ มานำ�ำ เสนอนั้้น� ทำำ�ให้เ้ กิิดคำ�ำ ถามขึ้น� มาเช่น่ เดีียวกันั ว่า่ จริงิ ๆแล้้ว ทั้้ง� คู่�ได้้บรรลุุอรหัตั ผล เพราะการงดเว้้นจากการมีีเพศ สััมพันั ธ์์อย่่างเดีียวจริงิ หรืือไม่?่ หรืือว่่า ทั้้�งคู่�ได้้ใช้้หลักั การนี้้เ� ป็น็ ฐานในการ เข้า้ ถึงึ ความจริงิ โดยมีีองค์ธ์ รรมอื่น� ๆ เข้า้ มาสนับั สนุนุ ให้เ้ กิดิ การบรรลุธุ รรม คำ�ำ ถามที่น่� ่า่ วิเิ คราะห์ถ์ ัดั จากประเด็น็ นี้้ก� ็ค็ ือื ว่า่ ผู้�ที่จ�่ ะบรรลุนุ ิพิ พานนั้้น� จำำ�เป็น็ หรืือไม่่ที่�จ่ ะต้้องเว้้นขาดจากการมีีเพศสััมพัันธ์์ สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 9

๗ “เมถุนุ วิิรัตั ิิ” จำำเป็น็ ต่่อการดำำรงชีีวิิต เป็น็ สมณะในทุกุ กรณีีหรือื ไม่่ เนื่่�องจากมีีพระภิิกษุุบางนิิกายในประเทศญี่่�ปุ่่�น และในประเทศ เกาหลีีใต้้สามารถที่่�จะมีีเพศสััมพันั ธ์์กัับสตรีีในขณะที่ด�่ ำำ�รงสมณเพศเป็น็ พระ ภิกิ ษุไุ ด้้ แต่เ่ มื่อ� ย้อ้ นกลับั มาวิเิ คราะห์ถ์ ึงึ พฤติกิ รรมของพระภิกิ ษุทุ ี่อ�่ ยู่�ในสังั คม ไทยพบว่า่ พระภิกิ ษุใุ นสังั คมไทยมีีท่า่ ทีีที่ข่� ัดั แย้ง้ กันั อย่า่ งชัดั เจน กล่า่ วคือื พระ ภิิกษุุในสัังคมไทยนั้้�น ดำ�ำ รงตนที่�่สอดรัับกัับหลัักพระวิินััยโดยเฉพาะอย่่างยิ่�ง การงดเว้้นจากมีีเพศสััมพันั ธ์ก์ ับั สตรีี และสัตั ว์์ดิริ ัจั ฉานตััวเมีีย ปััญหาที่�เ่ กิิด ตามมาก็็คืือ “การงดเว้้นจากเมถุุนธรรม” นั้้�น จำ�ำ เป็็นต่่อการดำำ�รงชีีวิิตเป็็น สมณะหรืือไม่่? เราสามารถที่�่จะดำำ�รงตนเป็็นพระภิิกษุุ และสามารถที่่�จะมีี เพศสัมั พัันธ์ไ์ ด้้โดยที่่�ไม่ข่ าดจากความเป็็นพระภิิกษุุได้้หรือื ไม่่ 1 สตรีเปเ ็นนศัตตรูต่ต อพอ รหมจรรย์หรห ืออไม่

ดัังที่่�ได้้กล่่าวในเบื้้�องต้้นแล้้วก็็คืือ ท่่าทีีของการมีีเพศสััมพัันธ์์ใน พระพุุทธศาสนามหายานบางนิิกายตามที่�ป่ รากฏในประเทศญี่ป�่ ุ่่�น พระภิกิ ษุุ ในนิกิ ายเหล่า่ นั้้น� มองว่า่ เป็น็ สิ่่ง� ที่พ่� ระภิกิ ษุสุ ามารถเข้า้ ไปเกี่ย่� วข้อ้ งกับั สิ่ง� เหล่า่ นั้้�นได้้ แต่เ่ มื่อ� กล่า่ วถึงึ พระภิิกษุใุ นฝ่่ายเถรวาทไม่ว่ ่่าจะปรากฏอยู่�ในประเทศ ใดก็็ตาม ล้้วนมีีท่่าทีีที่�่ปฏิิเสธและไม่่ยอมรัับการที่่�พระภิิกษุุเข้้าไปเกี่�่ยวข้้อง กับั เรื่อ� งเมถุนุ ธรรม ซึ่่ง� เหตุผุ ลของการที่พ่� ระภิกิ ษุใุ นฝ่า่ ยเถรวาทจะต้อ้ งงดเว้น้ จากเรื่�องเหลานี้้เ� กิิดจากเหตุผุ ลดังั ที่ไ�่ ด้ก้ ล่่าวแล้้วในเบื้้อ� งต้น้ ในขณะเดีียวกััน พระภิิกษุุในฝ่่ายเถรวาทนั้้�น มีีพระวิินััยที่�่พระพุุทธเจ้้าได้้บััญญััติิเอาไว้้ โดย เฉพาะอย่า่ งยิ่�ง บัญั ญััติทิ ี่่�เกี่ย่� วกับั เรื่�องสตรีี ซึ่่ง� โทษที่่�หนักั ที่ส�่ ุดุ เกี่่�ยวกัับเรื่�อง นี้้ก� ็ค็ ืือ การขาดจากความเป็็นพระภิิกษุุ ซึ่่ง� ถือื ว่า่ เป็น็ โทษที่�่รุนุ แรงอย่่างยิ่ง� สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 1

ฉะนั้้น� จะเห็็นว่่า เมื่อ� กล่า่ วโดยสรุุปก็ค็ ืือ ผลดีีจากการพยายามที่่� จะงดเว้น้ จากเรื่อ� งของกามก็ค็ ือื การทำ�ำ ให้ม้ นุษุ ย์แ์ ต่ล่ ะคนได้ม้ ีีโอกาสที่จ�่ ะเข้า้ ถึงึ ความจริงิ ได้้ง่่ายยิ่่�งขึ้�น เนื่่�องจากเรื่�องกามนั้้�นเป็็นตัวั เหนี่่ย� วรั้ง� ให้ม้ นุุษย์์ไม่่ สามารถที่�่จะเข้้าถึึงความจริิงได้้อย่่างรวดเร็็ว ซึ่่�งผลเสีียของกามก็็คืือ การ ทำ�ำ ให้้สภาพจิิตของมนุุษย์์เกิิดความเศร้้าหมอง เกิิดความกำำ�หนััด ลุ่่�มหลง และมัวั เมา หากเราไม่ส่ ามารถที่่�จะใช้ส้ ติิพิจิ ารณาอย่่างรอบด้า้ น อาจจะเป็็นเพราะสาเหตุเุ หล่า่ นี้้ � พระพุุทธศาสนาจึงึ พยายามที่�จ่ ะให้้ พระภิิกษุุตััดบ่่วงกิิเลสเหล่่านี้้� โดยชี้้�ให้้เห็็นว่่า หากฆราวาสเข้้าไปข้้องเกี่�่ยว ด้้วยท่่าทีีที่�่ไม่่ถููกต้้องก็็ย่่อมทำ�ำ ให้้ศีีลไม่่บริิสุุทธิ์์�ได้้ แต่่สำ�ำ หรัับพระภิิกษุุแล้้ว พระพุุทธเจ้้าชี้�ชััดว่่า หากภิิกษุุรููปใดมีีเพศสััมพัันธ์์ไม่่ว่่าจะเป็็นคนหรืือสััตว์์ ก็ต็ าม ย่อ่ มขาดจากความเป็น็ พระ หรือื แม้จ้ ะเกี่ย่� วพาราสีี หรือื ถูกู เนื้้อ� ต้อ้ งตัวั ด้ว้ ยจิติ ที่ก่� ำำ�หนัดั ย่อ่ มเป็็นอาบัตั ิสิ ัังฆาทิิเสส จะเห็็นว่่า เรื่�องกาม หรืือเมถุนุ สำ�ำ หรับั พระพุุทธเจ้า้ แล้้ว สำำ�หรับั โลกีียวิสิ ัยั พระองค์์ก็ไ็ ม่ไ่ ด้้ปฏิิเสธหรือื ห้า้ มมิิ ให้ก้ ระทำำ� ฆราวาสสามารถที่�่จะทำำ�ได้้ แต่ต่ ้้องทำำ�ด้้วยสติปิ ััญญา แต่่สำำ�หรัับ พระภิกิ ษุแุ ล้ว้ พระองค์ท์ รงปิดิ ช่อ่ งทางดังั กล่า่ วอย่า่ งชัดั เจน และเมื่อ� วิเิ คราะห์์ ในประเด็น็ ของการพัฒั นาตนเองแล้ว้ พระองค์ท์ รงหวังั ผลในเชิงิ สังั คมด้ว้ ยเช่น่ กััน เนื่่�องจากวิถิ ีีชีีวิิตดัังกล่่าวนั้้�น เป็น็ วิถิ ีีชีีวิติ ที่แ่� ตกจากผู้�ครองเรืือน 1 สตรีเปเ ็นศน ัตตรูต่ต ออพรหมจรรย์หรห ือไอ ม่

ผลดีีจากการพยายามที่จ่� ะ งดเว้้นจากเรื่�่องของกามก็ค็ ืือ การทำ�ำ ให้้มนุษุ ย์แ์ ต่่ละคนได้ม้ ีีโอกาส ที่�่จะเข้้าถึึงความจริงิ ได้ง้ ่า่ ยยิ่�งขึ้้�น สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 1

๘ สตรีีเป็น็ ศัตั รูขู องพรหมจรรย์์จริิงหรือื ไม่่ เมื่�อเราได้้ทราบถึึงแง่่มุุมต่่าง ๆ เกี่่�ยวกัับความหมายของคำ�ำ ว่่า “พรหมจรรย์์” นั้้�น หมายถึึง “เมถุุนวิริ ััติิ” อันั หมายถึึง การที่�่พระพุทุ ธเจ้้า ทรงมุ่ �งเน้้นให้้พระภิิกษุุงดเว้้นจากการเข้้าไปเกี่่�ยวข้้องกัับเมถุุนธรรมใน ลัักษณะอย่า่ งใดอย่า่ งหนึ่่ง� ซึ่่ง� ได้้แก่ ่ การเห็็น หรือื การเข้้าไปปฏิิสัมั พันั ธ์์กับั สตรีีในรูปู แบบต่่าง ๆ อัันจะกลายเป็น็ ที่่�มาของกิิเลส และตัณั หา ซึ่่ง� กิิเลส และตัณั หาเหล่่านี้้ก� ็็คืือมลทิินนั่่น� เอง ปัญั หาก็ค็ ือื ว่า่ การที่พ่� ระพุทุ ธเจ้า้ ทรงชี้ใ� ห้เ้ ห็น็ ว่า่ สตรีีเป็น็ มลทินิ ของ พรหมจรรย์น์ ั้้น� ท่า่ ทีีในลักั ษณะนี้้ค� ่อ่ นข้า้ งจะเป็น็ แง่ม่ ุมุ ในเชิงิ ลบต่อ่ สตรีี แต่่ เมื่ �อวิิเคราะห์์จากบริิข้้อที่�่พระพุุทธเจ้้าได้้ตรััสในลัักษณะนี้้�จะเห็็นว่่าเป็็นการ ตรัสั ตอบเทวดาที่พ่� ยายามจะทููลถามพระพุทุ ธเจ้า้ ถึงึ กระนั้้น� การสื่�อในบริิข้อ้ นี้้�เป็็นการสื่ �อสองทาง ถ้้าพระพุุทธเจ้้าตรััสกัับสตรีีพระองค์์มัักจะมุ่ �งเน้้นโทษ ภััยที่�่จะเกิิดขึ้ �นในกรณีีที่�่สตรีีมีีท่่าทีีที่่�ไม่่ถููกต้้องต่่อบุุรุุษเช่่นกัันดัังที่�่ตรััสไว้้ใน รููปาทิวิ รรค[๗] 1 สตรีเปเ ็นศน ัตตรูต่ต อพอ รหมจรรย์หรห ืออไม่

ฉะนั้้น� เมื่อ� กล่า่ วถึึงคำำ�ว่่า “มลทินิ ” นั้้น� จึึงหมายถึึง การความด่า่ ง พร้้อย ความด่่างพร้อ้ ยเช่น่ นี้้จ� ะเกิิดขึ้น� ในกรณีีที่พ่� ระภิิกษุเุ ข้้าไปเกี่ย่� วข้อ้ งกับั สตรีี และไม่่ได้้มีีท่า่ ทีรู้�เท่่าทันั ต่่ออารมณ์์ต่่าง ๆ ที่�่เกิดิ ขึ้�นจากการปฏิสิ ััมพันั ธ์์ กับั สตรีี เมื่�อมองในลัักษณะนี้้� พระพุุทธเจ้้ามิิได้้มีีท่่าทีีในแง่่ลบต่่อสตรีีแต่่ ประการใด ดัังจะเห็็นว่่า เมื่�อกล่่าวในเชิิงโลกิิยะนั้้�น พระองค์์ก็็ทรงสอน หลัักธรรมที่�่สามารถนำ�ำ ใช้้ในการดำ�ำ เนิินชีีวิิตคู่่� เช่่น ทรงสอนเกี่�่ยวกัับเรื่�อง ครอบครัวั สอนหน้า้ ที่ท�่ ี่ส่� ามีีและภรรยาจะพึงึ ปฏิบิ ัตั ิติ ่อ่ กันั การนำำ�เสนอธรรมะ ในลักั ษณะนี้้พ� ระองค์ก์ ็ม็ ิไิ ด้ม้ องว่า่ สตรีีเป็น็ ศัตั รูขู องพรหมจรรย์แ์ ต่ป่ ระการใด นอกจากนั้้�นแล้้ว การรัับนิิมนต์์เพื่่�อไปฉัันภััตตาหารที่่�บ้้านของหญิิงโสเภณีี หลายท่า่ น เช่น่ นางอัมั พปาลีีและนางสิริ ิิมา พระองค์์ก็็มิไิ ด้ม้ ีีท่่าทีีรัังเกีียจ หรืือมองโสเภณีีเหล่่านี้้�ในแง่่ลบแต่ป่ ระการใด ฉะนั้้น� คำำ�ว่า่ “มลทิิน” หรือื “ศััตรูู” นั้้�น หมายถึึง “อุุปสรรค” อัันจะเกิิดขึ้�น หากพระภิิกษุุมีีท่่าทีีที่่�ไม่่ ถููกต้้องต่่อสตรีี ไม่่ได้้หมายความว่่า ผู้้�หญิิงนั้้�นตั้้�งใจ หรืือจ้้องที่�่จะทำำ�ลาย พรหมจรรย์ข์ องพระภิิกษุแุ ต่ป่ ระการใด การนำ�ำ เสนอในลักั ษณะนี้้� เป็น็ การ ชี้ใ� ห้เ้ ห็น็ ถึงึ ข้อ้ เท็จ็ จริงิ สองประการ กล่า่ วคือื พรหมจรรย์ก์ ับั สตรีีนั้้น� ไปด้ว้ ยกันั ไม่ไ่ ด้ ้ เมื่อ� พูดู ถึงึ สตรีีที่จ่� ะบำำ�เพ็ญ็ เพีียร บุรุ ุษุ ก็เ็ ป็น็ ศัตั รูขู องพรหมจรรย์เ์ ช่น่ กันั สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 1

ด้้วยเหตุนุ ี้้� จะเห็น็ ว่า่ ความเป็็นผู้้�หญิงิ นั้้น� มีีอิิทธิพิ ลชักั จููง หรือื ครอบ จิติ ใจของชายให้ห้ ลงใหลได้ ้ การใกล้ช้ ิดิ สตรีีย่อ่ มทำ�ำ ให้ก้ ารฝึกึ ตนเพื่่อ� ละราคะ เป็็นสิ่่�งที่่�ทำำ�ได้้ยาก ในแง่่นี้้ผ�ู้�หญิงิ ไม่ไ่ ด้้เป็น็ สิ่่�งที่่น� ่่ารัังเกีียจ แต่ต่ รงข้้ามความ น่่าพึึงใจต่่างหากที่�่เป็็นศััตรููของพรหมจรรย์์ ความพึึงพอใจทางเพศนี้้�เป็็น เรื่�องของสัตั ว์โ์ ลกทั้้ง� สิ้น� หาใช่่เฉพาะมนุษุ ย์ไ์ ม่่ การที่บ�่ ุุรุษุ ติดิ เนื้้�อต้อ้ งใจสตรีี จึงึ เป็็นธรรมดาของโลก หาใช่่ว่า่ ผู้�หญิิงเป็็นฝ่า่ ยเลวหรืือผู้้�ชายดููหมิ่�นผู้้�หญิิงที่�่ เป็็นสิ่่�งพึึงปรารถนาของตนไม่่ ดัังจะเห็็นได้้จากเนื้้อ� หาตามที่�ป่ รากฏในพระ ไตรปิฎิ กที่่ว� ่า่ 1 สตรีเปเ ็นนศัตตรูตต่ออพรหมจรรย์หรห ืออไม่

“ หญิิงทั้�้งหลายในโลกย่่อมย่ำำ��ยีีชายผู้ �ประมาทแล้้ว พวกหล่่อนย่อ่ มชัักจููงจิิตของชายหนุ่�มไป เหมืือนลมพัดั ปุุยนุ่�นที่พ�่ ลััดตกจากต้น้ สภาพนั้น�้ บัณั ฑิิตทั้ง้� หลายกล่่าวว่่า เป็็นเหวสำ�ำ หรัับพรหมจรรย์์ [๘] ” สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 1

จากข้อ้ ความดังั กล่า่ วข้า้ งต้น้ นี้้ � หากพิจิ ารณาโดยผิวิ เผินิ ดูปู ระหนึ่่ง� ว่า่ หญิงิ จงใจทำำ�ลายพรหมจรรย์ข์ องชายผู้้�รักั ษาพรหมจรรย์ ์ แต่ค่ วามที่เ�่ ปรีียบจะ เห็น็ ได้ว้ ่า่ พรหมจรรย์เ์ ป็น็ สิ่่ง� ที่เ่� คลื่อ� นได้ง้ ่า่ ยเหมือื นปุยุ นุ่่�น ส่ว่ นธรรมชาติขิ องผู้� หญิงิ นั้้น� มีีอำ�ำ นาจรุนุ แรงเหมือื นลมย่อ่ มจะทำ�ำ ให้พ้ ระภิกิ ษุขุ าดจากพรหมจรรย์์ ได้้ง่่าย หากไม่่สำ�ำ รวมจิิตใจของตนเองให้้ดีีแล้้ว แม้้ผู้�หญิิงจะไม่่ได้้ตั้�งใจ ครอบงำ��จิิตใจของบุุรุษุ ความหลงก็็ทำำ�ให้บ้ ุรุ ุุษนั้้�นเองละทิ้้�งพรหมจรรย์์ ดััง จะเห็น็ ได้จ้ ากกรณีีสามเณรซึ่ง� เป็น็ หลานของพระจักั ขุบุ าลซึ่่ง� ได้ย้ ิินเสีียงหญิงิ คนหนึ่่ง� ร้อ้ งเพลง ไม่ส่ ามารถที่จ�่ ะควบคุมุ จิติ ใจของตนเองได้ ้ จึงึ เกี่ย�่ วพาราสีี และมีีเพศสัมั พันั ธ์ก์ ับั หญิงิ สาวในที่ส่� ุดุ ในกรณีีเช่น่ นี้้จ� ะพบว่า่ หญิงิ สาวก็ม็ ิไิ ด้้ เป็็นบ่่อเกิิดที่่�ทำ�ำ ให้้สามเณรมีีศีีลเศร้้าหมอง มิิได่่ก่อ่ กวนให้้สามเณรประพฤติิ ผิิดพรหมจรรย์์แต่่ประการใด แต่่เนื่่�องจากเสน่่ห์์ของหญิิงเก็็บฟืืนจึึงทำำ�ให้้ สามเณรประพฤติิผิดิ พรหมจรรย์์ ในกรณีีที่ค่� ล้า้ ยคลึึงกันั เช่น่ นี้้� พระพุทุ ธเจ้า้ จึงึ ทรงย้ำ��ำ เตือื นพระภิิกษุุทั้้ง� หลายเอาไว้ว้ ่า่ 1 สตรีเปเ ็นศน ัตตรูต่ต ออพรหมจรรย์หรห ืออไม่

“ ภิกิ ษุทุ ั้ง�้ หลาย เราไม่่เห็น็ รููปอื่่�นแม้อ้ ย่่างหนึ่่ง� ที่�จ่ ะครอบงำ��จิติ ของบุุรุุษอยู่ไ�่ ด้้เหมืือนรููปสตรีีนี้้� ภิิกษุทุ ั้ง�้ หลาย รููปสตรีีย่อ่ มครอบงำ��จิติ ของบุรุ ุุษอยู่่�ได้้ เราไม่เ่ ห็น็ เสีียงอื่่�นแม้อ้ ย่่างหนึ่่ง� ที่�่จะครอบงำ��จิติ ของบุรุ ุุษอยู่�ไ่ ด้้ เหมืือนเสีียงสตรีีนี้้� เสีียงสตรีีย่่อมครอบงำ��จิติ ของบุุรุษุ อยู่ไ�่ ด้้ เราไม่เ่ ห็น็ กลิ่�นอื่น่� แม้อ้ ย่า่ งหนึ่่ง� ที่่�จะครอบงำ��จิติ ของบุรุ ุุษอยู่�ไ่ ด้้ เหมืือนกลิ่น� สตรีีนี้้� กลิ่�นสตรีีย่อ่ มครอบงำ��จิิตของบุรุ ุุษอยู่�่ได้้ เราไม่่เห็น็ รสอื่�น่ แม้อ้ ย่่างหนึ่่ง� ที่่�จะครอบงำ��จิติ ของบุรุ ุษุ อยู่�่ได้้ เหมืือนรสสตรีีนี้้� รสสตรีีย่อ่ มครอบงำ��จิติ ของบุรุ ุษุ อยู่ไ�่ ด้้ ” สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 1

“ เราไม่เ่ ห็น็ โผฏฐััพพะ(การสััมผััสทางกาย)อื่�น่ แม้อ้ ย่า่ งหนึ่่ง� ที่่จ� ะครอบงำ��จิติ ของบุรุ ุษุ อยู่ไ�่ ด้เ้ หมืือนโผฏฐััพพะสตรีีนี้้� โผฏฐััพพะสตรีีย่่อมครอบงำ��จิติ ของบุุรุษุ อยู่ไ�่ ด้้ [๙] สตรีีแม้เ้ ดินิ อยู่�่ ก็ค็ รอบงำ��จิิตของบุุรุษุ ได้้ แม้้ยืืนอยู่่� แม้้นั่่�งอยู่่� แม้้นอนอยู่�่ แม้้หลัับอยู่�่ แม้้หััวเราะอยู่�่ แม้พ้ ููดอยู่�่ แม้้ขัับร้้องอยู่�่ แม้ร้ ้อ้ งไห้้อยู่�่ แม้พ้ องขึ้้น� แม้ต้ ายแล้้วก็ค็ รอบงำ��จิติ ของบุรุ ุุษได้้ [๑๐] ” 2 สตรีเเป็นศน ัตรต ูต่ต อพอ รหมจรรย์หรห ือไอ ม่

จากพุทุ ธพจน์ด์ ังั ที่ไ�่ ด้น้ ำำ�เสนอแล้ว้ นั้้น� จะพบว่า่ พระดำำ�รัสั ที่ว�่ ่า่ “สตรีี เป็็นมลทินิ หรืือเป็็นศัตั รููของพรหมจรรย์์” นั้้น� เป็็นพระดำ�ำ รัสั ที่�่พระองค์ต์ รัสั ขึ้น� มาเพื่่อ� ที่จ�่ ะชี้ใ� ห้เ้ ห็น็ ว่า่ หากภิกิ ษุไุ ม่ส่ ำ�ำ รวมอินิ ทรีีย์ข์ องตนเองแล้ว้ เมื่อ� ต้อ้ ง ไปปฏิิสััมพัันธ์์กัับสตรีีในลัักษณะอย่่างใดอย่่างหนึ่่�งจึึงทำำ�ให้้เกิิดปััญหา หรืือ การประพฤติผิ ิดิ พระวินิ ัยั ของพระภิกิ ษุไุ ด้ง้ ่า่ ยยิ่่ง� ขึ้น� แต่น่ั้้น� ก็ไ็ ม่ไ่ ด้ห้ มายความ ว่า่ สตรีีนั้้น� เป็็นเพศที่่เ� ลวร้า้ ยหรือื เป็็นอันั ตรายต่่อพระภิกิ ษุ ุ หรือื สตรีีนั้้น� เป็็นเค้้าลางที่่�ก่่อให้้เกิิดความหายนะต่่อการประพฤติิพรหมจรรย์์ หากแต่่ พระองค์์ต้้องการที่่�จะย้ำำ��เตืือนให้้พระภิิกษุุทั้้�งหลายได้้เข้้าใจว่่า เมื่�อจะต้้อง เข้้าไปปฏิสิ ัมั พัันธ์์นั้้�น ควรที่�จ่ ะระมััดระวังั อิินทรีีย์ข์ องตนเอง จากประเด็น็ เหล่า่ นี้้ � จึงึ ทำ�ำ ให้เ้ กิดิ คำ�ำ ถามที่จ�่ ะต้อ้ งหาทางออกในหัวั ข้อ้ ต่อ่ ไปว่า่ แท้ท้ ี่จ�่ ริงิ แล้ว้ พระองค์ท์ รงห้า้ มมิใิ ห้พ้ ระภิกิ ษุเุ กี่ย่� วข้อ้ งกับั สตรีี หรือื ว่า่ พระองค์ท์ รงชี้ใ� ห้เ้ ห็น็ ว่า่ พระภิกิ ษุสุ ามารถที่จ�่ ะเข้า้ ไปปฏิสิ ัมั พันั ธ์ก์ ับั สตรีีได้ ้ แต่ค่ วรมีีท่่าทีีที่่�ถูกู ต้อ้ งต่่อการเข้า้ ไปปฏิสิ ัมั พันั ธ์์ สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 2

๙ พระพุทุ ธเจ้้าทรงห้า้ มมิใิ ห้้เกี่�ย่ วข้อ้ งกับั สตรีี หรือื ทรงสอนให้้มีีท่่าทีีที่�ถ่ ูกู ต้อ้ งต่อ่ สตรีี เมื่�อวิิเคราะห์์ท่่าทีีของพระพุุทธเจ้้าต่่อประเด็็นนี้้� เราสามารถที่่�จะ วิเิ คราะห์ไ์ ด้จ้ ากจริยิ วัตั รของพระองค์ ์ และพฤติกิ รรมของพระสาวกในสมัยั พุทุ ธกาลในหลายรููปว่่า แสดงออกต่่อเรื่อ� งเหล่่านี้้�อย่า่ งไร สตรีีหรือื ผู้�หญิงิ นั้้น� ถือื ได้ว้ ่า่ มีีความสำ�ำ คัญั อย่า่ งยิ่ง� ต่อ่ พระพุทุ ธศาสนา ดังั จะเห็น็ ได้ว้ ่า่ พระพุทุ ธเจ้า้ นั้้น� ทรงยกย่อ่ งให้เ้ ป็น็ หนึ่่ง� ในพุทุ ธบริษิ ัทั ๔ และ เมื่�อพิิจารณาถึึงความเป็็นไป และการดำำ�รงอยู่�ของพระพุุทธศาสนาในสมััย พุทุ ธกาลนั้้น� สตรีีก็ถ็ ือื ว่า่ เป็น็ กลุ่�มอีีกกลุ่�มหนึ่่ง� ที่ม�่ ีีส่ว่ นสำำ�คัญั ในการสร้า้ งความ เจริญิ รุ่�งเรือื งให้แ้ ก่พ่ ระพุทุ ธศาสนา ดังั จะเห็น็ ได้จ้ ากกลุ่�มของภิกิ ษุณุ ีีหลายรูปู เช่่น นางปชาบดีีโคตมีี นางเขมา นางอุุบลวรรณาเถรีี สตรีีเหล่่านี้้� ถือื ได้ว้ ่า่ มีีส่ว่ นสำำ�คัญั ในการเผยแผ่่พระพุุทธศาสนาในสมัยั พุทุ ธกาล 2 สตรีเปเ ็นศน ัตรต ูต่ต ออพรหมจรรย์หรห ืออไม่

ในขณะเดีียวกันั สตรีีที่ม�่ ิไิ ด้อ้ ุปุ สมข้อ้ เป็น็ ภิกิ ษุณุ ีี เช่น่ นางวิสิ าขามหา อุบุ าสิกิ า ก็ถ็ ือื ได้ว้ ่า่ เป็น็ ผู้้�ที่ส�่ ร้า้ งวัดั ให้เ้ ป็น็ ที่อ่� ยู่�ของพระพุทุ ธเจ้า้ และพระภิกิ ษุุ นอกจากนั้้น� แล้ว้ ยังั เป็น็ ผู้้�ที่ค�่ อยให้ก้ ารอุปุ ถัมั ภ์ด์ ้ว้ ยปัจั จัยั ๔ แก่พ่ ระพุทุ ธเจ้า้ และเหล่่าภิกิ ษุทุ ี่�ม่ าจากทิศิ ต่่าง ๆ ด้ว้ ย และสิ่�งที่่ส� ำำ�คัญั อีีกประการหนึ่่ง� ก็็คืือ การที่น่� างวิสิ าขาได้ร้ ับั มอบหมายจากพระพุทุ ธเจ้า้ ให้ท้ ำ�ำ งานร่ว่ มกับั พระอุบุ าลีี ในการพิจิ ารณาคดีีที่ภ่� ิกิ ษุณุ ีีนางหนึ่่ง� ซึ่ง� ตั้ง� ครรภ์ใ์ นขณะที่เ�่ ป็น็ ภิกิ ษุณุ ีี ซึ่่ง� การ ทำ�ำ งานร่่วมกัันในครั้�งนี้้� สามารถทำ�ำ ให้้ภิิกษุุณีีรููปดัังกล่่าวนั้้�นพ้้นจากมลทิิน โดยนางชี้ใ� ห้เ้ ห็น็ ว่า่ ภิกิ ษุณุ ีีรูปู ดังั กล่า่ วนั้้น� ตั้้ง� ครรภ์ก์ ่อ่ นที่จ�่ ะอุปุ สมข้อ้ และใน วาระสุดุ ท้า้ ยของชีีวิติ ภิกิ ษุณุ ีีท่า่ นนั้้น� สามารถบรรลุธุ รรมสูงู สุดุ ในทางพระพุทุ ธ ศาสนา[๑๑] จากท่า่ ทีีเหล่า่ นี้้จ� ะเห็น็ ว่า่ พระพุทุ ธเจ้า้ และเหล่า่ พระอริยิ สาวกล้ว้ น มีีวิถิ ีีชีีวิติ ที่จ่� ะต้อ้ งอาศัยั ปัจั จัยั ๔ จากสตรีี และนอกจากนั้้น� ยังั ได้ม้ ีีโอกาสใน การทำำ�งานร่ว่ มกันั ในลักั ษณะต่า่ งๆ จนสามารถทำำ�ให้พ้ ระพุทุ ธศาสนาในสมัยั พุทุ ธกาลเจริิญรุ่�งเรืืองมาจนถึงึ ยุคุ ปัจั จุุบััน สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 2

จากบางแง่ม่ ุมุ เหล่า่ นี้้จ� ะเห็น็ ว่า่ พระพุทุ ธเจ้า้ และเหล่า่ พระอริยิ สาวก ก็ย็ ังั จำ�ำ เป็น็ ที่จ�่ ะต้อ้ งปฏิสิ ัมั พันั ธ์ก์ ับั เหล่า่ สตรีีอยู่่� พระองค์ไ์ ม่ไ่ ด้เ้ น้น้ สอนให้พ้ ระ ภิิกษุุดำ�ำ รงอยู่�ชีีวิิต หรือื มีีวิถิ ีีชีีวิติ ที่แ่� ปลกแยกจากสตรีีแต่่ประการใด แต่ส่ิ่ง� ที่น่� ่า่ วิเิ คราะห์ก์ ็ค็ ือื ว่า่ มีีพระวินิ ัยั หลายข้อ้ ด้ว้ ยกันั ที่เ�่ ป็น็ บัญั ญัตั ิิ ที่พ�่ ระพุุทธเจ้้าทรงห้้ามมิใิ ห้้พระภิิกษุไุ ด้แ้ สดงออก หรืือกระทำ�ำ ต่อ่ สตรีี เช่่น ห้า้ มเสพเมถุนุ ห้า้ มอยู่�ในสถานที่ล่� ับั ตาสองต่อ่ สอง ห้า้ มเกี่ย�่ วพาราสีีสตรีี ท่า่ ทีี ที่พ่� ระองค์บ์ ัญั ญัตั ินิ ั้้น� เป็น็ สิ่่ง� ที่ย่� ้ำ��ำ เตือื นเฉพาะพระภิกิ ษุเุ ท่า่ นั้้น� มิไิ ด้ห้ ้า้ มสตรีี ที่เ�่ ป็็นคฤหัสั ถ์์แต่ป่ ระการใดทั้้�งสิ้น� เราจะพบว่่า ข้อ้ ห้้ามเหล่่านี้้ � เป็น็ การจััด กรอบ หรือื จัดั ระเบีียบที่่ม�ุ่�งผลในเชิิงสังั คมวิิทยา เชิงิ จิติ วิทิ ยามวลชน นอก เหนืือจากการมุ่ �งไปที่�่เป้้าหมายหลัักคืือเป้้าหมายในเชิิงจริิยศาสตร์์ดัังที่่�ได้้ กล่า่ วแล้้วในเบื้้อ� งต้น้ ข้อ้ ห้า้ มเหล่า่ นี้้� หากมองในเชิงิ จริยิ ศาสตร์น์ั้้น� เป็น็ การป้อ้ งกันั อาสวะ กิเิ ลสที่จ�่ ะเกิดิ จากการ ปฏิสิ ัมั พันั ธ์ข์ องพระภิกิ ษุทุ ี่ม�่ ีีต่อ่ สตรีี และนอกจากการ ป้้องกัันแล้้ว ยังั ถืือได้้ว่า่ เป็น็ การป้อ้ งปรามมิใิ ห้้พระภิกิ ษุบุ างรููปได้ส้ ร้้างความ เสื่อ� มเสีียให้้แก่่สัังคมสงฆ์์และตัวั เองด้ว้ ย 2 สตรีเปเ ็นศน ัตตรูตต่อพอ รหมจรรย์หหรืออไม่

แต่เ่ มื่อ� พิจิ ารณาอย่า่ งรอบด้า้ นแล้ว้ จะพบว่า่ ข้อ้ ห้า้ มตามที่ป่� รากฏใน พระวินิ ัยั นั้้น� มิไิ ด้ห้ มายความว่า่ เป็น็ ข้อ้ ห้า้ มอย่า่ งเด็ด็ ขาดในทุกุ กรณีี กล่า่ วคือื มิใิ ห้เ้ กี่่�ยวข้้องในทุุกกรณีี จะเห็็นว่่า ในกรณีีใดก็ต็ ามที่่�เป็น็ การเกี่ย่� วข้อ้ งแล้้ว มิไิ ด้ก้ ่อ่ ให้เ้ กิดิ ผลเสีียต่อ่ สังั คมโดยรวม และมิไิ ด้ก้ ่อ่ ให้เ้ กิดิ ความเศร้า้ หมองทาง จิติ แล้้ว พระองค์์ก็ไ็ ด้้มีีท่า่ ทีีที่่�จะปฏิิเสธแต่ป่ ระการใด ดัังจะเห็น็ ได้จ้ ากกรณีี ของนางวิิสาขากัับพระอุุบาลีีดังั ที่�่ได้ก้ ล่า่ วแล้้วในเบื้้�องต้้น เมื่อ� เราได้พ้ ิจิ ารณาอย่า่ งรอบด้า้ นแล้ว้ ทำ�ำ ให้ไ้ ด้ข้ ้อ้ สรุปุ เกี่ย�่ วกับั เรื่อ� งนี้้� แล้ว้ พระพุุทธเจ้้าก็ม็ ิิได้ม้ ีีท่า่ ทีีต่อ่ การปฏิิสัมั พันั ธ์ร์ ะหว่่างพระภิิกษุกุ ับั สตรีีใน แง่่ลบ แต่ส่ิ่�งที่�่พระองค์ท์ รงย้ำำ��เตือื นให้พ้ ระภิกิ ษุไุ ด้้สังั วรต่่อเรื่�องเหล่า่ นี้้ก� ็ค็ ือื ให้พ้ ระภิิกษุมุ ีีท่า่ ทีีที่ถ�่ ูกู ต้อ้ งต่่อเรื่อ� งเหล่า่ นี้้� สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 2

พระพุทุ ธเจ้้าก็ม็ ิไิ ด้้มีีท่า่ ทีีต่อ่ การปฏิสิ ััมพัันธ์์ ระหว่่างพระภิิกษุกุ ัับสตรีีในแง่ล่ บ แต่่สิ่ง� ที่่พ� ระองค์ท์ รงย้ำ�ำ�เตืือนให้้พระภิกิ ษุุ ได้ส้ ัังวรต่อ่ เรื่อ�่ งเหล่า่ นี้้ก� ็็คืือ ให้พ้ ระภิกิ ษุมุ ีีท่า่ ทีีที่�่ถููกต้้องต่่อเรื่่�องเหล่า่ นี้้� 2 สตรีเปเ ็นนศัตรต ูต่ต ออพรหมจรรย์หหรือไอ ม่

๑๐ พระพุทุ ธเจ้า้ ทรงสอนให้้พระภิกิ ษุมุ ีี ท่า่ ทีีหรืือมีีกฎเกณฑ์ส์ ำำหรับั การปฏิิสััมพันั ธ์์กัับสตรีีอย่่างไร สิ่่ง� ที่�่สามารถชี้้ใ� ห้้เห็็นถึึงกรอบ หรือื กฎเกณฑ์์ที่�พ่ ระพุทุ ธเจ้้าทรงย้ำำ�� เตืือนพระภิิกษุุต่่อกรณีีที่�่จะต้้องเข้้าไปเกี่�่ยวข้้องหรืือปฏิิสััมพัันธ์์กัับสตรีีนั้้�น เราสามารถที่�่จะศึึกษาวิิเคราะห์์ได้้จากข้้อมููลด้้านเอกสารตามที่่�ปรากฏอยู่ � ในคัมั ภีีร์์พระไตรปิิฏก และคัมั ภีีร์อ์ื่น� ๆ ที่�พ่ ระองค์์ได้้นำำ�เสนอเอาไว้อ้ ย่า่ งน่่า สนใจ จะเห็็นว่า่ จากท่า่ ทีีที่ไ�่ ม่่แจ่ม่ ชััดนักั เกี่ย�่ วกัับพระภิกิ ษุแุ ละสตรีีนั้้�น ควร ที่จ่� ะมีีหลัักการ หรือื กรอบเบื้้�องต้้นในเรื่�องเหล่า่ นี้้อ� ย่า่ งไร พระอานนท์จ์ ึงึ ได้้ ทููลถามพระพุุทธเจ้้าว่่า ควรที่่�จะปฏิิบััติติ นต่่อสตรีีอย่่างไร ดัังมีีเนื้้�อความที่่� ปรากฏในมหาปรินิ ิิพพานสูตู รตอนหนึ่่ง� ว่า่ สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 2

“ ท่่านพระอานนท์ท์ ููลถามว่่า “พวกข้า้ พระองค์์จะปฏิิบััติติ ่่อสตรีีอย่่างไร พระพุทุ ธเจ้้าข้้า” พระผู้้�มีีพระภาคตรััสตอบว่า่ “อย่่าดูู” “เมื่่�อจำำ�ต้้องดูู จะปฏิิบััติอิ ย่่างไร พระพุุทธเจ้า้ ข้้า” “อย่า่ พููดด้้วย” “เมื่อ�่ จำ�ำ ต้อ้ งพููด จะปฏิิบััติิอย่า่ งไร พระพุทุ ธเจ้า้ ข้า้ ” “ต้้องตั้้�งสติไิ ว้”้ [๑๒] ” 2 สตรีเเป็นศน ัตตรูต่ต อพอ รหมจรรย์หรห ือไอ ม่

จะเห็็นว่่า ในพระสูตู รนี้้� พระพุทุ ธเจ้า้ มิิได้ไ้ ด้้ทรงมีีท่่าทีีในเชิิงปฏิเิ สธ ว่า่ อย่่าพบปะหรืือพูดู คุุยกับั สตรีี สิ่่ง� เหล่่านี้้�พระภิิกษุสุ ามารถที่�่จะทำ�ำ ได้้ แต่่ การแสดงออกในลัักษณะเหล่่านี้้ค� วรที่�่จะยืนื อยู่�บนฐานของสติิ หรืือมีีความรู้� เท่่าทันั เมื่อ� ตาเห็็นรูปู หูฟู ัังเสีียง เป็น็ ต้น้ เมื่�อเป็น็ เช่่นนี้้ศ� ีีลหรืือวิินัยั ของพระ ภิกิ ษุกุ ็็จะไม่่เศร้้าหมอง ในขณะเดีียวกััน คำำ�ว่า่ “มีีสติิ” นั้้�น พระอรรถกถาจารย์ไ์ ด้ช้ี้�ให้เ้ ห็็น ว่า่ ภิกิ ษุตุ ้อ้ งตั้ง� สติทิ ุกุ ขณะจิติ ตลอดเวลาที่ป่� ฏิิสัมั พันั ธ์ก์ ับั สตรีี ห้า้ มพลั้ง� เผลอ ต้อ้ งควบคุมุ จิติ ให้ค้ ิดิ ในทางที่ด่� ีีงามต่อ่ สตรีีหรือื ควบคุมุ จิติ ให้ค้ ิดิ ต่อ่ สตรีีในทาง ที่่�ดีีงาม เช่น่ รู้้�สึึกว่่าเป็น็ แม่่ในสตรีีที่�่อยู่�ในวัยั แม่่ รู้้�สึึกว่่าเป็น็ พี่ส�่ าว น้้องสาว ในสตรีีที่่�อยู่�ในวัันที่เ�่ ป็็นพี่่�สาวเป็็นน้อ้ งสาว รู้้�สึกึ ว่่าเป็็นลูกู สาวในสตรีีที่�อ่ ยู่�ใน วัยั สาวๆ[๑๓] สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 2

ในขณะเดีียวกััน นัยั สำ�ำ คััญอีีกประการหนึ่่�งเกี่�่ยวกัับท่า่ ทีีที่่�พระภิิกษุุ พึงึ จะมีีต่อ่ สตรีีนั้้น� มีีปรากฏอยู่�ในภารทวาชสูตู ร ซึ่่ง� พระเจ้า้ อุเุ ทนได้ต้ รัสั ถาม ท่่านปิิณโฑลภารทวาชะว่า่ “เหตุุใด พระภิิกษุหุ นุ่�มๆ มีีผมดำ�ำ สนิิท จึึงยัังไม่่หมดกามราคะ จึึงบวชอยู่�่ได้้นานหรืือบวชได้้ตลอดชีีวิติ ” ท่่านชี้้�ให้้เห็น็ ว่า่ พระพุุทธเจ้้าตรััสสอนไว้้ว่่า 3 สตรีเปเ ็นศน ัตรต ูต่ต ออพรหมจรรย์หรห ือไอ ม่

“ ภิกิ ษุทุ ั้�้งหลาย เธอเห็็นสตรีีมีีอายุุคราวแม่่ จงตั้ง้� จิิตเอาไว้ว้ ่่า หญิิงนี้้�เป็็นแม่ข่ องตน เธอเห็็นสตรีีมีีอายุคุ ราวพี่ส่� าว หรืือน้อ้ งสาว จงตั้้�งจิิตว่่า หญิิงเป็็นพี่ส�่ าว หรืือน้้องสาวของเรา เธอเห็็นสตรีีมีีอายุคุ ราวลููก จงตั้�ง้ จิิตว่่าหญิงิ นี้้�เป็น็ ลููกของเรา ด้ว้ ยความคิิดอย่่างนี้้แ� ล เป็็นเหตุุให้ภ้ ิิกษุหุ นุ่�มๆ เหล่่านั้น้� รัักษาพรหมจรรย์์ให้้บริิสุุทธิ์์บ� ริบิ ููรณ์อ์ ยู่ไ�่ ด้้นาน หรืืออยู่�ไ่ ด้้ตลอดชีีวิติ [๑๔] ” สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 3

ในขณะเดีียวกันั นอกจากพระองค์จ์ ะมุ่�งเน้้นให้้พระภิกิ ษุมุ ีีทัศั นคติิ ที่่�ถููกต้้องต่่อเพศตรงข้้ามแล้้ว พระองค์์ยัังได้้มุ่�งเน้้นให้้พระภิิกษุุพิิจารณา ร่า่ งกายให้้ละเอีียดมากยิ่ง� ขึ้น� ต่อ่ ไปอีีกว่า่ เธอจงพิิจารณาร่่างกายนี้้�แหละ เบื้้�องบนตั้�้งแต่พ่ ื้้�นเท้า้ ขึ้้�นไป เบื้้อ� งต่ำ�ำ�ตั้ง้� แต่่ปลายผมลงมา ซึ่�ง่ มีีหนัังหุ้�มอยู่�โ่ ดยรอบ ภายในเต็็มไปด้้วยของไม่่สะอาด คืือ ผม ขน เล็บ็ ฟันั หนััง เนื้้อ� เอ็็น กระดููก อุจุ จาระ ปััสสาวะ ฯลฯ ล้ว้ นเป็็นสิ่ง� สกปรก น่า่ รัังเกีียจ น่่าขยะแขยง ดัังนี้้� [๑๕] 3 สตรีเปเ ็นศน ัตตรูต่ต ออพรหมจรรย์หรห ือไอ ม่

ท่า่ ทีีเหล่า่ นี้้� เป็็นท่า่ ทีีที่พ่� ระองค์์ต้อ้ งการให้พ้ ระภิกิ ษุอุ บรมศีีล สมาธิ ิ และปััญญา โดยให้้พระภิิกษุสุ ำ�ำ รวมอิินทรีีย์์ ๖ เมื่อ� เวลาเห็น็ รููปด้้วยตาแล้้ว อย่่าถืือเอาโดยนิิมิิต คืือ ความงามเป็็นส่ว่ นรวม อย่า่ ถืือเอาโดยอนุุพยัญั ชนะ คืือ แยกความสวยงามออกเป็็นส่่วน ๆ ถ้้าจะเกิิดความรัักในฐานะที่�่เป็็น ปุถุ ุชุ นคนหนุ่�มที่ม่� ีีร่า่ งกายสดใส ย่อ่ มจะเกิดิ ความกำ�ำ หนัดั รักั ใคร่เ่ พศตรงข้า้ ม หรือื ถ้า้ จะมีีความรักั ตน หรือื รักั ผู้�อื่น� พระพุทุ ธเจ้า้ ก็ท็ รงเน้น้ สอนให้พ้ ระภิกิ ษุุ พิจิ ารณาสติปิ ัฏั ฐาน ๔ กล่า่ วคือื พิจิ ารณาให้เ้ ห็น็ กายในกาย เวทนาในเวทนา จิติ ในจิิต ธรรมในธรรม โดยใช้ค้ วามเพีียร สติสิ ัมั ปชััญญะ เมื่�อเป็น็ เช่่นนี้้� พระภิิกษุุที่�่พิิจารณาอย่่างต่่อเนื่่�องจะทำำ�ให้้กำ�ำ จััดอภิิชฌา และโทมนััสเสีียได้้ [๑๖] การมีีท่่าทีีต่อ่ เพศตรงข้้ามและการพิจิ ารณาขันั ธ์์ ๕ โดยแยกย่อ่ ยลง ไปเรื่อ� ย ๆ นั้้น� ก็จ็ ะกลายเป็น็ แรงหนุนุ สำ�ำ คัญั ในการทำ�ำ ให้พ้ ระภิกิ ษุทุ ราบความ เป็็นจริงิ เกี่่ย� วกัับขัันธ์์ ๕ อย่่างแจ่่มชัดั และจะทำ�ำ ให้้คลายจากความกำ�ำ หนััด มากยิ่�งขึ้�น อัันจะทำำ�ให้ก้ ารบำำ�เพ็ญ็ สมณธรรม หรือื การประพฤติิพรหมจรรย์์ ของพระภิิกษุุเหล่่านั้้�นมีีความเจริิญก้้าวหน้้าอย่่างต่่อเนื่่�อง และทำ�ำ ให้้เข้้าถึึง ความจริิงสููงสุดุ ในพระพุทุ ธศาสนาได้ใ้ นที่่ส� ุุด สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 3

๑๑ ท่า่ ทีีที่พ�่ ึงึ ประสงค์ต์ ่อ่ การปฏิิสัมั พัันธ์์ ระหว่่างพระภิกิ ษุุกับั สตรีี จากการศึกึ ษาวิเิ คราะห์เ์ กี่ย�่ วกับั มุมุ มองของพระพุทุ ธศาสนาที่ม่� ีีต่อ่ สตรีี ในประเด็็นที่�ว่ ่า่ “สตรีีเป็น็ มลทิินของพรหมจรรย์์” หรืืออาจจะมีีนักั วิชิ าการ ทางพระพุุทธศาสนานำำ�ประเด็็นนี้้�มาขยายนััยในยุุคต่่อมาว่่า “สตรีีเป็็นศััตรูู ของพรหมจรรย์”์ นั้้น� คำ�ำ ว่า่ “พรหมจรรย์”์ หรือื “การประพฤติพิ รหมจรรย์”์ นั้้น� เป็็นสิ่่ง� ที่�่นักั บวชในทางพระพุทุ ธศาสนาที่ถ่� ือื เพศเป็น็ บรรพชิติ นั้้�นจะต้อ้ ง กระทำ�ำ ก็็คืือ “การงดเว้้นจากเมถุนุ ธรรมทุุกชนิิด” สาเหตุุที่�่จะต้้องงดเว้้นก็็ เพราะว่า่ เมถุุนธรรมนี้้เ� ป็็นที่่�มาของกิิเลส กล่า่ วคือื ราคะ โทสะ และโมหะ ซึ่ง� เป็น็ ตัวั ขัดั ขวางให้พ้ ระภิกิ ษุนุ ั้้น� ไม่ส่ ามารถที่จ่� ะเข้า้ ถึงึ ความจริงิ ขั้น� สูงู สุดุ ใน ทางพระพุุทธศาสนาได้้ 3 สตรีเปเ ็นนศัตตรูต่ต ออพรหมจรรย์หรห ืออไม่

การที่่�ชี้ใ� ห้เ้ ห็็นว่่า เป็น็ มลทินิ หรืือเป็็นศััตรูนู ั้้น� เป็น็ เพีียงการที่�่ พระพุุทธเจ้้าต้้องการที่�่จะสื่�อให้้พระภิิกษุุได้้เห็็นว่่า เมื่�อพระภิิกษุุเข้้าไป เกี่�่ยวข้้องอย่่างขาดสติิ และไม่่รู้�เท่่านั้้�น ก็็จะทำำ�ให้้การปฏิิบััติิไม่่เจริิญ ก้้าวหน้า้ และก่อ่ ให้เ้ กิดิ ผลเสีียต่่อสังั คมโดยรวมด้้วย การเปิดิ ประเด็น็ นี้้�ขึ้น� มา พระพุุทธเจ้้าไม่่ต้้องการที่่�จะดููหมิ่�นสตรีีแต่่ประการใด ดัังจะเห็็นว่่า ใน บริขิ ้อ้ อื่น� ๆ นั้้น� พระพุทุ ธเจ้า้ ก็ท็ รงให้เ้ กีียรติแิ ละยกย่อ่ งสตรีี ดังั จะเห็น็ ได้จ้ าก นางวิสิ าขามหาอุบุ าสิกิ า เป็็นต้น้ สิ่่ง� ที่พ�่ ระพุทุ ธเจ้า้ ทรงมุ่�งเน้น้ ในเรื่อ� งนี้้อ� ย่า่ งมากก็ค็ ือื ว่า่ การปฏิสิ ัมั พันั ธ์์ กับั สตรีีนั้้น� พระองค์์ก็ม็ ิิได้ท้ รงห้้ามแต่ป่ ระการใด หากการปฏิสิ ััมพัันธ์์นั้้�นอยู่� ในกรอบของพระธรรมวิินัยั และไม่่ก่่อผลเสีีย ดัังจะเห็็นได้้จากการที่่�พระ อานนท์์พยายามที่่�จะถามในประเด็็นนี้้�ต่่อพระพุุทธเจ้้า พระองค์์ก็็ทรงย้ำ��ำ ว่่า การพูดู คุุย การพบปะนั้้�น เป็น็ สิ่่�งที่่ส� ามารถทำำ�ได้้ หากแต่ค่ วรทำำ�บนฐานของ สติิ มีีความรู้�เท่า่ ทันั ต่อ่ อารมณ์์ปััจจุุบัันที่เ่� กิิดขึ้�น สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 3

นอกจากนั้้�นแล้้ว สิ่่�งที่่�จะต้้องพิิจารณาอย่่างลึึกซึ่�งมากกว่่านี้้�ก็็คืือ การใช้้สติิพิิจารณาแยกย่่อยสตรีีที่�่เราพบให้้ละเอีียดลงไปเรื่�อย ๆ โดยการ พิจิ ารณาว่า่ สตรีีนั้้น� เป็น็ เพีียง “สิ่ง� ประดิษิ ฐ์”์ จากธรรมชาติทิ ี่เ�่ รีียงร้อ้ ยมาจาก ขัันธ์์ ๕ ธาตุุ ๔ เท่า่ นั้้�น เมื่�อย่่อยลงไปเรื่�อย ๆแล้้ว เราก็็จะไม่่พบสิ่�งที่�่ถืือได้้ ว่่าเป็็นแก่น่ หรือื เป็น็ แกนที่่�เราจะมัวั ไปยึึดมั่�นถืือมั่�น เหล่า่ นี้้ค� ือื ท่่าทีีที่พ�่ ระพุุทธเจ้า้ ทรงพยายามที่จ�่ ะมุ่�งสอนให้้สาวกของ พระองค์์ได้ม้ ีีทััศนคติิที่ถ่� ูกู ต้อ้ งต่อ่ สตรีี แต่เ่ มื่อ� วิิเคราะห์ใ์ ห้้ลึึกซึ้�ง้ ลงไปเรื่อ� ย ๆ แล้้วก็็จะเกิิดคำำ�ถามตามมาว่่า ท่า่ ทีีตามที่�ป่ รากฏในพระไตรปิิฎกและอรรถ กถาดัังที่่�ได้ก้ ล่่าวแล้ว้ เพีียงพอหรืือไม่่ต่่อการนำำ�มาประยุุกต์ใ์ ช้้แก้้ไขปัญั หา เกี่�่ยวกัับการมีีท่่าทีีที่�่ไม่่ถููกต้้องระหว่่างพระภิิกษุุกัับสตรีี และเมื่ �อยุุคสมััย เปลี่่�ยนไปนั้้�น แง่่มุุมบางประเด็็นควรที่่�จะมีีการประยุุกต์์เพื่่�อสอดคล้้องกัับ ปรากฏการณ์ท์ างสังั คมที่่�เปลี่ย่� นแปลงไปหรืือไม่่ เหล่่านี้้ � คืือประเด็น็ ที่่พ� ุุทธ บริิษััทจะต้้องหาเวทีีเพื่่�อแสวงหาทางเลืือกที่่�ดีีที่่ส� ุดุ ต่อ่ การป้้องกันั และแก้ไ้ ข ปัญั หาในโอกาสต่อ่ ไป. 3 สตรีเปเ ็นศน ัตตรูต่ต อพอ รหมจรรย์หรห ืออไม่

อ้า้ งอิงิ [๑] สิทิ ธิขิ องแม่ห่ ญิงิ ล้า้ นนา(๙ ธันั วาคม๒๕๔๙)http://๒๐๒.๒๘.๒๔.๑๐๕/~m- maeyinglanna/main๙/main๒.php [๒] “อิติ ฺฺถีี มลํํ พฺฺรหฺมฺ จริิยสฺสฺ ” สํํ.ส. (บาลีี) ๑๕/๕๘/๔๓. [๓] ขุุ.ขุุ.อ. (บาลีี) ๑๓๒, ขุ.ุ ขุุ.อ. (ไทย) ๑/๑/๒๐๘. [๔] มงฺฺคล. (บาลีี) ๒/๓๙๑. [๕] องฺ.ฺ ติกิ .ฏีีกา (บาลีี) ๒/๗๑/๒๒๑. [๖] วิิ.อ. (บาลีี) ๑/๕๕/๒๗๔, วิ.ิ อ. (ไทย) ๑/๑/๘๑๒–๘๑๓. [๗] องฺ.ฺ เอกก. (บาลีี) ๒๐/๒-๗/๑-๒, องฺฺ.เอกก. (ไทย) ๒๐/๒-๗/๑-๒. [๘] ขุ.ุ ชา. (บาลีี) ๒๗/๔๗/๒๗๖, ขุ.ุ ชา. (ไทย) ๒๗/๔๗/๔๐๔. [๙] องฺฺ.เอกก. (บาลีี) ๒๐/๒-๗/๑-๒, องฺฺ.เอกก. (ไทย) ๒๐/๒-๗/๑-๒. [๑๐] องฺฺ.ปญฺฺจก. (บาลีี) ๒๒/๕๕/๖๓–๖๔, องฺ.ฺ ปญฺฺจก. (ไทย) ๒๒/๕๕/๙๖. [๑๑] ขุุ.ธ.อ. (บาลีี) ๖/๑๑–๑๕, ขุ.ุ ธ.อ. (ไทย) ๖/๑๗–๒๓. [๑๒] ทีี.ม. (บาลีี) ๑๐/๒๐๓/ทีี.ม. (ไทย) ๑๐/๒๐๓/๑๕๑. [๑๓] ทีี.ม.อ. (บาลีี) ๒/๒๐๓/๑๘๕–๑๙๐. [๑๔] สํํ.สฬา. (บาลีี) ๑๘/๑๒๗/๑๐๕, สํํ.สฬา. (ไทย) ๑๘/๑๒๗/๑๕๒. [๑๕] สํํ.สฬา. (บาลีี) ๑๘/๑๒๗/๑๐๕, สํํ.สฬา. (ไทย) ๑๘/๑๒๗/๑๕๓. [๑๖] สํํ.ม. (บาลีี) ๑๙/๓๘๔–๓๘๕/๑๔๕-๑๔๗, สํํ.ม. (ไทย) ๑๙/๓๘๔–๓๘๕ /๒๔๐–๒๔๒, สํํ.ส. (บาลีี) ๑๕/๑๑๕–๑๑๖/๘๖-๘๘, สํํ.ส. (ไทย) ๑๕/๑๑๕ –๑๑๖/๑๓๒–๑๓๔. สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 3

ธรรมหรรษา พระมหาหรรษา ธมมฺ หาโส, รศ.ดร. พระสงฆ์์ยุุคใหม่่ ผู้้�ซึ่่�งเป็็นนัักคิิดและนัักวิิชาการทางพระพุุทธ ศาสนา ที่่�สามารถบููรณาการความรู้้�ทางพระพุุทธศาสนากัับศาสตร์์ สมััยใหม่่ต่่างๆ เผยแผ่่สู่่�สัังคมได้้อย่่างดีีเยี่่�ยม เป็็นผู้้�เชี่�่ยวชาญ การจััดการความขััดแย้้งโดยพุุทธสัันติิวิิธีี เป็็นพระสงฆ์์ยุุคใหม่่ ที่่�กล้้าเปิิดรัับความรู้�ใหม่่ๆ ช่่องทางใหม่่ๆ ในการเผยแผ่่ธรรมะและ ใ นอีี ก บ ท บ า ท ห นึ่่� ง ที่�่ เ ป็็ นนัั ก บ ริิ ห า ร ข อ ง ม ห า วิิ ทย า ลัั ย ม ห า จุุ ฬ า ล ง กรณราชวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััยแห่่งคณะสงฆ์์ไทยที่�่นำำ�วิิชาการ ความรู้้�ทางพระพุุทธศาสนาเผยแผ่่สู่่�สัังคม เป็็นนัักทำำ�งานที่่�มุ่�ง มั่�นตั้้�งใจ ได้้รัับมอบหมายให้้เป็็นผู้้�ประสานงานจััดงานประชุุม วิิสาขบููชาโลก ในด้้านวิิชาการท่่านก็็เป็็นอาจารย์์ เป็็นพระสงฆ์์ นัักวิิชาการที่่�บรรยายธรรม บรรยายการจััดการความขััดแย้้ง โดยพุุทธสัันติิวิิธีี ให้้แก่่สถานศึึกษา องค์์กร และแก่่ผู้�บริิหารต่่างๆ เป็็นตััวแทนนัักวิิชาการทางพระพุุทธศาสนาไปร่่วมประชุุมวิิชาการทั้้�งใน ประเทศและต่า่ งประเทศอยู่�เป็น็ ประจำ�ำ www.facebook.com/HansaPeace Facebook Fanpage : ธรรมหรรษา DhammaHansa 3 สตรีเปเ ็นนศัตตรูตต่อพอ รหมจรรย์หหรืออไม่

จัดั พิิมพ์์เผยแผ่่ วิทิ ยาลััยพุทุ ธศาสตร์์นานาชาติิ และหลัักสููตรสัันติศิ ึกึ ษา มหาวิทิ ยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิทิ ยาลัยั 035-248-000 ต่่อ 7210, 082-692-5495 [email protected] www.ibsc.mcu.ac.th Graphic by freepik.com สตรีีเป็็นศััตรููต่่อพรหมจรรย์์หรืือไม่่ 3

4 สตรีเปเ ็นนศัตรต ูต่ต ออพรหมจรรย์หหรือไอ ม่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook