Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

012

Published by veraphat501, 2022-02-24 02:49:19

Description: 012

Search

Read the Text Version

นายวรี ภทั ร บุญดา ปี4 ห้อง 1 รหสั น.ศ. 012 การบ้าน 1.ให้นกั ศึกษาคน้ หาโปรแกรมท่สี ามารถนำมาสร้างบทเรียนได้ ไม่ว่าจะอยใู่ นรปู แบบ offline/online ยกตวั อยา่ งของโปรแกรม ตอบ 1.Macromedia Authorware โปรแกรม Authorware จะมีข้อเด่นที่ความสามารถในการนำเสนอ บทเรียนในลักษณะสาขา (Branching) และเป็นโปรแกรมที่ใช้ไอคอน (Icon) ในการสร้างบทเรียน สามารถ ออกแบบบทเรียนใหผ้ ู้เรียนมีการโตต้ อบ หรอื มีปฏสิ ัมพนั ธ์ (Interaction) ในรปู แบบต่างๆ เชน่ การเลอื กตอบ การ จบั คู่ หรอื การเติมขอ้ ความ เป็นต้น 2.Macromedia Director โปรแกรม Director มีข้อเด่นทางด้านการทำภาพเคลื่อนไหว มีภาษาสคริปต์ ของตัวเองเรยี กว่า Lingo ช่วยให้สามารถเขียนโปรแกรมทำงานได้ตามตอ้ งการ สามารถเขียนโปรแกรมในลักษณะ วัตถุ (Object Oriented) ได้ 3.Multimedia ToolBook ข้อเด่นที่โปรแกรมมีความยืดหยุ่น สามารถดำเนินเรื่องราวได้ตามที่นัก ออกแบบการเรียนการสอนต้องการได้เป็นอย่างดี โดยการพิมพ์คำสั่ง (Script) ลงในแต่ละวัตถุ หน้าแสดงผล (Page) หรือพื้นหลัง นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างพร้อมใช้ (Widgets) เพื่อช่วยในการสร้างงาน และแบบฝึกหัดใo รปู แบบต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันโปรแกรมได้พัฒนาให้สามารถบนั ทกึ ไฟลใ์ นรูปแบบ HTML เพ่ือแสดงผลทาง อนิ เตอร์เน็ตได้เปน็ อยา่ งดี

4.Adobe Captivate ข้อดีของโปรแกรม Adobe Captivate 5 ผู้ใช้สามารถออกแบบชิ้นงานใน โปรแกรม Microsoft PowerPoint แลว้ นำมาใสใ่ นโปรแกรม Adobe Captivate 5 เพอ่ื สรา้ งเป็น CAI ได้เลย งา่ ย รวดเร็วแล้วกส็ ะดวก โปรแกรม Adobe Captivate ยังสามารถทำงานร่วมกับโปรแกรม Adobe Photoshop ได้ อีกด้วยในการออกแบบสื่อบทเรียน โดยที่นักเรียนไม่จำแบบจะต้อง Export ภาพออกมาเป็น JPEG โปรแกรม Adobe Captivate สามารถทจี่ ะอา่ นค่า Layer ของชน้ิ งานในโปรแกรม Photoshop ไดโ้ ดยอัตโนมตั ิ โปรแกรม Adobe Captivate 5 ยงั มเี ครื่องมือทีใ่ ช้สรา้ งสรรค์งานไดง้ า่ ยและสะดวกอีกด้วย 5.Hot Potatoes เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับสร้างแบบทดสอบออนไลน์ และ ออฟไลน์ด้วยระบบ คอมพวิ เตอรไ์ ดอ้ ย่างง่ายดาย โดยสามารถเลือกแบบทดสอบไดห้ ลายแบบ เชน่ แบบเลอื กคำตอบ แบบเตมิ คำ แบบ จบั คู่ และสามารถผสมแบบทดสอบหลายๆ แบบเข้าด้วยกนั ได้ เนือ่ งจากโปรแกรมนี้พฒั นาเพื่อการศึกษา ดังน้ันจึง สามารถดาวโหลดมาใช้งานได้ฟรีสำหรับการศึกษาเท่านั้น ส่วนใครที่ต้องการเพื่อการค้า การลงทุน ธุรกิจทำกำไร ตอ้ งจ่ายเงินซอ้ื License แตส่ ำหรบั ผูท้ ี่ตอ้ งการทดลองและทำเพ่อื การศึกษา

6.โปรแกรม CourseLab เป็นโปรแกรมที่ได้รับรางวัล the Best of Elearning Aword 2007 เป็น เคร่ืองมือสำหรับชว่ ยสร้างและพัฒนาอเี ลิรน์ น่ิงได้เปน็ อย่างดี มคี วามสามารถหลากหลาย เป็นเครอ่ื งมือสำหรับช่วย สร้างและพัฒนาอีเลิร์นนิ่งได้เป็นอย่างดี มีความสามารถหลากหลาย สนับสนุนมาตรฐานอีเลิร์นนิ่งต่างๆ เช่น SCORM, AICC และอื่นๆ สามารถใช้งานร่วมกับ LMS ที่สนับสนุนมาตรฐานอีเลิร์นนิ่งดังกล่าวได้เป็นอย่างดี มี ฟังก์ชันการทำงานที่หลากหลายทั้งการใส่เสียง ใส่ภาพเคลือ่ นไหว หรือแฟลชแอนิเมช่ัน และยังสามารถใส่สคริปต์ เพื่อควบคุมการทำงานต่างๆ ได้อีกด้วย ต้นแบบต่างๆ ที่ให้มีก็มีความน่าสนใจและสวยงามจนสามารถนำมาใช้ได้ เลยโดยไมต่ ้องมีการปรบั แตง่ เพ่มิ เติมก็ได้ 2.อธิบายระบบ CMS พร้อมยกตัวอย่างของโปรแกรม ตอบ ระบบการจัดการเนื้อหาของเว็บไซต์ (Content Management System : CMS) คือ ระบบที่พัฒนา คิดค้นขึ้นมาเพื่อช่วยลดทรัพยากรในการพัฒนา (Development) และบริหาร (Management) เว็บไซต์ ไม่ว่าจะ เป็นเรื่องของกำลังคน ระยะเวลา และเงินทอง ที่ใช้ในการสร้างและควบคุมดูแลไซต์ โดยส่วนใหญ่แล้ว มักจะ นำเอา ภาษาสคริปต์ (Script languages) ต่างๆมาใช้ เพ่ือให้วิธีการทำงานเป็นแบบอัตโนมัติ ไม่ว่าจะเป็น PHP, Perl, ASP, Python หรือภาษาอื่นๆ แล้วแต่ความถนัดของผู้พัฒนาซึ่งมักต้องใช้ควบคู่กันกับโปรแกรมเว็บ เซริ ฟ์ เวอร์ เชน่ Apache และดาตา้ เบสเซริ ์ฟเวอร์ เช่น MySQL การประยกุ ตใ์ ช้ CMS ระบบ CMS สามารถนำมาประยุกต์ในงานต่างๆ หลากหลาย ตัวอย่างการนำซอฟต์แวร์ CMS มา ประยุกตใ์ ชง้ าน อาทิ เชน่ 1.การนำ CMS มาใช้ในการสร้างเว็บไซต์สถาบันการศึกษา ธุรกิจบันเทิง หนังสือพิมพ์ การเงิน การธนาคาร หุ้น และการลงทุน อสังหาริมทรัพย์ งานบุคคล งานประมูล สถานท่ที อ่ งเทยี่ ว งานใหบ้ ริการลกู คา้ 2.การนำ CMS มาใชใ้ นหน่วยงานของรฐั อาทิเช่น งานขา่ ว งานประชาสัมพนั ธ์ การนำเสนองานต่างๆขององค์กร 3.การใช้ CMS สร้างไซต์ ส่วนตัว ชมรม สมาคม สมาพันธ์ โดยวิธีการแบ่งงานกันทำ เป็นส่วนๆ ทำให้เกิดความ สามัคคี ทำใหม้ ีการทำงานเปน็ ทมี เวิร์คมากยิง่ ข้ึน

4.การนำ CMS มาใชใ้ นการสร้างเว็บไซตส์ ำหรับธรุ กิจ SME โดยเฉพาะสินค้าหนึ่งตำบลหน่ึงผลิตภัณฑ์หรือ OTOP กำลงั ได้รับความนยิ มสูง 5.การนำ CMS มาใชแ้ ทนโปรแกรมลขิ สิทธ์ิ อน่ื ๆ เพื่อประหยดั ค่าใช้จา่ ย และง่ายต่อการพัฒนา 6.การใช้ CMS ทำเป็น Intranet Web Site สร้างเว็บไซตใ์ ช้ภายในองค์กร ข้อดีของ CMS 1.ผู้ใช้งานไม่จำเป็นต้องมีความรู้เรื่องการทำเว็บไซต์ เพียงแค่เคยพิมพ์ หรือเคยโพสข้อความในอินเทอร์เน็ต ก็ สามารถมเี ว็บไซต์เปน็ ของตวั เองได้ 2.ไมเ่ สยี เวลาในการพฒั นาเว็บไซต์ ไม่เสยี เงนิ จำนวนมาก 3.ง่ายตอ่ การดแู ล เพราะมรี ะบบจัดการทุกอย่างใหเ้ ราหมด 4.มรี ะบบจัดการท่เี ราสามารถหามาใส่เพิม่ ได้มากมาย อยา่ งเชน่ ระบบแกลลอรี่ 5.สามารถเปล่ยี นหน้าตาเวบ็ ไซต์ไดง้ า่ ยๆ เพียงแค่โหลดทมี (Theme) ของ CMS น้ันๆ ข้อเสยี ของ CMS 1.ในกรณีที่ผู้ใช้ต้องการออกแบบทีมหน้าตาของเว็บ จะต้องใช้ความรู้มากกว่าปกติ เนื่องจาก CMS มีหลาย ๆ ระบบมารวมกันทำใหเ้ กิดความยงุ่ ยาก สำหรบั ผูท้ ่ไี มม่ ีความรู้ 2.ผู้ใช้จะต้องศึกษาระบบ CMS ที่ผู้พัฒนาสร้างขึ้นมา เช่นจะต้องใส่ข้อความลงตรงไหน จะต้องแทรกภาพอย่างไร ซ่ึงจะลำบากเพยี งแคช่ ่วงแรกเทา่ นน้ั 3.ในการใช้งานจริงนั้นจะมีความยุ่งยากในการ set up ครั้งแรกกับ web server แต่ปัจจุบันก็มีผู้บริการ web server มากมายที่เสนอลงและ set up ระบบ CMS ให้ฟรีๆ โดยไม่เสียค่าใชจ้ ่ายเมือ่ รวม ๆ ข้อดีและข้อเสียดูแลว้ กย็ ังเห็นได้ว่า CMS นน้ั กเ็ ปน็ ระบบทน่ี า่ ใช้งานอย่ดู ี ตวั อยา่ งของโปรแกรม

3.อธบิ ายระบบ LMS พร้อมยกตวั อย่างของโปรแกรม ตอบ LMS (Learning Management System) คอื ระบบจดั การการเรียนการสอนออนไลนผ์ ่านเครือขา่ ย อนิ เทอร์เน็ต ท่มี เี คร่ืองมอื ทีส่ ำคัญสำหรบั ผู้สอน ผเู้ รียน และผู้ดูแลระบบ ได้แก่ ระบบจัดการรายวชิ า ระบบจัดการ ข้อมูลบทเรียน ระบบจัดการการสร้างเนื้อหารายวิชา ระบบจัดการเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้ระบบจัดการข้อมูล ผู้เรียน ระบบเครือ่ งมือช่วยจัดการสอ่ื สารและปฏิสัมพนั ธแ์ ละจัดกระบวนการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ การสือ่ สาร Chat, E-mail, Webboard รวมไปถึงการเก็บสำรองข้อมูล และการรายงานผล เป็นต้น องคป์ ระกอบหลกั ของระบบ LMS มี 4 ระบบทสี่ ำคัญ คือ 1. ระบบจัดการรายวิชา (Course Management System) ได้แก่ เครื่องมือช่วยสร้างรายวิชา จัดทำและนำเข้า เน้อื หาของรายวิชา จดั ทำแหลง่ คน้ คว้าข้อมลู ในรายวิชา ทำกจิ กรรมเสริมในรายวชิ า 2. ระบบบริหารจัดการข้อมูลผู้เรียน (User Management System) ได้แก่ ระบบบริหารการจัดการผู้เรียนใน รายวชิ า สามารถสรา้ งกลมุ่ ผู้เรยี นตามการเข้าใชง้ านไดห้ ลายระดับ มรี ะบบตรวจสอบสมาชิกผใู้ ชง้ าน และการเก็บ รายละเอยี ดข้อมลู ผูเ้ รียน 3. ระบบตรวจสอบกิจกรรมและติดตามประเมินผล (Test & Tracking Management System) ได้แก่ เครื่องมือ ช่วยสรา้ งกิจกรรมแบบทดสอบ กจิ กรรมการบ้าน และระบบทดสอบประเมินผลการเรยี น 4. ระบบจัดการการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ (Communication Management System) เป็นส่วนส่งเสริมการ เรียนให้มีการติดต่อสื่อสารกัน ทั้งระหว่างผู้สอน – ผู้สอน, ผู้สอน – ผู้เรียน, และผู้เรียน – ผู้เรียน ซึ่งมีทั้งรูปแบบ Online และ Offline ได้แก่ Web-board, E-mail, Chat room, News, Calendar เป็นต้น ทั้งนี้ระบบ LMS ที่ดี นั้นจะต้องรองรับมาตรฐาน SCORM เพื่อให้สามารถรองรับกับเนื้อหาวิชา ที่ถูกพัฒนาขึ้นต่างแพลตฟอร์มกัน ให้ สามารถใช้งานร่วมกนั ได การนำระบบ LMS ไปประยกุ ต์ใช้งาน สำหรับผใู้ ช้งานในระบบ LMS นัน้ สามารถท่ีจะแบง่ ไดเ้ ปน็ 3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มผูบ้ รหิ ารระบบ (Administrator) ทำหน้าที่ในการติดต้ังระบบ LMS การกำหนดค่าเริ่มต้นของระบบ การสำรองฐานข้อมูล การกำหนดสิทธ์ิ การเปน็ ผูส้ อน 2. กลมุ่ อาจารยห์ รอื ผสู้ รา้ งเนอื้ หาการเรียน (Instructor / Teacher) ทำหน้าที่ในการเพิ่มเนื้อหา บทเรียนต่างๆ เข้าระบบ อาทิ ข้อมูลรายวิชา ใบเนื้อหา เอกสารประกอบการ สอน การประเมินผู้เรียนโดยใช้ข้อสอบ ปรนัย อัตนัย การให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรมผู้เรียน ตอบคำถาม และ สนทนากับนกั เรียน 3. กลมุ่ ผู้เรยี น(Student/Guest) หมายถึงนักเรียน นักศึกษา ที่สมัครเข้าเรียนตามหัวข้อต่าง ๆ รวมทั้งการทำแบบฝึกหัด ตาม ที่ได้รับ มอบหมายจากผู้สอน โดยอาจารยส์ ามารถทำการแบ่งกลุ่มผู้เรียนได้ และสามารถตง้ั รหัสผ่านในการเข้าเรียนแต่ละ วิชาได้

ลักษณะของ LMS 1. กำหนดผู้ใชง้ าน 2. ระบบการสือสาร 3. แหลง่ อา้ งอิง 4. การตรวจและใหค้ ะแนน 5. การตดิ ตามพฤติกรรมการเรียน 6. การรายงานผล 7. ระบบการสอน 8. ความสามารถในการนำเสนอ Rich Media ส่วนประกอบระบบ LMS 1. สว่ นเนอ้ื หาในบทเรยี น (Lecture and Presentation) 2. สว่ นของการทดสอบในบทเรียน (Testing) 3. สว่ นของการพูดคยุ ในห้องสนทนา (Chat) 4. กระดานขา่ ว (Webboard) 5. สว่ นของการตดิ ต่อผา่ น E-mail 6. ส่วนสนับสนุนการเรียนการสอน – การลงทะเบียนของผ้เู รียน – การบนั ทึกคะแนนของผู้เรยี น – การรบั -ส่งงานของผู้เรียน – การเรียกดูสถติ ขิ องการเข้าเรียน ซอฟทแ์ วรท์ ่ีสนับสนุนระบบ LMS การทจี่ ะไดม้ าซ่ึงองค์ประกอบต่าง ๆ ท่ีจะทำใหเ้ กดิ ระบบ LMS ทส่ี มบรู ณ์นน้ั จำเป็นตอ้ งมซี อฟตแ์ วรเ์ ข้ามา ช่วยสนับสนุน ซึ่งมีทั้งซอฟต์แวร์ที่พัฒนาข้ึนโดยสถาบันการศึกษา ได้แก่ จุฬาออนไลน์ (Chulaonline), เชียงใหม่

ออนไลน์(Cmuonline), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (Maxlearn) และซอฟต์แวร์ที่เป็น Open source ได้แก่ Moodle, Atutor, Claroline, Learnloop, Splearn, Vclass เปน็ ตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook