Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore DOS system

DOS system

Published by mosza5168, 2018-11-12 12:22:54

Description: นายกฤษฏิพงศ์ บุษบา
นายวรรี คงถื่อมั่น
นายภานุวัตน์ พาแก้ว
นายนัฎฐชัย พุ่มทอง
นายศรัณย์ เทพลิบ

Search

Read the Text Version

ระบบปฏิบตั ิการ DOS

ระบบปฏิบตั กิ ารดอส คือ(DOS : DISK OPERATING SYSTEM)• โปรแกรมระบบท่ีทำหน้ำที่สง่ั กำรให้เคร่ืองไมโครคอมพวิ เตอร์ทำงำน ถ้ำจะแปลให้ตรงตวั กจ็ ะเรียกได้ วำ่ เป็นระบบปฏิบตั กิ ำรแบบที่ใช้จำนบนั ทกึ ข้อมลู เรำมกั จะใช้คำยอ่ มำกวำ่ คำเต็มเสยี อีก สว่ น ระบบปฏิบตั กิ ำรของคอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ เรียกวำ่ OS อำ่ นวำ่ โอเอส (Operating System) ระบบปฏิบตั กิ ำรที่ใช้กบั ไมโครคอมพวิ เตอร์ประเภทเทียบเคียงกบั ไอบีเอม็ (IBM compatibles) หรือพีซี (PC) จะใช้ \"ดอส\" ที่เขียนโดยบริษัทไมโครซอฟต์ นิยมเรียกกนั วำ่ MS- DOS หรือ Microsoft DOS สว่ นระบบปฏิบตั ิกำรท่ีใช้กบั คอมพิวเตอร์แมคอนิ ทอช มีช่ือวำ่ System 6 หรือ 7

ตวั อย่างหน้าต่างระบบปฏบิ ตั ิการ MS-DOS

• การใชค้ าสง่ั ดอส โดยการพิมพ์คาสงั่ ทีเ่ ครื่องหมายพร้อมรบั คาสง่ั ในลกั ษณะ Command Line ซ่ึง DOS ติดต่อกบั ผใู้ ชด้ ว้ ยการพิมพ์คาสงั่ ไม่มีภาพกราฟิ กใหใ้ ช้ เรียกว่าทางานในโหมดตวั อกั ษร Text Mode• ข้อเสีย คือ ติดต่อกบั ผใู้ ชไ้ ม่สะดวก เพราะผูใ้ ชต้ อ้ งจา และพิมพ์คาสง่ั ใหถ้ ูกตอ้ งโปรแกรมจึงจะ ทางาน ดงั นน้ั ประมาณปี ค.ศ. 1985 บริษทั ไมโครซอฟต์ไดพ้ ฒั นา Microsoft Windows Version 1.0 และเรื่อยมาจนถึง Version 3.11 ในปี ค.ศ. 1990 ซอฟต์แวร์ดงั กล่าว ทางาน แบบกราฟิ กเรียกว่า Graphic User Interface (GUI) ทาหนา้ ทีแ่ ทนดอส ทาใหเ้ กิดความ สะดวกแก่ผูใ้ ชอ้ ย่างมาก คณุ สมบตั ิเด่นของ Microsoft Windows 3.11 คือทางานใน กราฟิ กโหมด เป็น Multi-Tasking และ Generic แต่ยงั คงทางานในลกั ษณะ Single- User ยงั คงตอ้ งอาศยั ระบบปฏิบตั ิการดอส ทาการบูทเครื่องเพือ่ เร่ิมตน้ ระบบก่อน

ความยาวของช่ือ-นามสกลุ ไฟล์• ควำมยำวของช่ือไฟล์ Windows สำมำรถตงั้ ชื่อให้ยำวได้มำกถงึ 255 ตวั อกั ษร สว่ นในระบบ DOS ชื่อและนำมสกลุ ของไฟล์จะถกู จำกดั ได้เพียง ช่ือยำวไมเ่ กิน 8 ตวั อกั ษร นำมสกลุ ยำวไมเ่ กิน 3 ตวั อกั ษร ตวั อยำ่ ง Readme.TXT (ชื่อไฟล์ Readme หลงั จดุ คือนำมสกลุ TXT)

คาส่ังระบบ DOS พืน้ ฐาน

• 1. DIR (Directory) – คำสง่ั ในกำรแสดงรำยชื่อไฟล์ รำยชื่อไดเรกทอร่ี (Folder ใน windows ปัจจบุ นั )• ตวั อยำ่ งกำรใช้งำน (รวมคำสง่ั ย่อย ๆ) Dir – แสดงรำยช่ือไฟล์ ไดเรกทอร่ีทงั้ หมด พร้อมทงั้ ขนำดไฟล์ + วนั เวลำอปั เดทลำ่ สดุ Dir /p – แสดงรำยช่ือไฟล์ ไดเรกทอรี่ในแนวนอน ให้หยดุ แสดงทีละหน้ำ (กรณีท่ีมีจำนวนไฟล์ยำวมำกกวำ่ 1 หน้ำจอ) Dir /w – แสดงรำยช่ือไฟล์ ไดเรกทอร่ีในแนวนอน Dir /s, – แสดงรำยช่ือไฟล์ ไดเรกทอร่ี และไฟล์ที่อย่ใู นไดเรกทอรี่ยอ่ ยด้วย Dir /od – แสดงรำยชื่อไฟล์ ให้เรียงตำมวนั ท่ีอปั เดท Dir /n – แสดงรำยชื่อไฟล์ ให้เรียงตำมช่ือ

• 2. CLS (Clear Screen) – คำสง่ั สำหรับลบหน้ำจอออก• 3. DEL (Delete) – คำสงั่ ในกำรลบชื่อไฟล์ที่ต้องกำร เชน่ DEL readme.txt หมำยถงึ ให้ ลบชื่อไฟล์ README.TXT• ตวั อยำ่ งกำรใช้งำน (รวมคำสง่ั ยอ่ ย ๆ) Del readme.txt – ลบไฟล์ช่ือ readme.txt Del *.* – ให้ลบไฟล์ทงั้ หมดท่ีอยใู่ นไดเรกทอร่ีปัจจบุ นั Del *. – ให้ลบไฟล์ทงั้ หมดท่ีอยใู่ นไดเรกทอร่ีปัจจบุ นั เฉพำะไฟล์ท่ีไมม่ ีนำมสกุล

• 4. MD (Make Directory) – คำสงั่ ในกำรสร้ำงไดเรกทอร่ี เชน่ MD Photo จะได้ไดเรกทอรี่ C:Photo 5. CD (Change Directory) – คำสงั่ ในกำรเข้ำไปในไดเรกทอร่ี (CD คือคำสงั่ ในกำรออกจำกห้องไดเรกทอ รี่) 6. RD (Remove Directory) – คำสง่ั ในกำรลบไดเรกทอร่ี เช่น RD Photo (เรำจะต้องอยนู่ อกห้องได เรอทอร่ี Photo) 7. REN (Rename) – คำสง่ั ในกำรเปลีย่ นช่ือชือ เช่น REN readme.txt read.me หมำยถงึ กำร เปล่ียนชื่อไฟล์เป็น READ.ME

ชนิดคาส่ัง DOS

• คำสงั่ ของ DOS มีอยู่ 2 ชนิดคอื 1. คำส่ังภำยใน (Internal Command) เป็นคำสงั่ ท่ีเรียกใช้ได้ทนั ทีตลอดเวลำที่เคร่ืองเปิดใช้งำนอยู่ เพรำะ คำสง่ั ประเภทนีถ้ กู บรรจลุ งในหนว่ ยควำมจำหลกั (ROM) ตลอดเวลำ หลงั จำกที่ Boot DOS สว่ นมำกจะเป็น คำสง่ั ที่ใช้อยเู่ สมอ เช่น CLS, DIR, COPY, REN เป็นต้น 2. คำส่ังภำยนอก (External Command) คำสงั่ นีจ้ ะถกู เก็บไว้ในดสิ ก์หรือแผ่น DOS คำสง่ั เหลำ่ นีจ้ ะไมถ่ กู เก็บไว้ในหน่วยควำมจำ เม่ือต้องกำรใช้คำสงั่ เหลำ่ นีค้ อมพิวเตอร์จะเรียกคำสง่ั เข้ำสหู๋ น่วยควำมจำ ถ้ำแผ่นดสิ ก์หรือ ฮำร์ดดิสก์ไมม่ ีคำสงั่ ที่ต้องกำรใช้อย่กู ็ไม่สำมำรถเรียกคำสงั่ นนั้ ๆ ได้ ตวั อย่ำงเช่น คำสง่ั FORMAT, DISKCOPY, TREE, DELTREE เป็นต้น

รูปแบบและการใช้คาส่ังต่างๆ

• ในกำรใช้คำสงั่ ตำ่ ง ๆ ของ DOS จะมีกำรกำหนดอกั ษรหรือสญั ญลกั ษณ์ ใช้แทนข้อควำมของ รูปแบบคำสง่ั ดงั นี ้ [d:] หมำยถึง Drive เชน่ A:, B: [path] หมำยถึง ชื่อไดเรคเตอร่ียอ่ ย [filename] หมำยถึง ชื่อแฟม้ ข้อมลู หรือ ชื่อไฟล์ [.ext] หมำยถงึ สว่ นขยำย หรือนำมสกลุ

ขอ้ ดีขอ้ เสีย• ข้อเสีย คือ ตดิ ตอ่ กบั ผ้ใู ช้ไมส่ ะดวก เพรำะผ้ใู ช้ต้องจำ และพมิ พ์คำสง่ั ให้ถกู ต้องโปรแกรมจงึ จะ ทำงำน• - โปรแกรมประยกุ ต์มีต้องมีขนำดเลก็ ใช้หนว่ ยควำมจำไมเ่ กิน 640 KB. - เป็นระบบงำนเดียว (Single Tasking) - ตดิ ตอ่ กบั ผ้ใู ช้ด้วยตวั อกั ษรบน

• ข้อดีคือ - ใช้กบั เคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ได้ทวั่ ไปทงั้ รุ่นเก่ำและรุ่นใหม่ - มีโปรแกรมประยกุ ต์ใช้งำนจำนวนมำก - ไมต่ ้องกำรคณุ สมบตั ิของฮำร์ดแวร์สงู มำกนกั - งำ่ ยตอ่ กำรติดตงั้ และกำรจดั กำรโดยผ้ใู ช้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook