Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Naturopathy

Naturopathy

Published by napat14.04157, 2021-12-25 15:23:19

Description: Naturopathy

Search

Read the Text Version

ENICIDEM LABREHธ ร ร ม ช า ติ บำ บั ด YPAREHTORDYH นภัทร ภัทรสุวรรณกิจ เลขที่15 HOMEOPATHY NATURO PATHY BIOPUNCTURE

ส า ร บั ญ 01 ธรรมชาติบำบัด 03 ประโยชน์ของธรรมชาติ บำบัด 05 การให้คำแนะนำเกี่ยวกับการ รับประทานอาหาร 07 การใช้ยาสมุนไพร 09 การทำโฮมีโอพาธีย์ 12 กายภาพบำบัด 16 ข้อควรรู้ก่อนทำธรรมชาติ บำบัด

ธรรมชาติบำบัด ทางเลือกเพื่อการดูแล สุขภาพ ธ ร ร ม ช า ติ บำ บั ด การบำบัดด้วยวิธีนี้ไม่ใช่การบำบัดเพื่ อ รักษาอาการเจ็บป่วยหรือเพื่ อรักษา Naturopathy โรคใดโรคหนึ่งโดยเฉพาะ แต่เป็นการ บำบัดที่มุ่งเน้นการให้ความรู้เพื่ อให้ผู้ ธรรมชาติบำบัด (Naturopathy) ป่วยดูแลสุขภาพร่างกายของตนเอง เป็นหนึ่งในรูปแบบของแพทย์ทาง และครอบครัว ช่วยให้ร่างกายสามารถ เลือกที่ได้รับการยอมรับจากองค์การ เยียวยาอาการป่วยและช่วยสร้าง อนามัยโลก ซึ่งมีการจำกัดความว่า ความสมดุลให้แก่ร่างกาย เพื่อลด เป็นการดูแลผู้ป่วยโดยอาศัยหลัก ความเสี่ยงของการเกิดโรคต่าง ๆ ใน ปรัชญา (Philosophic อนาคต ซึ่งรายละเอียดอื่ น ๆ เกี่ยวกับ Approach) มากกว่าจะเป็นการ ธรรมชาติบำบัดนั้นสามารถอ่านได้จาก รักษาโดยแพทย์ บทความนี้

THERE'S A CONSTANT NOISE OUTSIDE NEVER SILENCED AT NIGHT AIN’T NO WAY TO HIDE FROM THE CITY LIFE CITY LIFE \\\\ ASHTRAYNUTZ

ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ธ ร ร ม ช า ติ บำ บั ด ธรรมชาติบำบัดเป็นการนำพลังจากธรรมชาติ การบำบัดนี้เป็นวิธีที่นิยมใช้กับผู้ป่วยโรคทั่วไป มาใช้ในการบำบัด โดยเป็นการบำบัดที่ได้รับการ อย่างโรคภูมิแพ้ โรคอ้วน ผู้ที่มีอาการปวดหัว มี ยอมรับจากการแพทย์แผนปัจจุบันว่าเป็นวิธีที่ ปัญหาด้านการเจริญพันธุ์ มีความผิดปกติใน ช่วยแก้ไขต้นเหตุของการเกิดโรคได้มากกว่า ระบบทางเดินอาหาร มีภาวะฮอร์โมนไม่สมดุล รักษาอาการที่เกิดขึ้น (Hormonal Imbalance) รวมถึงอาการ ปวดเรื้อรังและกลุ่มอาการความล้าเรื้อรังด้วย ** ทั้งนี้บุคคลทั่วไปที่ไม่มีอาการป่วยก็สามารถใช้ธรรมชาติบำบัดเพื่อดูแลสุขภาพและเสริมความแข็งแรงให้แก่ร่างกายเพื่อ ป้องกันอาการป่วยต่าง ๆ ได้เช่นกัน

ธ ร ร ม ช า ติ บำ บั ด ทำ ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ร บ้ า ง ในขั้นตอนแรก ผู้เชี่ยวชาญด้าน ธรรมชาติบำบัดจะสอบถามเกี่ยวกับ การรับประทานอาหาร รูปแบบการใช้ ชีวิต ประวัติของครอบครัว สภาพ แวดล้อม และประวัติทางการแพทย์ ของผู้เข้ารับการบำบัด ซึ่งหลังจาก การสอบถาม ผู้เชี่ยวชาญอาจใช้วิธี การตรวจอื่ น ๆ เพิ่มเติม เช่น ตรวจ เลือด ตรวจปัสสาวะและอุจจาระหรือ ตรวจการทำงานของอวัยวะ เป็นต้น จากนั้นจึงจะพิจารณาวิธีที่เหมาะสม กับผู้เข้ารับการบำบัดแต่ละคน โดย ตัวอย่างของวิธีที่ใช้ในการทำ ธรรมชาติบำบัดมีดังนี้

ก า ร ใ ห้ คำ แ น ะ นำ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร รั บ ประทานอาหาร เป็นการแนะนำให้ผู้รับการ บำบัดรับประทานอาหารอย่าง เหมาะสมและมีประโยชน์ เช่น การรับประทานอาหารปรุงสุก หรือการไม่รับประทานอาหาร แปรรูป เป็นต้น เนื่องจากการ รับประทานอาหารที่ไม่มี ประโยชน์อาจทำให้อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายไม่สามารถ ทำงานได้อย่างปกติและสร้าง สารพิษสะสมซึ่งอาจทำให้เกิด การเจ็บป่วยได้

THERE'S A CONSTANT NOISE OUTSIDE NEVER SILENCED AT NIGHT AIN’T NO WAY TO HIDE FROM THE CITY LIFE CITY LIFE \\\\ ASHTRAYNUTZ

ก า ร ใ ช้ ย า ส มุ น ไ พ ร Herbal Medicine เป็นการนำสมุนไพรมาใช้เพื่ อสร้าง สำหรับอันตรายที่เกิดจากการใช้ ความแข็งแรงให้แก่ร่างกาย มีทั้งใน สมุนไพรนั้นจากข้อมูลการศึกษาที่มี รูปแบบสมุนไพรอบแห้ง แบบที่หั่น หลักฐานชัดเจน จากข้อมูลที่อ้างอิง ออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ แบบผง แบบ จากการทดลองหรือกรณีศึกษา การ แคปซูลหรือแบบน้ำ แต่ควรใช้ยา แบ่งจำแนกเป็น 7 กลุ่ม โดยที่ สมุนไพรภายใต้การควบคุมของ สมุนไพร 1 ชนิดอาจก่อให้เกิด แพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญ เนื่องจากยา อันตรายได้มากกว่า 1 กลุ่ม สมุนไพรอาจทำปฏิกิริยากับยาชนิดอื่ น ๆ หรืออาจมีฤทธิ์ที่รุนแรงต่อร่างกาย

อั น ต ร า ย ที่ เ กิ ด จ า ก ก า ร ใ ช้ ส มุ น ไ พ ร 1. สมุนไพรที่ทำให้เกิดปฏิกิริยา 4.การเกิดปฏิกิริยาระหว่างยากับ การแพ้ (Allergic สมุนไพร (Herb and drug reactions) reactions) 2 รูปแบบ คือ ปฏิกิริยาทางเภสัชจลนศาสตร์ 2. สมุนไพรที่ทำให้เกิดความเป็น (Pharmacokinetic พิษ (Toxic reactions) เช่น สมุนไพรที่เกิดความเป็น interactions) และ ปฏิกิริยา พิษต่อตับจากรายงานการใช้ ทางเภสัชพลศาสตร์ สมุนไพรใบขี้เหล็ก ในปี (Pharmacodynamic พ.ศ.2542 ในรูปแบบยาเม็ด (ยาเดี่ยว) ก่อให้เกิดภาวะตับ 05 interactions) อักเสบเฉียบพลัน หรือ สมุนไพรที่เกิดความเป็นพิษ 5.การใช้สมุนไพรผิดชนิด ผิดวิธี ต่อไต ควรระวังการใช้ในผู้ (Mistaken plants, ป่วยโรคไต เช่น ชะเอมเทศ มะขามแขก น้ำลูกยอ Mistaken preparation) ซึ่ง มะเฟือง เป็นต้น เกิดจากความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ 3. สมุนไพรที่ทำให้เกิดอาการไม่ 12 ชนิดของสมุนไพรที่มีลักษณะที่ พึงประสงค์ (Adverse effects) คือ การใช้สมุนไพร คล้ายคลึงกัน และมีความ บางชนิดอาจทำให้เกิดอาการ คล้ายคลึงกับพืชมีพิษบางอย่าง ข้างเคียง หรือฤทธิ์ไม่พึง 6.การปนเปื้ อนในสมุนไพร ประสงค์ที่สัมพันธ์และไม่ (Contamination) ได้แก่ สาร สัมพันธ์กับฤทธิ์ทาง โลหะหนัก ยาฆ่าแมลง หรือเชื้อ เภสัชวิทยาที่ต้องการ เช่น จุลินทรีย์ที่เกินปริมาณที่กำหนด กระทียม แปะก๊วยก่อให้เกิด อาการไม่พึงประสงค์เกิด 22 มากับตัวสมุนไพรหรือผลิตภัณฑ์ เลือดออกได้ง่าย เป็นต้น 7.สมุนไพรที่มีการปลอมปน (Adulterants) สมุนไพรหรือ ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีการอวด อ้างสรรพคุณเกินจริง 31

ห น า ม ย อ ก เ อ า ห น า ม บ่ ง ก า ร ทำ โ ฮ มี โ อ พ า ธี ย์ Homeopathy โฮมีโอพาธีย์ เป็นการรักษาตามแนว เป็นการกระตุ้นให้ร่างกายรักษา ธรรมชาติที่ใช้หลักการ \"เหมือนรักษา ตนเองอย่างเหมาะสม อาจเป็นการใช้ เหมือน\" ที่เกิดขึ้นในประเทศเยอรมนี ยาเม็ดเล็กสอดไว้ใต้ลิ้น ยาเม็ดหรือยา ตั้งแต่ ค.ศ.1796 โดยนายแพทย์แซม ทาเพื่อกระตุ้นร่างกาย ทั้งนี้ยาหรือ มวล คริสเตียน เฟดดริก ฮาห์เนมานน์ ส่วนผสมของยาที่นำมาใช้จะแตกต่าง (Dr.Samuel Christian Hahne กันไปในแต่ละบุคคลแม้จะเป็นการ รักษาอาการเดียวกันก็ตาม mann)ด้วยการให้ยาที่ทำจากสารที่ก่อ ให้เกิดอาการนั้น

โ ฮ มี โ อ พ า ธี ย์ โฮมีโอพารีย์ เป็นศาสตร์การแพทย์ทาง เลือกใน 5 จากทั่วโลกที่องค์การอนามัย โลก (WHO)ประกาศยอมรับว่าสามารถ รักษาได้ผลจริงและเป็นวิทยาศาสตร์ ซึ่ง ประกอบไปด้วย 1. การแพทย์แผนจีน (Chinese Medicine : TCM) ฝังเข็ม สมุนไพรจีน ทุยนา ครอบแก้ว โกฐจุฬาลัมพา 2. อายุรเวทของอินเดีย (Ayurveda) เป็นการแพทย์แบบธรรมชาติบำบัด 3. โฮมีโอพารีย์ (Homeopathy) ศาสตร์การแพทย์ทางเลือกของเยอรมัน ด้วยการรักษาตามแนวธรรมชาติ 4. ไคโรแพคติก (Chiropractic) การ จัดโครงสร้างกระดูกของอเมริกา 5. ยูนานิ (UNANI) การรักษาแพทย์ทาง เลือกแนวธรรมชาติบำบัดของอาหรับ

TRUE ENJOYMENT COMES FROM ACTIVITY OF THE MIND AND EXERCISE OF THE BODY; THE TWO ARE EVER UNITED. WILHELM VON HUMBOLDT

ก า ย ภ า พ บำ บั ด Physical Therapy ก า ย ภ า พ บำ บั ด ช่ ว ย ฟื้ น ฟู สุ ข ภ า พ ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ร ศาสตร์ฟื้ นฟูสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย หรือผู้มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับการ และใช้อุปกรณ์พิเศษ เพื่อรักษาผู้ป่วยให้ กลับมาเคลื่ อนไหวตามปกติได้มากที่สุด การ เคลื่ อนไหวร่างกายจากการป่วยหรือความ รักษาด้วยวิธีนี้ใช้บำบัดผู้ป่วยอย่างแพร่ หลาย ได้แก่ ทารกที่มีความผิดปกติเกี่ยว บกพร่องทางร่างกายการทำกายภาพบำบัด กับกระดูกและกล้ามเนื้อตั้งแต่เกิด ผู้ใหญ่ที่ เกิดอาการปวดขาแบบไซอาติกา จะช่วยลดความเจ็บปวดตามอวัยวะที่เกิด (Sciatica) อันเนื่องมาจากกระดูกทับเส้น ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บหรือได้รับผลกระทบจาก ปัญหาน้อยลง และสามารถเคลื่ อนไหว การผ่าตัด ผู้สูงอายุที่เกิดภาวะแทรกซ้อน หลังจากป่วยเป็นโรคหลอดเลือดในสมอง ร่างกายได้ตามปกติหรือเกือบปกติ เนื่ องจากการทำกายภาพบำบัดจะช่วยเสริม สร้างความแข็งแรงและการเคลื่ อนไหวของ ร่างกาย รวมทั้งช่วยให้รู้จักวิธีป้องกันการ ได้รับบาดเจ็บอันเป็นสาเหตุให้ร่างกายเสื่ อม สมรรถภาพในการเคลื่ อนไหว

ผู้ ที่ ค ว ร เ ข้ า รั บ ก า ย ภ า พ บำ บั ด ไ ด้ แ ก่ ผู้ ที่ มี ปั ญ ห า สุ ข ภ า พ ปวดหลังหรือปวดคอ ผู้ป่วยเด็กจะต้องเข้ารับการทำ จำเป็นต้องเข้ารับการฟื้ นฟู กายภาพบำบัด ในกรณีที่มี สมรรถภาพหัวใจสำหรับผู้ป่วย ปัญหาสุขภาพต่อไปนี้ ที่ประสบปัญหาโรคหัวใจและ หลอดเลือด (Cardiac มีพัฒนาการช้า Rehabilitation) สมองพิการ ป่วยเป็นโรคทางพันธุกรรม ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ หรือ พิการหรือได้รับบาดเจ็บที่ ประสบอุ บัติเหตุ กระดูกและกล้ามเนื้ อ ป่วยเป็นมะเร็ง มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับ ต้องรับการรักษาบาดแผล หัวใจและปอด พิการที่แขนหรือขา มีความผิดปกติตั้งแต่ ป่วยเป็นโรคกล้ามเนื้ อ กำเนิด ได้รับยาหรือแอลกอฮอล์ ตั้งแต่อยู่ในครรภ์

เ ป้ า ห ม า ย ใ น ก า ร ทำ ฟื้ นฟูสมรรถภาพร่างกายหลังได้รับบาด ก า ย ภ า พ บำ บั ด เจ็บ ผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุหรือได้รับ บาดเจ็บจากสาเหตุต่าง ๆ จะได้รับการ ผู้ป่วยที่มีปัญหาหรือป่วยเป็นโรคอื่ นอันส่ง ทำกายภาพบำบัดเพื่อฟื้ นฟูอาการบาด ผลต่อการเคลื่ อนไหวของอวัยวะต่าง ๆ เจ็บ รวมทั้งรู้จักเลี่ยงไม่ให้ตัวเองได้รับ ภายในร่างกาย ควรเข้ารับการทำ บาดเจ็บอีก โดยนักกายภาพบำบัดจะทำ กายภาพบำบัดเพื่อฟื้ นฟูสมรรถภาพการ กายภาพบำบัดให้ผู้ป่วย ตั้งแต่ช่วย เคลื่ อนไหวให้ดีขึ้น ทั้งนี้ การทำ บรรเทาอาการบาดเจ็บที่เนื้ อเยื่ ออ่อน กายภาพบำบัดมีวัตถุประสงค์ในการรักษาผู้ (กล้ามเนื้อ เอ็น และกล้ามเนื้อเอ็น) ป่วย ดังนี้ เสริมสร้างความแข็งแรงให้แก่กล้าม เนื้อ และเพิ่มความยืดหยุ่น การทำงาน และพิสัยการเคลื่ อนไหว รักษาปัญหาสุขภาพเรื้อรังและปัญหา เสริมสร้างสุขภาพให้แก่ผู้ที่จำเป็นต้อง สุขภาพของเด็ก ผู้ป่วยโรคโพรงกระดูก รับการฟื้ นฟูร่างกาย ผู้ป่วยที่มีปัญหา สันหลังตีบแคบ (Spinal Stenosis) สุขภาพอันส่งผลต่อระบบการทำงาน ข้ออักเสบ หรือโรคพาร์กินสัน ของร่างกายหลายระบบ เช่น โรคหลอด (Parkinson's Disease) ซึ่งพบมาก เลือดในสมอง ได้รับบาดเจ็บที่ ในผู้สูงอายุ สามารถเข้ารับการทำ ไขสันหลัง และป่วยเป็นโรคเกี่ยวกับ กายภาพบำบัดเพื่ อให้อาการของโรคดี หัวใจหรือปอด โรคเรื้อรัง สามารถเกิด ขึ้น โดยนักกายภาพบำบัดจะคิด ภาวะพิการตามมาได้ จึงจำเป็นต้องเข้า แผนการทำกายภาพบำบัดที่เหมาะกับผู้ รับการทำกายภาพบำบัด ซึ่งจะมี ป่วยแต่ละราย ซึ่งประกอบไปด้วยพิสัย บุคลากรหลายรายร่วมกันช่วยฟื้ นฟูผู้ การเคลื่ อนไหว การเสริมสร้างความ ป่วย ได้แก่ แพทย์ พยาบาล นัก แข็งแรง และการออกกำลังสร้างความ กายภาพบำบัด นักกิจกรรมบำบัด นัก ทนทานร่างกาย ส่วนเด็กที่ได้รับบาด บำบัดการพูด และนักจิตวิทยา เจ็บหรือมีปัญหาสุขภาพร้ายแรง

ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ก า ย ภ า พ บำ บั ด การออกกำลังกาย โดยทั่วไปแล้ว การทำ การฝึกผู้ป่วย ผู้ที่เข้ารับการทำกายภาพบำบัดจะได้รับการ กายภาพบำบัดมักเกี่ยวข้องกับการออกกำลังกาย ฝึกเคลื่ อนไหวร่างกายด้วยการออกกำลังกาย เพื่อช่วย เนื่ องจากการทำกายภาพบำบัดมีรูปแบบการรักษาที่ ฟื้ นฟูอาการบาดเจ็บและปัญหาสุขภาพต่าง ๆ ฝึกใช้ ช่วยฟื้ นฟูอาการบาดเจ็บ อาการป่วย หรือปัญหา อุปกรณ์เสริมที่ช่วยในการเคลื่ อนไหว เช่น การใช้ไม้ค้ำยัน สุขภาพต่าง ๆ รวมทั้งช่วยป้องกันการเกิดปัญหา หรือเก้าอี้วีลแชร์ ฝึกทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้อย่าง สุขภาพ การออกกำลังกายคือกิจกรรมที่เพิ่มเติมมา ปลอดภัย รวมทั้งจัดสภาพแวดล้อมของที่อยู่อาศัยให้ จากกิจกรรมทั่วไปที่ทำในแต่ละวัน ซึ่งช่วยเพิ่มความ ปลอดภัยในกรณีที่ผู้ป่วยมีปัญหาเกี่ยวกับการมองเห็น ยืดหยุ่น ความแข็งแรง ความทนทานของร่างกาย ความแข็งแรงหรือความสมดุลของร่างกาย การฝึกด้าน และการทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและ ต่าง ๆ นี้จะช่วยป้องกันผู้ป่วยไม่ให้ได้รับบาดเจ็บที่ข้อต่อ กล้ามเนื้ อ หรือกล้ามเนื้ อซ้ำอีกครั้ง วิธีรักษาพิเศษ ผู้ป่วยอาจได้รับการรักษาด้วยวิธีพิเศษอื่ น ยืดกล้ามเนื้อ ลดอาการตึงแข็งของข้อต่อ ๆ ร่วมด้วย โดยนักกายภาพบำบัดจะได้รับการฝึกทำ เพิ่มความแข็งแรงร่างกาย ออกกำลังกายที่ฝึก กายภาพวิธีพิเศษเพื่อรักษาผู้ป่วย ดังนี้ ความสมดุลของร่างกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรง ของกล้ามเนื้อหลัง ท้อง หรือสะโพก ฟื้ นฟูระบบการทรงตัว (Vestibular ยกน้ำหนัก เพิ่มความแข็งแรงให้แก่กล้ามเนื้อ Rehabilitation) ผู้ป่วยโรคบ้านหมุน หรือผู้ทีรู้สึกว่า ส่วนต่าง ๆ สิ่งรอบตัวหมุนหรือเอียงนั้น จะได้รับการรักษาด้วยวิธี ออกกำลังกายรูปแบบอื่ น การเดินหรือทำ ฟื้ นฟูการทรงตัว เพื่อช่วยปรับความสมดุลของหูชั้นใน กิจกรรมทางน้ำ ก็ช่วยเพิ่มสมรรถภาพการ ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของร่างกายภายนอก เมื่อได้ เคลื่ อนไหว ความแข็งแรง และความทนทานของ รับการทำกายภาพบำบัดด้วยวิธีดังกล่าว ผู้ป่วยจะ ร่างกาย สามารถรับมือกับอาการบ้านหมุนที่เกิดขึ้นได้ เทคนิคบำบัดด้วยมือ (Manual Therapy) วิธีนี้คือ รักษาดูแลบาดแผล บาดแผลที่มีลักษณะร้ายแรงหรือ การทำกายภาพบำบัดด้วยมือ เพื่อช่วยให้ร่างกาย ไม่สามารถหายได้ เกิดจากระบบไหลเวียนโลหิตไหลไป ผ่อนคลาย ลดอาการเจ็บปวด และเพิ่มความยืดหยุ่น เลี้ยงบริเวณดังกล่าวไม่เพียงพอ ผู้ที่เกิดแผลลักษณะ ให้แก่ร่างกาย เทคนิคบำบัดด้วยมือประกอบด้วย นี้จำเป็นต้องได้รับการรักษาบาดแผลอย่างใกล้ชิด โดย นวด นักกายภาพบำบัดจะนวดให้ผู้ป่วย โดยออกแรง แพทย์จะทำความสะอาดและพันแผลให้เรียบร้อยอย่าง กดลงไปตามร่างกาย การนวดจะช่วยให้กล้ามเนื้อ สม่ำเสมอ ทั้งนี้ ผู้ป่วยอาจต้องเข้ารับการรักษาด้วย คลายตัว เพิ่มการไหลเวียนเลือด และลดอาการเจ็บ การบำบัดด้วยออกซิเจนหรือกระตุ้นไฟฟ้า การทำ ปวดได้บ้าง กายภาพบำบัดจึงช่วยให้ผู้ป่วยขยับหรือจัดท่า เพื่อ ขยับข้อต่อ (Mobilization) ผู้ป่วยที่เนื้อเยื่อเกิด ให้การรักษาบาดแผลนั้นดีขึ้น อาการตึงหรือข้อติด จะได้รับการขยับข้อต่อโดยนัก กายภาพบำบัดสำหรับปัญหาอุ้งเชิงกราน ผู้ที่มีปัญหา กายภาพบำบัดจะพิจารณากระดูกและข้อต่อ และบิด เกี่ยวกับอุ้งเชิงกรานจะได้รับการทำกายภาพบำบัด ดึง หรือดันกระดูกและข้อต่อให้กลับเข้าตำแหน่งช้า ๆ สำหรับรักษาปัญหาดังกล่าวโดยเฉพาะ เช่น ผู้ป่วยที่ การขยับข้อต่อจะช่วยให้เนื้ อเยื่ อที่อยู่รอบข้อต่อตึง ประสบภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้หรือผู้ที่ปวดท้องน้อย จะ น้อยลง รวมทั้งเพิ่มความยืดหยุ่นและจัดกระดูกให้ ได้รับการรักษาด้วยการทำกายภาพบำบัด เพื่อควบคุม อยู่ในแนวมากขึ้น หรือบรรเทาอาการของโรคให้ทุเลาลง ดัดข้อต่อ (Manipulation) นักกายภาพบำบัดจะ กายภาพบำบัดสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง ผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ ออกแรงกดไปที่ข้อต่อ โดยอาจใช้มือหรืออุปกรณ์ เกิดภาวะแทรกซ้อนจากอาการของโรค หรือได้รับผล พิเศษ นักกายภาพบำบัดจะค่อย ๆ ดัดข้อ หรือดัดข้อ ข้างเคียงจากการรักษา อันส่งผลให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับ ต่ออย่างรวดเร็ว รวมทั้งอาจลงน้ำหนักเบาหรือแรง การเคลื่ อนไหวจะได้รับการทำกายภาพบำบัดร่วมด้วย เพื่ อดัดข้อต่อแตกต่างกันอย่างระมัดระวัง เพื่ อรักษาปัญหาดังกล่าวให้หาย

ข้ อ ค ว ร รู้ ก่ อ น ทำ ธ ร ร ม ช า ติ บำ บั ด หากต้องการเข้ารับการบำบัดด้วยวิธีดังกล่าว ผู้เข้ารับการบำบัดควรทราบว่าผลข้าง เคียงของการทำธรรมชาติบำบัดจะมีความแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับวิธีที่แต่ละคนได้รับ และควรระมัดระวังในการใช้ยาที่ไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์เนื่ องจากตัวยาอาจมีปฏิกิริยากับวิธี การบำบัดซึ่งจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ อีกทั้งธรรมชาติบำบัดไม่สามารถใช้เพื่อรักษา อาการฉุกเฉินอย่างอาการที่ต้องได้รับการผ่าตัดใหญ่หรืออาการของโรคร้ายแรงอย่าง โรคหัวใจหรือโรคมะเร็งได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ที่เข้ารับการ บำบัดควรแจ้งให้แพทย์แผน ปัจจุบันทราบถึงวิธีการบำบัดที่ กำลังทำอยู่ และควรแจ้งให้ผู้ เชี่ยวชาญที่ทำการบำบัดทราบ ถึงยาแผนปัจจุบันที่กำลังใช้ เช่นกัน เพราะจะช่วยให้ กระบวนการธรรมชาติบำบัด สามารถดำเนินไปได้อย่าง ปลอดภัย ไม่เป็นอันตรายต่อ สุขภาพ

MOVEMENT IS A MEDICINE FOR CREATING CHANGE IN A PERSON'S PHYSICAL, EMOTIONAL, AND MENTAL STATES. CAROL WELCH


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook