Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจพอเพียง ประถมศึกษา

เศรษฐกิจพอเพียง ประถมศึกษา

Description: เศรษฐกิจพอเพียง ประถมศึกษา

Search

Read the Text Version

หนงั สอื เรียนรายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง (ทช 11001) ระดับประถมศกึ ษา สาระทกั ษะการดําเนนิ ชวี ติ หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สํานกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวิต รายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง (ทช 11001) ระดบั ประถมศึกษา ISBN : 978-974-232-391-2 พมิ พค ร้ังที่ : 1 / 2553 จํานวนพิมพ : 2,000 เลม เอกสารทางวชิ าการหมายเลข 62/2553

คํานํา สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการจัดทําหนังสือเรียน ชดุ ใหมน ้ีขึ้น เพ่อื สําหรับใชใ นการเรียนการสอนตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ทม่ี วี ตั ถปุ ระสงคใ นการพัฒนาผูเรยี นใหม คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีสตปิ ญ ญาและศกั ยภาพในการ ประกอบอาชีพ ทีศ่ ึกษาตอและสามารถดาํ รงชีวติ อยใู นครอบครัว ชมุ ชน สังคมไดอ ยางมคี วามสขุ โดยผูเรียน สามารถนําหนงั สือเรยี นไปใชในการเรยี นดวยวิธกี ารศึกษาคน ควาดว ยตนเอง ปฏิบตั กิ จิ กรรม รวมท้งั แบบฝก หดั เพือ่ ทดสอบความรคู วามเขาใจในสาระเน้ือหา โดยเมือ่ ศึกษาแลวยงั ไมเ ขา ใจ สามารถกลบั ไปศึกษาใหมไ ด ผเู รยี น อาจจะสามารถเพม่ิ พนู ความรหู ลงั จากศกึ ษาหนงั สอื เรยี นน้ี โดยนาํ ความรไู ปแลกเปลย่ี นกบั เพอ่ื นในชน้ั เรยี นศกึ ษา จากภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่ิน จากแหลงเรียนรูและจากส่อื อน่ื ๆ ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรบั ความรว มมอื ทด่ี จี ากผูทรงคุวุฒแิ ละผูเก่ยี วของหลายทานซึ่งชว ยกันคนควา และเรยี บเรยี ง เนื้อหาสาระจากสื่อตาง ๆ เพื่อใหไดสื่อที่สอดคลองกับหลักสูตรและเปนประโยชนตอผูเรียนที่อยูนอกระบบ อยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา คณะผเู รียบเรียง ตลอดจนคณะผจู ัดทําทกุ ทานท่ีไดใ หค วามรวมมือดวยดี ไว ณ โอกาสนี้ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียนชุดนี้จะเปน ประโยชนในการจดั การเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอ เสนอแนะประการใด สาํ นกั งานสง เสริมการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ขอนอมรับไวดวยความขอบคณุ ยงิ่ (นายอภชิ าติ จีระวุฒิ) เลขาธิการ



สารบัญ หนา คาํ นาํ 1 คาํ แนะนําในการใชหนังสือเรยี น 7 โครงสรางรายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง 13 บทที่ 1 เศรษฐกิจพอเพยี ง รากฐานการดําเนนิ ชีวิตของคนไทย 23 บทท่ี 2 ปฏิบัตติ นดี มคี วามพอเพยี ง 33 บทที่ 3 รใู ช รจู าย 37 บทท่ี 4 ชวี ติ สดใส พอใจเศรษฐกจิ พอเพียง 39 แบบทดสอบหลังเรียน บรรณานกุ รม คณะผูจ ัดทํา

คาํ แนะนําในการใชห นังสือเรยี น หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชีวติ รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง ระดับประถมศึกษา เปนหนงั สอื เรยี นที่จัดทําข้ึน สาํ หรับผูเรียนทเ่ี ปนนกั ศึกษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนงั สือเรยี นสาระทักษะการดําเนนิ ชีวติ รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพยี ง ผูเ รยี นควรปฏิบัตดิ งั นี้ 1. ศกึ ษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคญั ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวัง และขอบขา ยเนือ้ หา 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยางละเอียดและทํากิจกรรมตามที่กําหนดแลวตรวจสอบกับ แนวตอบกิจกรรมที่กําหนด ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเนื้อหานั้นใหมใหเขาใจ กอ นทจ่ี ะศึกษาเรือ่ งตอไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเร่อื งของแตละเรอื่ งเพื่อเปนการสรุปความรูความเขา ใจของเนื้อหาในเรื่องนนั้ ๆ อีกคร้งั และการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของแตละเนอื้ หาแตละเร่ือง ผูเ รียนสามารถนําไปตรวจสอบกับครูและเพอื่ น ๆ ที่รวมเรยี นในรายวชิ าและระดบั เดยี วกนั ได 4. หนังสอื เรยี นเลม น้มี ี 4 บทคือ บทท่ี 1 เศรษฐกจิ พอเพียง รากฐานการดําเนินชวี ิตของคนไทย บทที่ 2 ปฏิบตั ติ นดี มีความพอเพยี ง บทที่ 3 รใู ช รูจา ย บทท่ี 4 ชีวติ สดใส พอใจเศรษฐกจิ พอเพียง

โครงสรา งรายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั ประถมศกึ ษา (ทช 11001) สาระสาํ คญั เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปนปรัชญาที่พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัว ทรงพระราชดํารสั ชีแ้ นะแนว ทางการดํารงอยูและการปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับใหดําเนินชีวิตไปในทางสายกลาง โดย เฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหกาวทันตอ โลกยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล รวมถงึ ความจําเปนทจ่ี ะตอ งมรี ะบบภมู คิ ุมกันในตวั ท่ดี พี อสมควรตอ ผลกระทบใด ๆ อัน เกิดจากการเปล่ยี นแปลงท้ังภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบและความ ระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตาง ๆ มาใชในการวางแผนและดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะ เดียวกนั จะตองเสริมสรา งพน้ื ฐานจิตใจของคนในชาตใิ หมสี าํ นึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยส จุ รติ และให มีความรอบรูที่เหมาะสมดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพยี ร มสี ติปญ ญาและความรอบคอบ เพอ่ื ให สมดลุ และพรอมตอ การรองรบั การเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง ท้งั ดานวัตถุ สงั คม ส่งิ แวด ลอมและวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ ปน อยา งดี ผลการเรยี นรูท่ีคาดหวงั 1. อธบิ ายแนวคิด หลกั การ ความหมาย ความสําคัญของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งได 2. บอกแนวทางในการนําปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกตใชในการดําเนินชีวติ 3. เหน็ คณุ คา และปฏิบตั ิตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. แนะนาํ สง เสรมิ ใหส มาชกิ ในครอบครวั เหน็ คุณคาและนาํ ไปปฏบิ ตั ิในการดําเนินชวี ติ ขอบขายเนื้อหา บทที่ 1 เศรษฐกจิ พอเพียง รากฐานการดําเนินชีวิตของคนไทย บทที่ 2 ปฏบิ ตั ิตนดี มคี วามพอเพียง บทท่ี 3 รูใช รูจาย บทท่ี 4 ชวี ิตสดใส พอใจเศรษฐกจิ พอเพียง



บทท่ี 1 เศรษฐกิจพอเพยี ง รากฐานการดาํ เนินชีวิตของคนไทย สาระสําคัญ เศรษฐกิจพอเพยี งเปนปรชั ญาทพี่ ระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัว ทรงพระราชดํารสั ช้ีแนะทางการ ดําเนินชวี ิตแกพสกนกิ รชาวไทยมาโดยตลอดเลานานกวา 30 ป ตั้งแตกอ นเกดิ วิกฤตการณท างเศรษฐกิจ ในป 2540 ประเทศไทยประสบกับภาวะวกิ ฤตเิ ศรษฐกิจ นับวา เปนบทเรยี นสาํ คัญทท่ี ําใหป ระชาชน เขา ใจถงึ ผลการพฒั นา ซึง่ ใชเปน แนวทางการดาํ เนินชีวิตที่อยบู นพ้ืนฐานของทางสายกลางและความไม ประมาท คาํ นงึ ถึงความพอประมาณ การมเี หตผุ ล การสรา งภมู ิคมุ กันทดี่ ตี อตนเองตลอดจนใชความรู และคณุ ธรรมเปน พ้นื ฐานในการดํารงชวี ติ ท่สี ําคญั จะตองมีสติ ปญญาและความขยนั หม่ันเพยี ร ซึง่ จะ นาํ ไปสคู วามสุขในการดาํ เนนิ ชวี ิตอยา งแทจ ริง ผลการเรียนรูท ี่คาดหวัง อธิบายแนวคิด หลักการ ความหมาย ความสาํ คัญ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได ขอบขายเนื้อหา ความเปน มา ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความหมาย ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เรอ่ื งท่ี 1 หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ความสาํ คญั ของเศรษฐกจิ พอเพียง เรื่องที่ 2 เรอ่ื งท่ี 3 เรือ่ งท่ี 4

เรือ่ งที่ 1 ความเปน มาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน แนวทางการดาํ เนนิ ชวี ติ และวถิ ปี ฏบิ ตั ทิ พ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทรงมีพระราชดํารัสชแ้ี นะแกพ สกนิกรชาวไทยมานานกวา 30 ป ดงั จะเห็นไดวา ปรากฏความหมายเปน เชิง นัยเปน ครัง้ แรกในพระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู วั ในป พ.ศ. 2517 ที่ พระองคไดทรงเนนยํา้ แนวทางการพฒั นาบนหลกั แนวคดิ ที่พึ่งตนเอง เพ่อื ใหเกดิ ความพอมีกิน พอใชของคน สว นใหญ โดยใชหลกั ความพอประมาณ การคํานึงถงึ การมีเหตุผล การสรา งภูมิคมุ กนั ทด่ี ใี นตัวเอง และทรงเตอื น สติประชาชนคนไทยไมใหประมาท ตระหนักถงึ การพัฒนาอยา งเปน ขั้นเปน ตอนทีถ่ กู ตองตามหลกั วิชา และการ มคี ณุ ธรรมเปน กรอบในการปฏิบัติและการดํารงชีวติ ในชวงทป่ี ระเทศไทยประสบกบั ภาวะวิกฤติเศรษฐกจิ ในป พ.ศ. 2540 นับเปนบทเรยี นสําคญั ท่ีทาํ ให ประชาชนเขาใจถงึ ผลจาการพัฒนา ท่ีไมคาํ นึงถึงระดับความเหมาะสมกับศักยภาพของประเทศ พง่ึ พงิ ความรู เงนิ ลงทนุ จากภายนอกประเทศเปนหลัก โดยไมไดสรางความมัน่ คงและเขม แขง็ หรอื สรางภมู ิคุม กนั ที่ดีภายใน ประเทศ ใหสามารถพรอมรับความเส่ยี งจากความผนั ผวนของปจ จยั ภายในและภายนอกจนเกิดวิกฤตการณทาง เศรษฐกจิ คร้ังใหญสงผลกระทบอยา งรุนแรงตอสังคมไทย รัฐบาลตระหนกั ถงึ ความสาํ คญั ในการแกไขปญ หา ดังกลา วใหเ กดิ การพฒั นาทีย่ งั่ ยนื ในสังคมไทยอยางเปนระบบ ดวยการกาํ หนดนโยบายดานการศึกษา โดยนํา ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาเปน แนวทางในการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทกุ ระดบั ใชค ุณธรรม เปน พน้ื ฐานของกระบวนการเรียนรทู เ่ี ชอื่ มโยงความรว มมอื ระหวางสถาบนั การศกึ ษา สถาบันครอบครวั ชมุ ชน สถาบนั ศาสนา ใหม สี ว นรวมในการจดั การศึกษา เพ่ือใหผ เู รยี นเกดิ ทกั ษะความรู ทักษะ และเจตคติ สามารถนาํ ไปประยกุ ตใชใ นชวี ิตประจําวันไดอยางสมดลุ และยงั่ ยืน เร่ืองที่ 2 ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี ง คืออะไร เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน ปรัชญาชีถ้ งึ แนวทางการดาํ รงอยแู ละปฏบิ ตั ิตนของประชาชนในทุกระดบั ตง้ั แตค รอบครวั ระดบั ชมุ ชนจนถงึ ระดบั รฐั ทง้ั ในการพฒั นาและการบรหิ ารประเทศใหด าํ เนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพือ่ ใหกา วทันตอยุคโลกาภิวัตนความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความ มีเหตผุ ล รวมถงึ ความจาํ เปน ทต่ี อ งมีระบบคุมกันในตวั ทด่ี พี อสมควรตอการมีผลกระทบใดๆ อนั เกิดจากการ เปลย่ี นแปลงทั้งภายนอกและภายในทัง้ นี้ จะตองอาศยั ความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวัง อยา ง ยงิ่ ในการนําวชิ าการตา งๆ มาใชใ นการวางแผน และการดาํ เนินการทุกขั้นตอนและขณะเดียวกัน จะตอ งเสรมิ สรางพนื้ ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจา หนาทีข่ องรัฐ นกั ทฤษฎี และนักธรุ กจิ ในทกุ ระดบั ใหมสี ํานึก ในคณุ ธรรม ความซอ่ื สตั ยสจุ รติ และใหมคี วามรอบรทู ี่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน มีความเพยี ร พยายามมีสติปญ ญา และความรอบคอบ เพ่ือใหส มดลุ และพรอมตอการรองรบั ความเปลย่ี นแปลงอยา งรวดเร็ว และกวา งขวางทง้ั ทางดานวตั ถุ สังคม ส่งิ แวดลอ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี 2 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดาํ เนนิ ชีวติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับประถมศึกษา (ทช 11001)

ความพอเพียง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถึงความจําเปนทต่ี อ งมรี ะบบภมู ิคมุ กันในตวั ทดี่ พี อสมควรตอ การมีผลกระทบใดๆ อันเกดิ จาการเปล่ยี นแปลงท้งั ภายนอก และภายใน ท้งั น้ีจะตอง อาศยั ความรอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวังอยา งย่งิ ในการนําวชิ าการตางๆ มาใชในการวางแผน และ การดาํ เนนิ การทกุ ข้นั ตอน และขณะเดยี วกันจะตอ งเสรมิ สรางพนื้ ฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาท่ี ของรฐั นกั ทฤษฎี และนกั ธุรกจิ ในทกุ ระดบั ใหมีสํานกึ ในคุณธรรม ความซือ่ สัตยส ุจริต และใหม ีความรอบรู ท่ีเหมาะสม ดําเนนิ ชวี ติ ดวยความอดทน ความเพยี ร มสี ติ ปญ ญา และความรอบคอบ เพ่อื ใหสมดลุ และพรอ ม ตอ การรองรบั การเปลี่ยนแปลงอยา งรวดเร็วและกวา งขวาง ทงั้ ทางดา นวตั ถุ สงั คม ส่งิ แวดลอม และวฒั นธรรม จากโลกภายนอกไดเ ปนอยา งดี เรอื่ งที่ 3 หลักแนวคิดของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน ปรชั ญาช้ีแนะแนวทางการดาํ รงอยแู ละปฏบิ ตั ิตนในทางที่ ควรจะเปน โดยมีพืน้ ฐานมาจากวถิ ีชวี ิต ดั้งเดมิ ของสงั คมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดต ลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงในระบบทมี่ ีการเปล่ยี น แผลงอยตู ลอดเวลา มงุ เนนการรอดพนจากภยั และวกิ ฤต เพ่ือ ความมน่ั คงและ ความยัง่ ยนื ของการพฒั นา คณุ ลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับ โดยเนนการปฏิบัติบน ทางสายกลาง และการพฒั นาตนอยา งเปนข้ันตอน ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมคิ ุมกัน เงอื่ นไขความรู เงื่อนไข คุณธรรม (รอบรู รอบคอบ ระมดั ระวงั ) (ซื่อสัตย สุจรติ ขยัน อดทน แบงเปน ) ชีวิต เศรษฐกจิ สงั คม สมดลุ ม่ันคง ย่งั ยืน แผนภาพแสดงแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับประถมศึกษา (ทช 11001) 3

ความพอเพียงจะตองประกอบดวย 3 หวง 2 เง่ือนไข ดงั นี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมน อ ยเกินไปและไมมากเกินไปโดยไมเ บียดเบียนตนเองและ ผอู ่ืน เชน การผลติ และการบรโิ ภคทอ่ี ยูในระดับพอประมาณ ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การตดั สนิ ใจเกยี่ วกับระดบั ของความพอเพียงน้ัน จะตองเปนไปอยางมเี หตผุ ล โดยพจิ ารณาจากเหตปุ จจยั ท่เี กยี่ วขอ งตลอดจนคาํ นงึ ถงึ ผลทค่ี าดวาจะเกดิ ขน้ึ จาการกระทํานั้นๆ อยา งรอบคอบ การมีภูมคิ ุมกันท่ดี ใี นตัว หมายถึง การเตรยี มตวั ใหพ รอมรบั ผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดานตา งๆ ที่ จะเกิดขึน้ โดยคํานงึ ถึงความเปน ไปไดของสถานการณต างๆ ที่คาดวา จะเกิดข้นึ ในอนาคตทง้ั ใกลและไกล เงอื่ นไข การตดั สินใจและการดาํ เนนิ กจิ กรรมตางๆ ใหอ ยใู นระดับพอเพยี งนัน้ ตอ งอาศัยทง้ั ความรู และคุณธรรม เปนพื้นฐาน กลา วคือ เงอ่ื นไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกยี่ วกับวชิ าการตางๆ ทเี่ กย่ี วขอ งอยางรอบดา นความ รอบคอบทจี่ ะนําความรเู หลา นนั้ มาพิจารณาใหเช่อื งโยงกัน เพอื่ ประกอบการวางแผน และความระมดั ระวงั ใน ขนั้ ปฏบิ ตั ิ เง่อื นไขคณุ ธรรม ทจี่ ะตองเสริมสรา งประกอบดวย มตี ระหนกั ในคุณธรรม มีความซ่ือสัตยสุจริตและ มีความอดทน มีความเพียร ใชสตปิ ญญาในการดาํ เนนิ ชวี ติ เรือ่ งท่ี 4 ความสาํ คัญของเศรษฐกิจพอเพยี ง ความสาํ คญั ของเศรษฐกิจพอเพียงท่สี ง ผลตอ ประชาชน ดังนี้ 1. เกดิ แนวคดิ ทม่ี งุ เนน พง่ึ พาตนเองเปน หลกั ทม่ี อี ยใู นตวั เองเพอ่ื นาํ มาพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ใหเ กดิ ประโยชน สูงสดุ ตอ ตนเอง ครอบครวั และชุมชนซ่ึงจะทาํ ใหสามารถดํารงชวี ติ อยูไดอ ยา งยั่งยนื 2. ทําใหม ีความเขมแข็งในจิตใจ โดยยดึ หลักการพงึ่ พาตนเองเปนหลัก เมอื่ พงึ่ ตนเองไดแลว ทําใหจ ติ ใจ สงบเขม แข็ง ไมว ติ กกังวล 3. เกิดความรวมมือ ความกระตือรอื รน ความสามคั คีในชุมชน และประเทศชาติ 4. เกิดการมสี ว นรวม คดิ วเิ คราะห แกปญหารว มกนั 5. ทําใหม คี วามเปนอยู พอดี พอกิน ลดปญหาความยากจน 4 หนังสือเรียนสาระทักษะการดาํ เนินชีวติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศึกษา (ทช 11001)

“เม่ือสงั คมไทยเปนสังคมเศรษฐกจิ พอเพยี ง คนไทยดํารงชวี ติ บนทางสายกลาง มสี ามหวงสําคญั คลองใจในการดําเนินชวี ติ ไดแ ก ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การมภี ูมิคมุ กัน ในตวั ที่ดี มีสองเงื่อนไข กาํ กับชวี ติ อยางเครงครดั ไดแก เงอ่ื นไขความรูทปี่ ระกอบดวย รอบรู รอบคอบ ระมัดระวงั เง่อื นไขคุณธรรม ซ่ึงมีความ ซ่อื สตั ยสจุ รติ อดทน เพยี ร มสี ติปญญา อยูใ นชีวติ ชีวติ มแี ตความสขุ เศรษฐกจิ สดใส สังคม อุน ใจ สง่ิ แวดลอม อดุ มสมบรู ณ วัฒนธรรม เขมแข็งยง่ั ยืน” หนงั สือเรียนสาระทักษะการดาํ เนนิ ชีวิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ระดับประถมศกึ ษา (ทช 11001) 5

กิจกรรมที่ 1 ตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. เศรษฐกจิ พอเพียง หมายถงึ อะไร ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 2. หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี งเปนอยางไร ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 3. เศรษฐกจิ พอเพียงมีความสาํ คัญอยางไร ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 4. เศรษฐกจิ พอเพียงนํามาปรบั ใชกบั ผูเ รียนไดหรือไม อยา งไร ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 6 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับประถมศกึ ษา (ทช 11001)

บทที่ 2 ปฏบิ ตั ติ นดี มีความพอเพียง สาระสําคญั การปฏบิ ัติตนตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดังพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัวทรง มพี ระราชดาํ รสั นํามาปฏบิ ตั ิตนคอื ยึดความประหยดั ประกอบอาชพี ดว ยความถกู ตอ ง สุจริต เลิกแกง แยง ผลประโยชนและแขง ขนั กันในทางการคา ไมห ยุดนง่ิ ที่จะหาทางใหชวี ิตหลุดพน จากความทกุ ขยากและ ปฏบิ ัติตนในแนวทางท่ดี ี ลด ละสิ่งชวั่ ใหหมดสิ้นไป ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง 1. เหน็ คุณคาและปฏบิ ัตติ ามหลักเศรษฐกจิ พอเพียง 2. บอกแนวทางในการนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใ ชในการดาํ เนินชีวิตได ขอบขา ยเนื้อหา เรื่องที่ 1 วิธคี ดิ วิธปี ฏิบัติ วธิ ีใหคุณคาตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง เรือ่ งที่ 2 การปฏบิ ัตติ นตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เรอ่ื งท่ี 1 วธิ คี ดิ วิธปี ฏบิ ตั ิ วธิ ีใหค ณุ คาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง วธิ คี ดิ การจะนําปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใ ชใหไดผลดีในการดําเนนิ ชวี ติ จาํ เปนจะตอ ง เริ่มตนจากการมคี วามรู ความเขา ใจที่ถูกตองวาเศรษฐกจิ พอเพียงหมายถงึ อะไร และมหี ลักการสาํ คญั อะไรบาง ทจ่ี ะนาํ ไปใชเ ปน แนวทางสูการปฏบิ ตั ิ ตลอดจนเห็นถึงประโยชนจากการทีจ่ ะนาํ ไปใชในชีวติ ประจาํ วันเพอ่ื ให รอดพนและสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคงและยงั่ ยนื วิธีปฏบิ ัติ หลังจากท่ีไดท าํ ความเขาใจอยางถูกตอ งแลว ก็จําเปนจะตอ งทดลองนาํ มาประยุกตใชก ับตน เอง ทัง้ ในชวี ิตประจําวนั และการดาํ เนินชีวติ สามารถอยรู วมกับผอู ื่นไดอยา งมคี วามสุข โดยคาํ นึงถึงการพ่ึงพาตน เองเปนเบ้อื งตน การทาํ อะไรทีไ่ มสดุ โดงไปขา งใดขางหน่ึง การใชเหตุผลเปนพน้ื ฐานในการตดั สนิ ใจและการ กระทําตาง ๆ ตลอดการสรางภูมคิ มุ กันที่ดี เพือ่ พรอมรับตอการเปลีย่ นแปลงจะไมทาํ อะไรท่ีเสีย่ งจนเกนิ ไปจน ทําใหต นเองหรอื คนรอบขา งเดอื ดรอ นในภายหลัง การใฝร อู ยางตอ เนอ่ื งและใชความรูดว ยความรอบคอบและ ระมดั ระวัง ความซ่ือสัตย ความไมโลภ ความรจู กั พอ ความขยันหมั่นเพยี ร การไมเ บยี ดเบียนกัน การรูจ กั แบงปน และชว ยเหลือซ่งึ กันและกัน อยางไรก็ตาม การทจ่ี ะสรางภาวะความรคู วามเขา ใจทีถ่ ูกตอ งอยา งลึกซง้ึ เกยี่ วกับเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอื่ ใหส ามารถนาํ ไปประยุกตใ ชไดน้นั จาํ เปน ท่ีจะตองเรียนรูดว ยตนเองหรือรวมกบั ผูอน่ื วิธีการใหค ณุ คา การเรยี นรูจากการปฏบิ ัติ การแลกเปลี่ยนขอคิดเหน็ และประสบการณระหวา งผูทีม่ ี ความสนใจรวมกันจะทําใหสามารถตระหนักถึงประโยชนและความสุขที่จะไดรับจากการนําหลักเศรษฐกิจพอ เพียงไปใช แลว เกิดการปรับเปลยี่ น ความคดิ เหน็ และนอ มนาํ เอาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชในการดําเนนิ ชวี ติ ตอ ไป จิตสํานึกที่ตระหนักถึงความสุขท่ีเกิดจากความพอใจในการใชชีวิตอยางพอดีและรูจักระดับความพอ เพียงจะนาํ ไปสูการประกอบสัมมาอาชพี หาเล้ยี งตนเองอยางถูกตอง ไมใ หอดอยากจนเบยี ดเบยี นตนเอง หรือไม เกิดความโลภจนเบียดเบยี นผอู น่ื แตม คี วามพอเพยี งท่จี ะคดิ เผอ่ื แผแบง ปนไปยังคนอ่ืน ๆ ในชมุ ชนหรือองคก ร และสงั คมได อยางไรก็ตาม ระดับความพอเพียงของแตละคนจะไมเทากันหรอื ความพอเพยี งของคนคนเดียวกันแต ตา งเวลากอ็ าจเปลีย่ นแปลงไปได แลวแตเง่อื นไขภายในและภายนอก ตลอดจนสภาพแวดลอมทีม่ ผี ลตอ ความ พอเพยี ง เรอื่ งท่ี 2 การปฏิบัตติ นตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง * ในฐานะทเ่ี ปน พสกนกิ รชาวไทย จงึ ควรนอมนําปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจาอยู หวั ภูมิพลอดลุ ยเดช ทรงมพี ระราชดํารสั มาประพฤตปิ ฏิบัติตน ดงั น้ี 1. ยดึ ความประหยดั ตัดทอนคาใชจ า ยในทุกดา น ลดละความฟมุ เฟอยในการดํารงชวี ิตอยางจรงิ จงั ดัง กระแสกระราชดํารัส ความวา “ ...ความเปนอยูทต่ี องไมฟมุ เฟอ ย ตอ งประหยัดไปในทางที่ถกู ตอง...” 2. ยึดถอื การประกอบอาชพี ดวยความถูกตองสุจรติ แมจะตกอยใู นภาวะขาดแคลนในการดาํ รงชวี ติ ก็ตาม ดงั กระแสพระราชดํารัส ความวา 8 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดําเนินชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับประถมศกึ ษา (ทช 11001)

“...ความเจรญิ ของคนทง้ั หลายยอ มเกดิ จากการประพฤตชิ อบและการหาเลย้ี งชพี ชอบเปน หลกั สาํ คญั ...” 3. ละเลิกการแกง แยง ผลประโยชนแ ละแขงขันกันในทางการคา ขาย ประกอบอาชีพแบบตอ สูก นั อยา ง รนุ แรงดังอดีต ดังกระแสพระราชดาํ รสั ในเรอื่ งน้ี ความวา “...ความสุขความเจรญิ อนั แทจ ริงนนั้ หมายถึงความสขุ ความเจรญิ ท่บี คุ คลแสวงหาไดด วยความเปน ธรรม ทั้งในเจตนาและการกระทํา ไมใ ชไ ดมาดว ยความบังเอิญหรอื ดวยการแกง แยง เบียดบังมาจากผูอืน่ ...” 4. ไมหยุดน่ิงที่จะหาทางใหชีวิตหลุดพนจากความทุกขยากครั้งน้ีโดยตองขวนขวายใฝหาความรูให เกิดมีรายไดเ พม่ิ พูนขนึ้ จนถึงขั้นพอเพยี งเปน เปนเปาหมายสําคญั ดงั กระแสพระราชดํารสั ตอนหน่ึงท่ใี หค วาม หมายชดั เจนวา “...การทต่ี อ งการใหท กุ คนพยายามทจ่ี ะหาความรูและสรา งตนเองใหม น่ั คงน้ีเพอ่ื ตนเองเพอ่ื จะใหต นเอง มคี วามเปน อยทู ก่ี า วหนา ทม่ี คี วามสขุ พอมพี อกนิ เปน ขน้ั หนง่ึ และขน้ั ตอ ไปกค็ อื การมเี กยี รตวิ า ยนื ไดด ว ยตนเอง...” 5. ปฏิบตั ิตนในแนวทางท่ดี ี ลด ละ สง่ิ ชวั่ ใหหมดสิน้ ไป ทัง้ ดว ยสงั คมไทยทล่ี ม สลายลงในครง้ั นี้ เพราะยังมีบุคคลจาํ นวนมใิ ชน อยทด่ี ําเนินการโดยปราศจากละลายแผนดิน ดังกระแสพระราชดํารัส ความวา “... พยายามไมกอความชวั่ ใหเปนเครื่องทําลายตัว ทําลายผอู ื่น พยายามลด ละความชัว่ ทีต่ วั เองมอี ยู พยายามกอความดใี หแกตัวอยูเ สมอ พยายามรกั ษาและเพิ่มพูนความดที ี่มอี ยูน ้ันใหง อกงามสมบรู ณข น้ึ ...” ----------------------------------- * จากหนังสอื เศรษฐกจิ พอเพยี ง สาํ นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงานโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดําริ หนา 27 พิมพครัง้ ท่ี 3 กรกฎาคม 2548 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดําเนินชีวติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับประถมศึกษา (ทช 11001) 9

หลกั ของความประมาณ (พอ ดี) 5 ประการ (จากขอ สรุปของสภาพฒั น) 1. พอดีดานจติ ใจ เขม แข็ง มีจติ สาํ นกึ ทด่ี ี เอ้ืออาทร ประนปี ระนอม นึกถงึ ประโยชนส ว นรวม 2. พอดีดานสงั คม ชวยเหลอื เกือ้ กูล รูจกั สามัคคี สรา งความเขมแข็งใหครอบครวั และชุมชน 3. พอดดี านทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม รจู กั ใชและจัดการอยางฉลาด และรอบคอบ เกิดความยง่ั ยืนสงู สดุ 4. พอดดี านเทคโนโลยี รูจักใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคลองตอความตองการเปน ประโยชน สภาพแวดลอมและเกิดประโยชนตอสวนรวมและพฒั นาจากภมู ปิ ญญาชาวบา นกอ น 5. พอดดี า นเศรษฐกิจ เพม่ิ รายได ลดรายจาย ดาํ รงชวี ติ อยางพอควร พออยู พอกนิ สมควรตามอตั ภาพและฐานะของตน หลักของความมีเหตุผล 1. ยึดความประหยดั ตดั ทอนคาใชจ ายในทุกดา น ลดความฟุม เฟอ ยในการดํารงชวี ติ 2. ยดึ ถือการประกอบอาชีพดว ยความถูกตองสจุ ริต แมจะตกอยูในภาวะขาดแคลนในการดาํ รงชวี ิต 3. ละเลกิ การแกงแยงผลประโยชน และแขง ขันในทางการคาขายประกอบอาชพี แบบตอ สกู ัน อยา งรุนแรง 4. ไมห ยุดนงิ่ ทีห่ าทางในชีวิตใหหลุดพนจากความทุกขยาก 5. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลด เลิก สง่ิ ยว่ั ยุกิเลสใหหมดสน้ิ ไป ไมกอ ความชวั่ ใหเปนเครือ่ งทาํ ลาย ตัวเอง ทาํ ลายผอู ่ืน หลักของการมีภมู คิ ุม กัน 1. มคี วามรู รอบคอบ และระมดั ระวงั 2. มีคุณธรรม ซอ่ื สัตยสุจรติ ขยัน อดทนและแบง ปน การปฏิบตั ติ นตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งเปน แบบอยางและแนวทางใหบคุ คล ครอบครัว ชุมชน นาํ มาประยุกต ใชใ นการดํารงชวี ติ ดังน้ี 1. ยดึ หลักความประหยัด ไมใชจายฟุมเฟอย ใชในสิ่งทจ่ี าํ เปนและรูจกั เก็บออมไวใ ชในอนาคต 2. ยึดหลกั ความซอ่ื สัตยส ุจรติ ความถกู ตองในการประกอบอาชีพและการดาํ เนินชีวิตไมเห็นแกต วั 3. ยดึ หลกั ความไมแ กงแยง ชิงดีกัน รูจกั การพึ่งพากนั ไมเ อารดั เอาเปรยี บและแขง ขนั โดยใชวิธีรุนแรง 4. ยดึ หลกั การใฝร ใู ฝเ รยี น หมน่ั ศกึ ษาหาความรู ใชส ตปิ ญญาในการดําเนินชวี ติ การประกอบอาชีพ เพื่อใหมีรายไดไ วใชจา ย โดยยดึ ความพอเพียงเปนหลัก 5. ยดึ หลักการทาํ ความดี ลดละความชั่วและส่ิงอบายมขุ ท้ังปวงเพือ่ ใหต นเอง ครอบครวั และสังคม อยอู ยางเปน สขุ 10 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดําเนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั ประถมศกึ ษา (ทช 11001)

กจิ กรรมที่ 2 ใหผ ูเรยี นทาํ กิจกรรมตอไปน้ี 1) การดําเนนิ ชวี ติ ของผูเรยี นสอดคลองกับหลกั แนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยางไร 1. ความพอประมาณ ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 2. ความมเี หตผุ ล ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 3. ภมู คิ ุมกนั ในตัวที่ดี ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 4. เงอ่ื นไขความรู ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. หนังสอื เรียนสาระทักษะการดาํ เนินชีวิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั ประถมศึกษา (ทช 11001) 11



บทที่ 3 รูใ ช รจู าย สาระสาํ คัญ เมอื่ เราประกอบอาชพี มรี ายได การนาํ เงนิ ไปใชจายส่งิ ใดตอ งจดทกุ อยาง ทุกคร้งั ทจ่ี ายออกไป การบนั ทกึ รายรับ รายจา ยเปน หลกั ฐาน แสดงแหลงทีม่ าของรายได รายจายและเงนิ ออม อกี ทง้ั เปน การ เตือนตนเองและครอบครัววาในแตล ะเดอื นมีคาใชจายอะไรบางทไ่ี มจ ําเปน รายการใดสามารถตดั ท้ิงไป ไดในเดือนตอ ไป ครอบครวั ควรเริ่มตนจดรายรับ-รายจา ยจนเปนนิสยั ครอบครวั เราจะไดไมยากจน ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวัง 1. วางแผนการใชจ า ยของตนเองและครอบครวั ได 2. วิเคราะหสภาพรายรบั -รายจายของครอบครวั ได 3. บนั ทกึ รายรบั -รายจายของตนเองและครอบครัวได 4. อธิบายวธิ ีการลดรายจา ยและเพิ่มรายได 5. อธิบายวธิ กี ารออมเงนิ ได ขอบขายเนอื้ หา การวางแผนการใชจ า ย การบนั ทึกรายรับ-รายจา ยของตนเองและครอบครวั เรื่องที่ 1 การลดรายจา ยในครวั เรอื น การออม เรื่องท่ี 2 เรือ่ งที่ 3 เร่ืองท่ี 4

เรื่องท่ี 1 การวางแผนการใชจ าย กอ นทจ่ี ะใชจา ยเงิน เราควรจดั สรรเงินท่ีมอี ยใู หตรงกับความตอ งการ โดยการวางแผนการใชจายเงนิ ไวก อน การวางแผนการใชจ ายเงนิ หมายถึง การทบ่ี ุคคลจดั สรรรายรบั -รายจาย ของตนเอง ซึง่ มแี นวทางใน การปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1. การหารายได ทกุ คนตองประกอบอาชพี เพอ่ื ใหมรี ายไดประจําและหากมีเวลาวา งควรหารายได เสริมเพ่อื จะไดม ีรายไดพ อกบั การใชจายในการดํารงชีพ 2. การใชจ า ยใหพิจารณาใชจายในสง่ิ ที่จําเปน จรงิ ๆ เชน ใชจา ยเปนคาอาหาร เครื่องนุง หม ท่อี ยูอาศัย ยารักษาโรค โดยคาํ นึงถงึ คุณคาของส่งิ ทซี่ ้อื วามคี ุณภาพและคมุ คาเงนิ ไมใ ชซือ้ เพราะคาํ โฆษณาชวนช่อื การประหยดั ควรรูจกั เก็บออมเงนิ ไวใชจา ยเมือ่ คราวจาํ เปน เชน เมื่อเจบ็ ปวย โดยวางแผนใหมีรายจาย นอ ยกวารายไดม ากท่สี ดุ กจ็ ะมีเงนิ เก็บ เคร่ืองใชท ่ีชํารุดเสยี หาย ควรซอ มแซมใหใ ชไดอยเู สมอ ประหยดั พลังงาน และทนุถนอมเคร่ืองใชใหม อี ายุการใชงานไดนาน การเปนหน้โี ดยไมจ ําเปน เพราะยมื เงนิ มาใชจา ยสุรยุ สุรา ย เชน การยืมเงนิ มาจดั งานเล้ยี งในประเพณี ตาง ๆ จะทาํ ใหชีวิตมีความลาํ บาก สรางความเดือดรอนใหต นเองและครอบครวั แตถาหากเปนหนีเ้ พราะนําเงนิ มาลงทุนในกจิ การทสี่ ามารถใหผลคมุ คา ก็อาจจะเปนหน้ีได 3. การบนั ทกึ รายรับ-รายจาย เปน วธิ กี ารวางแผนท่ีสําคญั การบนั ทกึ รายรับ-รายจา ย ในชีวิตประจําวัน เพือ่ ใหท ราบวาในวนั หน่งึ สัปดาหห น่ึง เดอื นหน่ึง เรามีรายไดจากอะไร เทา ไรและจา ยอะไร อยางไร ควรจะวาง แนวทางในการใชจายอยางไรจึงจะพอและท่ีเหลือสะสมไวเ ปน ทนุ หรอื เกบ็ สะสมไวใ ชจ ายในยามจาํ เปน การ บนั ทกึ รายรบั -รายจาย จึงเปนขอ มูลหลักฐานแสดงใหเ หน็ แหลง ทม่ี าของรายไดแ ละกไ็ ปของรายจาย ซึง่ จะนาํ ไป สูการตง้ั เปา หมายลดรายจา ย การเพมิ่ รายไดแ ละการออมตอไป เรอื่ งที่ 2 การบันทกึ รายรับ-รายจายของตนเองและครอบครวั เมอื่ เรามีรายไดและนาํ เงนิ รายไดไปใชจา ยซ้อื ส่งิ ทจ่ี ําเปน ส่ิงใดที่มรี าคาสงู ก็ไมจ าํ เปน ตองซ้อื ทนั ทแี ต ใหตัง้ เปา หมายไวว า จะเกบ็ หอมรอบริบไวจนมากพอแลว จึงซื้อ ดงั นัน้ เราจงึ ควรวางแผนการใชจา ยไวลว งหนาวา เราตองซ้ืออะไร เทา ไหร เมอ่ื ใด เราคงเคยไดย นิ ขาวชาวนาขายทน่ี าไดเงนิ เปนแสนเปนลา น แตเม่ือเวลาผานไปไมกปี่  เขากลับไมเหลอื เงนิ เลย ตอ งไปเชาทน่ี าของคนอืน่ ทาํ กนิ เรื่องดงั กลา วเปน ตวั อยางของบุคคลที่ไมม กี ารวางแผนการใชเงนิ ดัง นน้ั กอ นทเ่ี ราจะใชจ ายเงินเราควรจัดสรรเงินที่มีอยูใหตรงกบั ความตอ งการดว ยการวางแผนไว วิธีการวางแผนที่ สําคญั วธิ กี ารหนึง่ คือ การบันทกึ รายรบั -รายจา ย “หากอยากมีชวี ติ ทม่ี ัง่ คง่ั สมบูรณ ตอ งลงมือบันทกึ รายรบั -รายจายตั้งแตบัดน้ี” 14 หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการดําเนนิ ชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั ประถมศกึ ษา (ทช 11001)

ขอ ควรคํานงึ ในการใชจายเงนิ และจดบันทึกรายรบั รายจาย 1. กาํ หนดความคาดหวังและเปา หมายวาจดบันทกึ เพ่ืออะไร 2. วางแผนรบั -จา ยกอนใชเงนิ 3. กอนซื้อสิ่งใดตอ งพจิ ารณาใหดีกอนวาส่งิ นั้นจําเปนหรือไม 4. จดบันทกึ ทุกคร้งั ทุกวนั ทกุ บาท ทกุ สตางคท่มี กี ารรบั และจายเงิน 5. หม่ันตรวจสอบบัญชวี า มีรายการใดทีใ่ ชเ งนิ ไมเ หมาะสม หากมีตอ งแกไขทันที 6. เกบ็ ใบเสรจ็ หรอื หลักฐานการรับเงนิ -จายเงินไวเพ่ือตรวจสอบกับบญั ชีทจ่ี ด “การจดบันทึกรายรับ-รายจา ย” หรอื การจดบญั ชี จะชว ยใหเ ราทราบวาเรามรี ายรบั มากนอยแคไ หน เราสามารถลดคา ใชจ า ยรายการใดออกไปไดบาง “การจดบญั ช”ี ทําใหเ ราสรา งสมดลุ ระหวางรายไดและรายจาย ท่เี หมาะสมแกฐานะการเงนิ ของเราไดเ ปนอยางดี การจดบญั ชคี รวั เรอื น เปน การจดั ทาํ บญั ชรี ายรบั รายจา ยของครอบครวั เราสามารถจดั ทาํ บญั ชแี บบทง่ี า ย ผทู ไ่ี มเคยมคี วามรูเรอ่ื ง การบัญชีมากอ นกท็ าํ เองไดโ ดยการแยกรายการออกเปน รายรับและรายจาย รายรบั ไดแ ก เงินเดือน คา จา ง ผลตอบแทนท่ีไดจากการทาํ งาน เงนิ ทไ่ี ดจากการขาย ผลผลติ การเกษตร หรอื ทรพั ยส นิ เปน ตน รายจายไดแ ก คา ใชจา ยเพื่อซ้ือสนิ คาสําหรับในการอปุ โภค บรโิ ภค คา นํา้ ประปา คาไฟฟา คา โทรศพั ท คา ซอ ม แซม คา อปุ กรณเ ครือ่ งใช เคร่อื งไม เครอื่ งมอื คารถ คาอาหาร คา เชา เปนตน ตัวอยา ง รายรับ รายจา ย 2,500 บาท 500 บาท 1 ม.ี ค. 52 ขายผลผลิตทางการเกษตร 300 บาท 5 มี.ค. 52 จา ยเงินซ้ือของใชใ นบา น 250 บาท 7 ม.ค. 52 จา ยเงินซอ้ื ขา วสาร 1,250 บาท 10 ม.ี ค. 52 จายคา นํา้ คาไฟ 300 บาท 15 ม.ี ค. 52 ขายผลผลิตทางการเกษตร 200 บาท 20 มี.ค. 52 จายคา ซือ้ ปุย 25 ม.ี ค. 52 จายคาอาหาร หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชวี ติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศึกษา (ทช 11001) 15

ตวั อยาง การจดบญั ชีครัวเรอื น วนั เดอื น ปี รายการ รายรบั รายจา ย คงเหลือ 2,500 - 2,500 1 ม.ค. 52 ขายผลผลติ 500 - 2,000 1,200 - 300 - 1,700 5 ม.ค. 52 ซ้อื ของใช 3,700 - 250 - 1,450 2,650 7 ม.ค. 52 ซือ้ ขา วสาร 300 - 2,350 200 - 2,150 10 ม.ค. 52 จา ยคานํา้ คาไฟ 1,500 - 2,150 2,150 15 ม.ค. 52 ขายผลผลิตทางการเกษตร 20 ม.ค. 52 จา ยคาซือ้ ปุย 25 ม.ค. 52 จา ยคาอาหาร รวม รายรบั สงู กวารายจา ย การบันทึกรายรับ-รายจาย หรือการจดบัญชีทั้งของตนเองและครอบครัวมีความสําคัญตอชีวิตของ คนไทยเปน อยางยิง่ ดังพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานแกคณะบคุ คลตา ง ๆ ทเี่ ขาเฝา ถวายพระพรชัยมงคลเน่อื งในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา วนั ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 ณ ศาลาดุสิ ตาลยั พระราชวงั ดสุ ติ ความวา “...เม่ือ 40 กวาป มผี หู นงึ่ เปนขาราชการช้ันผนู อ ยมาขอเงิน ท่จี ริงไดเ คยใหเงิน เขาเล็ก ๆ นอ ย ๆ แตเ ขาบอกวา ไมพ อเขากม็ าขอยมื เงิน ขอกเู งินก็บอก...เอา ให...แตข อใหเขาทําบัญชีรายรบั -ราย จาย รายรับก็คือ เงินเดือนของเขาและรายรับทอี่ ดุ หนุนเขา สว นรายจา ยก็เปน ของทใี่ ชใ นครอบครัว... ทีหลงั เขา ทาํ ...ตอ มา เขาทําบญั ชมี าไมขาดทนุ สวนรายจา ยกเ็ ปน ของที่ใชใ นครอบครวั ...ทีหลัง เขาทํา...ตอ มา เขาทาํ บญั ชี มาไมขาดทุน แลว เขาสามารถทจ่ี ะมีเงินพอใช เพราะวาบอกใหเ ขาทราบวา มเี งินเดือนเทาไหรจะตองใชภ ายใน เงนิ เดอื นของเขา...” 16 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดาํ เนินชวี ติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั ประถมศึกษา (ทช 11001)

บคุ คลตัวอยาง การสรา งชีวติ ใหมอ ยา งพอเพียงดวยบัญชีครวั เรือน นายเจน ชใู จ ราษฎร หมู 4 ตาํ บลพนมทวน จังหวดั กาญจนบุรี ผูประสบความสาํ เรจ็ จากการทาํ บัญชี ครัวเรอื น กลาววา “จบเพียงประถมศกึ ษาปที่ 4 พอแมย ากจน มอี าชีพทํานาเปนหลกั ตอมาไดร บั มรดกเปน ทีน่ า 10 ไร จงึ ทาํ นาเร่ือยมา แตกส็ ามารถสง ลกู เรียนสูง ๆ ได เนอ่ื งจากสรา งวนิ ยั ในการใชจายเงินอยา งมีระบบ มพี อ แมเปน แบบอยา งท่ดี ีในเร่อื งความมีระเบียบในการใชเ งินทองแตล ะบาทแตล ะสตางค โดยในสมัยพอ ใชถ า นหุง ขา ว เขียนคาใชจ า ยในแตล ะวนั ทีข่ า งฝาขา งบาน จึงจดจํามาปฏิบัติ เร่ิมจากจดบนั ทกึ ชว่ั โมงการทาํ งานวาภายใน 1 เดอื น มีความขยนั หรือข้เี กยี จมากนอ ยแคไ หน ภายหลงั มาทาํ บัญชกี ารใชจ ายในครัวเรือนในชวงทําไรน าสวน ผสม เม่อื ป 2528” กวา 20 ปท ีท่ าํ บญั ชคี รวั เรือนมาทาํ ใหทุกวนั น้ีมชี ีวติ ในครอบครัวอยูอ ยางมคี วามสขุ ปจ จบุ นั มีท่ีนารวม กวา 50 ไร โดยการซอื้ สะสมมา มีเงนิ ฝากธนาคาร โดยมีคตวิ า จากนํา้ ทตี่ กั มาจนเตม็ โอง เวลาน้ําพรอ งตองเติมให เต็ม ถา ปลอยใหน ํ้าแหงขอด ชีวติ ก็จะเหนอื่ ยจะทาํ ใหช ีวติ บ้นั ปลายลําบาก” นายเจนกลาว น่ันคือประโยชนที่เห็นไดชัดจากการทําบัญชีครัวเรือนท่ีไมเพียงแตจะชวยใหความเปนอยูของ ครอบครวั ดขี ึ้นเทา น้ัน แตย งั สรา งสังคมใชเ ปน ปกแผน สงผลไปถงึ เศรษฐกจิ อนั มัน่ คงของประเทศในอนาคตขา ง หนาอกี ดวย ------------------------------------ จตุพร สขุ อินทร/ ปญญา มงั กโรทัย เดลินวิ ส หนา 30 วันจันทรท ่ี 20 เมษายน พ.ศ. 2552 หนังสอื เรียนสาระทักษะการดาํ เนนิ ชวี ติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับประถมศกึ ษา (ทช 11001) 17

เรื่องท่ี 3 การลดรายจายในครวั เรือน การลดรายจายในครวั เรอื น ปญ หาเรื่องหนี้สนิ ในครอบครวั หรอื ปญ หารายรับไมพอกบั รายจาย เปน ปญหาทที่ ําใหป ระชาชนหนกั ใจ การปองกนั และแกไ ขปญ หาเรอื่ งหนสี้ ิน มีหลักงาย ๆ วาตอ งลดรายจา ยและ เพ่ิมรายไดใ หมากข้ึน การลดรายจายสามารถทาํ ไดโ ดยการสาํ รวจคาใชจายในเดอื นที่ผานมา แลว จดบันทกึ ดวู า ในครอบครวั มกี ารใชจายอะไรไปบา งและรายการใดท่ไี มจ ําเปนนา ตดั ออกไปได ก็ใหตดั ออกไปใหหมดในเดือน ถัดไปก็จะสามารถลดรายจา ยลงได แตท กุ คนในครอบครวั ตองชวยกนั เพราะถาคนหนึ่งประหยดั แตอกี คนยงั ใชจา ยฟุม เฟอยเหมือนเดิมก็คงไมไดผล ตอ งชี้แจงสมาชิกทกุ คนในบา น เมอ่ื ลดรายจา ยไดแลวก็เอารายรับของ ท้ังบา นมารวมกันดูวาจะพอกับรายจายหรือไม ถา พอและยังเหลือกค็ งตองเอาไปทยอยใชห น้ีและเก็บออมไวเ ผ่อื กรณีฉกุ เฉิน เชน การเจบ็ ปวย อุบัตเิ หตุ เปน ตน แตถ ารายไดยงั นอ ยกวา รายจายก็ตอ งชว ยกันคดิ วาจะไปหารายได เพมิ่ มาจากไหนอกี โดยสรุปการใชจายเงนิ มี 3 แบบ คือ 1. ใชต ามใจชอบเปนการใชไ ปเรอ่ื ย ๆ แลวแตว าตองการอะไรกซ็ อ้ื เงินหมดก็หยุดซอื้ 2. ใชต ามหมวดทีแ่ บงไว เชน - คาอาหารและคา เสือ้ ผา - คารักษาพยาบาล - คา ทาํ บุญกศุ ล - เกบ็ ออมไวใ ชใ นอนาคต ฉกุ เฉนิ - คา ศกึ ษาเลาเรียนของบุตร ฯลฯ 3. ใชตามแผนการใชทกี่ ําหนดไวล ว งหนาเปนการใชต ามโครงการทีไ่ ดวางแผนไวลว งหนาแลว นัน้ ซึ่ง เปน วธิ ีการที่ถูกตอ ง ซ่งึ สามารถนําหลกั การทางวิชาการมาใชในการปฏิบตั กิ ารวางแผนการใชจ า ยในครอบครวั ขอปฏิบตั ขิ องการใชจา ยภายในครอบครัว มีสง่ิ ที่พงึ ปฏบิ ัติ 3 ประการคอื - การทําบัญชีรายรับ-รายจา ย - การประหยดั - การออมทรพั ย ครอบครวั ตองมกี ารวางแผนจดั การรายรับ-รายจา ย เพือ่ ใหมที รัพยส ินเพียงพอจะซ้ือหรือจดั หาส่งิ ท่ี ครอบครัวตองการเพอ่ื ความสงบสขุ และความเจริญของครอบครัว 18 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดําเนนิ ชวี ิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับประถมศกึ ษา (ทช 11001)

เรื่องที่ 4 การออม การออมคอื การสะสมเงนิ ทีละเลก็ ทลี ะนอยเมอ่ื เวลาผานไปเงนิ ก็จะเพ่มิ พนู ข้ึน การออมสวนใหญจ ะ อยใู นรปู การฝากเงนิ กบั ธนาคาร จุดประสงคหลกั ของการออม เพ่ือใชจ า ยในยามฉุกเฉนิ ยามเราตกอยใู นสภาวะ ลาํ บาก การออมจึงถือวาเปนการลงทนุ ใหก บั ความมนั่ คงในอนาคตของชวี ติ หลักการออม ธนาคารออมสนิ ไดใหแ นวคดิ วา “ออม 1 สวนใช 3 สวน เนื่องจากการออมมคี วามสาํ คัญ ตอ การดํารงชวี ติ แมบางคนมรี ายไดไ มมากนกั คนเปนจาํ นวนมากออมเงินไมไ ด เพราะมีคาใชจายมาก ใชเ งนิ เกินตวั รายรับมีไมพ อกบั รายจา ย เม่ือเรามีรายไดเ ราจะตอ งบริหารจดั การเงนิ ของตนเอง หากเราคิดวา เงนิ ออม เปน รายจายอยา งหนง่ึ เชนเดยี วกบั รายจายอนื่ ๆ เงนิ ออมจะเปนรายการแรกที่ตอ งจายทกุ เดือน โดยอาจกาํ หนด วา อยา งนอยตอ งจา ยเปนรอยละเทาไรของรายไดแ ละทําจนเปน นสิ ยั แลว คอ ยวาง แผนเพ่ือนําเงนิ สว นทีเ่ หลอื ไป เปนคา ใชจายตาง ๆ เทาน้ีเรากม็ เี งนิ ออม กิจกรรมที่ 4 1. ผเู รยี นไดข อคดิ อะไรบางจากกรณีตัวอยาง “สรางชีวิตใหมอยา งพอเพยี งดวยบัญชีครัวเรือน ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 2. ผูเรียนไดจ ัดทําบญั ชีครวั เรอื นหรือไม อยา งไร ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 3. ในชุมชนของผูเรียนมีใครจัดทาํ บัญชีครวั เรอื น พรอมยกตวั อยา ง 1 ครอบครัววาเขาจดั ทําอยา งไร และไดผลอยา งไร ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดําเนินชวี ิต รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง ระดับประถมศกึ ษา (ทช 11001) 19

กจิ กรรมท่ี 5 ใหผเู รียนตอบคําถามตอ ไปน้ี 1. การบันทกึ บญั ชีครวั เรอื น หมายถึงผเู รยี นและครอบครวั มีการวางแผนการใชจา ยอยา งไร ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 2. รายรับ หมายถงึ อะไร พรอ มยกตวั อยา ง ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 3. รายจา ย หมายถงึ อะไร พรอมยกตัวอยา ง ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 4. ผเู รียนมีวธิ ลี ดรายจา ยและเพิ่มรายไดอ ยา งไร ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 5. ผเู รียนมีวธิ กี ารออมเงินอยา งไร ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 6. ใหผเู รยี นบนั ทึกบญั ชคี รัวเรือนตามรายการดังตอ ไปนี้ 1 ม.ี ค. 52 ขายผลไมไ ดเ งนิ 1,900 บาท 3 ม.ี ค. 52 ขายผลไมไ ดเ งนิ 1,500 บาท 5 มี.ค. 52 จายคา ของใชในบาน 500 บาท 7 ม.ี ค. 52 จายคานาํ้ -คาไฟ 400 บาท 10 ม.ี ค. 52 จายคา ปยุ 600 บาท 15 ม.ี ค. 52 จา ยคาอาหาร 500 บาท 20 มี.ค. 52 ขายผลไม 1,800 บาท 25 มี.ค. 52 จายคาซอ มรถ 300 บาท 27 มี.ค. 52 จา ยคาของใช 700 บาท 20 หนังสือเรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ระดับประถมศกึ ษา (ทช 11001)

กจิ กรรมที่ 6 ใหผูเรียนบนั ทึก รายรับ-รายจายของครอบครัวใน 1 เดอื น ลงในแบบบนั ทกึ แบบบันทึกรายรบั -รายจา ย วัน เดือน ปี รายการ รายรับ รายจาย คงเหลือ (บาท) (บาท) (บาท) ยอดรวมรายรบั ยอดรวมรายจาย คงเหลือ สรุปผลการบนั ทกึ รายรับ-รายจา ยของครอบครวั 1. ครอบครวั ของฉนั มรี ายรบั O มากกวา O นอ ยกวา รายจายอยู ....................... บาท 2. ในระยะเวลา 1 เดอื น O ครอบครัวของฉันมีเงินออมจํานวน ................... บาท O ครอบครวั ของฉนั ไมมเี งนิ ออม 3. รายจายท่ีควรปรบั ลด ได แก 1) ......................................จํานวนเงนิ ................................บาท เพราะ ......................................... 2) ......................................จํานวนเงิน ................................บาท เพราะ ......................................... 3) ......................................จาํ นวนเงิน ................................บาท เพราะ ......................................... ฉันสามารถลดรายจา ยไดทง้ั หมด ................................ บาท หนังสอื เรียนสาระทักษะการดาํ เนนิ ชีวิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ระดับประถมศึกษา (ทช 11001) 21



บทท่ี 4 ชีวิตสดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพยี ง สาระสําคัญ เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหมเปนแนวทางปฏิบัติเพื่อตองการใหคนสามารถพ่ึงพาตนเองได อยางเปนข้นั ตอน โดยลดความเสย่ี งเกี่ยวกบั ความผันแปรของธรรมชาติ โดยอาศัยความพอประมาณ ความ มีเหตมุ ีผล การสรา งความรู ความขยนั หมัน่ เพียร การอดออม สตปิ ญ ญา การชว ยเหลอื ซึ่งกันและกนั และ ความสามัคคี เม่ือเราศึกษาเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยางถองแทและนําไปประยุกตใชในการ ดําเนินงานและการประกอบอาชีพจนเห็นผลจากการปฏิบัติแลวควรจะสงเสริมใหสมาชิกในครอบครัวมอง เหน็ คณุ คาและนาํ แนวทางไปสกู ารปฏบิ ัตใิ นการดาํ รงชวี ิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ผลการเรียนรูทคี่ าดหวงั แนะนํา สง เสรมิ ใหสมาชิกในครอบครวั เห็นคณุ คา ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนาํ แนวทาง ไปสกู ารปฏิบตั ใิ นการดําเนนิ ชีวติ อยางย่งั ยนื ขอบขายเน้ือหา เรือ่ งท่ี 1 ทฤษฎีใหม เรื่องที่ 2 แผนชวี ิต

เรื่องท่ี 1 ทฤษฎีใหม เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหมเปนแนวทางปฏิบัติเพื่อตองการใหคนสามารถพึ่งพาตนเองไดใน ระดบั ตา ง ๆ อยา งเปนขั้นตอน โดยลดความเสีย่ งเก่ยี วกับความผนั แปรของธรรมชาติ หรอื การเปล่ียนแปลงของ ปจจยั ตา ง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณและความมเี หตมุ ีผล การสรา งความรู ความขยันหม่นั เพยี ร และความ อดทน สติปญ ญา การชวยเหลือซึ่งกันและกนั และความสามคั คี 1. ความเปนมาของทฤษฎใี หม ตลอดระยะเวลาทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัวทรงครองราชยนั้น พระองคไดเสดจ็ พระราชดาํ เนิน แปรพระราชฐานไปประทบั แรมยงั ภูมิภาคตา ง ๆ ทัว่ ประเทศ พระราชประสงคท แ่ี ทจ รงิ ของพระองคค อื การ เสดจ็ ฯ ออกเพือ่ ซกั ถามและรับฟง ความทุกขยากในการดําเนินชวี ิตของพสกนกิ รชาวไทย จึงมีพระราชดาํ ริ แนวคิดใหมในการบริการจดั การท่ดี นิ ของเกษตรกรใหมีสัดสว นในการใชพ้นื ทด่ี นิ ใหเกิดประโยชนส ูงสดุ รปู แบบหนึง่ คอื การเกษตรทฤษฎใี หม 2. หลักการและขน้ั ตอนของทฤษฎีใหม แนวคิดใหมในการบริหารจัดการที่ดินของเกษตรกรใหมีสัดสวนในการใชพื้นที่ดินใหเกิด ประโยชนส งู สุดตามแนวทางทฤษฎีใหม มหี ลักการและข้นั ตอนดงั น้ี 1. ทฤษฎใี หมขั้นตน หลกั การของทฤษฎีใหมข ั้นตน ประกอบดวย 1) มีทดี่ ิน สําหรับการจดั แบงแปลงท่ดี นิ เพอ่ื ใหเกิดประโยชนสงู สดุ น้ี พระบาทสมเด็จพระเจาอยู หัวทรงคํานวณจากอตั ราถอื ครองท่ดี นิ ถวั เฉลี่ยครัวเรือนละ 15 ไร อยางไรกต็ ามหากเกษตรกรมพี ้นื ทีถ่ อื ครองนอ ยกวา หรอื มากกวา น้ี กส็ ามารถใชอตั ราสว น 30 : 30 : 30 : 10 ดงั น้ี พืน้ ท่ีสวนท่ี 1 รอ ยละ 30 ใหข ุดสระเกบ็ กักนํ้า เพอื่ ใชเ กบ็ กกั นาํ้ ในฤดูฝนและใชเสรมิ การปลูกพืช ในฤดแู ลง ตลอดจนการเลย้ี งสตั วน า้ํ และพืชน้าํ ตาง ๆ พน้ื ทีส่ วนที่ 2 รอ ยละ 30 ใหป ลูกขา วในฤดฝู นเพื่อใชเ ปนอาหารประจาํ วนั สาํ หรบั ครอบครวั ให เพยี งพอตลอดป เพ่อื ตดั คาใชจ า ยและพง่ึ ตนเองได พืน้ ทส่ี ว นท่ี 3 รอ ยละ 30 ใหป ลูกพชื ผกั พืชไร พืชสมนุ ไพร ไมผล ไมย ืนตน ฯลฯ เพอื่ ใชเ ปน อาหารประจาํ วัน หากเหลือบริโภคกน็ าํ ไปจําหนา ย พนื้ ที่สว นท่ี 4 รอยละ 10 เปน ทีอ่ ยูอาศยั เลย้ี งสัตวและโรงเรือนอืน่ ๆ 2) มีความสามคั คี เน่อื งจากการเกษตรทฤษฎใี หมขน้ั ตน เปนระบบการผลติ แบบพอเพียงท่เี กษตรกร สามารถเลีย้ งตวั เองไดใ นระดับทป่ี ระหยดั กอน ทง้ั น้ชี ุมชนตอ งมีความสามคั ครี ว มมอื รวมใจในการชวยเหลือซงึ่ กันและกัน ทํานองเดียวกบั การลงแขก แบบด้งั เดมิ เพ่อื ลดคาใชจา ย 3) ผลผลติ เนื่องจากขาวเปนปจ จัยหลกั ที่ทุกครวั เรอื นจะตองบริโภค ดงั นนั้ จงึ ประมาณวา ครอบครวั หนึง่ ทํานา 5 ไร จะทําใหม ขี าวพอกินตลอดป โดยไมต อ งซื้อเพือ่ ยึดหลกั พึ่งตนเองได 4) มนี ้าํ เนอ่ื งจากการทําการเกษตรทฤษฎใี หมตอ งมีนาํ้ เพ่ือการเพาะปลูกสํารองไวใ ชในฤดูแลง ดงั นน้ั จงึ จาํ เปน ตอ งกนั ทด่ี นิ สว นหนง่ึ ไวข ดุ สระนาํ้ โดยมหี ลกั วา ตอ งมนี าํ้ เพยี งพอทจ่ี ะทาํ การเพาะปลกู ไดต ลอดป 24 หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการดําเนนิ ชวี ติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับประถมศึกษา (ทช 11001)

2. ทฤษฎีใหมข้ันท่ีสอง หรือเรยี กวา ทฤษฎีใหมขน้ั กาวหนา เปนขัน้ ท่ีเกษตรกรจะพัฒนาตนเองไปสูข ัน้ พออยพู อกนิ เพอ่ื ใหมีผลสมบรู ณย่งิ ขึน้ โดยใหเ กษตรกรรวมพลังกนั ในรูปกลมุ หรอื สหกรณรว มแรงรวมใจกนั ดาํ เนนิ การในดา นตา ง ๆ ดงั นี้ 1) ดา นการผลิต เกษตรกรจะตอ งรวมมอื ในการผลติ โดยเริม่ ต้ังแตข น้ั เตรียมดิน การหาพนั ธุพ ืช ปุย การหานา้ํ และอืน่ ๆ เพื่อการเพาะปลูก 2) ดานการตลาด เมือ่ มผี ลผลิตแลวจะตอ งเตรยี มการตาง ๆ เพือ่ การขายผลผลติ ใหไ ดประโยชนสงู สดุ เชน การเตรียมลานตากขา วรว มกัน การจัดหายงุ รวบรวมขาว เตรยี มเครือ่ งสีขาว ตลอดจนการรวมกนั ขายผลผลิต ใหไ ดร าคาดีและลดคา ใชจ ายลงดวย 3) ดานความเปนอยู เกษตรกรตอ งมคี วามเปน อยทู ดี่ พี อสมควร โดยมีปจ จยั พ้นื ฐานในการดาํ รงชวี ิต เชน อาหาร ทอี่ ยูอ าศยั เครื่องนุง หม เปน ตน 4) ดา นสวัสดกิ าร แตละชุมชนควรมสี วัสดกิ ารและบริการที่จาํ เปน เชน สถานอี นามัยเมื่อยามเจบ็ ไข หรอื มกี องทุนไวก ูยมื เพ่อื ประโยชนในกิจกรรมตาง ๆ ของชมุ ชน 5) ดานการศกึ ษา ชุมชนควรมีบทบาทในการสง เสริมการศึกษา เชน มกี องทนุ เพ่อื การศกึ ษาใหแก เยาวชนในชุมชน 6) ดานสังคมและศาสนา ชมุ ชนควรเปน ที่รวมในการพฒั นาจิตใจและสงั คม โดยมีศาสนาเปนทย่ี ดึ เหนีย่ ว 3. ทฤษฎใี หมข้ันท่ีสาม เปนขน้ั พัฒนาเกษตรกรหรือกลมุ เกษตรกรใหกาวหนาดวยการติดตอประสาน งานเพือ่ จัดหาทนุ หรือแหลง เงนิ เชน ธนาคาร หรือเอกชนมาชว ยในการลงทุนและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ซง่ึ ทัง้ สองฝา ยจะไดร ับประโยชนร ว มกนั ดงั น้ี 1) เกษตรกรสามารถขายขาวไดในราคาสงู โดยไมถ กู กดราคา 2) ธนาคารกบั บริษัทสามารถซอ้ื ขาวบรโิ ภคในราคาต่ํา เพราะซอื้ ขาวเปลอื กโดยตรงจากเกษตรกรและ นาํ มาสเี อง 3) เกษตรกรสามารถซือ้ เครือ่ งอุปโภคบริโภคไดในราคาตํา่ เพราะรวมกันซ้อื เปนจํานวนมาก เนื่องจาก เปน กลุมสหกรณ สามารถซอ้ื ไดในราคาขายสง 4) ธนาคารกับบรษิ ัทจะสามารถกระจายบุคคลเพ่อื ไปดาํ เนนิ การในกจิ กรรมตาง ๆ ใหเ กิดผลดยี ิง่ ขน้ึ หนังสือเรียนสาระทักษะการดาํ เนนิ ชวี ติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศึกษา (ทช 11001) 25

3. ประโยชนข องทฤษฎีใหม 1. การพง่ึ ตนเอง ทฤษฎใี หมยึดถือหลกั การทว่ี า ตนเปนท่ีพ่ึงแหงตน โดยมงุ เนน การผลิตพชื ผลใหเพยี ง พอกับความตอ งการบริโภคในครัวเรือนเปนอันดบั แรก เมอื่ เหลือพอจากการบรโิ ภคแลว จึงคํานึงถงึ การผลติ เพื่อ การคาเปน อันดับรองลงมา ผลผลติ สว นเกินทีอ่ อกสูตลาดก็จะเปนกาํ ไรของเกษตรกร 2. ชมุ ชนเขม แขง็ ทฤษฎีใหมใ หความสําคญั กบั การรวมกลมุ ของชาวบา น ทัง้ นก้ี ลมุ ชาวบา นจะทําหนา ท่ีเปนผูดาํ เนินกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ตาง ๆ ใหหลากหลาย ครอบคลมุ ท้งั การเกษตรแบบผสมผสาน หัตถกรรม การแปรรปู อาหาร การทําธรุ กจิ การคาขาย การทอ งเทีย่ วระดบั ชุมชน ฯลฯ เมอื่ องคก รชาวบา นเหลาน้ไี ดรบั การ พัฒนาใหเขมแข็งและมีเครือขายที่กวางขวางมากข้ึนแลวเกษตรกรในชุมชนก็จะไดรับการดูแลใหมีรายไดเพิ่ม ข้นึ รวมท้งั การไดรบั การแกป ญ หาในทุกดา น เมอ่ื เปนเชนนเ้ี ศรษฐกิจโดยรวมของประเทศกส็ ามารถเตบิ โตไปได อยา งมีเสถยี รภาพ 3. ความสามคั คี ทฤษฎีใหมตัง้ อยูบ นพ้ืนฐานของการมคี วามเมตตา ความเอื้ออาทรและความสามคั คี ของสมาชกิ ในชุมชน ในการรว มมือรวมใจเพอื่ ประกอบอาชีพตาง ๆ ใหบ รรลุผลสาํ เรจ็ ประโยชนที่เกดิ ข้ึนจงึ มิ ไดห มายถงึ รายไดแตเ พียงดานเดยี ว หากแตรวมถึงประโยชนในดา นอืน่ ๆ ดวย ไดแ ก การสรางความมัน่ คงใหกบั สถาบันครอบครัว สงั คม ชมุ ชน และความสามารถในการอนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ตัวอยา งการนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปน แนวทางปฏบิ ัตขิ องเกษตรทฤษฎใี หม ซ่ึงเปนแนวทาง ในการพัฒนาดานการเกษตรอยางเปนขน้ั ตอนในพ้ืนทที่ ่เี หมาะสม ซง่ึ แบง เปน 3 ขั้นดงั น้ี * กรณตี วั อยา ง ปลกู ทกุ อยางท่กี นิ กินทกุ อยา งท่ปี ลกู ชวี ิตอยไู ดอ ยา งย่งั ยืน * มงุ สู ความสาํ เร็จ ขั้นที่ 3 การจัดการ 3. สรางเครอื ขายกลุมอาชีพ และขยาย เศรษฐกจิ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจใหหลากหลาย พอเพยี ง มงุ เนน ความพอเพียงระดบั ประเทศ แบบกา วหนา ข้ันที่ 2 พ่งึ พาตนเอง 2. รวมพลังในรปู กลมุ เชน สหกรณเพอื่ การผลิต การตลาด การจดั การ รวมทัง้ ดา นสวัสดกิ าร การศกึ ษา และการพัฒนาสงั คม มุง เนน ความพอเพียงระดบั ชมุ ชนและองคก ร ขัน้ ท่ี 1 พ่งึ ตนเอง เศรษฐกจิ พอเพียง 1. พอเพยี งเลย้ี งตนเองได บนพ้ืนฐานของความประหยัด แบบพ้นื ฐาน มงุ เนน ความพอเพยี งระดับตนเองและครอบครัว * เอกรนิ ทร ส่ีมหาศาลและคณะ. คุณธรรมนาํ ความรูส ูเศรษฐกจิ พอเพยี ง ป.6 หนา 6 : 26 หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาํ เนินชวี ติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับประถมศึกษา (ทช 11001)

กรณตี วั อยาง ปลูกทกุ อยา งทก่ี ิน กนิ ทุกอยา งทีป่ ลกู ชีวติ เปน สุขไดอ ยางยงั่ ยนื นายบุญเปง จันตะ ภา เกษตรกรบานหวยถางปูตาน ตําบลไมย า อําเภอพญาเม็งราย จังหวดั เชยี งราย ดาํ เนนิ ชีวิตโดยยึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงจนเปน ท่ียอมรบั โดยทวั่ ไป เดมิ นายบุญเปง จนั ตะ ภา มฐี านะยากจน เคยออกไปขอทานเพือ่ หาอาหารมาใสทอง หลงั จากไปเรียนใน วดั ไดนําหลกั คณุ ธรรมมาใชในชีวิตและการประกอบอาชีพโดยยดึ หลกั อทิ ธิบาท 4 และพรหมวิหาร 4 ในป 2529 ไปทาํ งานประเทศบรไู น หวงั ใหฐ านะครอบครวั ดีข้นึ แตไ มสําเรจ็ จึงเดนิ ทางกลับมาเกบ็ เงนิ ไดเพียง สองพันกวา บาท ตอมาไดป รบั ความคดิ วา ถามีความขยนั เหมือนทาํ งานทปี่ ระเทศบรไู น อยเู มืองไทยกม็ รี าย ไดอ ยา งพอเพียง ป 2542 รฐั บาลใหมกี ารพกั ชาํ ระหนี้ แตบุญเปง พกั ไมไ ด เนอ่ื งจากมียอดหน้เี ปน แสน ได นําเอารูปในหลวงมาตัง้ สัจจอธษิ ฐานวา ขาพเจาและครอบครัวจะขยันเพมิ่ ข้ึน ลด ละ เลกิ ในสงิ่ ที่ไมจ ําเปน กจิ ทกุ อยา งท่ปี ลูก ปลกู ทุกอยางทก่ี นิ และจะขอปลดหน้ภี ายใน 4 ป นายบุญเปง พ่ึงพาตนเองดวยการทาํ เกษตรทฤษฎีใหม ลงแรงทกุ อยางดวยตนเอง ใชภมู ิปญ ญาทองถน่ิ ประยุกตก ับความรูใ หม ๆ ทไ่ี ดไ ปศึกษาดูงานอีก การใชท รัพยากรอยางรูค ณุ คา ทําใหป ระหยัดเงินลงทนุ เกดิ รายไดจากการขายผลผลิตการเกษตรตลอดท้งั ป รูจักอดออม ไมเปน หน้ที ําใหดาํ เนินชีวิต ไมเ ดือดรอน ไม เบียดเบยี นตนเองและผูอน่ื พัฒนา ปรบั ปรุงการประกอบอาชีพจนประสบความสําเร็จและยังถายทอดความ รู ชว ยเหลือสังคม บนพืน้ ที่ 10 ไร 1 งาน 35 ตารางวา มกี ารแบง สัดสว นตามหลักทฤษฎใี หมไ ดอ ยา งลงตัว เปน นาขา ว 5 ไร ปลูกขา วเหนียวปละ 1 คร้งั โดยปลูกสลบั กบั ขาวโพด แตงโม แตงไทย อีก 5 ไร ปลูกผัก สมนุ ไพร ไมผ ล เชน ลาํ ไย มะมวง กลว ย และสว นสุดทายเปน เรือนพกั อาศัยพอเหมาะกับครอบครัว มีโรงเลย้ี งสัตว กระบอื สุกร ไกพ ืน้ เมืองและจิง้ หรีด ความสําเรจ็ ในชีวติ ของนายบุญเปง นับเปน บทพิสูจนไดเ ปนอยา งดีวา “เศรษฐกิจพอเพียง” สามารถนาํ มาปรบั ใช ใหเ กดิ ประโยชนส งู สุดตอ ครอบครัวชุมชน หากรจู ักคดิ ใช กิน อยูอยา งพอเพียง ชีวติ กด็ ํารงได อยา งยิง่ ข้ึนมั่นคง * จากหนังสือพิมพเดลินวิ ส หนา 10 ฉบบั วนั พฤหัสบดีที่ 12 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2552 หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั ประถมศกึ ษา (ทช 11001) 27

การแนะนาํ สง เสริมใหส มาชิกในครอบครัวเหน็ คุณคาและนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใ ช เม่ือเราเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจนเกิดความเขาใจอยางถองแทและนําสูการปฏิบัติในการ ดาํ เนนิ ชีวติ และการประกอบอาชีพแลว เราจะเห็นประโยชนและคุณคา ของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ซ่ึง สมควรอยางยิ่งที่เราจะตองแนะนําสงเสริมใหสมาชิกในครอบครัวเห็นคุณคาและนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพยี งไปประยกุ ตใ ชในการดาํ เนนิ ชวี ติ และการประกอบอาชีพดวย เชนกนั หลักในการแนะนําคอื โดยมีหลักการ คอื การท่ีสมาชกิ ในครอบครวั ใชชีวิตบนพืน้ ฐานของการรจู ักตนเอง สามารถพึง่ ตนเองไดแ ละดําเนินชวี ิตอยา ง พอกินพอใชโดยไมเ บียดเบียนผอู ื่น ทําใหเ กิดความสขุ และความพอใจในการดําเนนิ ชีวติ อยา งพอเพยี ง พยายาม พัฒนาตนเองอยางตอเนอื่ ง เพ่อื ใหสามารถอยอู ยางพอเพียงไดใ นทกุ สถานการณ ท้งั น้ีสมาชกิ ในครอบครวั อาจ จะรว มกันทาํ แผนชีวติ เร่ืองท่ี 2 แผนชีวติ ในการดําเนนิ ชีวติ ทุกคนตองการไปใหถ งึ เปาหมายดว ยกนั ท้ังสนิ้ แตการทจ่ี ะไปถึงเปาหมายไดจะตอง มกี ารวางแผนชวี ติ ทดี่ ี มีความมุงมั่นในการทีจ่ ะกา วไปใหถ ึง การวางแผนอยางนอ ยกท็ าํ ใหเรารวู า เราจะเดนิ ไปทศิ ทางไหน ย้าํ เตือนวา ตอ งทาํ อะไร ยังไมไดท าํ อะไร แมแตแมบานจะทําอาหารในแตละมื้อยังตองวางแผนและเห็นอาหารจานนั้นอยูในจิตนาการเหลือแตออกไปหา วตั ถดุ ิบและลงมือปรงุ อาหารใหสําเรจ็ ซึ่งแมบ านกต็ อ งเขยี นรายการวัตถดุ ิบทต่ี องซอ้ื เปน การวางแผนกอนปรุง อาหารซ่ึงจะไดไมมปี ญ หาวา กลบั บานแลว ลืมซอื้ ซง่ึ เหตกุ ารณนี้มกั เกดิ ข้นึ บอย ๆ ชวี ติ คนเราก็เชน เดยี วกนั ตอ ง คดิ กอ นปรงุ โดยตอ งรูวา จะปรุงใหเปนอะไร ซ่งึ เรยี กวาแผนชวี ติ แตสําหรับคนทยี่ งั ไมร ูก ต็ อ งเขียนวา ตวั เองชอบ อะไร หรอื ตองการอะไรจะดกี วาดาํ เนินชีวิตโดยไรจดุ หมาย แผนชีวิต คอื ส่งิ ท่เี ราฝนหรอื คาดหวงั อยากจะใหเกิดข้ึนจรงิ ในอนาคตโดยเรา จะตองวางแผน กําหนดทศิ ทางหรือแนวทางในการดําเนนิ ชีวิต เพ่ือใหเราไปถึงเปาหมาย ทําใหเ ราเกิดความพึงพอใจและสุข แผนชวี ติ มหี ลายดา น เชน แผนชีวติ ดานอาชีพ แผนชวี ติ ดานครอบครัว เปนตน แผนชีวติ แตล ะคน แตล ะครอบครวั จะแตกตา งกนั ข้ึนอยูกับวา ใครจะใหค วามสําคญั กับแผนชวี ิตดานใดมากกวา กัน แผนดา นการพัฒนาอาชพี ใหม องถงึ ศกั ยภาพทม่ี ีการพัฒนาได ความถนัด ความสามารถของตนเอง มองถึงทนุ ทม่ี ีในชุมชน เชน ทรพั ยากร องคค วามรู ภมู ิปญญา แหลง เงนิ ทนุ การตลาด ความตอ งการของคนใน ชุมชน โดยมีการจดั การความรูของตนเองเพื่อใหเกดิ ความรใู หม แผนชวี ติ ดา นครวั เรอื น ใหม องถงึ หลกั ธรรมในการดาํ รงชวี ติ การสรา งภมู คิ มุ กนั ใหก บั คนในครอบครวั ทีม่ ีการเรียนรตู ลอดชีวิตเพอื่ นําองคค วามรมู าสรา งภมู คิ มุ กนั ที่ดี นอกจากนี้การนําบัญชคี รัวเรอื นมาวิเคราะหร าย จา ยทไ่ี มจ ําเปนมาจดั ทาํ แผนการลดรายจาย เพมิ่ รายไดและตอ งมีการประเมินแผนทท่ี ําดว ยวา สาํ เร็จมากนอ ยเพยี ง ใด แผนชวี ติ ดา นครัวเรือน เชน 28 หนงั สือเรียนสาระทักษะการดาํ เนินชวี ิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั ประถมศกึ ษา (ทช 11001)

(1) การจดั ทาํ บัญชีรายรับ - รายจายในครวั เรือน มีการวางแผนการใชจ า ย เชน จา ย 3 สวน ออม 1 สวน เพ่ือใหเกิดการมรี ะเบียบวินัยในการใชจาย การลด ละ เลิกอบายมขุ การศกึ ษาใหร เู ทาทนั กระแสบรโิ ภค นยิ ม การวาวแผนสวบคุมรายจา ยในครวั เรือน (2) การลดรายจา ยในครัวเรอื น เชน การปลูกผักสวนครวั การผลิตปุยชีวภาพไวใชทดแทนปยุ เคมี การ ผลติ ผลติ ภัณฑเคร่ืองใชภายในครวั เรอื น (3) การเพิ่มรายไดในครวั เรือน แปรรูปผลผลติ การทําเกษตรแบบผสมผสาน ปลูกพชื สมุนไพร ฯลฯ หรืออาจจะเรม่ิ จาก การจัดทาํ แผนชวี ติ ครวั เรือน อาจจะดาํ เนินการ ดงั น้ี 1. จัดทําขอ มูลของครัวเรือน 2. คน หาศกั ยภาพของตนเอง ทักษะในการประกอบอาชพี ทุน สถานการณใ นการประกอบอาชีพ 3. คนหาปญหาของครัวเรือน 4. กาํ หนดเปาหมายของครัวเรอื นเพ่ือใหหลดุ พน จากความยากจน 5. วางแผนการแกปญหาของครัวเรอื น 6. บันทึกการปฏิบตั ติ ามแผน 7. บันทกึ การประเมินผล หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาํ เนินชวี ติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั ประถมศึกษา (ทช 11001) 29

กรณีตวั อยา ง สรุ ชัย มรกตวจิ ิตรการ เกษตรพอเพยี ง แหง บานปา ไผ * บานเกษตรกรพอเพียงตามแนวพระราชดําริของ สุรชัย มรกตวิจิตรการ ตั้งอยูที่บานปาไผ ต.แมโ ปง อ.ดอยสะเกด็ จ.เชียงใหม สรุ ชัย ไดเ ลาชีวติ ของตนเองวา “ชวี ติ คงไมมาถงึ วนั น้หี ากไมมีศรัทธา แรงกลา ตอ องคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัว ผมเร่ิมตนจากศูนย เดมิ ผมคาขายเส้อื ผา สําเร็จรปู ป 2540 เจอ วกิ ฤตเศรษฐกิจ มหี นี้สินแปดแสนบาท คิดจะฆา ตวั ตาย แมใ หสตวิ า ทําไมไมส ู ทําใหผมคดิ ใหม ตง้ั สตแิ ลว มงุ หนา ไปทีศ่ ูนยก ารศกึ ษาการพฒั นาหวยฮองไคร อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดําริ ดว ยใจท่ีมงุ ม่ันวา มีกินแน หากเดนิ ตามแนวทางของในหลวง ทน่ี เ่ี องไดเ รยี นรแู ละทาํ ความเขา ใจคาํ วา “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” อยา งถอ งแท” เราเริ่มตน จากการเลย้ี งสัตวตามความถนดั ทัง้ ปลา ไก วัว กบ ตอ มาปลกู พืชผักสวนครวั โรง เพาะเหด็ กลายเปนไรน าสวนผสมท่ที ําทกุ อยา งเชื่อมโยงกันอยา งเปน ระบบและมปี ระสทิ ธิภาพ เวลาผานไปไมกีป่  สุรชยั กลายเปน ผูเช่ยี วชาญ มีความรูในสิง่ ท่ีตนเองลงมือทาํ ไมว าจะเปนการ ทําปุยหมัก ปยุ อินทรีย การเลย้ี งหมูหลุม การเลยี้ งไก ววั ปลา กบ การทาํ กาซชีวภาพจากมลู สัตว การนํา ของเหลวจากสัตวไปเลีย้ งพืช การนําของเหลวจากพืชไปใชก ับสัตว “ในหลวงสอนคนไทยมากวา 20 ป วา ใหเชื่อมธรรมชาตเิ ขาดวยกัน คนไทยไมช อบคิด ไมชอบ วิเคราะห ไมลงมือทาํ แตใ ชเ งนิ นําหนา ตองแกด ว ย 5 ร คอื รวมพลัง รวมคดิ รวมกันทํา รวมกันสรปุ บท เรียน และรว มกันรบั ผล และยึดคําสอนที่วา ตองระเบิดจากขางใน คอื เขา ใจตวั เองกอ น ส่ิงแรกคือตน ทุนตํ่า ทาํ บัญชีครัวเรอื น ตัดสง่ิ ฟมุ เฟอ ยออกจากชีวติ คิดอยา งรอบคอบ ไมข ้ีเกยี จ สรางภูมิคุมกนั ไมห ลงกระแส ไมห ลงวตั ถนุ ิยม ทีส่ ําคัญไมแขงกับคนรวย แตทุกคนตองคดิ ตองฝน เองวา อะไรเหมาะทส่ี ดุ จะสาํ เร็จหรอื ลมเหลวอยูท ค่ี ณุ ภาพคน ปจ จบุ นั สุรชยั ยังเดินหนาตามแผนชวี ิตของตนเอง เพ่อื หวังปลดหนภ้ี ายในไมเ กนิ 5 ป ดว ยการ กูเ งนิ 2 ลา นบาท ซ้อื ท่ดี ินหลังบา นเพ่อื สรางฐานการผลติ ผมตอ งการพสิ จู นว า คนจนหากมงุ มน่ั ทจ่ี ะสแู บบเขา ใจศกั ยภาพตนเองรบั รองอยไู ดอ ยา งมศี กั ดศ์ิ รี และเปน ชีวติ ท่ีย่งั ยืนปลอดภัย” ------------------------------------ * จนิ ตนา กิจมี หนงั สอื พมิ พม ตชิ น หนา 10 วนั เสารท่ี 28 มนี าคม พ.ศ. 2552 30 หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชวี ิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั ประถมศกึ ษา (ทช 11001)

กจิ กรรมที่ 7 ใหผเู รียนวางแผนชวี ิตของตนเองดา นอาชพี และดานชวี ติ ครอบครัว โดยคํานงึ ถงึ หลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง แผนชวี ิต รายละเอียดแผนชีวติ 1. แผนชีวติ 1. จะประกอบอาชีพ ............................................................................................ .............................................................................................................................. 2. ปจจยั ที่พจิ ารณา ............................................................................................... ทนุ เปน อยา งไร ................................................................................................. ............................................................................................................................. ความรูความสามารถ ........................................................................................ .............................................................................................................................. ตลาด ................................................................................................................. .............................................................................................................................. อปุ กรณ ............................................................................................................. .............................................................................................................................. 2. แผนครวั เรอื น 1. ทอี่ ยอู าศยั ......................................................................................................... ............................................................................................................................. 2. สขุ ภาพ ............................................................................................................. ............................................................................................................................. 3. การศกึ ษา (ของตนเอง/คนในครอบครัว) ........................................................ .............................................................................................................................. 4. ลดรายจา ย ........................................................................................................ .............................................................................................................................. 5. รายได .............................................................................................................. .............................................................................................................................. 6. การมสี วนรว มกับสงั คม ................................................................................... ............................................................................................................................. 7. หลกั ธรรมในการดาํ เนนิ ชีวติ ............................................................................ ............................................................................................................................. หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับประถมศกึ ษา (ทช 11001) 31

กิจกรรมที่ 8 ผูเรยี นและครอบครัวมแี ผนการปรบั ปรงุ วถิ ีชวี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยา งไร เรือ่ งท่ีตองการปรบั ปรุง ........................................................................................................................................... วิธีการปรบั ปรุง ....................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. เม่อื ปรบั ปรงุ แลวจะเกดิ ผล ...................................................................................................................................... ผลการปรบั ปรงุ ....................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. บคุ คลที่มีสวนรว มในการปรบั ปรงุ ......................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ปญหาอุปสรรค ....................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. แนวทางแกไ ข ......................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 32 หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั ประถมศึกษา (ทช 11001)

แบบทดสอบหลังเรยี น คาํ ชี้แจง เลือกคําถามทีถ่ ูกที่สดุ เพียงคาํ ตอบเดยี ว 1. เศรษฐกิจพอเพียงเปนเรอ่ื งเกี่ยวกบั อะไร ก. การเกษตร ข. การคาขาย ค. การดําเนนิ ชวี ติ ง. การอตุ สาหกรรม 2. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปน แนวทางในการดําเนินชวี ติ ของคนกลมุ ใด ก. พอคา นกั ธรุ กจิ ข. นักเรียน นกั ศึกษา ค. ขาราชการ นกั การเมือง ง. ประชาชนทุกคน 3. เปาหมายหลกั แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียงคือขอใด ก. พ่งึ พาตนเองเปน หลัก ข. ชวยเหลือซง่ึ กนั และกนั ค. มีอาชพี เกษตรกรรมทุกครอบครัว ง. ใชจายแตส ่ิงจําเปนตอการดําเนนิ ชีวติ 4. คําวา “เดินทางสายกลาง” ตามแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี ง หมายถึงการดาํ เนนิ ชีวิตแบบใด ก. รูจ ักคาํ วาพอดี พอประมาณ ข. ลดรายจาย และเพมิ่ รายไดใหส มดุล ค. ประหยัดรายจา ยใหมากท่ีสุดเทา ที่จะทําได ง. ดําเนนิ ชวี ติ แบบใดกไ็ ดข อเพียงแตใ หมีความสุข 5. การเตรยี มตวั ใหพ รอมท่จี ะเผชญิ ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ หมายถงึ ขอใด ก. การมปี ระสบการณ ข. การมีความรู ความสามารถ ค. มีภูมคิ ุมกันที่ดีในตวั ง. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม 6. ขอ ใดคอื เง่อื นไขทีส่ ําคัญของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ก. มคี วามรู มคี ุณธรรม ข. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ค. มเี หตผุ ล มีความรอบคอบ ง. มีภูมคิ ุมกันในตัวทีด่ ี มีเหตุผล หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดําเนนิ ชีวติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั ประถมศกึ ษา (ทช 11001) 33

7. ขอ ใดคือวธิ ีการจัดสรรเงินหรอื วางแผนการใชจายทีด่ ีที่สุด ก. จัดสรรจา ยใหเ ทากับรายได ข. การบันทกึ รายรับ-รายจาย ค. ปรกึ ษาเพ่ือนบา นกอ นซือ้ ง. เปรยี บเทียบคําโฆษณาตามหนังสอื พิมพ 8. ขอ ใดถกู ตองที่สดุ ในการจดบนั ทึกรายรบั -รายจา ย ก. จดทุกครงั้ ข. จดทุกวันเวนวนั ค. จดทุกเดอื น ง. จดทกุ อาทติ ย 9. การใชจา ยท่ีเหมาะสมกบั ฐานะความเปนอยูหรอื ความสามารถของตนตรงกับสํานวนในขอ ใด ก. มือใครยาวสาวไดส าวเอา ข. นกนอยสรา งรงั แตพ อตวั ค. ฝนท่ังใหเ ปนเข็ม ง. นาํ้ ขนึ้ ใหรีบตัก 10. ขอ ใดสมั พันธกับ “ เกษตรทฤษฎใี หม” มากทส่ี ุด ก. การบริหารจัดการเกษตรกรทย่ี ากจน ข. การจัดระบบวถิ ีชวี ติ ของเกษตรกรใหม ค. การเกษตรผสมผสานในทด่ี นิ ท่มี ีอยจู ํากดั ง. การบรหิ ารจดั การทดี่ นิ ใหเ กิดประโยชนส ูงสุด 34 หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดําเนินชวี ติ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั ประถมศึกษา (ทช 11001)

คําช้แี จง เขียนเครื่องหมาย  หนา ขอความทถี่ กู และเขียนเครอื่ งหมาย  หนา ขอความที่ผดิ 1. แนวเศรษฐกิจพอเพียงมไี วสําหรับผทู ี่ประกอบอาชพี ทางการเกษตรเทานนั้ 2. ความพอเพยี ง หมายถึงความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถงึ ความจาํ เปน ที่จะตอง มรี ะบบภูมคิ มุ กนั ในตวั ท่ีดี 3. แนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี งเนนใหประชาชนพงึ่ ตนเองเปน หลัก 4. แนวเศรษฐกจิ พอเพียงสามารถนาํ มาปรบั ใชไดก บั ตนเองและครอบครัวเทานน้ั 5. แนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียงสามารถนาํ มาปรับใชไดกบั บุคคลทกุ ระดับทกุ อาชีพ 6. การออมคือ การสะสมเงนิ ทลี ะเลก็ ละนอยใหพอกพูน 7. ธนาคารออมสินใหแนวคดิ ในทางออมวา ออม 1 สวน ใช 2 สว น 8. แผนชวี ติ คือ แผนของผทู ี่ตองการกเู งนิ ธนาคารมาลงทนุ เฉลย 1.  2.  3.  4.  5.  6.  7.  8.  หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดําเนินชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั ประถมศกึ ษา (ทช 11001) 35

ภาคผนวก

บรรณานุกรม สํานักบรหิ ารงานการศึกษานอกโรงเรียน.สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ. แนวทางการจดั การศึกษา นอกโรงเรยี น ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี งชุมชน โดยกระบวนการการศกึ ษานอกโรงเรียน. กรงุ เทพฯ : หา งหุน สวนจาํ กดั โรงพมิ พอ ักษรไทย (นสพ. ฟา เมืองไทย).2550. ศูนยก ารศกึ ษานอกโรงเรียนภาคกลาง.สํานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน. สํานักงานปลดั กระทรวง ศกึ ษาธกิ าร. กระทรวงศึกษาธิการ.หลักสูตรเศรษฐกจิ พอเพียงสาํ หรับเกษตรกร. ศูนยการศกึ ษานอก โรงเรยี นภาคกลาง. 2549. (เอกสารอัดสาํ เนา) สาํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ. คณะอนกุ รรมการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจ พอเพยี ง. นานาคําถามเกยี่ วกบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง. 2548. สํานักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ. เศรษฐกิจพอเพียง. 2548. จตุพร สขุ อนิ ทร และมงั กโรทยั . “สรางชีวิตใหมอยางพอเพยี งดวยบญั ชคี รวั เรอื น” เดลินิวส หนา 30 ฉบับวันจันทรท ่ี 20 เมษายน พ.ศ. 2522 “ปลกู ทุกอยางท่กี ิน กนิ ทกุ อยา งทปี่ ลูก ชวี ติ อยไู ดอ ยางยัง่ ยืน” เดลนิ ิวส หนา 10 ฉบบั วันพฤหสั บดที ่ี 12 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2552 จินตนา กิจมี. “เกษตรพอเพยี ง แหงบานปาไผ” . มติชน หนา 10 ฉบบั วนั เสารท่ี 28 มีนาคม พ.ศ. 2552. เอกรินทร ส่ีมหาศาล และคณะ, คุณธรรมนาํ ความรูสู...... เศรษฐกิจพอเพยี ง ป.6 กรงุ เทพฯ : บริษัท อักษรเจรญิ ทศั น อาท จาํ กัด. มปพ. หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนนิ ชวี ิต รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับประถมศกึ ษา (ทช 11001) 37

หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 รายชอ่ื ผเู ขา รว มประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาหนงั สอื เรยี นวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครง้ั ท่ี 1 ระหวา งวนั ท่ี 10 – 13 กมุ ภาพนั ธ 2552 ณ บา นทะเลสคี รมี รสี อรท จงั หวดั สมทุ รสงคราม 1. นายศรายทุ ธ บรู ณเ จรญิ ผอ. กศน. อาํ เภอจอมพระ จงั หวดั สรุ นิ ทร 2. นายจาํ นง หนนู ลิ สาํ นกั งาน กศน. อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั นครศรธี รรมราช ครง้ั ท่ี 2 ระหวา งวนั ท่ี 29 มถิ นุ ายน 2552 – วนั ท่ี 3 กรกฎาคม 2552 ณ โรงแรมแกรนด เดอวลิ ล กทม. นางพฒั นส ดุ า สอนซอ่ื กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น รายชอ่ื ผเู ขา รว มประชมุ บรรณาธกิ ารหนงั สอื เรยี นวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครง้ั ท่ี 1 ระหวา งวนั ท่ี 7 – 10 กนั ยายน 2552 ณ โรงแรมอทู องอนิ น จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา นางพฒั นส ดุ า สอนซอ่ื กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น ครง้ั ท่ี 2 ระหวา งวนั ท่ี 12 – 15 มกราคม 2553 ณ โรงแรมอทู องอนิ ท จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 1. นางพฒั นส ดุ า สอนซอ่ื ขา ราชการบาํ นาญ 2. นายอชุ ุ เชอ้ื บอ คา สาํ นกั งาน กศน. อาํ เภอหลงั สวน จงั หวดั ชมุ พร 3. นางสาวพชั รา ศริ พิ งษาโรจน สาํ นกั งาน กศน. จงั หวดั กระบ่ี 4. นายวทิ ยา บรู ณะหริ ญั สาํ นกั งาน กศน. จงั หวดั พงั งา 38 หนงั สือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ระดับประถมศกึ ษา (ทช 11001)

คณะผูจัดทาํ ท่ีปรกึ ษา จรี ะวุฒิ เลขาธิการ กศน. 1. นายอภิชาติ จํานงบตุ ร รองเลขาธิการ กศน. 2. นายวิมล บญุ เรอื ง รองเลขาธกิ าร กศน. 3. นายประเสริฐ แกว ไทรฮะ ท่ปี รกึ ษาดานการพฒั นาหลักสูตร กศน. 4. ดร.ทองอยู อ่ิมสวุ รรณ ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดา นการพัฒนาหลักสตู ร 5. ดร.ชัยยศ กลารบ ผอู าํ นวยการกลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 6. นางพรทพิ ย ผพู มิ พตน ฉบับ คะเนสม กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 1. นางสาวปย วดี เหลอื งจติ วัฒนา กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นางสาวเพชรินทร กววี งษพ พิ ัฒน กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 3. นางสาวกรวรรณ ธรรมธิษา กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวชาลนี ี บา นชี กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวอลศิ รา คณะทํางาน จันทนส ุคนธ กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน เลขานุการ 1. นายวิวฒั นไชย มั่นมะโน กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน ผชู ว ยเลขานุการ 2. นายสรุ พงษ ปต วิ รา กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 3. นางพชิ ญาภา ปท มานนท กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. นางสาววรรณพร ศรรี ัตนศลิ ป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 5. นายศุภโชค เหลืองจิตวฒั นา กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 6. นางสาวเพชรนิ ทร หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชวี ติ รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง ระดับประถมศึกษา (ทช 11001) 39

บนั ทกึ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook