Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ การใช้ยาและสมุนไพร

คู่มือ การใช้ยาและสมุนไพร

Published by monpang2540, 2021-12-04 09:52:56

Description: คู่มือ การใช้ยาและสมุนไพร

Search

Read the Text Version

คู่ มื อ การใช้ยาและ สมุนไพร วิทยากร ภญ.สุพัตรา แก้วมา เภสัชกรชำนาญการ จัดทำโดย นายพรัตน์ คำป่าแลว

ยาแม้สามารถใช้รักษาทำให้หายป่วยและร่างกายรู้สึกดีขึ้น ได้ แต่สิ่งสำคัญที่ควรตระหนักไว้เสมอคือ ยาทั้งหลายล้วนแล้ว แต่มีอันตรายเช่นเดียวกับที่มีคุณประโยชน์ ฉะนั้นทำอย่างไรจึง ปลอดภัยจากการใช้ยา ประโยชน์ของยามาจากฤทธิ์ของยาตาม วัตถุประสงค์ที่ใช้และ อันตรายจากยาก็สามารถเกิดขึ้นได้ตลอด เวลาเช่นกัน เริ่มจากอาการไม่พึงประสงค์ หรือผลข้างเคียงของ ยา ซึ่งมีทั้งที่ไม่รุนแรง เช่น คลื่นไส้ กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ หรือง่วงนอน จนกระทั่งรุนแรงถึงแก่ชีวิต เช่น การทำลายตับ หรือทำให้เกิดอาการหายใจไม่ออก รวมไปถึงการใช้สมุนไพร แม้จะเป็นสิ่งที่มาจากธรรมชาติ แต่ไม่ได้หมายความว่าจะไม่มีอันตรายร้ายแรงเกิดขึ้น เพราะที่สุด แล้วหากใช้ไม่ถูกต้อง ใช้ไม่ถูกกับอาการ ไม่ถูกกับโรค ปริมาณ ขนาดที่ใช้ไม่เหมาะสม หรือใช้กับผู้ที่แพ้สมุนไพรบางชนิด ก็อาจ เกิดอันตรายที่คาดไม่ถึงได้ แต่ถึงแม้การใช้ยาและสมุนไพรอาจมีอันตรายควบคู่ไป กับคุณประโยชน์ก็ตาม แต่กสามารถที่จะปฏิบัติตนเพื่อลด อันตรายจากการใช้ยาและสมุนไพรได้อย่างไม่ยาก ซึ่งประโยชน์ที่ ได้รับจะคุ้มค่าเป็นอย่างยิ่ง

ยาสามัญประจำบ้าน ยาสามัญประจำบ้าน คือยาที่เหมาะสมที่ประชาชนควร ซื้อมาไว้ประจำบ้านของตนเอง เพื่อจะเป็นประโยชน์ในการใช้ดูแล ตัวเองจากอาการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ ที่สามารถเกิดขึ้นได้ทั่วไป ในชีวิตประจำวัน ซึ่งยาสามัญประจำบ้านนั้นเป็นยาที่มีความ ปลอดภัยสูง แต่ต้องมาควบคู่กับการใช้งานที่ถูกต้องก็จะไม่ก่อให้ เกิดอันตรายใดๆ ต่อร่างกาย ข้อควรระวัง เราจะต้องเลือกยาที่มีการขึ้นทะเบียนอย่าง ถูกต้องกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ อย. โดย จะต้องมีเลขทะเบียนตำรับยาแสดงอยู่บนฉลากของยาตัวนั้นๆ อย่างชัดเจน เนื่องจากยาที่ได้รับการขึ้นทะเบียนนั้นถือได้ว่าเป็น ยาที่ได้มาตรฐาน สามารถนำมาใช้รักษาโรค หรืออาการต่างๆ ได้ ต่อมาให้ดูเรื่อง วันหมดอายุ เพราะตัวยานั้นมีเวลาที่เสื่อมสภาพ อยู่ จึงไม่ควรซื้อยาที่ใกล้วันหมดอายุ หรือหมดอายุแล้วมารับ ประทาน เพราะอาจทำให้เกิดผลเสีย หรืออันตรายต่อร่างกายได้ อีกทั้ง ยาที่ดีจะต้องอยู่ในบรรจุภัณฑ์ที่มีสภาพดี ตัวยาต้องอยู่ ครบสมบูรณ์ ยาเม็ดต้องไม่แตก สีเรียบ ไม่มีจุดแปลกปลอมบน ตัวยา ส่วนยาน้ำต้องไม่มีการตกตะกอน แต่หากแขวนตะกอนเมื่อ เขย่า ตะกอนนั้นต้องกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอ

ยาสามัญประจำบ้าน ย า เ ม็ ด ล ด ก ร ด อะลูมินา – แมกนิเซียม-ไซเมธิโคน สรรพคุณ บรรเทาอาการจุกเสียด ท้องขึ้นท้องเฟ้อและท้องปวดเนื่องจากมีกรดมากในกระเพาะ อาหารหรือแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ และช่วยขับลม ขนาดและวิธีใช้ เคี้ยวยาก่อนกลืนรับประทานก่อนอาหาร 1/2 ชั่วโมง หรือหลังอาหาร 1 ชั่วโมงหรือเมื่อ มีอาการ ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1-4 เม็ด เด็ก 6-12 ปี รับประทานครั้งละ 1-2 เม็ด คำเตือน 1 . ห้ า ม ใ ช้ ใ น ผู้ ที่ เ ป็ น โ ร ค หั ว ใ จ แ ล ะ โ ร ค ไ ต 2.ไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานเกินกว่า 2 สัปดาห์ต่อเนื่องนอกจากแพทย์สั่ง 3.ในกรณีที่รับประทานยานี้ร่วมกับยาอื่น ควรรับประทานห่างกัน 2 ชั่วโมง การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ำกว่า 30 องศาเซลเซียส

ยาแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ยาธาตุน้ำแดง สรรพคุณ บ ร ร เ ท า อ า ก า ร ป ว ด ท้ อ ง เ นื่ อ ง จ า ก จุ ก เ สี ย ด ท้ อ ง ขึ้ น ท้ อ ง เ ฟ้ อ ขนาดและวิธีใช้ เขย่าขวดก่อนใช้ยา รับประทานก่อนอาหารวันละ 3 ครั้ง ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1 หรือ 2 ช้อนโต๊ะ เด็ก 6-12 ปีรับประทานครั้งละ1/2 หรือ1 ช้อนโต๊ะ คำเตือน 1 . ห้ า ม ใ ช้ ใ น ผู้ ที่ เ ป็ น โ ร ค หั ว ใ จ แ ล ะ โ ร ค ไ ต 2.ไม่ควรรับประทานเป็นเวลานานกว่า 2 สัปดาห์นอกเหนือจากแพทย์สั่ง 3.ยานี้มีแอลกอฮอลล์ผสมอยู่ ควรใช้ด้วยความระมัดระวัง การเก็บรักษา เก็บที่อุณหภูมิต่ำกว่า 40 องศาเซลเซียสและป้องกันไม่ให้ถูกแสงแดด

ย า แ ก้ ท้ อ ง เ สี ย ผ ง น้ำ ต า ล เ ก ลื อ แ ร่ สรรพคุณ ท ด แ ท น ก า ร เ สี ย น้ำ ใ น ร า ย ที่ มี อ า ก า ร ท้ อ ง ร่ ว ง ห รือ ใ น ร า ย ที่ มี อ า เ จี ย น ม า ก ๆ แ ล ะ ป้ อ ง กั น ก า ร ช็ อ ค เ นื่ อ ง จ า ก ก า ร ที่ ร่ า ง ก า ย ข า ด น้ำ ขนาดและวิธีใช้ เทผงยาลงซองละลายในน้ำสะอาด เช่น น้ำต้มสุกที่เย็นแล้วประมาณ 250 มิลลิลิตร หรือ 1 แก้ว ให้ดื่มน้ำมากๆ เมื่อเริ่มมีอาการท้องร่วงถ้าถ่ายบ่อยให้ดูบ่อยครั้งขึ้น ถ้า อาเจียนด้วยให้ดื่มทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง เด็กอายุมากกว่า 2 ปี ถึงผู้ใหญ่ ให้ดื่ม สารละลายเกลือแร่ประมาณ 1 แก้ว หรือ 200 มิลลิลิตร ต่อการถ่ายอุจจาระ 1 ครั้ง หรือ ตามความกระหายของผู้ป่วย เด็กอ่อนถึงเด็กอายุ 2 ปีให้ดื่ม ทีละน้อยสลับกับ น้ำเปล่าประมาณวันละ 3 ซอง หรือมากกว่าที่คนไข้ต้องการและดื่มต่อไปจนกว่า อ า ก า ร จ ะ ดี ขึ้ น คำเตือน 1 . ผู้ ที่ เ ป็ น โ ร ค หั ว ใ จ ห รือ โ ร ค ไ ต ค ว ร ป รึก ษ า แ พ ท ย์ ก่ อ น ใ ช้ 2 . ถ้ า ผู้ ป่ ว ย ยั ง มี อ า ก า ร อ า เ จี ย น ม า ก เ ห งื่ อ อ อ ก ม า ก ตั ว เ ย็ น ค ว า ม รู้ สึ ก เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป ห รือ ห ม ด ส ติ ค ว ร นำ ผู้ ป่ ว ย ส่ ง โ ร ง พ ย า บ า ล ด่ ว น การเก็บรักษา 1 . เ ก็ บ ใ น ที่ แ ห้ ง แ ล ะ ป้ อ ง กั น ไ ม่ ใ ห้ ถู ก แ ส ง แ ด ด 2.ยาที่ละลายน้ำแล้วเกิน 24 ชั่วโมงไม่ควรใช้

ย า ผ ง ถ่ า น รั ก ษ า อ า ก า ร ท้ อ ง เ สี ย สรรพคุณ รั ก ษ า อ า ก า ร ท้ อ ง เ สี ย ขนาดและวิธีใช้ รับประทานยานี้ก่อนหรือหลังรับประทานยาอื่น ๆ 2 ชั่วโมง ผู้ใหญ่ และเด็ก อายุ มากกว่า 2 ปี รับประทานครั้งละ 3-4เม็ด วันละ 3-4 ครั้ง คำเตือน 1 . ห้ า ม รั บ ป ร ะ ท า น ย า นี้ พ ร้ อ ม กั บ ย า อื่ น 2 . รั บ ป ร ะ ท า น ย า ผ ง ถ่ า น นี้ แ ล้ ว อุ จ จ า ร ะ จ ะ มี สี ค่ อ น ข้ า ง ดํ า 3.ถ้าอาการท้องเสียยังไม่ดีขึ้นภายใน 2-3วัน หลังรับประทานยาควรปรึกษาแพทย์ การเก็บรักษา เก็บในแห้ง และอุณหภูมิต่ํากว่า 30 องศาเซลเซียส

ยาระบาย สรรพคุณ ยาระบาย แก้ท้องผูก ขนาดและวิธีใช้ ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 4 เม็ด ก่อนนอน เมื่อมีความจำเป็น วัยละ 1 ครั้ง คำเตือน - การเก็บรักษา -

ย า บ ร ร เ ท า ป ว ด ล ด ไ ข้ พ า ร า เ ว ต า ม อ ล 500 มก. สรรพคุณ ลดไข้ บรรเทาอาการปวด ขนาดและวิธีใช้ รับประทานหลังอาหารทันทีหรือขณะผมไม่ว่างและดื่มน้ำตาลมากๆ รับประทานทุกๆ 4-6 ชั่วโมงเมื่อมีอาการ ไม่ควรรับประทานเกินวันละ 5 ครั้ง ผู้ใหญ่รับประทานครั้ง ละ 1-2 เม็ด เด็ก 6-12 ปีรับประทานครั้งละ 1 เม็ด เด็ก 3-6 ปีรับประทานครั้งละ 1 / 2 เ ม็ ด คำเตือน 1.ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปีและหญิงมีครรภ์ระหว่างใกล้คลอด 2.ห้ามใช้สำหรับลดไข้ในผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใสและไข้เลือดออก 3 . ห้ า ม ใ ช้ ใ น ผู้ ที่ เ ป็ น โ ร ค แ ผ ล ใ น ร ะ บ บ ท า ง เ ดิ น อ า ห า ร แ ล ะ โ ร ค ห อ บ หื ด 4 . ห้ า ม ใ ช้ สำ ห รั บ ก า ร รั ก ษ า ป ว ด เ มื่ อ ย เ นื่ อ ง จ า ก ก า ร ทำ ง า น ห นั ก การเก็บรักษา เก็บในที่แห้งและอุณหภูมิต่ำกว่า 40 องศาเซลเซียส

ยาเม็ดแก้แพ้ ลดน้ำมูก คลอร์เฟนิรามีน สรรพคุณ บรรเทาอาการแพ้ เช่น ลมพิษ น้ำมูกไหล ขนาดและวิธีใช้ รับประทานทุก 4-6 ชั่วโมงเมื่อมีอาการ ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ1-2 เม็ด ไม่ควรรับ ประทานเกินวันละ 12 เม็ด เด็ก 6-12 ปีรับประทานครั้งละ 1 เม็ดไม่ควรรับประทาน เกินวันละ 6 เม็ด คำเตือน 1.ไม่ควรใช้ยาติดต่อกันเกิน 7 วัน 2 . ย า นี้ อ า จ ทำ ใ ห้ เ กิ ด อ า ก า ร ง่ ว ง ซึ ม จึ ง ไ ม่ ค ว ร ขั บ ร ถ ย า ง ย น ต์ ห รือ ทำ ง า น เ กี่ ย ว กั บ เ ค รื่ อ ง จั ก ร ก ล แ ล ะ ห ลี ก เ ลี่ ย ง เ ค รื่ อ ง ดื่ ม ที่ มี แ อ ล ก อ ฮ อ ล์ ผ ส ม การเก็บรักษา เก็บในที่แห้งและอุณหภูมิต่ำกว่า 40 องศาเซลเซียส

ย า แ ก้ ไ อ น้ำ ดำ สรรพคุณ บ ร ร เ ท า อ า ก า ร ไ อ แ ล ะ ช่ ว ย ขั บ เ ส ม ห ะ ขนาดและวิธีใช้ เขย่าขวดก่อนใช้รับประทานวันละ 3-4 ครั้ง ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 1-2 ช้อนชา หรือ 5-10 มิลลิลิตร เด็ก 6-12 ปีรับประทานครั้งละ 1/2- 1 ช้อนชาหรือ 2.5- 5 มิลลิลิตร คำเตือน 1.ห้ามใช้ยานี้ในเด็กที่อายุต่ำกว่า 6 ปี คนชราและหญิงมีครรภ์ 2.ห้ามใช้ยานี้ติดต่อกันเกิน 3 วัน 3 . ย า นี้ มี แ อ ล ก อ ฮ อ ล์ ผ ส ม อ ยู่ ค ว ร ใ ช้ ด้ ว ย ค ว า ม ร ะ มั ด ร ะ วั ง การเก็บรักษา เ ก็ บ ใ ห้ พ้ น จ า ก มื อ เ ด็ ก แ ล ะ ป้ อ ง กั น ไ ม่ ใ ห้ ถู ก แ ส ง แ ด ด

ยาดมแก้วิงเวียน แก้คัดจมูก สรรพคุณ บรรเทาอาการคัดจมูก หายใจไม่ออก และบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะ ขนาดและวิธีใช้ ใ ช้ สู ด ด ม ห รือ ท า บ า ง ๆ ต า ม ค อ แ ล ะ ห น้ า อ ก คำเตือน ห้ามรับประทาน การเก็บรักษา ปิ ด ฝ า ใ ห้ ส นิ ท แ ล ะ ป้ อ ง กั น ไ ม่ ใ ห้ ถู ก แ ส ง แ ด ด

ยาใส่แผล โพวิเดน-ไอโอดีน สรรพคุณ รั ก ษ า แ ผ ล ส ด ขนาดและวิธีใช้ ใ ช้ สำ ลี ส ะ อ า ด ชุ บ ย า ท า ที่ แ ผ ล คำเตือน 1 . ห า ก มี อ า ก า ร ร ะ ค า ย เ คื อ ง ผื่ น แ ด ง ขึ้ น ใ ห้ ห ยุ ด ใ ช้ ย า 2 . ห ลี ก เ ลี่ ย ง อ ย่ า ใ ห้ ย า เ ข้ า ต า การเก็บรักษา ปิดฝาให้สนิทและเก็บในที่อุณหภูมิต่ำกว่า 40 องศาเซลเซียส

น้ำ เ ก ลื อ ล้ า ง แ ผ ล สรรพคุณ ทำ ค ว า ม ส ะ อ า ด บ า ด แ ผ ล ขนาดและวิธีใช้ ใ ช้ ทำ ค ว า ม ส ะ อ า ด ร อ บ บ า ด แ ผ ล คำเตือน - การเก็บรักษา เก็บในที่อุณหภูมิต่ำกว่า 40 องศาเซลเซียส

ยาหม่อง ชนิดขี้ผึ้ง สรรพคุณ บรรเทาอาการปวด บวม อักเสบเนื่องจากแมลงกัดต่อยหรือปวดกล้ามเนื้อ ขนาดและวิธีใช้ ท า แ ล ะ น ว ด บ ริเ ว ณ ที่ มี อ า ก า ร คำเตือน ห้ า ม รั บ ป ร ะ ท า น การเก็บรักษา ปิ ด ฝ า ใ ห้ ส นิ ท แ ล ะ ป้ อ ง กั น ไ ม่ ใ ห้ ถู ก แ ส ง แ ด ด

ยาทาแก้ผดผื่นคัน คาลาไมน์ สรรพคุณ บรรเทาอาการคันเนื่องจากผดผื่นคัน ลมพิษ ขนาดและวิธีใช้ เขย่าขวดก่อนใช้ยา ทาบริเวณที่เป็นวันละ 3-4 ครั้ง คำเตือน ห้ า ม รั บ ป ร ะ ท า น การเก็บรักษา ป้ อ ง กั น ไ ม่ ใ ห้ ถู ก แ ส ง แ ด ด

ข้อมูลอ้างอิง รายการยาสามัญประจําบ้านแผนปัจจุบัน 52 (ปรับปรุงล่าสุดตามประกาศ กระทรวง สาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนปัจจุบัน (ฉบับที่ 3 ) พ.ศ.2550) ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2555 ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2555 ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2561

สมุนไพร “สมุนไพร” หมายถึง ยาที่ได้มาจากพืช สัตว์ แร่ธาตุจาก ธรรมชาติที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงสภาพโครงสร้างภายใน สามารถนำ มาใช้เป็นยารักษาโรคต่างๆ และบำรุงร่างกายได้ ประเภทของ สมุนไพร สมุนไพรที่ได้จากส่วนของพืชโดยตรง (พืชวัตถุ) โดยส่วน ต่างๆ ที่นำมานั้นมีสารที่สามารถใช้เป็นยาได้ ได้แก่ ใบ ดอก ผล เปลือกผล เมล็ด เปลือกเมล็ด รากหรือหัว ต้น แก่น กระพี้ เนื้อไม้ เปลือกไม้ สมุนไพรที่ได้จากอวัยวะของสัตว์ (สัตว์วัตถุ) ได้แก่ ตับ ดี นอ เขา เอ็น เลือด น้ำมัน มูล ฯลฯ เช่น ขี้ผึ้ง รังนก น้ำมันตับปลา สมุนไพรที่ได้จากแร่โดยธรรมชาติหรือสิ่งที่ประกอบขึ้นจากแร่ธาตุ ต่างๆ ตามกรรมวิธี (ธาตุวัตถุ) นำมาใช้เป็นยา เช่น เกลือ กำมะถัน น้ำประสานทอง ดีเกลือ สารส้ม

หลักการใช้สมุนไพร ใช้ให้ถูกต้น ถูกส่วน ถูกขนาด ถูกวิธี ถูกโรค ถูกต้น ถูกส่วน - ชื่อพ้องหรือซ้ำกัน - ส่วนไหนต้องนำมาใช้ : - ชื่อท้องถิ่น ราก ดอก ใบ เปลือก ผล -ชื่อแตกต่างกันแต่อาจ หรือเมล็ด เป็นพืชชนิดเดียวกัน - ความสุก แก่ อ่อน ดิบ หรือเหมือนกันแต่เป็น ของสมุนไพร พืชคนละชนิด ถูกขนาด ถูกวิธี - ขนาด/ปริมาณที่รับประทาน - วิธีการใช้ : กิน/ทา/พอก/แช่ - ช่วงอายุวัย - วิธีการเตรียม : ต้ม/เคี้ยว/ดอง/สกัด - ระยะเวลาในการใช้ ถูกโรค - สมุนไพรใด รักษา โรคใด - สมุนไพรใด แสดง กับโรคใด ข้อควรระวัง - ศึกษาส่วนประกอบของยาและผลิตภัณฑ์ - ควรปรึกษาผู้เชียวชาญเฉพาะทางก่อนการเลือกใช้ - คนระวังการใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็ก - สังเกตอาการผิดปกติจากการใช้และควรหยุดใช้ทันทีเมื่อมีอาการผิดปกติ

ยาแผลไทยและยาสมุนไพรที่มีโอกาสใช้แทนยา แผนปัจจุบัน : ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ ขมิ้นชั น ส่วยที่ใช้เป็นยา : ข้อบ่งใช้ เหง้า : บรรเทาอาการแน่นจุกเสียด ท้องอืด ท้องเฟ้อ รูปแบบ : ขนาดและวิธีใช้ ยาแคปซูล ยาเม็ด : รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 4 ครั้ง ห ลั ง อ า ห า ร แ ล ะ ก่ อ น น อ น อาการไม่พึ่งประสงค์ : ข้อห้ามใช้ ผิวหนังอักเสบจากการแพ้ : ห้ามใช้กับผู้ที่ท่อน้ําดีอุดตัน หรือผู้ที่ไวต่อยานี้ คำเตือนและข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ําดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ - ควรระวังการใช้กับหญิงตั้งครรภ์ ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ - ควรระวังการใช้กับเด็ก เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลด้านประสิทธิผลและความปลอดภัย

ขิ ง ส่วยที่ใช้เป็นยา : ข้อบ่งใช้ เหง้า : - บรรเทาอาการท้องอืด ขับลม แน่นจุกเสียด - ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน ที่มีสาเหตุจากการเมารถ เมาเรือ - ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังการผ่าตัด รูปแบบ : ขนาดและวิธีใช้ ยาแคปซูล ยาชง ยาผง : - บรรเทาอาการท้องอืด ขับลม แน่นจุกเสียด รับประทานวันละ 2–4 กรัม - ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียนจากการเมารถ เมาเรือ รับประทานวัน ละ 1–2 กรัม ก่อนเดินทาง 30 นาที –1 ชั่วโมง หรือเมื่อมีอาการ - ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังการผ่าตัด รับประทานครั้งละ 1 กรัม ก่อน การผ่าตัด 1 ชั่วโมง อาการไม่พึ่งประสงค์ อาการแสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร อาการระคายเคืองบริเวณปากและคอ ข้อห้ามใช้ - คำเตือนและข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ําดียกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ - ไม่แนะนําให้รับประทานในเด็กอายุต่ํากว่า 6 ขวบ

ย า ธ า ตุ อ บ เ ช ย ส่วยประกอบ : ข้อบ่งใช้ เปลือกอบเชยเทศ เปลือกสมุลแว้ง ลูกกระวาน ดอกกานพล รากชะเอมเทศ เกล็ดสะระแหน่ การบูร : ขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ รูปแบบ : ขนาดและวิธีใช้ ยาน้ํา : รับประทานครั้งละ 15-30 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร อาการไม่พึ่งประสงค์ - ข้อห้ามใช้ - คำเตือนและข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มี ความผิดปกติของตับ ไต เ นื่ อ ง จ า ก อ า จ เ กิ ด ก า ร ส ะ ส ม ข อ ง ก า ร บู ร แ ล ะ เ กิ ด พิ ษ ไ ด้

มะขามแขก ส่วยที่ใช้เป็นยา : ข้อบ่งใช้ ใบ : บรรเทาอาการท้องผูก รูปแบบ : ขนาดและวิธีใช้ ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาชง : - ชนิดชง รับประทานครั้งละ 2กรัม ชงน้ําร้อนประมาณ 120-200 มิลลิลิตร ก่อนนอน - ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม –1.2 กรัม ก่อนนอน อาการไม่พึ่งประสงค์ ปวดมวนท้อง ผื่นคัน ข้อห้ามใช้ ผู้ป่วยที่มีภาวะทางเดินอาหารอุดตัน หรือปวดท้องโดยไม่ทราบสาเหตุ คำเตือนและข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในเด็กอายุต่ํากว่า 12ปี หรือในผู้ป่วย inflammatory bowel disease - การรับประทานยาในขนาดสูง อาจทําให้เกิดไตอักเสบ - ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานเพราะจะทําให้ท้องเสีย ซึ่งส่งผลให้มีการสูญเสียน้ําและ เ ก ลื อ แ ร่ ม า ก เ กิ น ไ ป โ ด ย เ ฉ พ า ะ โ พ แ ท ส เ ซี ย ม แ ล ะ ก า ร ใ ช้ ติ ด ต่ อ กั น เ ป็ น ร ะ ย ะ เ ว ล า น า น จ ะ ทํ า ใ ห้ ลําไส้ใหญ่ชินต่อยา ถ้าไม่ใช้ยาจะไม่ถ่าย - ควรระวังการใช้ยานี้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร

ฟ้ า ท ะ ล า ย โ จ ร ส่วยที่ใช้เป็นยา : ข้อบ่งใช้ ส่วนเหนือดิน : บรรเทาอาการเจ็บคอ บรรเทาอาการของโรคหวัด เช่น เจ็บคอ ปวด เ มื่ อ ย ก ล้ า ม เ นื้ อ รูปแบบ : ขนาดและวิธีใช้ ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาลูกกลอน : บรรเทาอาการหวัด เจ็บคอ รับประทานครั้งละ 1.5–3 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร และก่อนนอน อาการไม่พึ่งประสงค์ อาจทําให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเดิน คลื่นไส้เบื่อ อาหาร วิงเวียนศีรษะ ใจสั่น และอาจเกิดลมพิษได ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้กับผู้ที่มีอาการแพ้ฟ้าทะลายโจร - ห้ามใช้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตรเนื่องจากอาจทําให้เกิดทารกวิรู ได้ - ห้ามใช้ฟ้าทะลายโจรสําหรับแก่เจ็บคอในกรณีต่างๆ ต่อไปนี้ ผู้ป่วยที่มีอาการ เจ็บคอเนื่องจากติดเชื้อ ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคไตอักเสบ เนื่องจากเคยติดเชื้อ ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคหัวใจรู ห์มาติค ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอเนื่องจากมีการติด เชื้อแบคทีเรีย และมีอาการรุ นแรงเช่นมีตุ่มหนองในคอ มีไข้สูงแลหนาสั่น คำเตือนและข้อควรระวัง - หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทําให้แขนขามีอาการชาหรืออ่อนแรง - หากใช้ฟ้าทะลายโจรติดต่อกัน 3วัน แล้วไม่หาย หรือ มีอาการรุ นแรงขึ้นระหว่างใช้ยา ค ว ร ห ยุ ด ใ ช้ แ ล ะ พ บ แ พ ท ย์

ต รี ผ ล า ส่วนประกอบ : ข้อบ่งใช้ มะขามป้อม สมอไทย และสมอพิเภก อย่างละเท่าๆกัน : บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ รูปแบบ : ขนาดและวิธีใช้ ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล ยาชง : - ชนิดชง รับประทานครั้งละ 1-2 กรัม ชงน้ําร้อนประมาณ 120–200 มิลลิลิตร ทิ้งไว้ 3-5 นาที ดื่มในขณะยังอุ่น เมื่อมีอาการไอ ทุก 4 ชั่วโมง - ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน รับประทานครั้งละ 300-600 มิลลิกรัม เมื่อมีอาการไอ วันละ 3-4 ครั้ง อาการไม่พึ่งประสงค์ ท้ อ ง เ สี ย ข้อห้ามใช้ - คำเตือนและข้อควรระวัง ค ว ร ร ะ วั ง ก า ร ใ ช้ ใ น ผู้ ป่ ว ย ที่ ท้ อ ง เ สี ย ง่ า ย

เ ถ า วั ล ย์ เ ป รี ย ง ส่วยที่ใช้เป็นยา : ข้อบ่งใช้ เถา : ยาเถาวัลย์เปรียง บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ ลดการอักเสบของกล้ามเนื้อ ยาสารสกัดจากเถาวัลย์เปรียง บรรเทาอาการปวดหลังส่วนล่าง และอาการปวดจาก ข้ อ เ ข่ า เ สื่ อ ม รูปแบบ : ขนาดและวิธีใช้ ยาแคปซูล : ยาเถาวัลย์เปรียง รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม–1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที ยาสารสกัดจากเถาวัลย์เปรียง รับประทานครั้งละ 400 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารทันที อาการไม่พึ่งประสงค์ ปวดท้อง ท้องผูก ปัสสาวะบ่อย คอแห่ง ใจสั่น เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ อุจจาระเหลว ข้อห้ามใช้ ห้ า ม ใ ช้ ใ น ห ญิ ง ตั้ ง ค ร ร ภ์ คำเตือนและข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคแผลเปื่ อยเพปติก เนื่องจากเถาวัลย์เปรียงออกฤทธิ์คล้ายยา แก่ปวดกลุ่มยาต้านการ อักเสบที่ไม่ใช้สเตียรอยด์ - อาจทําให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร

ย า ส หั ศ ธ า ร า ส่วยประกอบ : ข้อบ่งใช้ พริกไทยล่อน รากเจตมูลเพลิงแดง ดอกดีปลี หัศคุณเทศ เนื้อลูกสมอไทย ราก ตองแตก เหง้าว่านน้ํา ดอกจันทน์ เทียนแดง ลูกจันทน์ เทียนตาตั๊กแตน เทียนสัต ตบุษย์ เทียนดํา มหาหิงคุ์ โกฐกักกรา โกฐเขมา โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลาการบูร : ขับลมในเส้น แก้โรคลมกองหยาบ รูปแบบ : ขนาดและวิธีใช้ ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน : รับประทานครั้งละ 1 –1.5 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่ อ น อ า ห า ร อาการไม่พึ่งประสงค์ ร้อนท้อง แสบท้อง คลื่นไส้ คอแห้ง ผื่นคัน ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ คำเตือนและข้อควรระวัง - ควรระวังการบริโภคในผู้ป่วยโรคความดันเลือดสูง โรคหัวใจ โรคแผลเปื่ อยเพปติก และ โรคกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็น ตํารับยารสร้อน - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของ การบูรและเกิดพิษได้

ไพล ส่วยที่ใช้เป็นยา : ข้อบ่งใช้ เหง้า : บรรเทาอาการบวม ฟกช้ํา เคล็ดยอก รูปแบบ : ขนาดและวิธีใช้ ยาครีม ยาน้ํามัน : ทาและถูเบา ๆ บริเวณที่มีอาการวันละ 2-3 ครั้ง อาการไม่พึ่งประสงค์ - ข้อห้ามใช้ - ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน - ห้ามทาบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด คำเตือนและข้อควรระวัง -

พ ริ ก ส่วยที่ใช้เป็นยา : ข้อบ่งใช้ ผล : บรรเทาอาการปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ รูปแบบ : ขนาดและวิธีใช้ ยาเจล ยาครีม ยาขี้ผึ้ง : ทาบริเวณที่ปวด 3 - 4 ครั้ง ต่อวัน อาการไม่พึ่งประสงค์ ผิวหนังแดง ปวด และแสบร้อน ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ capsaicin - ห้ามสัมผัสบริเวณตา - ระวังอย่าทายาพริกบริเวณผิวที่บอบบางหรือบริเวณผิวหนังที่แตก เ นื่ อ ง จ า ก ทํ า ใ ห้ เ กิ ด อ า ก า ร ร ะ ค า ย เ คื อ ง คำเตือนและข้อควรระวัง - การใช้ร่วมกับยารักษาโรคหัวใจ กลุ่ม angiotensin-converting enzyme inhibitor (ACE inhibitor) อาจทําให้ เกิดอาการไอเพิ่มขึ้น - อาจเพิ่มการดูดซึมของยาโรคหอบหืด คือ theophylline ชนิดออกฤทธิ์เนิ่นนาน

ยาประสะไพล ส่วยประกอบ : ข้อบ่งใช้ ไพล ผิวมะกรู ด เหง้าว่านน้ํา กระเทียม หัวหอม พริกไทย ดอกดีปลี ขิง ขมิ้นอ่อย เทียนดํา เกลือสินเธาว์ การบูร : ระดูมาไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปกติ บรรเทา อาการปวดประจําเดือน ขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร รูปแบบ : ขนาดและวิธีใช้ ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน : - กรณีระดูมาไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปกติ ชนิดผง รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ําสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เป็นเวลา 3-5 วัน เมื่อระดูมา ให้หยุด รับประทาน ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เป็นเวลา 3-5 วัน เมื่อระดูมาให้ ห ยุ ด รั บ ป ร ะ ท า น - กรณีปวดประจําเดือน ในกรณีที่มีอาการปวดประจําเดือนเป็นประจํา ให้รับประทาน ยาก่อนมีประจําเดือน 2-3 วันไปจนถึงวันแรกและ วันที่สองที่มีประจําเดือน ชนิดผง รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน้ําสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ชนิดแคปซูล ชนิด เม็ด และชนิดลูกกลอน รับประทานครั้งละ 1 กรัมวันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร - กรณีขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร ชนิดผง รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละ ลายน้ําสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ให้รับประทานจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่ เกิน 15 วัน ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ให้รับประทานจนกว่าน้ําคาวปลาจะหมด แต่ไม่เกิน 15 วัน อาการไม่พึ่งประสงค์ - ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตกเลือดหลังคลอด หญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ - ห้ามรับประทานในหญิงที่มีระดูมากกว่าปกติเพราะจะทําให้มีการขับระดูออกมามากขึ้น (ต่อ)

คำเตือนและข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของ การบูรและเกิดพิษได้ - กรณีระดูมาไม่สม่ําเสมอหรือมาน้อยกว่าปกติไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 1 เดือน - กรณีขับน้ําคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกิน 15 วัน

พญายอ ส่วยที่ใช้เป็นยา : ข้อบ่งใช้ ใบ : - ยาครีม บรรเทาอาการของเริมและงูสวัด - สารละลาย (สําหรับป้ายปาก) รักษาแผลในปาก (aphthous ulcer) แผลจาก ก า ร ฉ า ย รั ง สี แ ล ะ เ ค มี บํ า บั ด - ยาโลชัน บรรเทาอาการผดผื่นคัน ลมพิษ ตุ่มคัน - ยาขี้ผึ้ง บรรเทาอาการอักเสบ ปวด บวมจากแมลงกัดต่อย - ยาทิงเจอร์บรรเทาอาการของเริม และงูสวัด รูปแบบ : ขนาดและวิธีใช้ ยาครีม สารละลาย (สําหรับป้ายปาก) ยาโลชัน ยาขี้ผึ้ง ยาทิงเจอร์ : ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ 5 ครั้ง อาการไม่พึ่งประสงค์ - ข้อห้ามใช้ - คำเตือนและข้อควรระวัง -

ห ญ้ า ด อ ก ข า ว ส่วยที่ใช้เป็นยา : ข้อบ่งใช้ ต้น ใบ ดอก : ลดความอยากบุหร รูปแบบ : ขนาดและวิธีใช้ ยาชง : รับประทานครั้งละ 2 กรัม ชงน้ําร้อนประมาณ 120-200 มิลลิลิตร หลังอาหาร วันละ 3-4 ครั้ง อาการไม่พึ่งประสงค์ ปากแห้ง คอแห้ง ข้อห้ามใช้ - คำเตือนและข้อควรระวัง ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคไต เนื่องจากยาหญ้าดอกขาวมีโพแทสเซียมสูง

ขอบคุณ ยาแผลไทยและยาสมุนไพรที่มีโอกาสใช้แทนยา แผนปั จจุบัน : ย า ใ น บั ญ ชี ย า ห ลั ก แ ห่ ง ช า ติ รวบรวมข้อมูลโดย : กลุ่มงานวิชาการเภสัชกรรมแผนไทย สถาบัน ก า ร แ พ ท ย์ แ ผ น ไ ท ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook