Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน.pdf (มีน สุนทรวัฒน์)

วิจัยในชั้นเรียน.pdf (มีน สุนทรวัฒน์)

Published by sunthonwat1983, 2021-03-04 09:13:22

Description: วิจัยในชั้นเรียน.pdf (มีน สุนทรวัฒน์)

Search

Read the Text Version

งานวจิ ัยในชนั้ เรยี น เรอื่ ง เพ่มิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นด้วย บทเรียนสอ่ื ประสม เรือ่ งการวาดภาพระบายสี กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะสาระทศั นศลิ ป์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 จัดทาโดย นายมีน สนุ ทรวฒั น์

บทท่ี 1 บทนา ภูมหิ ลงั การเปลี่ยนแปลงสภาพทางเศรษฐกิจ สังคม ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยี การปรับเปล่ียนปฏิรูปสังคมไปสู่ความเป็นสังคมใหม่ ประกอบกับแนวคิดใหม่ในการจัดการศึกษาข้ัน พืน้ ฐานที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนที่สมบูรณ์มีความสมดลุ ทั้งด้านร่างกายจิตใจสติปัญญา อารมณ์ และ สังคมสามารถพัฒนาตนเองและร่วมมือกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่ม สาระการเรียนรูท้ ่ีทม่ี งุ่ เน้นการสง่ เสรมิ ใหม้ คี วามคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์ มีจนิ ตนาการทางศิลปะ ชน่ื ชมความ งาม สุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ ดังน้ันการจัดกิจกรรมศิลปะสามารถ นาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนโดยตรงท้ังด้านร่างกายจิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม ตลอดจน นาไปสกู่ ารพฒั นาส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชือ่ มั่นในตนเอง และแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ การเรียนการสอนศิลปศึกษาในปัจจุบันน้ีมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาคุณภาพของมนุษย์ซ่ึงสอดคล้อง กับ เลิศ อานันทนะ (2535 : 46)กล่าวว่า ศิลปะมีบทบาทสาคัญในการทาหน้าที่เสมือนเป็นกุญแจท่ีไข ประตูแห่งการพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และก้าวไปสู่โลกแห่งจินตนาการอย่างไม่มีขอบเขตจากัด ดังน้ัน การศึกษาจึงเป็นเครื่องมือในการพัฒนาความรู้ ความคิด ความประพฤติ ทัศนคติ ค่านิยม และ คณุ ธรรมของบคุ คลเพ่ือให้เป็นพลเมืองดที ี่มคี ุณภาพของสงั คมและประเทศชาติ การพัฒนากระบวนการรับรู้ทางศิลปะ การเห็นภาพรวม การสังเกตรายละเอียดสามารถ ค้นพบศักยภาพของตนเอง อันเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้ ด้วยการมีความ รับผิดชอบ มีระเบียบวินัย สามารถทางานร่วมกันไดอ้ ย่างมีความสุข การเรียนรศู้ ิลปะ มุ่งพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ การคิดที่เป็นเหตุเป็นผลถึงวิธีการทางศิลปะ ความเป็นมาของรูปแบบภูมิ ปัญญาท้องถิ่น และรากฐานทางวัฒนธรรม ค้นหาว่าผลงานศิลปะสื่อความหมายกับตนเอง ค้นหา ศักยภาพ ความม่ันใจส่วนตัว ฝึกการรับรู้ การสังเกตที่ละเอียดอ่อนอันนาไปสู่ความรัก เห็นคุณค่าและ เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะและสิ่งรอบตัว พัฒนาเจตคติ สมาธิ รสนิยมส่วนตัว มีทักษะ กระบวนการ วิธีการแสดงออก การคิด สร้างสรรค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนตระหนักถึงบทบาทของศิลปกรรม ในสังคม ในบริบทของการสะท้อนวัฒนธรรมทั้งของตนเองและวัฒนธรรมอื่นพิจารณาว่าผู้คนใน วฒั นธรรมของตนมีปฏิกิริยาตอบสนองต่องานศิลปะ ช่วยให้มีมุมมองและเข้าใจโลกทัศน์กว้างไกล ช่วย เสริมความรู้ ความเข้าใจมโนทัศน์ด้านอ่ืน ๆ สะท้อนให้เห็นมุมมองของชีวิตสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และความเช่ือความศรัทธาทางศาสนา ด้วยลักษณะธรรมชาติของกลุ่มสาระการ

เรยี นร้ศู ลิ ปะ การเรียนรู้เทคนคิ วิธีการทางาน ตลอดจนเปิดโอกาสให้แสดงออกอย่างอสิ ระ ทาให้ผู้เรียน ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนให้คิดริเริ่มสร้างสรรค์ ดัดแปลงจินตนาการ มีสุนทรียภาพ และเห็นคุณค่า ของศิลปะ วัฒนธรรมไทยและสากล (กรมวชิ าการ.2546 : 1-2) กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเสริมสร้างให้ ชีวิตมนุษย์เปล่ียนแปลงไปในทางที่ดีข้ึนช่วยให้มีจิตใจงดงาม มีสมาธิ สุขภาพกายและสุขภาพจิตมีความ สมดุล อันเป็นรากฐานของการพัฒนาชีวิตท่ีสมบูรณ์ เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของมนุษยชาติโดย ส่วนตน และส่งผลต่อการยกระดับ คุณภาพของชวี ิตของสงั คมโดยรวม (กรมวชิ าการ. 2546 : 2) ปัญหาในการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์นั้น คือการจัด กิจกรรมกระบวนการเรียนการสอน ที่ไม่เร้าใจ นักเรียนไม่ได้แสดงออกทางความคิดเบ่ือหน่ายต่อการ รับรู้ทางการเรียน ซึ่งส่งผลไม่ดีต่อคุณภาพโดยรวม ดังรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษากลุ่ม สาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 33 ลพบุรี นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ คือ ปีการศึกษา 2560 ต้งั เป้าหมายในการวดั ผลผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน ร้อยละ 80 นักเรียนทาได้ ร้อยละ 70.65 ต่ากว่าเกณฑ์ทต่ี ้งั ไว้ ปีการศึกษา 2561 ต้งั เป้าหมายในการวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรยี น ร้อย ละ 80 นักเรียนทาได้ร้อยละ 69.53 ซึ่งก็ต่ากว่าเกณฑ์ ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปรากฏว่า ใน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ต่ากว่าเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ ถือว่าเป็นปัญหาในการสอนเป็น อย่างยิ่ง ครูผู้สอนจะต้องหาแนวทางปรับปรุงและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยจัดกิจกรรมการสอนที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้คิดแบบสร้างสรรค์ มีทักษะในการเรียนศิลปะ มีทักษะใน การแก้ปัญหา ปลูกฝังทักษะในการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองการแลกเปล่ียนความคิดเห็น และ ประสบการณ์ในการทางานในรูปกระบวนการกลุ่มและให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้อที่ 14.4 สถานศกึ ษาสง่ เสรมิ และพฒั นานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้และส่ืออปุ กรณ์การเรียนที่เออื้ ตอ่ การเรียนรู้ และข้อที่ 15.5 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านศิลปะ/ดนตรี/นาฏศิลป์/กีฬา/ นนั ทนาการ จากปัญหาดังกล่าวผู้ศึกษาค้นคว้าจึงได้หาวิธีการและแนวทางแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้น โดยคิดหา เคร่ืองมือเข้ามาช่วยในการสอน การวาดภาพระบายสี จึงได้วางแผนดาเนินการแก้ไข ดังน้ีคือ ศึกษา วธิ ีการสอนจากเอกสารหลักสูตร ตารา ท่ีเกีย่ วกับเทคนิคการสอนแบบต่าง ๆ เพือ่ พฒั นารปู แบบการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน ให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ศึกษาเกี่ยวกับเทคนิคและวิธีการ สอนการวาดภาพระบายสี รวมทั้งการผลิตส่ือการเรียนการสอน จัดสร้างส่ือ และคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ประกอบการสอน เชน่ ส่อื ประสม วดี ีทศั น์หนังสือ เอกสารประกอบการเรียน เพอื่ ใหน้ ักเรยี น สามารถค้นคว้าได้ด้วยตนเองและสนใจเรียนมากขึ้น บทเรียนส่ือประสมนับว่าเป็นนวัตกรรมและ เทคโนโลยีทางการศึกษาอีกรูปแบบหนึ่งเหมาะท่ีจะนา มาใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพราะเป็น

การนาเอาเทคโนโลยีการศึกษา ส่ือการสอนเทคนิค วิธกี ารใหม่ ๆ เข้ามาประกอบการเรียนการสอน ซ่ึง เป็นวิธีการหนึ่ง ท่ีจะนามาแก้ปัญหาดังกล่าวได้ การนานวัตกรรมในรูปของชุดส่ือประสม (Multimedia Kits) เข้ามาเสริมในการจัดการเรียนการสอน จะทาให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากข้ึน ทาให้ ผู้เรียนบรรลผุ ลการเรียนรู้ตามจุดหมายท่ีหลักสตู รกาหนดไว้ บทเรียนสอื่ ประสมเป็นการรวบรวมเอาวสั ดุ อุปกรณ์ที่ประกอบด้วยส่ือมากกว่าหนึ่งชนิดข้ึนไป มาจัดไว้เก่ียวเนื่องกันในเน้ือหาวิชาเพียงเร่ืองเดียว และบทเรียนสื่อประสมยังเป็นรูปแบบของบทเรียนที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยเหลือครูให้สอนได้อย่างมี ประสิทธิภาพดยี ิง่ ข้นึ (Brown. 1973 : 338) ผู้ศึกษาค้นคว้าได้นาปัญ หาการจัดกระบวนการเรียนการสอนกลุ่มสาระศิลปะ สาระ ทัศนศิลป์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 เสนอต่อผู้บรหิ ารโรงเรียนที่จะแกป้ ัญหาใหไ้ ด้ในปีการศึกษา2562 โดย การผลิตส่ือการเรยี นรู้ท่ีเรียกว่า บทเรียนส่ือประสม เพอื่ ประกอบการสอน บทเรียนนี้จะประกอบไปด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีมีแบบฝึก ใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบ และอ่ืน ๆ ตามเนื้อหาท่ี กาหนดในบทน้ัน ๆ เพ่ือเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ท่ีเกิดข้ึนและทาให้ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นสงู ขน้ึ ความมุ่งหมายของการศกึ ษาคน้ ควา้ 1. เพ่อื ศึกษาประสิทธภิ าพของบทเรียนส่ือประสมเรื่องการวาดภาพระบายสีชน้ั มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ตามเกณฑ์ 80/80 2. เพือ่ ศึกษาดชั นปี ระสิทธผิ ลของกิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้บทเรยี นส่ือประสม 3. เพอ่ื ประเมนิ ทกั ษะการวาดภาพระบายสี โดยใช้บทเรียนส่อื ประสม 4. เพอื่ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรยี นทีม่ ตี อ่ การเรียนรูโ้ ดยใช้บทเรยี นสื่อประสม ความสาคัญของการศึกษาคน้ คว้า 1. บทเรียนส่ือประสม เรอื่ งการวาดภาพระบายสี กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะสาระทศั นศิลป์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพและให้ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นไดด้ ี 2. เป็นแนวทางสาหรับครูผู้สอนและผู้สนใจ ในการสร้างบทเรียนสื่อประสมเพ่ือใช้ในการจัด กจิ กรรมการเรียนรู้ในกล่มุ สาระการเรียนรู้ หรอื วชิ าอื่น ๆ ตอ่ ไป ขอบเขตของการศกึ ษาค้นควา้ 1. ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์33 ลพบุรี สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ

2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์33 ลพบรุ ี สานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษที่กาลังเรียนในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา2562 จานวนทั้งหมด จานวน 6 คน ได้มาจากการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 3. เน้ือหาที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี เรื่องการวาดภาพระบายสี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2544 เวลา 12 ชั่วโมง รวมท้งั การทดสอบหลงั เรียนด้วย 4. ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า ดาเนินการใช้บทเรียนสื่อประสมกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ระหว่างวนั ท่ี 16 พฤษภาคม 2562 ถงึ วนั ท่ี 16 กนั ยายน 2562 รวมเวลา 12 ชวั่ โมง นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 1. บทเรียนส่ือประสม หมายถึง บทเรียนประกอบการเรียนสาหรับนักเรียนรายบุคคลแบบ ไม่แยกกรอบ เป็นบทเรียนท่ีเสนอเน้ือหาตามลาดับขั้นตอนมีคาถามและมีเฉลยหรือแนวในการตอบ คาถามไวใ้ ห้ตรวจสอบทันที เพื่อเป็นข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนวา่ คาตอบของตนถูกหรือผิดซึ่งเป็นการให้ การเสริมแรง แก่ผู้เรียนเมื่อผู้เรียนตอบถูก นอกจากนี้ยังจัดส่ือประกอบบทเรียนตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป ได้แก่ วีดที ัศน์ แผนภูมภิ าพ แผ่นโปรง่ ใส แบบฝกึ เปน็ บทเรียนส่อื ประสมสาหรับเลอื กใชใ้ นการเรยี นเป็น รายบุคคลและเป็นกลมุ่ 2. ประสิทธิภาพของบทเรียนสื่อประสม หมายถึง คุณภาพของบทเรียนส่ือประสมและ กิจกรรมที่ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยนาไปทดลองใช้และหาประสิทธิภาพของกระบวนการและ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด 80/80 ดังนี้ 80 ตัวแรก หมายถึง ประสิทธิภาพของ กระบวนการ เป็นร้อยละของค่าเฉลี่ยคะแนนท่ีได้จากการทาแบบฝึกและการประเมินกิจกรรมการ เรียนรู้ในแต่ละบทเรียน 80 ตัวหลัง หมายถึง ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ เป็นร้อยละของค่าเฉลี่ย คะแนนทีไ่ ดจ้ ากการทาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 3. ดัชนปี ระสทิ ธผิ ล (The Effectiveness Index) หมายถึง คา่ ตวั เลขทแ่ี สดงอัตราความ กา้ วหน้าในการเรยี นรูท้ ี่เพ่ิมข้นึ จากพื้นฐานความรูเ้ ดมิ ท่ีมอี ยูแ่ ลว้ หลงั จากผูเ้ รียนไดร้ บั ประสบการณ์ การเรียนรู้ จากบทเรยี นส่ือประสม 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนความรู้ความเข้าใจในบทเรียนตามจุดประสงค์ การเรียนรู้หลังเรียนท่ีวัดโดยใชแ้ บบทดสอบ ประเมินความรู้หลังเรียนการวาดภาพระบายสีตามกิจกรรม ในบทเรียนส่ือประสม จนครบ 12 ชุด เป็นแบบทดสอบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน ทัง้ หมด 30 ข้อ 5. ทักษะการวาดภาพระบายสี หมายถึง ความสามารถของนักเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติ กิจกรรมตามบทเรียนส่ือประสม ได้แก่ การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การตอบคาถาม การออกแบบการจัด

องค์ประกอบงานศิลปะ การตกแต่งอย่างประณีตและสวยงาม การนาเสนอผลงานการวิจารณ์ผลงาน และการจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ การ ประเมินโดยใช้แบบ Rating Scale มี ระดับการประเมิน 4 ระดับ คือ ระดบั 1 หมายถึง ควรปรับปรุง ระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ระดับ 3หมายถึง ดี และ ระดับ 4 หมายถึง ดี มาก 6. ความพึงพอใจในการเรียนการวาดภาพระบายสี หมายถึง ความชอบ ความพอใจความ สนใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้การวาดภาพระบายสีโดยใช้บทเรียนส่ือประสมมีระดับการวัด 4 ระดบั คือ น้อย ปานกลาง มาก และมากที่สดุ บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง การศึกษาการสร้างบทเรียนส่ือประสม เรื่องการวาดภาพระบายสี กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 เพ่ือให้การศึกษาค้นคว้าบรรลุตามวัตถุประสงค์ผู้ศึกษา ค้นคว้าได้ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ดงั น้ี

1. หลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ 2. แนวการจัดการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ เรื่องการวาด ภาพระบายสี 3. หลักการเกย่ี วกับการสอนศลิ ปะ 4. บทเรยี นส่ือประสม 5. ประสทิ ธิภาพและดชั นปี ระสทิ ธผิ ลของการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (EffectivenessIndex) 6. การวัดทักษะปฏบิ ตั ิ 7. ความพึงพอใจในการเรียนรู้ 8. งานวิจยั ท่เี กย่ี วข้อง 8.1 งานวจิ ัยในประเทศ 8.2 งานวิจัยตา่ งประเทศ หลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ 1. ความสาคัญ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมให้มีความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ มจี ินตนาการทางศิลปะ ชน่ื ชมความงาม สุนทรียภาพ ความมีคณุ ค่า ซึ่งมผี ลต่อคณุ ภาพชวี ิต มนุษย์ ดังนั้นกิจกรรมศิลปะสามารถนาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนโดยตรงทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญา อารมณ์และสังคม ตลอดจนนาไปสู่การพัฒนาส่ิงแวดล้อมส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเช่ือมั่นใน ตนเอง และแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ พัฒนากระบวนการรับรู้ทางศิลปะ การเห็นภาพรวม การ สังเกตรายละเอียด สามารถค้นพบศักยภาพของตนเอง อนั เป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ หรือประกอบ อาชีพได้ ดว้ ยการมีความรับผิดชอบ มรี ะเบยี บวนิ ยั สามารถทางานร่วมกนั ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ 2. วิสัยทศั น์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเสริมสร้างให้ชวี ิตมนุษย์เปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดีข้ึนชว่ ยให้มีจิตใจ งดงามมีสมาธิ สุขภาพกายสุขภาพจิตมีความสมดุล อันเป็นรากฐานการพัฒนาชีวิตที่สมบูรณ์เป็นการ ยกระดับคุณภาพชีวติ ของมนษุ ยชาตโิ ดยส่วนตน และส่งผลการยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ของสงั คมโดยรวม 3. คณุ ภาพผ้เู รยี น เมื่อจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะแล้ว ผู้เรียนจะมีจิตใจงดงามมี สุนทรียภาพ รักสวยรักงาม ความเป็นระเบียบ รับรู้อย่างพินิจพิเคราะห์ เห็นคุณค่าความสาคัญของ ศลิ ปะ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ตลอดจนศิลปวัฒนธรรมอนั เป็นมรดกทางภมู ปิ ญั ญาของคนในชาติ สามารถค้นพบศกั ยภาพความสนใจของตนเอง อันเป็นพนื้ ฐานในการศึกษาตอ่ หรือประกอบอาชพี

ทางศิลปะ มีจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ มีสมาธิในการทางาน มีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุขเมื่อผู้เรียนจบการศึกษาในช่วงช้ันท่ี 4 (มัธยมศึกษาปีท่ี 4- 6) ผเู้ รยี นจะมีคุณภาพดงั นี้ 1. สร้างและนาเสนอผลงานศิลปะจากจินตนาการ ความคดิ สร้างสรรค์ การสังเกตทาง ศิลปะ ไดแ้ ก่ ทัศนธาตุ องค์ประกอบดนตรี องค์ประกอบนาฏศิลป์ ทักษะในการใชเ้ ทคนิคให้เกิดผลตาม ความต้องการของตนเอง และอธบิ ายใหผ้ ้อู ื่นรบั รู้โดยใชศ้ พั ท์เบอ้ื งตน้ ทางศิลปะได้ 2. รับรู้ทางศิลปะ ได้แก่ทัศนธาตุ องค์ประกอบดนตรี องค์ประกอบนาฏศิลป์ซ่ึง สามารถช่วยวิเคราะห์งานศิลปะ และอธิบายให้ผู้อ่ืนเข้าใจในความสวยงามและความไพเราะของศิลปะ ได้ 3. ระบุงานศิลปะท่ีเก่ียวข้องกับวัฒนธรรมในท้องถิ่นได้ อธิบายให้ผู้อ่ืนเข้าใจ ประวัติศาสตรห์ รือเหตกุ ารณ์ปัจจบุ ันมีผลหรือไดร้ ับอทิ ธิพลจากงานศิลปะได้ 4. นาความรู้ศิลปะสาขาต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันและการเรียนรู้กลุ่ม สาระอืน่ ๆ 5. สนใจสร้างงานศิลปะ มีความสุขกับการทางานมั่นใจในการแสดงออก ยอมรับ ความสามารถของผอู้ ่ืน 6. ตระหนัก ช่ืนชมในคุณค่าของศิลปะ ธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล 4. สาระ สาระที่ 1 ทัศนศลิ ป์ สาระที่ 2 ดนตรี สาระท่ี 3 นาฏศิลป์ 5. สาระการเรียนรแู้ ละองคค์ วามรู้ 5.1 ความรู้ ขอบข่าย สัญลกั ษณ์ แนวคดิ ทางศิลปะ 5.2 การสร้างสรรค์ และการแสดงออก 5.3 การวเิ คราะห์ วจิ ารณง์ านศลิ ปะ และสุนทรยี ภาพ 5.4 การประยกุ ต์ใช้ความรทู้ างศิลปะ 5.5 ศิลปะกับวฒั นธรรม ประวัตศิ าสตรไ์ ทยและสากล ธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม 6. มาตรฐานการเรยี นร้สู าระทัศนศลิ ป์ 6.1 มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอสิ ระชนื่ ชม และ ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั

6.2 มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสาคัญระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เหน็ คุณคา่ งานทัศนศิลป์ เปน็ มรดกทาง วฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น ภมู ปญั ญาไทย และสากล 7. จดุ ประสงคต์ ามหลักสตู รกลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การพัฒนาค่านยิ ม เจตคติ พฤตกิ รรม และบุคลิกภาพเนน้ การเปน็ คน ช่างคดิ ชา่ งทา และปรับตัวเขา้ กับการเปลี่ยนแปลงไดโ้ ดยใชก้ ิจกรรมศลิ ปศกึ ษา เปน็ หลกั การใน การจัดการเรียนการสอน จงึ ตอ้ งปลูกฝงั ให้มีคุณลักษณะดงั น้ี 7.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ในหลักการเก่ียวกบั ความดี ความงาม การรักษาสุขภาพ กาย และจิต 7.2 มีความสามารถในการวิเคราะห์ วิจารณ์ แก้ปัญหา มีความสามารถในการแสดงออก และสามารถทางานร่วมกับผอู้ ืน่ ได้ 7.3 มีความเสียสละ สามคั คี มวี ินัย ประหยัด ซือ่ สตั ย์ กตัญญกู ตเวที รักการทางาน เหน็ คณุ ค่าของการออกกาลงั กาย 7.4 มีความสนใจแสวงหาความรู้ และรูปแบบการทางานใหม่ ๆ มคี วามคิดริเริม่ สร้างสรรค์ ใช้ความรู้ในการตดั สินใจ และแกป้ ัญหาเพื่อการทางานและการดารงชีวิต 7.5 ปรบั ปรงุ ตนเองใหม้ คี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สามารถนาความรู้ไปแกป้ ญั หา และพัฒนาบุคลกิ ภาพของตนเองได้ 8. ขอบขา่ ยเนอ้ื หาสาระทศั นศลิ ป์ ดงั ตาราง 1-2 ตาราง 1 เวลาเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ สาระทศั นศลิ ป์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 เนื้อหา อัตราเวลาเรียน (ช่ัวโมง) หนว่ ยที่ 1 การวาดภาพระบายสี 14 1.1 เสน้ สีทส่ี ร้างสรรค์ 1 1.2 การเขียนภาพให้มรี ปู ร่างรปู ทรง 1 1.3 ภาพสวยด้วยมือเรา (การจัดภาพ) 1 1.4 มิติแห่งสีสัน (เทคนิคการทาสซี มึ ) 1 1.5 มติ ิแห่งสสี นั (เทคนิคการพบั สี) 1

1.6 มติ ิแห่งสสี นั (เทคนิคการเปา่ ส)ี 1 1.7 สสี ันท่งี านศิลป์ (ทฤษฎสี ี) 2 1.8 การเขียนภาพจากการเคลอื่ นไหวทางธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม 1 1.9 การเขียนภาพจากของจรงิ 1 1.10 การเขยี นภาพจากเหตกุ ารณ์ประจาวนั และงานประเพณีในทอ้ งถนิ่ 1 1.11 การเขียนภาพจากนิทาน 1 1.12 การจัดนิทรรศการภาพวาด 1 1.13 การประเมินผล 1 หนว่ ยท่ี 2 การปั้นและการแกะสลกั 12 2.1 รปู รา่ งลักษณะของวสั ดุตา่ ง ๆ ทีห่ าไดใ้ นท้องถ่ิน 1 2.2 การเตรยี มดนิ ทจ่ี ะปั้น, รูปนูนตา่ , รูปนนู สงู แบบตามความนกึ คดิ 1 2.3 การป้นั รูปลอยตวั 1 2.4 การปน้ั ดว้ ยกระดาษเปน็ รูปนูนต่า, ลอยตวั ตามความนึกคดิ 1 2.5 การปน้ั รปู นูนต่า, ลอยตัว, โดยความนกึ คดิ ของตนเอง 1 2.6 การปนั้ ด้วยกระดาษเป็นรปู นูนต่า, ลอยตวั 1 2.7 การเลอื กวัสดุทีใ่ ช้แกะสลัก 1 2.8 การแกะสลกั รปู แบบตามความนกึ คดิ 1 2.9 การเตรียมการจดั แสดงผลงานการป้นั และการแกะสลัก 1 2.10 การจัดแสดงผลงานการปน้ั และการแกะสลกั 1 2.11 การประเมินผล 1 หนว่ ยที่ 3 การพิมพ์ภาพ 12 3.1 แม่พิมพ์ต่าง ๆ 1 3.2 ลักษณะลวดลายของแมพ่ ิมพ์ 1 3.3 แมพ่ มิ พท์ ีท่ าจากพชื 1 3.4 แมพ่ มิ พท์ ่ีทาจากเศษวัสดุ 1 3.5 แมพ่ ิมพท์ ี่ทาจากการฉลุกระดาษ 1 3.6 แม่พิมพท์ ที่ าจากวสั ดเุ นอ้ื อ่อน 1 3.7 การพมิ พ์ภาพเป็นลวดลาย 1 3.8 การพมิ พ์ภาพเป็นเรือ่ งราว 1 3.9 การพิมพ์ภาพเป็นเรอ่ื งราวดว้ ยวสั ดตุ า่ ง ๆ 1 3.10 การเตรียมงานการแสดงผลงานการพมิ พภ์ าพ 1

3.11 การแสดงผลงานการพมิ พ์ภาพ 1 3.12 การประเมนิ ผล 1 หนว่ ยที่ 4 การสร้างสรรค์ดว้ ยวสั ดตุ ่าง ๆ 12 4.1 วธิ กี ารสร้างสรรค์ดว้ ยวัสดุต่าง ๆ 1 4.2 การออกแบบงาน 1 4.3 ปฏบิ ตั ิการสรา้ งสรรคง์ านด้วยวสั ดุทีอ่ อกแบบไว้ (ภาพหมุน) 1 4.4 ปฏิบัติการสร้างสรรค์งานด้วยวัสดทุ อ่ี อกแบบไว้ (ภาพแขวน) 1 4.5 ปฏิบัตกิ ารสรา้ งสรรคง์ านด้วยวสั ดุท่ีออกแบบไว้ (ภาพปะตดิ ) 1 4.6 ปฏิบตั ิการสร้างสรรคง์ านดว้ ยวสั ดทุ อี่ อกแบบไว้(การพับกระดาษ) 1 4.7 การเตรยี มงานการแสดงผลงานการสรา้ งสรรค์ด้วยวสั ดตุ ่าง ๆ 1 4.8 การจดั การแสดงผลงานการสรา้ งสรรค์ดว้ ยวัสดุตา่ ง ๆ 1 4.9 การประเมนิ ผล 1 รวม 47 ตาราง 2 มาตรฐานการเรยี นรูช้ ว่ งชนั้ มาตรฐานการเรยี นรู้ช่วงชั้นท่ี 1 - 2 สาระทศั นศิลป์ มาตรฐาน ม.1-3 ม.4-6 สาระที่ 1 ทศั นศิลป์ 1. สอ่ื ความคดิ จนิ ตนาการ 1. สือ่ ความคดิ จินตนาการ มาตรฐาน ศ 1.1 ความรสู้ กึ ความประทบั ใจ ความรู้สึก ความประทับใจด้วย สรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ป์ ตาม ดว้ ยวิธีการตา่ งๆ อย่างสนุก วธิ ีการตา่ งๆ อย่างมนั่ ใจ จนิ ตนาการ และความคิดสร้าง สนานเพลดิ เพลิน 2. สารวจ ทดลอง สร้างสรรค์ สรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ 2. สงั เกต รับรู้สิ่งท่ีอยู่รอบตวั ง า น ทั ศ น ศิ ล ป์ คิ ด ริ เ ร่ิ ม วิจารณค์ ณุ ค่างาน ทัศนศลิ ป์ ทัศนธาตุ สร้างสรรคง์ าน สร้างสรรค์ใช้ทัศนธาตุ โดยใช้ ถา่ ยทอดความรสู้ ึก ความคิดตอ่ ทัศนศิลป์โดยใช้วิธีการต่างๆ เทคนิควิธีการใหม่ๆ ในการ งานศิลปะ อยา่ งอสิ ระ ช่ืนชม ตามความสนใจ สร้างงานทัศนศิลป์ตามความ และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจา 3. ใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการทา สนใจ วนั กิ จ ก ร ร ม ทั ศ น ศิ ล ป์ อ ย่ า ง 3. เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ในการ ปลอดภัยและมคี วามรบั ผิดชอบ ทากิจกรรมทัศนศิลป์ได้อย่าง

4. แสดงออกถงึ ความรสู้ กึ ใน เหมาะสม ปลอดภัยและมีความ การรับรูค้ วามงาม รับผดิ ชอบ 5. แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับ 4. แสดงออกถึงความรสู้ กึ ลักษณะในธรรมชาติ สิ่งแวด ใน ก ารรับ รู้ค วาม งาม ด้ วย ลอ้ ม ผลงานทศั นศลิ ปข์ องตน วธิ กี ารตา่ งๆตามความ สนใจ เองและผูอ้ ่ืน 5. แสดงความคิดเห็นอธิบาย 6. น า ค ว า ม รู้ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ความหมายของงานทัศนศิลป์ ทางการทัศนศิลป์ไปใช้กับกลุ่ม ทัศนธาตุและความงามของ สาระการเรียน รู้อื่น ๆ แล ะ ศิลปะ ชวี ติ ประจาวัน 6. นาความรู้และวิธีการทาง ทัศนศิลปไ์ ปใช้กับกลุ่มสาระการ เรียนรูอ้ ่นื ๆ และชีวติ ประจาวัน ตาราง 2 (ตอ่ ) มาตรฐานการเรยี นรู้ชว่ งช้ันที่ 1 - 2 สาระทัศนศลิ ป์ มาตรฐาน ป. 1-3 ป. 4-6 1. ค ว า ม เ ป็ น ม า แ ล ะ สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ 1. รคู้ วามเป็นมาของสิง่ ที่อยู่ ค ว าม ส าคั ญ ข อ งศิ ล ป ะ ใน ท้องถิน่ และศลิ ปะไทย มาตรฐาน ศ 1.2 รอบตวั ที่เกีย่ วข้องกับงาน 2. พึงพอใจและยอมรบั ในภมู ิ ปัญญาของการสร้างงาน เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหวา่ ง ทศั นศลิ ป์ ทศั นศลิ ป์การสบื ทอด การทางานศิลปะที่เกี่ยวข้องกับ ทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และ 2. สนใจงานทัศนศลิ ปอ์ นั เป็น วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ภูมิปัญ ญ าไทยและ วัฒนธรรม เหน็ คณุ คา่ งาน มรดกทางวฒั นธรรม ประเพณี สากล ทัศนศิลป์ ท่ีเปน็ มรดกทาง และภูมิปัญญาท้องถิน่ วัฒนธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล สรุปไดว้ ่า กลุม่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ มงุ่ เน้นการสง่ เสริมใหผ้ ้เู รยี นมคี วามคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์ มีจินตนาการ ชืน่ ชมความงาม สุนทรยี ภาพ ความมีคุณค่า สามารถนาไปพฒั นาตนเอง

ทง้ั ยงั ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นมคี วามเชอื่ ม่นั เปดิ โอกาสแสดงออกในเชิงสร้างสรรคอ์ ยา่ งอสิ ระ และเห็นคณุ ค่าของศิลปวฒั นธรรมไทยและสากล สามารถทางานร่วมกบั ผ้อู ่นื ไดอ้ ย่างมีความสุข แนวการจัดการเรียนการสอน กลุม่ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ สาระทศั นศลิ ป์ เร่ือง การวาดภาพระบายสี 1. หลักการสอนทวั่ ไป บนั ลอื พฤกษะวนั (2534 : 94-96) ไดก้ ลา่ วถึงหลักการเรยี นการสอนทีไ่ ดผ้ ล ดังนี้ 1. การเลอื กเนื้อหา กจิ กรรมการเรยี นการสอน 2. จัดลาดับเนือ้ หาให้มีความสมั พันธ์ต่อเน่อื งเปน็ อนั ดี 3. ส่งเสริมให้มีการเตรยี มตัวนกั เรยี นกอ่ นทจี่ ะสอน 4. ใช้การจงู ใจทจ่ี ะช้ีแนะให้นกั เรียนเหน็ คณุ คา่ ของสิ่งทเ่ี รยี น 5. ให้แบบอย่างหรือตวั อยา่ งของผลงานในการปฏิบัติเมอ่ื จบบทเรียน 6. ส่งเสริมให้นักเรียนมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอนให้มากท่ีสุด 7. บทบาทของครูผู้สอน ครูเปน็ ผ้ชู ี้แนะมากกวา่ การบอก 8. การเรียนการสอนที่ดตี อ้ งฝกึ ฝนหรอื ฝกึ หดั 9. เดก็ ผเู้ รียนย่อมต้องการทราบผลการเรยี นของตน 10. ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลเปน็ ส่ิงทคี่ วรพิจารณา สจุ นิ ต์ วศิ วธีรานนท์ (2536 : 97-98) กลา่ วถงึ รปู แบบการสอนโดยทว่ั ไป ประกอบดว้ ย ขั้นตอนทีส่ าคญั 5 ขั้น คือ 1. การกาหนดวตั ถุประสงคก์ ารเรยี นการสอน 2. การวิเคราะหพ์ ฤติกรรมผ้เู รยี นก่อนเรยี น 3. การวางแผนและจดั กิจกรรมการเรียนการสอน 4. การประเมินผลการเรียน 5. การปรับปรุงการเรียนการสอน เกษม สุดหอม (2518 : 99) กลา่ วถึง หลกั การสอนทั่วไปวา่ ควรดาเนนิ การดงั น้ี 1. สอนสิ่งทีร่ ู้ไปหาสงิ่ ทไี่ มร่ ู้ 2. สอนจากสงิ่ ที่ง่ายไปหาส่ิงท่ยี าก 3. สอนจากส่งิ ที่มีตวั ตน ไปหาสิ่งทีไ่ ม่มตี วั ตน 4. สอนจากส่ิงที่พบเห็น ไปหาเหตุผล 5. สอนจากสงิ่ ทีง่ ่าย ไปหาส่ิงทีส่ ลับซบั ซ้อน 6. สอนใหเ้ ป็นไปตามธรรมชาติของเดก็

7. สอนให้ผา่ นประสาทสัมผสั ทัง้ หา้ 8. สอนให้สนกุ นา่ สนใจ 9. สอนโดยครูบอกใหน้ อ้ ยทส่ี ดุ 10. สอนให้นักเรยี น เรยี นโดยการกระทา สรุปได้ว่า หลกั การสอนทวั่ ไปประกอบด้วย การวิเคราะห์เนือ้ หา วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียน การวางแผนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รวมทั้งการวดั ผล และประเมินผล เพอื่ ใหน้ กั เรยี นเกดิ การเรียนรู้ตามวัตถปุ ระสงค์ 2. หลกั การสอนวชิ าศลิ ปศึกษา ชวลิต ดาบแกว้ (2533 : 18-20) สรปุ การสอนศลิ ปศกึ ษาทีใ่ ช้ในโรงเรยี นมี 3 แบบ ดังนค้ี อื 1. การสอนแบบบอกใหโ้ ดยตรง (Direct Method) เปน็ วธิ สี อนแบบครูบอกให้ นักเรียนทาโดยตรง ให้นักเรียนได้ปฏิบัติตามกฎ หรือตามคาแนะนาของครู โดยมีภาพแบบของจริง ได้ผลดสี าหรบั นักเรียนทม่ี ีความพรอ้ มด้านต่าง ๆ สงู 2. การสอนแบบแสดงออกอย่างเสรี (Free Expression Method) เปน็ วธิ ีทปี่ ราศจาก การบงั คับหรือควบคมุ เด็กไดเ้ ขียนตามความพอใจ ใหอ้ สิ ระแก่เดก็ อย่างเตม็ ท่ี เดก็ จะเลือกวาดภาพ และใช้วสั ดุอย่างใดก็ได้ ไม่มีกฎข้อบังคับในการวาด เนน้ ความเพลดิ เพลนิ วิธีการน้จี ะยดึ ถอื กระบวนการมากกว่าผลิตภณั ฑท์ ี่ทาข้นึ 3. การสอนแบบมคี วามม่งุ หมายในการเรียน (Meaningful Art Education) เป็นวธิ ี สอนท่ที าใหบ้ คุ คลมเี สรภี าพเพยี งพอ ในดา้ นอารมณแ์ ละความคดิ การสอนน้มี ีหลกั 2 ประการคอื 3.1 การกระทาน้ันต้องมคี วามมุง่ หมายเปน็ สาคัญ 3.2 ตอ้ งมคี วามสมั พนั ธ์ระหว่างเหตุและผล ในการสอนมีความม่งุ หมายทจ่ี ะใหศ้ ลิ ปะ มีความสมั พันธร์ ะหวา่ งศิลปะและสังคมให้สงั คม เห็นว่า ศิลปะมคี วามสาคัญต่อสงั คม การสอนต้องการทจ่ี ะพฒั นาการเดก็ ให้มคี วามรสู้ กึ ในสง่ิ ท่ีดีงาม เปน็ รายบุคคล รู้คุณค่าของศิลปะที่มีต่อสังคม ต้องการให้เด็กมีพฒั นาการในความรูส้ กึ ของวตั ถุ และรปู ทรง โดยใหไ้ ด้รบั การสนบั สนุนให้ทางานเปน็ ส่วนใหญ่ และใหผ้ ลจนสาเรจ็ เด็กไดร้ ับการ ส่งเสริมใหร้ จู้ ักความหมายในสิ่งท่ีเขาเขียนภาพ มากกวา่ ทจ่ี ะให้กฎเกณฑใ์ นการเขียนภาพนนั้ ๆ นริ มล สวัสดบิ ตุ ร และตรี ณสาร สวสั ดิบตุ ร (2534 : 108-120) ได้สรปุ การสอน ศิลปะไว้ 4 วธิ ี คือ 1. สอนแบบแสดงให้ดเู ปน็ ข้นั ตอน (Directed Teaching) คือ วธิ ีสอนท่ีครสู าธิต การทางานศลิ ปะให้นักเรยี นดูทลี ะน้อย และให้นักเรียนทาตามทลี ะข้ันตอน 2. สอนแบบใหท้ างานโดยอสิ ระ (Free Expression) เปน็ วธิ ีสอนทีเปดิ โอกาส

ให้นักเรยี นคิด ตดั สนิ ใจทางานตามความพอใจของตนเอง มี 4 แบบ คือ 2.1 ครใู หน้ กั เรยี นเลอื กใช้ส่อื ทจ่ี ะใชใ้ นการแสดงออกทางศิลปะได้ โดยอิสระ 2.2 ครกู าหนดส่ืออย่างใดอยา่ งหนง่ึ ให้ แต่ให้นักเรียนใช้สื่อนนั้ แสดงความรู้สึก นึกคดิ เปน็ งานศิลปะโดยอิสระ เช่น ให้วาดภาพด้วยสีเทยี น 2.3 ครูกาหนดส่ือให้เช่นเดียวกับแบบที่ 2 และกาหนดหัวข้อเรื่องที่จะให้นักเรียน แสดงออกทางศิลปะไวด้ ว้ ย 2.4 ครูกาหนดส่ือและหวั ข้อให้เชน่ เดียวกบั แบบที่ 3 แตแ่ คบกวา่ ใชว้ ธิ เี จาะจง กวา่ การสอนทง่ั 4 แบบ ครูควรใหแ้ รงจงู ใจและแรงกระตนุ้ แกน่ ักเรยี น เช่น การฟังเพลง การเล่านทิ าน สนทนาถงึ เรอ่ื งที่นักเรยี นสนใจ ให้ดภู าพหรอื ผลงานศลิ ปะอืน่ ๆ ทายปัญหา ถกปญั หา ให้นกั เรียนสังเกตส่ิงรอบตัว เปน็ ตน้ เลิศ อานนั ทนะ (2535 : 7-9) กลา่ วถงึ การสอนศิลปะไว้ 2 ลักษณะ คือ 1. การสอนแบบมงุ่ เนน้ การแสดงออกด้านความคิดอยา่ งอสิ ระ เปิดโอกาสใหเ้ ดก็ ไดแ้ สดงออกตามความคิดของตนเอง โดยไม่กาหนดกฎเกณฑ์ใด ๆ โดยกาหนดหวั ข้อเร่ืองใหค้ รู เปน็ เพยี งแตค่ อยใหก้ าลังใจอยู่หา่ ง ๆ วิธีสอนแบบน้ไี ม่มุ่งเน้นฝีมือ แตส่ ่งเสรมิ ดา้ นการแสดงออก ดา้ นความคดิ 3. การแสดงออกตามเน้อื หาเรอ่ื งราว ครคู วรคานึงถงึ พ้นื ฐาน วัย เพศ ความรู้ และประสบการณ์ความสนใจของเดก็ เปน็ สาคญั และได้สรปุ หลักการสอนศลิ ปะแบบเซน็ ไว้ คือ 2.1 ไม่สอนโดยตรง 2.2 ไมบ่ อก ชี้แนะแบบยดั เยียด 2.3 ไม่ยึดรปู แบบ กฎเกณฑ์ ข้อถูกผดิ สรปุ ไดว้ า่ หลกั การสอนศลิ ปศึกษา ควรสอนโดยเน้นให้นกั เรยี นได้แสดงออกตาม ความคดิ ริเรม่ิ สรา้ งสรรคข์ องตนเอง โดยครูเป็นผูแ้ นะนาหรือกระตุ้นให้นักเรยี นเกดิ การเรียนรู้ จากการนาสิ่งแวดลอ้ มรอบ ๆ ตวั ของนกั เรยี นมาเปน็ สอ่ื กระต้นุ ทาให้เกดิ แนวคดิ ในการสร้างสรรค์ งานศลิ ปะในรูปแบบต่าง ๆ โดยวธิ ีสอนหลาย ๆ วธิ ีใหเ้ หมาะสม 3. ความสาคญั ของสอื่ การสอน ส่ือการสอนมีความสาคัญเป็นอย่างย่ิงต่อการเรียนรู้ท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เป็น อยา่ งมาก สันทัด ภบิ าลสขุ และพมิ พใ์ จ ภบิ าลสุข (2523 : 43) กลา่ ววา่ ส่อื การสอนมบี ทบาท ในกระบวนการเรียนการสอน ดงั นี้ 1. สอ่ื กาสอนช่วยจัดและเสรมิ ประสบการณใ์ ห้แกผ่ ู้เรยี นมากขนึ้ 2. สือ่ การสอนชว่ ยให้ครูจดั เน้ือหาวชิ าทมี่ ีความหมายตอ่ ชีวิตเด็ก

3. ส่ือการสอนช่วยให้ครูแนะนาและควบคุมนักเรียนให้มีความประพฤติในทางท่ีพึง ปรารถนา 4. สื่อการสอนช่วยให้ครูจดั กิจกรรมการเรียนรูไ้ ด้ในรูปแบบต่าง ๆ 5. สอ่ื การสอนชว่ ยให้ครูสอนได้ตรงจดุ มุ่งหมายทีไ่ ด้กาหนดไว้ 6. สอ่ื การสอนชว่ ยให้นกั เรียนพฒั นาทกั ษะในการแกป้ ัญหาต่าง ๆ 7. สือ่ การสอนชว่ ยให้ครูสอนได้รวดเรว็ และถูกต้องมากย่งิ ขนึ้ สรุ ชยั สกิ ขาบัณฑิต และเสาวนีย์ สิกขาบณั ฑติ (2538 : 3) กลา่ วถึงส่อื การเรยี น การสอน ดงั นี้ 1. สื่อสามารถทาให้การจัดการศึกษา และการจัดการเรียนการสอนมีความหมาย มากข้ึน นั่นคือ การนาสื่อเข้ามาช่วยให้ผู้เรียนเรียนได้กว้างขวางยิ่งข้ึน เรียนได้เร็วขึ้น ได้เห็นหรือสัมผัส กับสิ่งทเ่ี รียนไดอ้ ย่างเขา้ ใจ และยังทาใหค้ รมู เี วลาให้กบั ผู้เรยี นได้มากขน้ึ 2. สื่อสามารถที่จะสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ ในการนาเอาส่ือมาใช้กับ การศึกษาและการเรียนการสอนนั้น ผู้เรียนจะมีความเปน็ อสิ ระในการเสาะแสวงหาความรู้ มีความรับผิดชอบท้ังตอ่ ตนเองและตอ่ สังคมมากข้ึน เปน็ การเปิดทางให้กับผู้เรยี นไดเ้ รียนตามขีด ความสามารถของเขา สนองในเร่ืองความสนใจ และความต้องการของแต่ละบุคคลไดด้ ี 3. สื่อสามารถทาให้การจัดการศึกษาและการเรียนการสอน ต้ังอยู่บนรากฐานของ วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ เป็นทย่ี อมรับกนั แลว้ วา่ ในปัจจุบนั วธิ กี ารทางวิทยาศาสตรเ์ ป็นวธิ ีการหนึ่ง ท่ีสร้างความเจริญก้าวหน้าให้แก่ทกุ วงการ การนาสื่อเข้ามาใช้กบั การศกึ ษา จะทาให้การจดั การศกึ ษา เปน็ ไปอย่างมรี ะบบมากขึน้ มกี ารศึกษาคน้ คว้า วจิ ัย ทดลองเทคนคิ วธิ กี ารแปลกใหมอ่ ย่เู สมอ และมีความสนุกสนานสมเหตุสมผลตามสภาพการณ์การเปล่ียนแปลงของสังคม จึงทาให้การจัด การศกึ ษาซ่งึ เป็นรากฐานของระบบสังคม เจริญกา้ วหน้าไปได้อยา่ งไม่หยดุ ยงั้ 4. สื่อช่วยให้การจัดการศึกษามีพลังมากขึ้น สื่อนับวันจะพัฒนาตัวของมันเองให้มี คุณค่า และมีความสะดวกต่อการใช้มากข้นึ ส่ือเป็นผลติ ผลอย่างหน่ึงของความก้าวหนา้ ทาง เทคโนโลยี ย่อมเป็นท่ีทราบกันดีอยูแ่ ลว้ ว่าสือ่ มพี ลังมากเพียงใด ดังนัน้ การนาสือ่ มาใชใ้ นการศกึ ษา จึงเปน็ เคร่อื งยืนยันไดว้ า่ การจดั การศกึ ษานัน้ จะมพี ลังมากขึ้น 5. ส่ือสามารถทาใหก้ ารเรียนร้อู ยแู่ คเ่ ออื้ ม ในการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นมิได้จากดั อยู่ เฉพาะในด้านความร้เู ทา่ นัน้ แตย่ ังปลูกฝงั ทกั ษะและเจตคติท่ีดงี ามแกผ่ ู้เรยี น ดว้ ยการนาเอาสอื่ มาใช้ ทาให้ผเู้ รียนได้เรยี นรู้อยา่ งกวา้ งขวาง ผูเ้ รยี นไดเ้ หน็ สภาพความเป็นจรงิ ในสงั คมด้วยตาของเขาเอง เปน็ การนาโลกภายนอกเข้ามาสู่ห้องเรียน ทาให้ชอ่ งวา่ งระหว่างโรงเรยี นกบั สงั คมลดน้อยลง เชน่ การเรยี นผา่ นทางโทรทศั น์ ภาพยนตร์ สไลด์ เปน็ ต้น 6. สือ่ ทาให้เกดิ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา การนาสือ่ มาใช้กบั การศึกษา ทาให้

โอกาสของทุกคนในการเข้ารบั การศกึ ษามีมากขึน้ เชน่ การจดั การศกึ ษาอยา่ งไมเ่ ป็นทางการ การจัด การศกึ ษานอกระบบโรงเรียน ทาให้วิถที างในการเข้าสู่การศึกษาของเขาเหลา่ นั้นเปน็ ไปอย่างอสิ ระ เสรแี ละกว้างขวาง เพอ่ื ความกา้ วหน้าของแตล่ ะบุคคล ตามขดี ความสามารถความต้องการและความ สนใจของเขา 4. ความหมายของสอ่ื การสอน ตวั กลางทช่ี ่วยส่งเสริมและถา่ ยทอดการเรยี นรู้คือ สอื่ การสอน ซึ่งมผี ู้ให้ความหมาย ของสื่อการสอนไว้ ดงั นี้ สนั ทดั ภิบาลสุข และพิมพ์ใจ ภิบาลสขุ (2523 : 43) กล่าววา่ สือ่ การสอน หมายถงึ เคร่ืองช่วยในการเรียนรู้ ซงึ่ ครแู ละนกั เรียนเปน็ ผใู้ ชเ้ พื่อช่วยใหก้ ารสอนและการเรียน มีประสทิ ธิภาพย่งิ ข้นึ กมล เวียสุวรรณ และนิตยา เวียสุวรรณ (2540 : 40) ให้ความหมายของสื่อการสอน ไวว้ า่ หมายถึง วัสดุ (สนิ้ เปลอื ง) อุปกรณ์ (เครือ่ งมอื ท่ีไมผ่ ุพังไดง้ า่ ย) และวิธกี าร (กจิ กรรม ละคร การทดลอง ฯลฯ) ท่ีใช้เป็นส่ือกลางให้ผู้สอนสามารถส่งหรือถ่ายทอดความรู้ เจตคติและทักษะไปสู่ ผูเ้ รียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรอื ส่อื การสอน หมายถึง ตวั กลางทใี่ ช้ในขบวนการเรียน การสอน เพ่อื ทาใหค้ รูและนกั เรยี นเข้าใจสิ่งทถ่ี า่ ยทอดซ่งึ กันและกนั ไดด้ ี ตรงตามจุดมุง่ หมาย ของการเรยี นการสอน ไพจติ ร์ โชตนิ สิ ากรณ์ (2530 : 22) กลา่ ววา่ สอื่ การสอน คือ วัสดุ อุปกรณ์หรอื เทคนคิ ตา่ ง ๆ ที่จะเป็นสอ่ื กลางในการถา่ ยทอดความรูจ้ ากผสู้ อนไปยงั ผเู้ รยี น ชว่ ยให้เนอ้ื หาวชิ า ท่ียากกลับง่ายข้นึ และเป็นส่งิ เรา้ ทท่ี าให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ พอใจและสนุกสนานในการเรียน ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2526 : 40) กล่าวว่า ส่ือ (Media) โดยท่ัวไปหมายถึงตัวกลาง หรือ ระหว่าง (Between) ซง่ึ ในทีน่ ้ีหากพจิ ารณาในแง่ของการสื่อสารแล้ว สือ่ จะหมายถงึ สิง่ ตา่ ง ๆ ทเี่ ป็นพาหะ นาความรู้หรือสารสนเทศ (Information) ระหว่างผู้สื่อกับผู้รับ เช่น ภาพยนตร์วิทยุ โทรทัศน์ รูปภาพ วสั ดุฉาย สิ่งพิมพ์ และอื่น ๆ สิ่งเหล่าน้ีก็คือ ส่ือท่ีใช้ในการสื่อสารและเม่ือนาส่ิงเหล่านี้มาใช้ในการเรียน การสอนแล้ว เราเรียกสิง่ เหล่าน้วี า่ สอื่ การเรยี นการสอน กิดานันท์ มลิทอง (2540 : 79) กล่าววา่ คาวา่ สื่อ (Medium Pl.media) เป็นคาท่ีมา จากภาษาลาตินว่า “Medium” แปลว่า “ระหว่าง” (Between) หมายถึงสิ่งใดก็ตามท่ีบรรจุข้อมูล เพื่อให้ผสู้ ง่ และผ้รู ับสามารถสอื่ สารกันไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์ เมอ่ื มีการนาส่อื มาใชใ้ นการเรียนการสอน จึงเรียกว่า “สื่อการสอน” (Instructional Media) หมายถึง ส่ือชนิดใดก็ตามไม่ว่าจะเป็นเทป บันทึกเสียง สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ วีดิทัศน์ แผนภูมิ ภาพนิ่ง ฯลฯ ซ่ึงบรรจุเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนการ สอน ส่ิงเหลา่ นเี้ ปน็ วัสดุอุปกรณท์ างกายภาพที่นามาใชใ้ นเทคโนโลยกี ารศกึ ษา เป็นส่ิงที่ใช้เคร่ืองมือ

หรือช่องทางสาหรับทาให้การสอนของผู้สอนส่งไปถึงผู้เรียนทาให้ผู้เรีย นสามารถเกิดการเรียนรู้ตาม วตั ถุประสงค์ หรอื จุดมงุ่ หมายทีผ่ ูส้ อนวางไวไ้ ดเ้ ป็นอย่างดี 5. ประเภทของส่ือการสอน เนอ่ื งจากสือ่ การสอนมมี ากมายหลายชนดิ จงึ มนี ักการศกึ ษาแยกประเภทไว้หลาย ประเภท ดงั นี้ สนั ทัด ภิบาลสุข และพมิ พใ์ จ ภิบาลสุข (2523 : 39) ได้จัดแบ่งประเภทของ ส่ือการสอนไว้ ดังน้ี 1. สิ่งพิมพ์ ไดแ้ กห่ นงั สือแบบเรยี น หนังสืออุเทศ หนงั สอื อ่านประกอบ นิตยสาร หรอื วารสารต่าง ๆ 2. วสั ดุกราฟคิ รูปภาพ ของจรงิ และแหล่งวชิ าในชุมชน 3. วสั ดุและเครอ่ื งฉาย ได้แก่ภาพนิง่ และเครอื่ งฉายภาพน่งิ ฟิลม์ ภาพยนตร์ และเคร่ืองฉายภาพยนตร์ 4. วัสดุและเครื่องเสียง ได้แก่ แผน่ เสียง เครอ่ื งเล่นแผ่นเสียง แถบบันทกึ เสียง เครื่องบนั ทกึ เสียง วิทยุ โทรทศั น์ และระบบขยายเสยี ง กมล เวียสุวรรณ และนิตยา เวยี สุวรรณ (2540 : 40-41) ไดแ้ บ่งสอ่ื การสอนออก เปน็ 8 ประเภท คอื 1. ของจริงและละตัวบุคคลรวมทั้งสภาพการณ์ทีเ่ กดิ ขนึ้ จรงิ เชน่ การสาธติ การทดลอง การศกึ ษานอกสถานท่ี 2. สื่อการสอนประเภทภาษาพูดหรอื ภาษาเขยี น หมายถงึ คาพูด ตารา วสั ดุตีพิมพ์ คาอธบิ ายในสไลด์ ฟลิ ม์ สตริป แผ่นภาพโปรง่ แสง 3. วัสดกุ ราฟฟคิ เช่น แผนภูมิ แผน่ ภาพ แผ่นสถติ ิ โปสเตอร์ การต์ ูน แผนที่ ลกู โลก ภาพวาด ฯลฯ วสั ดปุ ระเภทน้นี อกจากจะนามาใชโ้ ดยตรงแลว้ ยังปรากฏในหนังสอื ตารา แบบเรียน หนงั สอื อา้ งองิ ตา่ ง ๆ บนแผน่ ภาพโปร่งแสง ในฟลิ ์มสตริป สไลด์ เป็นตน้ 4. ภาพนงิ่ เปน็ ภาพทไ่ี ด้จากการถา่ ยภาพสไลด์ และฟลิ ม์ สตริป 5. ภาพเคล่ือนไหว ได้แก่ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ 6. การบันทึกเสียงได้แก่ เสยี งจากแถบบันทึกเสยี งจากแผน่ เสียง จากรอ่ งเสียง ของฟลิ ์มภาพยนตร์ ฯลฯ 7. ส่อื ประเภทการสอนแบบโปรแกรม เป็นสอื่ การสอนที่จะต้องจดั เตรียมไว้ ล่วงหน้าอาจมีสือ่ ทางโสตทศั นะเขา้ ชว่ ย เชน่ แบบเรยี นโปรแกรม บทเรียนสาเรจ็ รูปทใ่ี ชก้ ับเครอื่ ง ชว่ ยสอน หรอื ใช้กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ 8. สอื่ ประเภทสถานการณ์จาลองและชดุ การสอน ได้แก่ การแสดงบทบาท

ละคร ฯลฯ ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ (2529 : 11-13) ได้แบ่งประเภทของสือ่ การสอนไว้ ดงั น้ี 1. จัดแบ่งตามลักษณะการใช้ 1.1 แบง่ ตามลักษณะการฉาย คือ วสั ดทุ ฉ่ี ายได้ เช่น สไลด์ ภาพยนตร์ แผ่นโปรง่ ใส และวัสดทุ ฉี่ ายไมไ่ ด้ เช่น รปู ภาพ โปสเตอร์ แผนภูมิต่าง ๆ 1.2 แบง่ ตามลกั ษณะการใช้เสียง เช่น แผน่ เสียง เทปบันทกึ เสยี ง 1.3 แบ่งตามความคงทนและความส้นิ เปลือง เช่น วสั ดุ ไดแ้ ก่ สอื่ ประเภท สนิ้ เปลืองซง่ึ ใช้หมดไป และอปุ กรณ์ ได้แก่ เครือ่ งมือต่าง ๆ ทง้ั เครอื่ งฉาย เครอื่ งเสยี ง ซ่งึ ไมผ่ ุพัง สิ้นเปลอื งไดง้ า่ ย 1.4แบ่งตามจานวนสอ่ื ทใ่ี ช้ ไดแ้ ก่ สื่อเดียว คือใชส้ อ่ื แตล่ ะอยา่ ง เพียงอย่างเดียว และส่อื ประสม คือ การใชส้ ือ่ ตัง้ แต่ 2 อย่างขน้ึ ไป 1.5 แบง่ ตามลักษณะการจัดส่ือเปน็ ชดุ ได้แก่ ชดุ อุปกรณ์ คือ ชดุ ส่ือการ สอนท่ใี ช้สอนได้หลายเรอ่ื งเชน่ อปุ กรณว์ ิทยาศาสตร์ และชดุ สือ่ ประสม คือ ชดุ การสอนท่ีจัดขน้ึ มีวตั ถุประสงค์เดียว 2. จัดรปู แบบตามกิจกรรม แบ่งเปน็ 2.1 ส่อื ช่วยครูผ้สู อน หมายถึง ส่อื ทค่ี รเู ปน็ ผใู้ ช้ เชน่ ชอลก์ กระดานดา แผนท่ี รปู ภาพ ฯลฯ ท่ีครเู ป็นผ้ใู ชแ้ ต่เพียงผ้เู ดยี ว 2.2สือ่ ชว่ ยนกั เรยี นเรียน หมายถงึ สื่อทเ่ี ตรียมไว้ใหเ้ ด็กเป็นผู้หยบิ ใช้ เชน่ สอื่ สาหรบั กจิ กรรมกล่มุ หรอื สอื่ การสอนตามเอกตั ภาพ 2.3 สอื่ ทช่ี ่วยใหค้ รแู ละนกั เรียนช่วยกนั หมายถึง สือ่ ที่ทาใหค้ รูและนักเรียน ได้ชว่ ยประกอบกิจกรรมการเรยี น เช่น การเลน่ เกม การสาธิต ทดลอง เป็นตน้ 3. จัดรูปแบบตามประสบการณ์ แบ่งเป็น 3.1 ส่อื ประสบการณน์ ามธรรม หมายถึง สือ่ ทีใ่ ช้ประสบการณท์ างออ้ ม ท่เี รียนรู้ให้เข้าใจได้ เช่น สือ่ ประเภทหนงั สอื เอกสาร แบบเรียน ตารา แผน่ เสยี ง เทปเสยี ง รายการวิทยุ 3.2สอื่ ประสบการณร์ ูปธรรม หมายถงึ สื่อที่ใชป้ ระสบการณ์ตรง ซ่ึงเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดฟ้ ัง ได้เห็นและลงมือทา การจาลองสถานการณ์ การแสดงละคร การเข้าไปอยู่ในสถานการณจ์ รงิ เป็นตน้ ไพจติ ร์ โชตินสิ ากรณ์ (2530 : 22) ได้กลา่ วถงึ การแบ่งประเภทของสอ่ื การสอน ว่าแม้จะจดั ไดห้ ลายแนว แตก่ ็สามารถสรปุ ได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. ส่ือการสอนประเภทวัสดุ หมายถึง ส่ือการสอนทเ่ี ป็นวสั ดสุ ้ินเปลอื ง ใชแ้ ลว้

หมดไปหรือผุพังได้ง่าย เช่น ส่ิงพิมพ์ ภาพชุด แผนภูมิ แผนภาพ สไลด์ ฟิล์มสตริป เทป ชุดส่ือประสม เป็นต้น 2. สือ่ การสอนประเภทอปุ กรณ์ หมายถึง ส่อื ประเภทเครอื่ งมือ ซ่ึงรวมเครือ่ งมอื ทีใ่ ช้ประกอบการสอนโดยตรง เช่น ของจรงิ หรือห่นุ จาลองต่าง ๆ และเครื่องมือสาหรับเสนอวัสดุ เชน่ เครื่องฉายทัง้ หลาย สื่อประเภทอปุ กรณ์ยังหมายถงึ แระดานดา ขาต้ัง ภาพพลิก หูฟงั และศนู ย์หูฟงั เครอื่ งมือทดลองวิทยาศาสตร์และครุภัณฑ์ประเภทในห้องเรยี นและห้องปฏบิ ตั ิการ 4. สอื่ การสอนประเภทวิธีการ หมายถึง วิธกี ารและกิจกรรมทุกอย่างทค่ี รู และนกั เรยี นจดั ขนึ้ ทัง้ ในและนอกหอ้ งเรียน วิธกี ารเป็นส่อื การสอนทจ่ี ะช่วยให้นักเรยี นมีสว่ นร่วมใน การเรียนการสอนอยา่ งกระฉับกระเฉง และมปี ระสบการณต์ รงจากการลงมอื ปฏบิ ัตงิ าน วธิ ีการทีใ่ ช้ กนั มากมอี ยู่ 9 ประเภท คือ 3.1 การสาธติ 3.2 การทดลอง 3.3 เกม 3.4 การแสดงบทบาทสมมตุ ิ 3.5 การจาลองสถานการณ์ 3.6 การฝกึ ปฏิบตั จิ ริงหลังจากเรียนทฤษฎี 3.7 ทศั นศกึ ษา 3.8 กจิ กรรมอิสระ 3.9 กจิ กรรมทที่ าขึ้นตามโครงการ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (กมล เวียสุวรรณ และนิตยา เวียสุวรรณ. 2540 : 42 ; อ้างองิ มาจาก ชยั ยงค์ พรหมวงศ์. 2529 : 11) ได้แบง่ ประเภทของสือ่ การสอนไว้ 3 ประเภท ดงั น้ี 1. วัสดุ หมายถงึ สงิ่ ชว่ ยสอนท่ีมกี ารผุพังสิน้ เปลอื ง เชน่ ชอลก์ ฟิล์ม ภาพถ่าย ภาพยนตร์ สไลด์ ฯลฯ 2. อุปกรณ์ หมายถงึ สิ่งชว่ ยสอนที่เปน็ เครอื่ งมือ เชน่ กระดานดา กลอ้ งถ่ายรปู เคร่อื งฉายภาพยนตร์ เครือ่ งรบั โทรทัศน์ ฯลฯ 3. กระบวนการและวิธกี าร ไดแ้ ก่ การจดั ระบบ การสาธิต ทดลอง เกม และกจิ กรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะกิจกรรมทค่ี รจู ดั ทาข้ึน และมงุ่ ให้นกั เรยี นปฏิบัติ กมล เวยี สวุ รรณ และนติ ยา เวยี สวุ รรณ (2540 : 42-43) ได้จาแนกสื่อการสอน โดยเรยี กว่า โสตทัศนปู กรณ์ ออกเปน็ 6 ประเภท คือ 1. วัสดุลายเสน้ แบ่งออกเป็น 9 ชนิด ได้แก่ กระดานดา แผนทีแ่ ละลูกโลก

การ์ตูน โปสเตอร์ แผน่ ภาพ แผ่นสถิติ แผนภูมิ ป้ายสาลี และปา้ ยนเิ ทศ 2. วัสดุมีทรง แบง่ ออกเปน็ 6 ชนดิ ได้แก่ ไดออรามา่ พิพิธภณั ฑ์โรงเรยี น ของเลยี นแบบ ของจาลอง ของตัวอย่างและของจรงิ 4. โสตวัสดุ แบ่งออกเป็น 4 ชนดิ ได้แก่ ระบบเสียง แผน่ เสียง เทปเสยี ง และวทิ ยุ 4. ภาพนิ่ง แบง่ เป็น 10 ชนิด ไดแ้ ก่ ภาพผนงั สมุดภาพ ภาพสามมิติ ภาพเขยี น รูปถ่าย ฟิลม์ สตริป สไลด์ ภาพโปรง่ แสง และรปู ตดั มาจากหนงั สอื 5. กิจกรรมรว่ ม แบ่งเปน็ 8 ชนดิ ได้แก่ งานที่เปน็ โครงการ การเล่นละคร การแสดงบทบาท การสาธติ การศึกษานอกสถานท่ี นทิ รรศการ การทดลอง กระบะทราย 6. ภาพยนตร์ และโทรทัศน์ ไชยยศ เรืองสวุ รรณ (กมล เวียสุวรรณ และนติ ยา เวียสุวรรณ. 2540 : 42 ; อา้ งอิงมาจาก ไชยยศ เรอื งสวุ รรณ. 2526 : 25) ได้แบง่ สื่อการสอน ตามลักษณะรปู ร่างของสอ่ื ออกเปน็ 4 ประเภท ดังนี้ 1. สอื่ ประเภทเคร่อื งมอื เปน็ สือ่ ทไ่ี ดม้ าจากความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ แขนงวศิ วกรรมไฟฟ้าและอเิ ลค็ ทรอนิค เชน่ เครอ่ื งฉายตา่ ง ๆ เครอื่ งเสยี ง โทรทศั น์ 2. สอื่ ประเภทวัสดุ หมายถึง ส่อื ทเี่ ปน็ ผลผลติ มาจากวทิ ยาศาสตร์ เปน็ วัสดทุ ่มี ี การผพุ งั สนิ้ เปลืองได้งา่ ย เชน่ แผนที่ แผนภูมิ ฟิลม์ แผ่นโปรง่ ใส เป็นตน้ 3. ส่ือประเภทวิชาการ หมายถงึ ส่อื ประเภทเทคนิค ระบบ กระบวนการต่าง ๆ เช่น การสาธติ การศึกษานอกสถานท่ี การทดลอง นทิ รรศการ เป็นต้น 5. สอ่ื ประสม หมายถึง การนาสื่อประเภทตา่ ง ๆ ทงั้ ทเี่ ปน็ เครื่องมอื วัสดุ และวิธีการมาใช้ร่วมกันอย่างมีความสัมพันธ์ในลักษณะท่ีส่ือแต่ละอย่างส่งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกัน เชน่ บทเรียนแบบโปรแกรม ชดุ การสอน หลักการเก่ียวกบั การสอนศลิ ปะ 1. ความหมายของสอื่ ประสม สุแพรวพรรณ ตนั ติพลาผล (2527 : 30) ไดก้ ลา่ วว่า การใช้สอื่ การสอนเพียงชนิดใด ชนิดหนึ่ง ไม่อาจ ทาให้บรรลุตามวตั ถปุ ระสงคเ์ ทา่ ทคี่ วร ดงั น้นั จึงจาเป็นตอ้ งเอาสอ่ื หลาย ๆ ชนิด มาใช้ร่วมกันอย่างมีระบบ มีความสัมพันธ์ส่งเสริมซ่ึงกันและกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการ เรียนรู้ เมื่อเปรียบเทียบกับการเรียนรู้จากส่ือแต่ละชนิดรวมกัน โดยให้บรรลุวัตถุประสงค์ท่ีต้ังใจไว้จึง เรียกวา่ ส่ือประสม

ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2529 : 22) ไดส้ รุปความหมายของสอ่ื ประสมวา่ เปน็ การนา สื่อการสอนหลายอย่างมาสัมพันธ์กัน เพื่อถา่ ยทอดเนอ้ื หาสาระในลักษณะทส่ี ่อื แตล่ ะชนิ้ สง่ เสริม สนับสนุนกนั และกนั ศุภชัย จรัศสรุ ิยา (2529 : 35) ได้กลา่ วไวว้ า่ ถงึ แมว้ า่ วิธีการสอน และเทคนิค การศึกษาใหม่ ๆ จะเปน็ ประโยชนก์ ็ตาม หากใชแ้ ตเ่ พียงลาพังเป็นอยา่ ง ๆ ไปแล้วมิสู้จะได้ผลดีเท่าใดนัก เน่ืองดว้ ยอปุ กรณ์หน่ึง ๆ ใช้เพ่อื วัตถปุ ระสงคอ์ ย่างหนงึ่ เทา่ นน้ั วิธสี อน อุปกรณ์การสอน สื่อมวลชน และเทคนิคจะช่วยนักศึกษาและนักเรียนได้ดีท่ีสุด หากใช้ประกอบกันไป การเรียนเป็น กระบวนการส่ือสารท่ีต้องประกอบด้วยองค์สามคือ ผู้ส่งความรู้ (ครู) กระบวนการส่งความรู้ (วิธีสอน) และผรู้ ับ (นกั เรยี น) การที่จะใหผ้ ้สู ง่ สารสามารถสง่ ความรู้ ถึงผ้รู บั ไดม้ ากท่ีสุดน้นั จะตอ้ งมีวิธกี ารทม่ี ี ประสทิ ธิภาพ จากการวจิ ัยขา้ งตน้ สรุปได้ว่าหากครูสอน หรอื ผสู้ ง่ ความรจู้ ะใชว้ าจา (การบรรยาย) ดีสักเพยี งใด ผู้รบั ก็รบั ได้เพยี ง 13 % เทา่ นั้น ครจู ึงต้องหาวธิ กี ารอน่ื ดว้ ย การใช้วสั ดอุ ุปกรณห์ ลาย ประเภท เช่น หนงั สอื กระดานดา รปู ภาพ ฯลฯ เขา้ ชว่ ยผสมผสานกนั กระบวนการสง่ ความรู้ ทป่ี ระกอบด้วยการสอน โดยใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ และวธิ ีการหลายอยา่ งเข้าชว่ ยนั้น เรยี กว่า “การสอน โดยใช้สื่อประสม” (ชยั ยงค์ พรหมวงศ์. 2529 : 25) Dunn และ Dunn (1972 : 255) กล่าววา่ เมือ่ เดก็ อา่ นหนังสอื เด็กจะไดร้ ับความรู้ จากการเห็นเพียงอยา่ งเดยี ว เมื่อเดก็ ไดฟ้ งั ใครคนหน่ึงพูด ซึ่งอาจจะเปน็ แผ่นเสยี งหรือเทปบนั ทึกแผ่น เสยี ง เด็กจะได้รบั เรอื่ งราวจากการฟงั เท่าน้นั แตเ่ มอ่ื ใดมีการใช้สอื่ หลาย ๆ อยา่ งประสมกันใน กระบวนการเรียน การเรยี นรู้ย่อมบังเกดิ ขน้ึ ไดง้ า่ ยและเร็วกว่า อาจเนือ่ งมาจากทุกคนถ้าประสบกบั การกระทาใดก็ตามอย่างซา้ กับแบบเดิมอยู่บ่อย ๆ จะเกิดการเบอื่ หน่าย ดังนน้ั การใช้ส่ือการสอน หลาย ๆ ชนิดย่อมเปน็ แรงจงู ใจใหผ้ ู้เรยี นต้องการเรยี นรมู้ ากขน้ึ สนั ทดั ภบิ าลสุข และพมิ พ์ใจ ภิบาลสุข (2523 : 51) ได้กล่าวไว้วา่ การใช้สื่อหลาย ชนดิ ประกอบการสอนนั้น น่าจะได้ผลดีกว่าการใช้สื่อการสอนอย่างใดอยา่ งหน่งึ เพราะการ แปรเปลี่ยนสลับกนั ไปตามแรงจูงใจใหอ้ ยากเรยี น ไมเ่ บ่อื และเป็นการเพ่มิ ความแน่ใจวา่ นกั เรยี นทเ่ี รา คาดว่ามีกลไกทางสมองอนั ซบั ซอ้ นจะไดเ้ กดิ การรบั ร้ทู ีถ่ กู ตอ้ ง จากความหมายที่กล่าวมาแล้วในข้างต้น สรุปได้ว่า ส่ือการสอน หมายถึง ส่ิงต่าง ๆ วัสดุ อปุ กรณ์ เคร่อื งมือ เหตกุ ารณ์หรือเทคนิควธิ กี ารตา่ ง ๆ ทน่ี ามาใชเ้ ปน็ สอื่ กลาง ทเ่ี ปน็ สื่อกลาง ในการสอ่ื ความหมายถ่ายทอดความรู้ ทักษะ ทัศนคตหิ รือส่ือความหมายระหว่าง ผู้สอนกับผู้เรยี นและเปน็ สง่ิ เร้าใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความเขา้ ใจ พอใจ และสนกุ สนานในการเรียน และการใช้สือ่ การสอนนัน้ ควรใช้ส่อื ประสมกนั หลาย ๆ ชนิด เพ่ือจูงใจใหเ้ ดก็ อยากเรยี น ไม่เบื่อหนา่ ยในการเรยี น เด็กสามารถเรยี นรไู้ ดง้ ่ายข้ึนและบรรลุตามวตั ถุประสงค์ 2. การวัดและประเมินผลกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ สาระทัศนศิลป์

กรมวชิ าการ (2546 : 75) ไดใ้ ห้แนวการวัดและประเมนิ ผล กล่มุ สาระ การเรียนรู้ ศิลปะ สาระทัศนศิลป์ ตามสมรรถภาพและพฤตกิ รรมท่สี าคัญทคี่ วรทาการวดั ใหค้ รอบคลมุ สรุปไดด้ งั นี้ 1. ความตรงตามจุดประสงค์ 2. ความถูกต้องตามแบบแผนท่ีต้องการ 3. ความรเิ ริ่มทปี่ รากฏในผลงาน 4. ความเป็นระเบียบเรยี บร้อย ประณตี สวยงาม จดุ ประสงค์การเรียนรกู้ ลมุ่ กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ สาระทศั นศิลป์จะครอบคลมุ ทั้ง 3 ดา้ น คือ ดา้ นพทุ ธิพสิ ยั จิตพิสยั ทักษะพสิ ัย โดยเนน้ กระบวนการปฏิบัติงานที่นาไปสกู่ าร มคี วามรสู้ ึกอันดีงามและสรา้ งสรรคใ์ นงานศลิ ปะ โดยกาหนดไว้ในจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เพอื่ เป็น เปา้ หมายในการเรยี นการสอน และมุง่ หวงั ใหผ้ เู้ รยี นผ่านกระบวนการครบถว้ น เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนผ่าน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จงึ ต้องมเี ครือ่ งมอื วดั ผลทุกครง้ั ฉะนน้ั ผ้สู รา้ งเครอ่ื งมือวดั ผลควรวเิ คราะห์จดุ ประสงค์เสียก่อนวา่ จะวดั พฤติกรรม ด้านใดบ้าง เพ่ือให้การวัดครอบคลุมจุดประสงค์ 3. เน้อื หา เนื้อหาของกลุ่มศิลปะ สาระทัศนศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 หน่วย พ้ืนฐานงานศิลปะ แบ่งออกเป็น 12 เร่อื ง ดงั รายละเอียดต่อไปนี้ 1. เร่อื ง เสน้ กบั แสงเงา 2. เรื่อง รูปรา่ งรูปทรงและพืน้ ผิว 3. เรือ่ ง ทัศนธาตุกับการสร้างภาพ 4. เรื่อง การทดลองสี 5. เสน้ สายลายไทย 6. ธรรมชาติกบั ศลิ ปะ 7. รูปเรขาคณติ สรา้ งสรรค์ 8. ภาพพิมพ์ลายเส้น 9. การเขยี นภาพจากเหตกุ ารณป์ ระจาวนั และงานประเพณใี นทอ้ งถน่ิ 10. การเขียนภาพธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 11. การวาดภาพระบายสี 12. จนิ ตนาการงานศิลป์

บทเรียนส่ือประสม 1. ความหมายของบทเรียนส่อื ประสม บทเรียนสื่อประสมคือ บทเรยี นสาเร็จรูปหรอื บทเรยี นโปรแกรมแบบไม่แยกกรอบ เปน็ บทเรียนที่เสนอเนื้อหาทีละนอ้ ยตามลาดบั ขั้นตอน มีคาถามและมีเฉลย หรือแนว ในการตอบคาถาม ไว้ให้ตรวจสอบทันที ไม่เสนอเนื้อหาในลักษณะของกรอบ แต่เสนอเนื้อหาเป็นลาดับต่อเน่ืองกัน เช่นเดียวกับการเขียนบทความหรือตารา แตกต่างกันแต่เพียงว่าบทเรียนประเภทน้ี จะต้องมีคาตอบ หรือแนวคาตอบไวใ้ หผ้ ูเ้ รียน เพือ่ เป็นขอ้ มูลย้อนกลับแกผ่ ู้เรยี นวา่ คาตอบของตนถูกหรือผิด ซงึ่ เปน็ การให้ การเสริมแรงแก่ผเู้ รยี นเม่ือผู้เรียนตอบถูกดว้ ยน่ันเอง นอกจากน้ียังประกอบไปดว้ ยส่ือต้ังแตส่ องชนิดข้ึน ไป ได้แก่ วดิ ีทศั น์ สไลด์ ของจรงิ แผนภูมิภาพ เปน็ ตน้ และการใช้ บทเรยี นสื่อ ประสมใช้ไดท้ ้งั การศกึ ษาเป็นรายบคุ คลและเปน็ กลมุ่ ธีระชยั บรู ณโชติ (2539 : 11-24) 2. ลกั ษณะของบทเรยี นสอ่ื ประสม สานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ (2531 : 145) ไดน้ ยิ ามความหมาย ของบทเรียนแบบโปรแกรมไว้ว่า “บทเรียนแบบโปรแกรม หมายถึง ลาดับประสบการณ์ที่จัดวางไว้ สาหรับผเู้ รยี นไปสู่ความสามารถ โดยอาศัยหลักความสมั พนั ธข์ องสิง่ เร้ากบั การสนองตอบ ซ่ึงได้พสิ จู นแ์ ลว้ วา่ มีประสทิ ธิภาพ” บทเรยี นส่ือประสมทีผ่ ูส้ อนพัฒนาขึ้นเป็นบทเรียนโปรแกรม แบบไมแ่ ยกกรอบ มกี ารเสนอเนื้อหาทีละนอ้ ยตามลาดบั ข้ันตอน มคี าถามและมเี ฉลย หรอื แนว ในการตอบคาถามไว้ให้ตรวจสอบทันที ไม่เสนอเน้ือหาในลักษณะของกรอบ แต่เสนอเน้ือหาเป็นลาดับ ต่อเนือ่ งกนั เช่นเดียวกับการเขียนบทความหรือตารา แตกต่างกันแต่เพยี งว่า บทเรียนประเภทน้ี จะต้อง มีคาตอบหรือแนวคาตอบไว้ให้ผู้เรียน เพ่ือเป็นข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนว่าคาตอบของตนถูกหรือผิด ซ่ึง เป็นการให้การเสริมแรงแก่ผู้เรียนเม่ือผู้เรียนตอบถูกด้วยนั่นเอง นอกจากนี้ยังประกอบไปด้วยส่ือตั้งแต่ สองชนดิ ขนึ้ ไป ไดแ้ ก่ วีดิทัศน์ สไลด์ ของจรงิ แผนภูมภิ าพ เป็นตน้ และการใช้บทเรียน ส่อื ประสมใชไ้ ด้ทั้งการศกึ ษาเปน็ รายบคุ คลและเปน็ กลุ่ม 3. หลกั การเรยี นด้วยบทเรียนสื่อประสม สานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง่ ชาติ (2531 : 144-145) กล่าววา่ การนา ทฤษฎีสัมพันธ์เช่ือมโยงของธอร์นไดค์ และทฤษฎีของสกินเนอร์มาใช้ในบทเรียนสาเร็จรูปจะช่วยให้ ผเู้ รียนประสบความสาเรจ็ ตามหลักการเรยี นดงั ต่อไปน้ี 1. ผู้เรยี นได้ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมหรือมสี ่วนร่วมในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 2. ผเู้ รยี นได้ประเมินผลตนเองและทราบคาตอบทนั ที 3. มกี ารเสรมิ แรงใหผ้ ู้เรยี นมีความภาคภมู ใิ จในส่วนทป่ี ฏิบัตไิ ดถ้ กู ต้อง และมคี วาม

พยายามท่จี ะแก้ไขส่วนที่บกพร่อง 4. ผเู้ รียนไดเ้ รยี นร้ไู ปทีละน้อยตามลาดับขัน้ จากงา่ ยไปหายาก ตามความสามารถ ของแตล่ ะคน 4. ประเภทของบทเรียนส่ือประสม ธรี ะชัย บรู ณโชติ (2539 : 11-24) ได้แบ่งบทเรียนโปรแกรมออกเป็น 3 ประเภท บทเรยี นแบบเสน้ ตรง บทเรยี นแบบแตกกงิ่ หรอื แบบสาขา และ บทเรียนแบบไมแ่ ยกกรอบ ดงั น้ี 1. บทเรียนแบบเส้นตรง (Liner Programming) เปน็ บทเรยี นที่เสนอเนื้อหาทลี ะ น้อย ตามลาดบั ข้ันตอนลงในกรอบหรอื เฟรมต่อเนอ่ื งกันตามลาดบั จากกรอบที่ 1 ไปจนถงึ กรอบ สุดท้าย โดยเรยี งลาดบั เนื้อหาจากงา่ ยไปหายาก สิ่งที่เรียนจากหนว่ ยยอ่ ยหรอื กรอบแรก ๆ จะเป็น ความร้พู ้ืนฐานสาหรบั กรอบถัดไปในแต่ละกรอบจะมเี นอื้ หา คาถามใหต้ อบและมที ีว่ า่ งใหต้ อบ โดยอาจอยู่ในกรอบเดยี วกันหรือคนละกรอบกไ็ ด้ ส่วนเฉลยคาตอบน้ันอาจอย่ใู นกรอบ ถัดไปหรอื อยู่ในกรอบเดียวกนั กไ็ ด้ แตม่ กั จะอยู่ในที่ว่างด้านขวาหรอื ซ้ายของหนา้ กระดาษ ผเู้ รียนจะตอ้ งเรียน ตามลาดับทลี ะกรอบต่อเนื่องกันไป ตั้งแตก่ รอบแรกจนถงึ กรอบสุดทา้ ยโดยไม่ข้ามกรอบใดกรอบ หนง่ึ ทุกคนจะต้องเรยี นตามลาดบั เช่นนเ้ี หมือนกันหมดไม่วา่ จะมรี ะดับสติปญั ญาแตกตา่ งกนั หรือไม่ กต็ าม แต่คนท่เี รยี นเก่งสามารถทจี่ ะใช้เวลาในการเรยี นน้อยกวา่ คนทเ่ี รยี นอ่อนกว่ากไ็ ด้ แผนผงั ของ บทเรียนโปรแกรมแบบเส้นตรงมีลักษณะ ดังภาพประกอบ 1 12345 ภาพประกอบ 1 บทเรยี นโปรแกรมแบบเส้นตรง ลักษณะของการเขียนบทเรียนเปน็ แบบให้ความรู้ แลว้ ตดิ ตามด้วยคาถาม ใหผ้ เู้ รยี นตอบวา่ ถูกหรอื ผดิ หรือเวน้ ช่องว่างไวใ้ หต้ อบ ถา้ ผู้เรียนตอบผิดในขนั้ ตอนใดจะต้องอ่านทา ความเข้าใจซ้าจนกวา่ จะสามารถตอบได้ถูกต้อง แล้วจึงจะกา้ วหนา้ ไปอา่ นในกรอบต่อไปได้ บทเรยี นแบบเส้นตรงเหมาะสาหรับสอนวชิ าทีเ่ ปน็ เนื้อหาสาระหรอื เปน็ เนื้อหาความรู้ ความจาความ เขา้ ใจ แต่ไมเ่ หมาะทจ่ี ะสอนเนอื้ หาทจ่ี ะเป็นความคิดเห็น เนอื่ งจากคาตอบที่ถกู ต้องอาจมีไดห้ ลาย คาตอบ 2. บทเรียนแบบแตกกิ่งหรอื แบบสาขา (Branching Programming) คือ วิธีการ เขียนบทเรยี นแบบสับลาดับ ซึง่ แตกต่างกบั วธิ ีการเขยี นบทเรียนแบบโปรแกรมชนดิ เส้นตรงที่กล่าว มาแลว้ ซ่ึงมีวธิ กี ารเขียนบทเรยี นเรยี งตามลาดับ การเขียนบทเรียนโปรแกรมชนิดสาขาน้ี จะมกี าร เรยี งลาดับขอ้ ความย่อย โดยอาศัยคาตอบของผเู้ รียนเป็นเกณฑ์ ถ้าผู้เรยี นตอบคาถามของขอ้ ความ

ย่อย ๆ ทีเ่ ปน็ หลักของบทเรียนได้ถกู ต้อง ผู้เรยี นก็จะไดร้ บั คาสั่งใหข้ า้ มหน่วยย่อยไดจ้ านวนหน่งึ แต่ถ้าผเู้ รียนตอบคาถามไมถ่ ูกต้อง ก็อาจได้รับคาสง่ั ให้เรยี นข้อความยอ่ ยต่าง ๆ เพ่มิ เติมก่อนท่จี ะ ก้าวหน้าตอ่ ไป การเรยี นจากบทเรียนโปรแกรมชนดิ น้ี ผู้เรียนจะตอ้ งพยายาม ทาตามคาส่งั ท่ปี รากฏ ในแตล่ ะกรอบ การเรียนจะไม่ดาเนนิ ไปตามลาดบั ตงั้ แตก่ รอบแรกจนถึงกรอบสดุ ท้าย ผเู้ รียนอาจ จะตอ้ งย้อนกลับไปกลับมาในหน้าต่าง ๆ ซ่งึ อยู่กับความสามารถในการใหค้ าตอบทถ่ี ูกตอ้ งของผู้เรียน เปน็ สาคญั ลักษณะของบทเรยี นโปรแกรมแบบสาขา ประกอบด้วยกรอบหลกั ซ่ึงผ้เู รียน ทกุ คน จะต้องเรยี นซึง่ เรยี กวา่ “กรอบยืน” กรอบยนื นี้เป็นกรอบที่เป็นลาดบั ท่ีแท้จริงของบทเรียน ถา้ ผู้เรยี นตอบถูกต้องผู้เรียนก็จะเรยี นตามกรอบยืนเหล่าน้ีไปโดยตลอด ในแต่ละกรอบยืนจะบรรจุ เน้อื หาทเี่ ป็นหลกั ของเรือ่ งทีจ่ ะสอนอยา่ งสนั้ ๆ ประมาณ 1-2 ยอ่ หน้า แล้วติดตามด้วยปญั หา หรอื คาถามให้ผเู้ รยี นตอบแตล่ ะลกั ษณะของคาถามเปน็ แบบให้เลือกตอบ 2 หรอื 3 ตวั เลอื ก ในแต่ละ ตัวเลอื ก จะระบหุ นา้ กากับไวใ้ หผ้ ูเ้ รียนพลิกไป ถ้าผเู้ รียนเลอื กตัวเลือกเหลา่ นน้ั ในกรอบยนื แต่ละ กรอบจะมี “กรอบสาขา” หนึ่งหรอื สองกรอบ แตล่ ะกรอบสาขามไี ว้สาหรบั ผ้เู รยี นทเี่ ลอื ก คาตอบ ไมถ่ กู เพอื่ สอนหรือใหค้ าแนะนาเสียกอ่ น แลว้ คอ่ ยใหผ้ ู้เรยี นกลบั ไปยงั กรอบยนื เดิมอกี ครัง้ แผนผัง ของบทเรยี นโปรแกรมแบบสาขามีลักษณะ ดงั ภาพประกอบ 2 สาขา สาขา สาขา กรอบยนื กรอบยนื กรอบยนื สาขา สาขา สาขา ภาพประกอบ 2 บทเรยี นโปรแกรมแบบสาขา บทเรยี นโปรแกรมแบบสาขานใ้ี ห้ความสาคญั ของความแตกตา่ ง ทางสตปิ ญั ญา ของผูเ้ รียนแต่ละคน ดังนน้ั การใหผ้ เู้ รียนตอบสนองในบทเรียนจงึ ใชค้ าถามแบบเลอื กตอบ จากการ เลอื กคาตอบของผู้เรยี น จะทาให้แต่ละคนก้าวหนา้ ไปในลักษณะทแี่ ตกต่างกัน ผู้เรียนที่ตอบคาถาม ถกู ต้อง เนอื่ งจากมคี วามเขา้ ใจในเนอื้ หาน้ัน ๆ แล้ว ก็จะข้ามกรอบปัญหาบางกรอบทไ่ี ม่จาเป็น

สาหรับเขาไปไดท้ าให้ทุ่นเวลาในการเรียน สว่ นผู้ทีต่ อบไม่ถูกซ่งึ แสดงให้เห็นวา่ เขายงั ไม่เขา้ ใจ บทเรยี นในกรอบใดกรอบหนึง่ บทเรยี นโปรแกรมชนิดน้ีกจ็ ะกาหนดใหเ้ ข้าไปส่กู รอบทจ่ี ัดไว้ เพ่อื แนะนาหรือช้แี จงวา่ เหตุใดเขาจึงตอบผิด แลว้ จึงกาหนดใหเ้ ขากลบั มาตอบปัญหาในกรอบเดิม ให้ถกู เสียกอ่ นท่จี ะก้าวไปสกู่ รอบหลกั หรือกรอบยนื อื่นตอ่ ไป 3. บทเรยี นโปรแกรมแบบไมแ่ ยกกรอบ บทเรียนโปรแกรมแบบไม่แยกกรอบเปน็ บทเรียนทเี่ สนอเนื้อหาทีละนอ้ ยตามลาดับข้นั มคี าถามและมเี ฉลยหรือแนวในการตอบคาถามไว้ กรอบยืน กรอบยืน กรอบยืนให้ตรวจสอบทันที แตไ่ ม่เสนอเน้ือหาในลักษณะของกรอบ แต่เสนอเนื้อหา เป็นลาดบั ตอ่ เนือ่ งกนั เช่นเดียวกับการเขียนบทความหรือตาราแตกต่างกันแต่เพยี งวา่ บทเรยี นประเภทน้ี จะต้องมีคาตอบหรือแนวคาตอบไวใ้ ห้ผู้เรียนเพ่ือเป็น ข้อมูลป้อนกลับแก่ผู้เรียนวา่ คาตอบของตนถูกหรือ ผิด ซ่ึงเป็นการให้การเสริมแรงแก่ผู้เรียน เม่อื ผู้เรียนตอบถูกต้องน่ันเอง ซ่ึงผู้สอนไดย้ ดึ บทเรียนโปรแกรม ลักษณะนเี้ ปน็ หลัก 5. หลักการสรา้ งบทเรยี นสอื่ ประสม ธรี ะชัย บูรณโชติ (2539 : 25-26) ไดใ้ หห้ ลักการสร้างบทเรยี นสาเร็จรปู ไว้ ดงั น้ี 1. คานึงถงึ ตวั ผเู้ รยี น ไดแ้ ก่ อายุ พน้ื ฐานความรหู้ รือประสบการณ์เดมิ ทักษะความ สามารถในการเรียนและความต้องการของผเู้ รียน 2. คานึงถงึ ผลท่ีต้องการหรอื วัตถุประสงค์ของบทเรยี นว่าต้องการให้ผ้เู รยี น ไดเ้ รยี นรู้อะไร 3. คานึงถงึ แบบของบทเรียนวา่ ควรจะเสนอในรูปแบบใด คอื แบบเส้นตรงหรือแบบ สาขาหรอื แบบไมแ่ ยกกรอบ เพอื่ ให้เหมาะสมกับเน้ือหาวิชา ผู้เรยี น และวตั ถปุ ระสงค์ เช่น เนอื้ หา เป็นประเภทความรคู้ วามจาหรอื ความคดิ เหน็ ผ้เู รียนเปน็ นกั เรยี นเกง่ หรืออ่อน ฯลฯ 3. ไมม่ กี ารจากัดเวลาของผเู้ รียน การเรียนจะดาเนนิ ไปตามอัตราความสามารถ ของแตล่ ะบคุ คล โดยไมต่ ้องคานงึ ถึงการทาเสรจ็ ก่อนหรอื เสร็จหลงั ผอู้ ่นื 5. เนอ้ื หาวิชาจะต้องจดั แบง่ เปน็ หวั ขอ้ เร่อื งใหญ่ ๆ ก่อน แลว้ แบ่งเป็นหัวเรอื่ งย่อย ๆ เขยี นเนือ้ หาเปน็ หน่วยยอ่ ยเล็ก ๆ แต่ละหนว่ ยยอ่ ยจะตอ้ งทาให้เกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจในหนว่ ยยอ่ ยถดั ไป เพ่ือให้การเรียนรูด้ าเนินไปทลี ะนอ้ ย ๆ ทลี ะขน้ั พยายามอย่าใหม้ ีการกระโดดข้ามลาดับ ของเนอ้ื เรอ่ื ง จัดลาดับเรียงจากเน้ือหางา่ ย ๆ ไปหาเนือ้ หาที่ยากขน้ึ ตามลาดบั 6. ใหม้ เี นอื้ หาและคาอธบิ ายท่ดี ึงดดู ความสนใจของผเู้ รยี น 7. เน้ือหาของแต่ละกรอบ ควรเขยี นดว้ ยภาษาทีช่ ัดเจนถูกต้องตามหลักภาษา และเหมาะสมกับเน้อื หา ความรู้ และอายขุ องผเู้ รยี น เนอ้ื เรือ่ งถกู ตอ้ งตามหลักวิชา และมีความ ตอ่ เน่อื งกนั ของแตล่ ะกรอบ 8. แตล่ ะกรอบจะต้องนาเสนอเนือ้ หาเฉพาะเรือ่ งอย่างชัดเจน และมคี าถามหรือคาสั่ง

ใหผ้ ู้เรียนตอบสนองตอ่ เร่ืองนัน้ โดยตรง และไม่ควรมคี วามรใู้ หมเ่ กินกวา่ หน่งึ อยา่ ง 9. ใหม้ กี ารยา้ ทบทวนและทดสอบด้วยตนเอง 10. จะตอ้ งให้ผู้เรยี นรูผ้ ลของคาตอบวา่ ถูกหรือผิดทนั ที เพื่อชว่ ยการเรียนรใู้ ห้ดีขน้ึ และเป็นการใหก้ ารเสริมแรงในทนั ทีด้วย 11. มกี ารชแ้ี นะค่กู นั ไปกบั การตอบสนอง 12. ลดการช้แี นะและการนาทางออกไปทลี ะน้อยจนกว่าจะหมดโดยสน้ิ เชงิ เพ่อื ชว่ ย ใหผ้ ้เู รยี นสามารถตอบสนองด้วยตนเองไดอ้ ยา่ งถกู ต้องในทีส่ ุด ประสทิ ธภิ าพและดชั นปี ระสทิ ธิผลของการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (Effectiveness Index) ดัชนปี ระสิทธผิ ล (Effectiveness Index) หมายถงึ ตวั เลขที่แสดงถึงความกา้ วหนา้ ใน การเรียนของนกั เรียน โดยการเทยี บคะแนนที่เพม่ิ ขน้ึ จากคะแนนการทดสอบก่อนเรยี นกบั คะแนน ที่ได้จากการทดสอบหลังเรยี น และคะแนนเตม็ หรอื คะแนนสูงสดุ กับคะแนนทไี่ ดจ้ ากการทดสอบ กอ่ นเรียน เมอื่ มีการประเมินสอื่ การสอนท่ีผลิตขน้ึ มา เรามกั จะดถู งึ ประสิทธผิ ลทางด้านการสอน และการวดั ประเมินผลทางสื่อนั้น ตามปกตแิ ลว้ จะเป็นการประเมนิ ความแตกต่างของค่าคะแนน ใน2 ลักษณะคือ ความแตกต่าง ของคะแนนการทดสอบก่อนเรียน และคะแนนทดสอบหลังเรียนหรอื เปน็ การทดสอบเกีย่ วกับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ระหวา่ งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ในทางปฏบิ ัติ ส่วนมากจะเน้นที่ผลความแตกต่างท่แี ท้จริงมากกว่าผลของความแตกต่างทางสถติ ิ แต่ในบางกรณี การเปรียบเทียบเพียง 2 ลักษณะก็อาจยังไม่เพยี งพอ เช่น ในกรณีของการทดลองใช้สื่อในการเรียน การสอนคร้ังหน่งึ ปรากฏว่า กลมุ่ ท่ี 1 การทดสอบกอ่ นเรียนไดค้ ะแนน 18 % การทดสอบหลงั เรยี น ได้คะแนน 67 % และกลมุ่ 2 การทดสอบก่อนเรียนไดค้ ะแนน 27% การทดสอบหลังเรียนได้ คะแนน 74 % ซ่ึงเมือ่ ทาผลวิเคราะห์ทางสถิติ ปรากฏคะแนน ทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น แตกตา่ งกบั อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติท้งั สองกล่มุ เมอ่ื เปรยี บเทียบคะแนนการทดสอบหลังเรียน ระหวา่ ง 2 กลุ่ม ปรากฏวา่ ไมม่ ีความแตกตา่ งกันซง่ึ ไมส่ ามารถระบไุ ด้วา่ เกดิ ข้ึนเพราะส่งิ ที่ทดลอง (Treatment) นน้ั หรอื ไม่ เนือ่ งจากการทดสอบทง้ั สองกรณีมคี ะแนนพนื้ ฐาน (คะแนนทดสอบก่อน เรยี น) แตกตา่ งกนั ซงึ่ จะส่งผลถงึ คะแนนการทดสอบหลังเรียนทีจ่ ะเพมิ่ ขน้ึ สูงสดุ ของแต่ละกรณี (เผชญิ กิจระการ. 2546 : 1) ดงั นี้ Hovland (เผชิญ กิจระการ. 2546 : 2 ; อ้างองิ มาจาก Hovland. 1949 : unpaged) ไดเ้ สนอดัชนปี ระสทิ ธผิ ล (Effectiveness Index) ซึง่ คานวณไดจ้ ากการหาความแตกตา่ ง ของการทดสอบหลังการทดลองด้วยคะแนนสูงสุดท่ีสามารถเพิ่มขึ้นได้ Hovland เสนอว่าค่า ความสัมพันธ์ของการทดลองจะสามารถกระทาได้อยา่ งถกู ต้องแน่นอนจะตอ้ งคานึงถงึ ความแตกตา่ งของ

คะแนนพื้นฐาน (คะแนนทดสอบก่อนเรียน) และคะแนนท่ีสามารถทาได้สูงสุด ดัชนีประสิทธิผลจะเป็น ตัวช้ีถึงขอบเขตและประสทิ ธิภาพสูงสดุ ของสอื่ Webb (เผชญิ กจิ ระการ. 2546 : 3 ; อา้ งองิ มาจาก Webb. 1963 : unpaged) ไดเ้ ปรยี บเทียบความแตกต่างของคะแนนโดยใชว้ ธิ ีการ 3 แบบ ซึ่งเพิ่มเตมิ จาก “ดัชนปี ระสทิ ธผิ ล” ของ Hovland และ Webb ให้ความสนใจค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนน ซึ่งเรยี กวา่ วิธีการConventional โดยคานวณจากการนาค่าคะแนนร้อยละของกลุ่มควบคุมลบออกจากคะแนนร้อยละของกลุ่มทดลอง แล้วจึงหาด้วยคะแนนร้อยละของกลุ่ม ผลท่ีได้จะแสดงถึงร้อยละท่ีเพ่ิมข้ึน (หรือลดลง) เปรียบเทียบกับ คะแนนของกล่มุ ควบคุม ดัชนปี ระสิทธผิ ลมีรูปแบบในการหาคา่ ดังน้ี (เผชญิ กิจระการ. 2546 : 3 ; อา้ งองิ มาจาก Goodman, Fletcher and Chneider. 1980 : 30-34) E.I  ผลรวมคะแนนทดสอบหลงั เรียน- ผลรวมคะแนนทดสอบก่อนเรียน คะแนนเต็มของแบบทดสอบจานวนนกั เรียี น ผลรวมคะแนนทดสอบก่อนเรียน จากการศึกษาเอกสารเก่ียวกบั ค่าดชั นีประสิทธิผลสรปุ ได้ว่า การหาคา่ ดชั นปี ระสิทธิผล หาเพื่อตรวจสอบวา่ ผู้เรยี น มคี วามรู้เพ่มิ เติมมากขนึ้ หรอื ไม่จากเดิมเป็นการเปรยี บเทยี บการสอน ดชั นีประสทิ ธิผลจะเป็นตวั ชถ้ี ึงขอบเขตและประสิทธภิ าพสูงสดุ ของสอ่ื ในการจดั กิจกรรม การเรยี นการสอน บญุ ชม ศรีสะอาด (2546 : 153-156) ได้กลา่ วถึงการพฒั นาสอื่ การเรียนการสอน หรอื วิธีสอน หรอื นวัตกรรม จาเป็นอย่างยงิ่ ทจี่ ะทาการทดลองใช้ และหาประสิทธภิ าพของสิ่งพฒั นา เพื่อจะมัน่ ใจในการที่จะนาไปใช้ต่อไป การหาประสทิ ธิภาพนยิ มใช้เกณฑ์ 80/80 ซง่ึ มวี ธิ ีการ 2 แนวทาง ดงั น้ี แนวทางท่ี 1 พิจารณาจากผู้เรียนจานวนมาก (ร้อยละ 80) สามารถบรรลผุ ล ในระดบั สงู (รอ้ ยละ 80) ในกรณีนเ้ี ปน็ นวตั กรรมสั้นๆ ใช้เวลาน้อย เน้ือหาท่ีสอนมีเรอื่ งเดียว เช่น การสอน 1 บท ใชเ้ วลาสอน 1 ชัว่ โมง เป็นต้น เกณฑ์ 80/80 หมายถึง มีจานวนผเู้ รยี นไมต่ า่ กว่า 80% ของผูเ้ รยี นท่ที าคะแนนไดไ้ ม่ตา่ กวา่ 80% ของคะแนนเตม็ แนวทางท่ี 2 พิจารณาผลระหว่างดาเนนิ การและเมื่อสิน้ สดุ การดาเนนิ การโดยเฉล่ีย อยู่ในระดบั สูง (เชน่ รอ้ ยละ 80) ในกรณีใช้การสอนหลายครงั้ มีเนือ้ หาสาระมาก เชน่ สอน 3 บท ข้ึนไป มีการวัดผลระหว่างเรียน (Formative) หลายครั้ง เกณฑ์ 80/80 มีความหมายดงั น้ี 80 ตัวแรก เป็นประสิทธภิ าพของกระบวนการ (E1) 80 ตวั หลัง เปน็ ประสิทธภิ าพของผลโดยรวม (E2) การหาประสิทธภิ าพใชส้ ูตรดังนี้

ประสิทธิ = ผลรวมของคะแนนทส่ี อบไดข้ องทกุ คน × 100 ผลรวมของคะแนนจากทุกคน ประสทิ ธิภาพจงึ เป็นร้อยละของค่าเฉลยี่ เมอ่ื เทียบกบั คะแนนเต็มซึง่ ต้องมีคา่ สงู จึงจะชถี้ ึงประสทิ ธิภาพได้ กรณนี ใ้ี ชร้ อ้ ยละ 80 80 ตัวแรก ซ่งึ เปน็ ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ เกดิ จากการนาคะแนนเตม็ ทีส่ อบไดร้ ะหวา่ งดาเนินการ (นั่นคอื ระหว่างเรียน หรอื ระหว่างการทดลอง) มาหาค่าเฉลี่ยแล้วเทียบ เป็นรอ้ ยละ ซ่งึ ต้องไดไ้ ม่ตา่ กวา่ รอ้ ยละ 80 80 ตวั หลัง ซึง่ เป็นประสทิ ธภิ าพของผลโดยรวม เกิดจากการนาคะแนนจาก การวัดโดยรวมเมอื่ ส้นิ สุดการสอนหรอื สนิ้ สุดการทดลอง มาหาคา่ เฉล่ยี แล้วเทียบเปน็ ร้อยละ ซง่ึ ตอ้ งไดไ้ มต่ า่ กว่ารอ้ ยละ 80 แนวคิดเกย่ี วกบั การกาหนดเกณฑ์ มดี ังนี้ (บญุ ชม ศรสี ะอาด. 2546 : 156) 1. การกาหนดเกณฑ์ประสิทธภิ าพ สามารถกาหนดไดห้ ลากหลายขน้ึ อยู่กบั ผู้วจิ ัย จะกาหนด ถ้าตอ้ งการประสทิ ธภิ าพสงู กก็ าหนดค่าไว้สงู เชน่ 90/90 แต่ถา้ กาหนดเกณฑ์ไว้สงู อาจพบ ปัญหาวา่ ไม่สามารถบรรจุเกณฑ์ท่กี าหนดไวไ้ ด้ การจะทาใหผ้ ู้เรยี นสว่ นมากทาคะแนนได้จวนเต็ม มีคา่ เฉลยี่ จวนเตม็ คือร้อยละ 90 ขึน้ ไปไมใ่ ช่เรื่องงา่ ย ดงั นนั้ จงึ ไม่ใช่เรอื่ งงา่ ย ดังนน้ั จงึ ไมค่ ่อยมีการ ตั้งเกณฑ์ 90/90 ในงานวิจัยบางเรื่อง ตั้งไว้ต่ากว่า 80 ทั้งด้านกระบวนการและผลโดยรวม เช่น 70/70 ทัง้ เพราะถา้ ส่งิ ท่คี รูพัฒนาขน้ึ มีประสิทธิภาพจรงิ แลว้ จะสามารถพฒั นาผู้เรยี นไดบ้ รรลผุ ลระดับ สูงเป็นส่วนใหญ่ได้ การตั้งเกณฑ์ 50/50 หรอื 60/60 แสดงถึงว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนไดโ้ ดยเฉล่ีย คร่งึ หน่ึงชองคะแนนเตม็ หรือมากกว่าครึ่งหนงึ่ เล็กนอ้ ย (60 %) ซงึ่ ไม่น่าจะเพียงพอ ควรพัฒนา ไดม้ ากกวา่ น้นั 2. การเขยี นเกณฑ์ 80/80 ไม่ได้หมายถึงอัตราส่วน หรือสดั ส่วนระหว่าง 2 สว่ นน้ี โดยท่ัวไปไม่ได้แปลความหมายโดยนามาเปรยี บเทยี บกัน ดงั นั้นครผู ูว้ ิจยั ไม่อาจเขยี นในรูป 80/80 แตเ่ ขียนในรปู อน่ื เช่น 80,80 หรือแมก้ ระทั่งเขียนว่าใช้เกณฑ์ 80% ท้งั กระบวนการและผลโดยรวม ก็ได้ การเขยี น 80/80 เปน็ เพียงแยกส่วนของประสิทธิภาพของกระบวนการซึ่งเปน็ เลข 80 ตัวหนา้ กบั ประสทิ ธภิ าพของผลโดยรวม ซึง่ เปน็ 80 ตวั หลงั 2. ครูผู้วจิ ยั อาจตัง้ เกณฑท์ ั้ง 2 สว่ นไม่เท่ากนั กไ็ ด้ เช่น ต้งั เกณฑเ์ ปน็ 70/80 ซึ่งหมายความว่า ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการใช้ 70% ส่วนประสิทธิภาพของผลโดยรวมใช้ 80% ซึง่ ไม่นยิ มกาหนดในลกั ษณะดังกล่าว แตอ่ ย่างไรกต็ ามไม่จาเป็นจะทาอะไรใหส้ อดคลอ้ งกบั ความ นยิ ม ขอ้ สาคัญคือ เหตผุ ลเบอื้ งหลงั ของการตั้งเกณฑ์ ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่าการตัง้ เกณฑแ์ บบน้นั มคี วามเหมาะสม มีเหตุผลดกี วา่

การวัดทักษะปฏิบตั ิ กรอบการวดั ผลการเรยี นรูท้ ีค่ าดหวงั หรือจุดประสงคก์ ารเรียนร้แู บบรายงานผลการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนรายบุคคล (ปพ. 6) ของกิจกรรมกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะสาระทัศนศิลป์ สาระดนตรี และสาระนาฏศิลป์ แม้จะครอบคลมุ พฤตกิ รรมทั้ง 3 ด้าน แต่กจิ กรรมหลกั คือการปฏิบตั ิงาน ดงั รายละเอยี ดต่อไปนี้ 1. ความหมายของการวัดทกั ษะปฏบิ ตั ิ นักการศึกษาหลายทา่ นได้ให้ความหมายของการวัดทักษะภาคปฏบิ ตั ิ ดังน้ี สนุ ันท์ ศลโกสมุ (2544 : 65) กล่าววา่ การวัดภาคปฏิบัติ เปน็ การทดสอบ เพอ่ื พจิ ารณาความสามารถในการทางานไดต้ ายจุดมงุ่ หมาย (Manipulate Objective) หรือเปน็ การ ทดสอบเพ่ือพิจารณาประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล (Efficient and Effect) ทเี่ กิดจากการกระทา หรือจากสถานการณท์ ่ีไดก้ าหนดขน้ึ เผยี น ไชยศร (2534 : 37) ได้ให้ความหมายของการวดั ทักษะภาคปฏิบัติ วา่ เป็นการวัดความสามารถของบุคคลในการทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยบุคคลนั้นได้ลงมือปฏิบัติการ จดั การกระทา (Materials or Physical Object) โดยทางกายหรือการรับรูท้ างประสาทสัมผัส ไพศาล หวังพานิช (2523 : 89) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การวัดทักษะภาคปฏิบัติ เปน็ การวัดความสามารถในการปฏิบัติ ซึ่งเปน็ การวดั ทใ่ี หผ้ เู้ รียนได้แสดงพฤตกิ รรมตรง ออกมาดว้ ยการกระทา โดยถอื วา่ การปฏิบัตเิ ปน็ ความสามารถในการผสมผสานหลกั การตา่ ง ๆ ท่ีได้รบั การฝึกฝนใหป้ รากฏออกมาเป็นทักษะของผ้เู รียน จากความหมายทกี่ ลา่ วมาข้างตน้ พอสรปุ ความหมายของการวดั ทกั ษะปฏบิ ัติได้ คอื เป็นการวัดความสามารถทผี่ ู้เรยี นได้แสดงพฤติกรรมทางความรู้ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม รวมไปถึงกระบวนการในการทางาน ทีไ่ ดจ้ ากการปฏบิ ตั ิ 2. ลกั ษณะการวดั ภาคปฏิบตั ิ โดยท่ัวไปการวัดผลการปฏิบัตงิ านมกั จะวัดประเมินทง้ั กระบวนการและผลงาน แต่กิจกรรมบางอย่างไม่มีผลงานคงอยู่ให้ตรวจสอบได้ภายหลังการสิ้นสุดกระบวนการทางาน เน่ืองจาก ผลงานเกิดขนึ้ พรอ้ มกันกับการปฏิบตั งิ าน ในกรณเี ช่นนจ้ี าเป็นตอ้ งวัดผลงานไปพรอ้ มกันกบั กระบวนการ เช่น กิจกรรมเก่ียวกับดนตรีและนาฏศิลป์ ในบางกรณีอาจวัดและประเมินเฉพาะกระบวนการหรือ ผลงานแล้วแตจ่ ุดมุ่งหมายของการวดั ซึง่ การวดั ผลภาคปฏบิ ัติมีลักษณะดงั ตอ่ ไปนี้ 2.1 พฤติกรรมทีใ่ หน้ กั เรียนแสดงออกอยู่ในรปู ของการปฏิบตั ิ

2.2 มีกระบวนการปฏบิ ัติงานทว่ี ดั ได้ 2.3 มกี ารใช้วัสดุอุปกรณ์ 2.4 ลดการใชท้ กั ษะทางภาษา 2.5 มผี ลงานในรูปที่วัดได้ 3. วธิ กี ารวัดผลภาคปฏิบัติ เผียน ไชยศร (2529 : 43-45) ได้แบ่งวิธีการวัดผลงานภาคปฏิบัตไิ ว้ 3 รูปแบบดังนี้ 1. ให้แสดงความร้จู ักต่อสิง่ ที่นามาเสนอหรือกาหนดให้ โดยการระบุบอกจาแนก หรือจดั หาตัวอยา่ ง เช่น นาเครื่องยนต์ กล้องจลุ ทรรศน์มาให้ดู แล้วใหบ้ อกช้ินสว่ นหรือส่วน ประกอบตา่ ง ๆ 2. ใหป้ ฏิบตั ใิ นสถานการณจ์ าลอง (Simulated Condition) ในการปฏบิ ตั ิงานบาง อยา่ งต้องใช้ทกั ษะหลายอยา่ งประกอบกัน และทกั ษะนั้นๆอาจจะแยกฝึกกนั แล้วนามาประสม ประสานกนั ภายหลัง เชน่ การขับรถยนต์ การผ่าตดั ในการทดสอบพฤตกิ รรมการเรียนร้เู บอื้ งต้น จะนามาทดสอบในสถาน การณจ์ าลองก่อน โดยจดั ทารูปแบบจาลองข้ึน หรือใชส้ ง่ิ อ่ืนทดแทนใน สภาพทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั 3. ใหป้ ฏบิ ัติในตวั อย่างสถานการณ์จรงิ (Work Sample) ในการวัดพฤติกรรม การเรียนรภู้ าคปฏิบัติในระดบั 3 (ทาด้วยความชานาญ) หรือโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งตัง้ แต่ระดับ 4 ข้นึ ไป (การทาในสถานการณต์ า่ ง ๆ ไดแ้ ละการแก้ปัญหาโดยฉบั พลนั ) จะนยิ มให้ปฏบิ ัตใิ นตวั อย่าง สถานการณจ์ ริงโดยการกาหนดและใชท้ ักษะวธิ กี ารและการปรับปรงุ แกไ้ ขเทคนิคใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณน์ ั้น การทดสอบท่จี ะให้ได้มาซึง่ ความเที่ยงตรงและความเชือ่ ม่นั หลายคร้ังในทุกสถาน การณใ์ นการปฏิบตั จิ รงิ ไมอ่ าจทาได้ ดงั นั้น ในการทดสอบจึงพยายามเลือกสถานการณท์ ่เี ป็นจริง ทคี่ ิดว่าเป็นตวั แทนที่ดที สี่ ดุ ของงานนน้ั มาโดยจะต้องครอบคลมุ พฤติกรรมทุกสว่ นที่ตอ้ งปฏบิ ตั ิ ในชวี ติ ประจาวนั หรอื ในการปฏิบัตงิ านจรงิ ๆ ธงชัย ชวี ปรีชา, ณรงค์ศิลป์ ธูปพนม และปรีชา เดชศรี (2526 : 259-266) ไดก้ ล่าว ถงึ วิธีการประเมนิ ผลพฤติกรรมด้านปฏิบตั กิ ารว่าอาจทาไดห้ ลายวธิ แี ตเ่ สนอเพียง 3 วิธี คือ 1. การสังเกตพฤตกิ รรม ขณะปฏบิ ัติการน้นั ควรสังเกตดา้ นตา่ ง ๆ คือ 1.1 การใช้เครอ่ื งมอื วสั ดุอุปกรณ์ และสารเคมี ได้แก่ การหยิบจบั และใช้วสั ดุ อุปกรณ์หรอื เครือ่ งมือต่าง ๆ 1.2การดาเนินการทดลอง หมายถงึ ความสามารถในการติดตั้งอุปกรณ์ และปฏิบัติตามวิธีการทบี่ อกไวใ้ นหนงั สือเรยี นได้ถกู ตอ้ ง วอ่ งไว และปลอดภัย และรวมไปถงึ ความ สามารถในการแก้ไข ปรับปรงุ วิธกี ารหรือปญั หาต่าง ๆ ที่พบไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2. การตรวจรายงานผลปฏบิ ัตกิ าร รายงานผลการปฏบิ ตั ิการน้นั จะสะท้อนให้เหน็

ถึงความสารถของผูป้ ฏบิ ตั ิการหลายด้าน เช่น ทักษะในการสังเกต ทักษะในการใชภ้ าษาเพือ่ ส่อื ความหมาย ฯลฯ 3. การสอบภาคปฏิบัติ เปน็ การวดั พฤตกิ รรมด้านปฏิบตั ิอีกแบบหนง่ึ โดยวธิ ีจัดให้มี การสอบภาคปฏบิ ตั ิ ซงึ่ โดยทว่ั ๆ ไป ทาโดยจดั เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ตลอดจนสาเคมีทต่ี ้องการใช้บน โต๊ะ พรอ้ มกบั คาอธิบายหรอื วธิ ีการทดลองในแต่ละกจิ กรรมควบคกู่ ันไป จากที่กล่าวมาข้างต้อนวิธีการจัดทักษะปฏิบัตินั้นมีวิธีการหลายวิธี และแตกต่างกัน ออกไป แต่ทั้งน้ีและทั้งน้ันในการที่เราจะนามาใชห้ รือวิธใี ดวิธหี น่ึงมาใช้ซึ่งต้องขึ้นอยู่กับลุกษณะของงาน และวัตถปุ ระสงคว์ า่ จะจดั พฤติกรรมการเรยี นรู้ระดบั ไหน อยา่ งไร 4. กระบวนวัดผลภาคปฏิบตั กิ ารดาเนินงานในการวดั ผลภาคปฏบิ ัติ ซ่งึ มีข้ันตอน คอื 1) วเิ คราะห์งาน 2) กาหนดตวั บ่งชข้ี องพฤติกรรมทจี่ ะวดั 3) กาหนดนา้ หนักความสาคัญของแต่ละ องคป์ ระกอบ 4) กาหนดวิธีการวัด 5) เตรียมเครือ่ งมือท่ใี ช้ในการวัด 6) วางแผนดาเนินการสอน 7) เตรยี มคาสงั่ คาชีแ้ จง 8) ทดลองเครอ่ื งมือแล้วปรบั ปรงุ ดงั นี้ 4.1 การวเิ คราะหง์ าน การวเิ คราะหง์ านเปน็ การวเิ คราะห์กิจกรรมออกเปน็ กิจกรรมยอ่ ยโดยมีขอ้ กาหนด และมาตรฐานของงานทีจ่ ะใช้ในการประเมิน เพอื่ ระบกุ ารปฏบิ ตั ทิ ่ตี อ้ งการ ผลที่ไดจ้ ากการวิเคราะห์ งานจะนาไปสกู่ ารกาหนดพฤตกิ รรมบ่งชี้ความสามารถทีต่ อ้ งการวัด แหล่งข้อมลู สาหรบั การวิเคราะห์ งานใหพ้ ิจารณาจากระดบั ของการประเมิน กล่าวคือ 4.1.1 ถ้าเป็นการวัดผลและการประเมินผลระหว่างเรียน ควรทาการวิเคราะห์งาน จากแผนการสอนของหนว่ ยการสอนหน่ึง ๆ 4.1.2 ถ้าเป็นการวดั ผลปลายปี ควรทาการวิเคราะหง์ านจากหลกั สตู รหรือ กิจกรรมการเรยี นการสอนทจี่ ดั ในภาคนัน้ หรือตลอดปี 4.2 กาหนดตัวบ่งช้ีของพฤติกรรมที่จะวดั การกาหนดตัวบ่งช้ี เป็นการกาหนดพฤติกรรมการแสดงออกของนักเรียนที่สามารถ สงั เกตและวัดได้ ส่ิงทต่ี ้องคานงึ ในการกาหนดตวั บง่ ช้ี คือ 4.2.1 ประเภทของงานท่ีวิเคราะหไ์ ดจ้ ากขอ้ 1 เช่น ประเภทของความรู้ ประเภทของทกั ษะปฏิบัติ และประเภทของพฤติกรรมจิตพสิ ัย 4.2.2 ลาดับขนั้ พฤติกรรม หรือลาดบั ความสามารถท่ีตอ้ งการให้เกดิ ขน้ึ ซ่ึงข้ึนอยูก่ ับ วุฒิภาวะเป็นสาคัญ กรอบผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังได้กาหนดไว้ค่อนข้างชัดเจนอยู่แล้วในแต่ละช่วงชั้น และตวั อย่างพฤตกิ รรมบ่งช้ี ดังได้แสดงไวใ้ นหัวข้อเรยี งลาดบั ขน้ั ของพฤติกรรมดา้ นต่าง ๆ 4.2.3 พัฒนาการของเด็กในดา้ นดนตรแี ละนาฏศลิ ป์ พฤตกิ รรมบางกลมุ่ เชน่ ความต้งั ใจในการทางาน ความรบั ผิดชอบ ความร่วมมอื ความสนใจ ความมีวินัยในตนเอง ฯลฯ

เหลา่ นเี้ ป็นพฤตกิ รรมด้านคุณลักษณะ ควรมกี ารประเมนิ พฤตกิ รรมเหล่านคี้ วบคูไ่ ปด้วย 4.3 กาหนดน้าหนักของความสาคัญ เป็นการกาหนดน้าหนักและคะแนนของแต่ละ องคป์ ระกอบตามความสาคญั (วิเคราะห์จากจดุ ม่งุ หมายในแผนการสอนหรอื จุดมงุ่ หมาย ของหลกั สตู ร)หรือตามคามยากง่ายของงาน เช่น 4.3.1 สดั สว่ นน้าหนกั ความสาคัญของพฤตกิ รรมทเี่ นน้ พทุ ธพิสัย จิตพสิ ัย หรือทักษะพสิ ยั 4.3.2 สัดส่วนนา้ หนักความสาคัญระหวา่ งส่วนทเี่ ป็นกระบวนการผลงาน และลกั ษณะนสิ ยั การทางาน (ขึ้นอยู่กบั จุดมงุ่ หมายวา่ ตอ้ งการเน้นสว่ นใด) 4.3.3 สัดสว่ นน้าหนกั ความสาคัญระหวา่ งขอ้ รายการในสว่ นหนงึ่ ท่เี ป็น กลุ่มเดียวกัน เช่น ในกลุ่มการปฏิบัติหรือลักษณะนิสัยข้ึนอยู่กับความยากหรือความสาคัญของข้ันตอน การปฏบิ ัติ หรือทกั ษะทีต่ ้องการเน้น 4.4 กาหนดวธิ ีการวัด การกาหนดวิธีการวัดท่ีชัดเจนจะช่วยให้การเลือกชนิดของเคร่ืองมือมีความเหมาะสม ถูกตอ้ งมากย่ิงข้นึ วธิ กี ารปฏบิ ัตงิ านทใี่ ช้อยู่ทว่ั ไปมีหลายวธิ ี คือ 4.4.1 แบบเขยี นตอบในกระดาษ (Paper-pencil Performance) ซึ่งมักใช้ในกรณี การวัดภาคปฏิบตั ิระดับต้น ที่ไม่ได้ใหน้ กั เรยี นปฏิบัตจิ รงิ ๆ 4.4.2 ให้ทาส่ิงท่ีเหมือนแบบ (Identification Test) มักใช้ในกรณีท่ีวัดทักษะ มากกวา่ การวดั ภาคปฏบิ ตั ิโดยตรง 4.4.3 ใหป้ ฏบิ ัตงิ านในสถานการณจ์ าลอง (Simulated Situation Test) 4.5 เตรยี มเครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการวัด เครื่องมอื ทีน่ ยิ มใชใ้ นการวัดการปฏบิ ตั งิ าน ได้แก่ แบบสงั เกต แบบตรวจสอบ รายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า ระเบียบพฤติการณ์ แบบรายงานตนเอง แบบทดสอบ เปน็ ต้น การวัดและการประเมนิ งานหน่งึ ๆ อาจตอ้ งใชเ้ ครือ่ งมอื มากกวา่ 1 อยา่ ง 4.6 วางแผนดาเนนิ การสอน การวางแผนดาเนนิ การสอนควรคานงึ ถงึ ส่งิ ตอ่ ไปนี้ 4.6.1 สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพ ได้แก่ สถานท่ี สือ่ อุปกรณต์ า่ ง ๆ ควรจดั ให้มี สภาพคล้ายจริงมากท่ีสดุ 4.6.2 งานทีใ่ หน้ ักเรยี นทา ซง่ึ นกั เรยี นทุกคนควรไดท้ าทุกขน้ั ตอน เพอื่ ความ เขา้ ใจในความสมั พันธข์ องงานทท่ี าแต่ละส่วน 4.6.3 การควบคมุ การปฏบิ ตั ิ ครตู อ้ งมีวิธีการชแี้ จงและตรวจสอบว่า นกั เรยี น เข้าใจสงิ่ ท่ีตอ้ งทาอยา่ งสมบูรณ์แล้ว (อาจใช้วิธบี อก ต้ังคาถาม สาธิตประกอบกบั คู่มอื ) ในกรณีท่ี

เปน็ การประเมินผลระหวา่ งเรียนควรมีการใหค้ าแนะนานกั เรียนในขณะปฏิบัติงานในแตล่ ะขน้ั ตอน ท่พี บข้อบกพร่อง โดยกระตุน้ ให้นักเรยี นแก้ไขงานเองหรอื ครูช่วยเหลอื น้อยทส่ี ดุ 4.6.4 การประเมนิ ผลคานึงถงึ เครื่องมอื คณุ ภาพของเคร่ืองมือ การใช้ การแปล ความหมายคะแนน และการประเมนิ 4.7 เตรียมคาส่งั คาชีแ้ จง เพ่ือให้ใช้ในการบริหารการสอบ ในส่วนน้ีอาจมส่วนทใ่ี ชส้ าหรับครแู ละสว่ นที่ใช้สาหรับนกั เรียน 4.8 ทดลองเครือ่ งมอื แลว้ ปรบั ปรุง เพอ่ื หาคุณภาพของเครอ่ื งมือและปรับปรงุ วธิ กี ารดาเนนิ การให้ใช้ได้ง่ายสะดวกใน กรณีท่ีเป็นเคร่อื งมือทคี่ รสู ร้างข้นึ ใช้เองเฉพาะในห้องเรียน หรือในโรงเรียนของตนเอง กระบวนการ ตามขอ้ 7 และ 8 อาจไม่จาเปน็ การหาคุณภาพเคร่ืองมืออาจใช้วธิ ีให้เพือ่ นครูทมี่ ีความรดู้ า้ นเนื้อหา และการวดั ผลช่วยวิจารณ์ 5. ประเภทของแบบวัดภาคปฏิบตั ิ Marshall (หทยั ทิพย์ วมิ ประภาพรกุล. 2533 : 18-19 ; อ้างอิงมาจาก Marshall. 1971 : 139-141) ไดจ้ าแนกแบบทดสอบภาคปฏบิ ตั อิ อกเปน็ 3 ชนดิ คือ 1. แบบทดสอบใหจ้ าแนกแยกแยะ (Identification Test) จดุ มงุ่ หมายของ แบบทดสอบให้จาแนกแยกแยะ คือ เพ่ือทจ่ี ะวดั ความสามารถของนกั เรียนในการจาแนกวัตถุ (Object) หรือชดุ ของวตั ถุ (Set of Objects) จาแนกระหว่างความถูกต้องและไมถ่ กู ตอ้ งในกระบวน การ (Procedures) และวิธปี ฏิบัติ (Practices) จาแนกปจั จยั สาคญั ในตอนเบื้องต้นของกระบวนการ หรือเพื่อทจ่ี ะจาสว่ นประกอบผลผลติ ความแตกตา่ งระหวา่ งแบบใหจ้ าแนกแยกแยะของแบบทดสอบ ภาคปฏบิ ัติและแบบทดสอบทางภาษา (Verbal Tests) บางครง้ั กไ็ มช่ ัดเจน ถ้าให้นกั เรยี นระบชุ ือ่ หรือชนิ้ ส่วนตา่ ง ๆ ของเครอื่ งพมิ พ์ดดี ทัว่ ๆ ไปกจ็ ะเรียกวา่ แบบทดสอบภาคปฏบิ ัติอยา่ งไรกต็ าม กเ็ ป็นความจริงวา่ นกั เรียนท่สี ามารถระบสุ ว่ นต่าง ๆ ของเครือ่ งพิมพด์ ีดได้อย่างถูกตอ้ ง ก็ไมไ่ ด้เป็น หลกั ประกนั ว่านักเรยี นจะมีความสามารถในการพมิ พ์ การทาความสะอาดเครือ่ งพิมพด์ ดี หรือการ เปลยี่ นผ้าหมึก แบบทดสอบให้จาแนกแยกแยะนน้ั ไม่สามารถท่ีจะวัดประสิทธภิ าพของผลงาน ในข้นั สดุ ท้ายของบคุ คลที่ปฏบิ ตั ิได้ เพราะวา่ ทักษะในการปฏบิ ตั ิงานและคุณภาพของผลงานในขน้ั สุด ทา้ ย เราสามารถทีจ่ ะทาการวัดได้โดยตรง แบบทดสอบให้จาแนกแยกแยะงาน (Identification Task) กค็ วรจะให้เกิดการโตต้ อบ (Reflex) ในการผสมผสานกันของทกั ษะและกระบวนการทางสมอง (Mental Processes) 2. แบบทดสอบแบบจาลองสถานการณ์ (Simulated Situation Test) ในแบบ ทดสอบแบบจาลองสถานการณ์ กจิ กรรมที่จาเป็นเก่ยี วกบั งานซง่ึ อาจจะเปน็ สถานการณใ์ นชีวิตทเี่ คย ประสบมา บางครัง้ ผเู้ ข้าสอบก็มคี วามต้องการท่จี ะใชเ้ คร่อื งมอื ท่ถี กู สรา้ งขนึ้ มาโดยเฉพาะเพ่อื ทีจ่ ะ

ฝึกหัด (Training) และนามาใชเ้ ปน็ วตั ถุประสงค์ในการทดสอบ ตัวอย่างเชน่ ในวิชาการขับรถ เคร่อื งจาลองส่ิงแวดล้อม (Simulation) ก็จะถกู นามาใช้ในการประเมินทักษะของผเู้ ข้าสอน ในการขับรถ 3. แบบทดสอบแบบตวั อยา่ งงาน (Work Sample Test) แบบทดสอบภาคปฏบิ ัติ จะเก่ียวข้องกับตัวอย่างงานหลายชนิด เช่น ครูทวนเลขให้แบบทดสอบตัวอย่างงานเม่ือให้นักเรียนเขียน ตัวอย่างตัวอักษรท่ีบอก แล้วทาการนับจานวนของความผิดพลาดที่นักเรียนแต่ละคนทาการบันทึกไว้ หรือครชู ่างไมท้ ต่ี ้องการจะวัดทกั ษะของนกั เรียนของเขา ในการปฏบิ ัติกจิ กรรมงานไม้ บางชนิด สามารถทจ่ี ะสรา้ งแบบทดสอบการปฏิบตั ติ ัวอยา่ งงานไม้ขึน้ มาได้ สุนันท์ ศลโกสุม (2534 : 65) ได้แบง่ ประเภทของแบบวัดภาคปฏบิ ัติตามลกั ษณะ ของงานท่กี าหนด แบ่งเปน็ 3 ประเภทดังน้ี 1. การเลยี นแบบ (Identification) เปน็ การทดสอบลกั ษณะทก่ี าหนดเงือ่ นไข ของการปฏบิ ัติใหค้ ล้ายคลึงกบั สภาพความเป็นจรงิ มากทส่ี ดุ เพอ่ื พิจารณาถึงวิธกี ารหรอื การกระทา ให้ได้ผลลัพธ์ของงาน การทดสอบมักจะเป็นการกาหนดชนิ้ งานเป็นแบบให้แก่ผู้ถกู สอบพิจารณาเพ่ือให้ผู้ ถกู สอบทางานถูกตอ้ งเหมือนกับแบบท่ีกาหนดให้ หรอื อาจจะกาหนดแบบใดแบบหน่งึ ให้ผดิ ความจรงิ หรือผิดปกตไิ ปจากหลกั เกณฑท์ ่ีแท้จรงิ แล้วใหผ้ ู้ถูกสอบแกไ้ ขแบบน้ัน ๆ ใหถ้ กู ต้องตาม หลกั เกณฑ์ การวัดแบบนไี้ มใ่ ช่การวัดภาคปฏบิ ตั ิโดยตรง เพราะไมส่ ามารถวัดประสทิ ธิภาพ ในการทางานได้ เปน็ การวัดพฤติกรรมดา้ นทักษะมากกว่าลักษณะของการทดสอบ การเลยี นแบบ ไดแ้ ก่ การพมิ พ์ดดี การดสู ไลด์ การคดั ลายมือตามแบบหรือข้อความท่ีกาหนด การตัดเสอื้ ตามแบบ 2. การสรา้ งสถานการณ์ (Simulated Situation) เป็นการทดสอบทกี่ าหนด สถานการณจ์ าลองให้เหมอื นจรงิ มากท่ีสดุ เพือ่ ผู้ถูกสอบลงมือปฏบิ ัตใิ หไ้ ด้ผลงานตามจดุ มุง่ หมาย ของสถานการณน์ นั้ ๆ เช่น การฝกึ ขบั รถยนตใ์ นสนาม หลกั สาคัญของการกาหนดสถานการณ์จาลอง น้ันต้องให้คลา้ ยกับสภาพความเปน็ จริง คือ ใหเ้ ป็นไปตามธรรมชาติหรือตามสภาพแวดลอ้ มทแี่ ทจ้ รงิ และต้องมีเครอื่ งมือใหเ้ หมอื นกบั สภาพทใี่ ช้จริง นอกจากน้ัน การปฏิบัติสถานการณจ์ าลอง ผูป้ ฏบิ ตั ิ จะได้รบั การพิจารณาพฤติกรรมท่แี สดงออกทง้ั วิธีการปฏบิ ัตแิ ละผลทเ่ี กิดขนึ้ ในการสอบภาคปฏิบัติ โดยใช้สถานการณจ์ าลอง ผู้ประเมนิ จะตอ้ งชแ้ี จงวัตถปุ ระสงคใ์ นการทางานใหแ้ ก่ผ้ปู ระเมนิ ทราบ ล่วงหนา้ และตอ้ งใชเ้ วลาในการประเมินเปน็ ระยะ ๆ พร้อมท้ังชีแ้ จงให้ผ้ถู กู ประเมนิ ทราบถึง จดุ บกพรอ่ งเพอ่ื ให้ผถู้ กู ประเมินได้แก้ไข 3. การกาหนดงาน (Work Sample) เปน็ การกาหนดงานให้ทาเป็นโครงการหรอื เรอื่ งใดเรื่องหนึง่ ทม่ี ีการวางแผนในการปฏบิ ตั ิงาน เปน็ การดูความสามารถในการทางานของบคุ คล ทง้ั ความสามารถดา้ นการจดั การ วิธีดาเนินการ และดา้ นผลผลติ ท่ีไดจ้ ากประเภทของแบบทดสอบ ภาคปฏบิ ตั ิทก่ี ลา่ วมาขา้ งต้น ผ้ศู กึ ษาคน้ คว้ามีความเหน็ ว่าแบบทดสอบตวั อยา่ งงานและใช้สถานการณ์

ของงานท่ีเป็นจรงิ ซ่งึ เราคาดหมายว่าจะมีความถูกเลือกมาอยา่ งระมดั ระวงั แบบทดสอบก็เปน็ เร่อื งช้ี (Indication) ท่ดี เี ก่ยี วกบั ความสามารถของนักเรียนในการปฏิบตั กิ ิจกรรม เครอื่ งมือวัดผลงานภาคปฏบิ ัติ การวดั พฤติกรรมดา้ นพุทธพิสยั วธิ กี ารหลกั ทีใ่ ชอ้ ยู่ทัว่ ไป ไดแ้ ก่ วิธกี ารทดสอบ ซ่งึ อาจเปน็ การสอบโดยการเขยี นตอบหรือปากเปลา่ เครอื่ งมือวดั ได้แก่ แบบทดสอบประเภทต่าง ๆ หรือรายการคาถามสาหรับการตอบปากเปลา่ ส่วนการวัดด้ายจิตพิสยั วธิ กี ารหลักทใี่ ชค้ ือ การสงั เกต โดยมแี บบบันทึกการสงั เกตเป็นเครอ่ื งมือ เคร่อื งมอื วัดชนิดหนึง่ ที่นยิ มใช้ คือ แบบทดสอบสถาน การณ์ สาหรบั การวดั ด้านทกั ษะพสิ ยั หรือการวัดการปฏบิ ตั งิ าน วิธีการหลักทใ่ี ช้ คือ การสังเกต การตรวจผลงาน เครอื่ งมือทใี่ ชม้ ีหลายชนดิ ชนิดท่นี ยิ มใช้ทว่ั ไปและจะกล่าวในท่ีนี้ไดแ้ ก่ 1. แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) 2. แบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) 3. แบบระเบียบพฤตกิ ารณ์ (Anecdotal Record) 4. แบบรายงานตนเอง (Self-Report) ลกั ษณะเครอ่ื งมอื แต่ละแบบมีวธิ ีการสรา้ ง และวิธีการใชด้ งั นี้ 1. แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) เปน็ เคร่ืองมอื สารวจรายการพฤติกรรม หรอื ส่งิ ทน่ี า่ สนใจวา่ เกดิ ข้นึ หรอื ไม่ สิง่ ท่ีเกิดขึ้นใชห่ รอื ไมใ่ ช่ ถูกและไม่ถกู มีและไมม่ ี เป็นต้น ในบางกรณอี าจใชต้ รวจสอบลาดับพฤติกรรมท่ีเกิดขน้ึ วา่ มลี าดบั ก่อนและหลงั ของพฤตกิ รรมอย่างไร การตรวจสอบรายการในลักษณะน้ีจะทาให้มองเห็นภาพรวมของการปฏบิ ัติงานได้ดี 2. แบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) เป็นเคร่ืองมอื ทใ่ี ช้วัด คณุ ลักษณะท่ีจดั ระดับคุณภาพไวอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง เครอื่ งมือแบบมาตราส่วนประมาณค่าให้รายละเอยี ด ข้อมูลคอ่ นข้างมาก นอกจากจะวดั ว่านกั เรยี นทาอะไรได้ ไมไ่ ด้แลว้ ยงั บอกระดบั คุณภาพของ การกระทาหรอื ผลงานได้ดว้ ย รูปแบบของเครื่องมอื แบบมาตราสว่ นประมาณคา่ มีหลายประเภท คือ 2.1 มาตราสว่ นประมาณคา่ แบบตัวเลข เปน็ มาตราสว่ นประมาณคา่ ทใ่ี ช้ ตวั เลขแสดงระดบั ของความสามารถหรอื คุณภาพ หรือระดับความเห็นดว้ ยและไมเ่ หน็ ด้วย 2.2 มาตราสว่ นประมาณค่าแบบกราฟ เปน็ มาตราสว่ นประมาณคา่ ทใ่ี ช้ คาศัพท์ เช่น สงู ปานกลาง ต่า เป็นตน้ แทนระดับความสามารถหรอื คุณภาพทตี่ อ้ งการ 2.3 มาตราส่วนประมาณคา่ แบบเทียบเทียมคุณภาพกับตัวอยา่ งงาน เป็น มาตราสว่ นประมาณคา่ ที่นางานท่ีต้องการประเมนิ ไปเปรียบเทยี บกับงานท้ังหมดที่จัดเรียงอนั ดบั คณุ ภาพของงานไวแ้ ลว้ 2.4 มาตราส่วนประมาณค่าพรรณา เปน็ มาตราส่วนประมาณค่าท่ีมคี าอธบิ าย แสดงพฤติกรรมทีป่ ฏบิ ัติ

3. แบบระเบยี บพฤตกิ ารณ์ (Anecdotal Record) ไมม่ ีรูปแบบเครือ่ งมอื ท่ีกาหนด ไว้ชัดเจน เปน็ การบรรยายพฤตกิ รรมขอ้ เทจ็ จรงิ ที่สังเกตเห็นโดยแยกเป็นความคดิ เหน็ หรอื ข้อง วจิ ารณ์ของผ้สู งั เกตไว้ต่างหาก วิธีการสังเกตมกั เปน็ แบบไม่เป็นทางการ เครอ่ื งมอื วดั ชนิดนีใ้ ช้ได้กับ การสงั เกตเร่ืองพัฒนาการของนกั เรียนหรอื เรอื่ งความร้สู ึก เช่น ความรู้สึกซาบซ้ึงในศิลปะดนตรี และนาฏศิลป์ เปน็ ตน้ ควรใชเ้ ป็นการหาขอ้ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข มากกว่าทจ่ี ะใช้เพอื่ การประเมนิ ตดั สนิ ผล 4. แบบรายงานตนเอง (Self-Report) เครือ่ งมือประเภทแบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า และแบบระเบยี บพฤติการณ์ เป็นเครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการสังเกต เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการวัดภาคปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ แบบรายงานตนเอง เครอ่ื งมอื อ่ืนๆทกี่ ลา่ วมาข้างตน้ ผู้ประเมนิ เปน็ ผูใ้ ช้เครอ่ื งมอื ส่วนแบบรายงานตนเองผู้ปฏิบัติเปน็ ผใู้ ช้เคร่ืองมือสว่ นใหญ่นยิ มใชใ้ นการวดั พฤตกิ รรมด้านจติ พิสัย รูปแบบเครอื่ งมอื อาจเป็นแบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราสว่ นประมาณค่า หรอื ใหเ้ ขียนบันทกึ ผลการปฏิบตั งิ าน การใช้ผลจากแบบรายงานตนเองมกั ควบคกู่ ับขอ้ มลู จากการ สังเกตเพ่อื เปรยี บเทียบ ตรวจสอบผลหรอื ใชใ้ นการหาขอ้ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขมากกวา่ ทีจ่ ะใช้เพอื่ การประเมินผล สรปุ ไดว้ ่า การวดั ทกั ษะภาคปฏิบัติหมายถึง การวดั ความร้คู วามสามารถในการทา กิจกรรมอย่างใดอยา่ งหนง่ึ โดยทผ่ี ู้เขียนไดล้ งมอื ปฏิบตั โิ ดยทางกายหรอื การรับรทู้ างประสาทสมั ผัส ตามจดุ มงุ่ หมายทก่ี าหนดขึน้ ตามสภาพความเปน็ จริงมากทส่ี ดุ โดยวดั พฤติกรรมท่แี สดงออกตั้งแต่ ข้ันเตรยี ม ขนั้ ปฏบิ ตั งิ าน ขน้ั ผลงานและขัน้ จติ พสิ ัย ความพงึ พอใจในการเรยี นรู้ 1. ความหมายของความพึงพอใจ วิจิตรา แสงชยั (ศภุ าพร วงศใ์ หญ่. 2547 : 38 ; อา้ งอิงมาจาก วจิ ิตรา แสงชัย. 2543 : 11) ไดก้ ลา่ ววา่ ความพงึ พอใจในการปฏบิ ัติงาน หมายถึง ความรู้สกึ ที่ผูป้ ฏิบตั งิ านมีทศั นคติ ทด่ี ตี อ่ การปฏิบตั งิ าน คดิ คน้ วิธีทางานให้มีประสทิ ธิภาพ ซ่งึ จะนาไปสู่การปฏบิ ัตงิ านที่ดี และจะทา ให้องคก์ ารบรรลุวตั ถปุ ระสงคค์ วามต้องการ ไชยยณั ห์ ชาญปรีชารัตน์ (2543 : 52) ไดก้ ลา่ ววา่ ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรสู้ ึก ของบุคคลท่ีมตี ่องานทป่ี ฏบิ ตั ิในทางบวก คือ รู้สึกชอบรกั พอใจ หรือมีเจตคติที่ดีต่องาน ซ่งึ เกิดจาก การได้รับตอบสนองความต้องการทั้งทางดา้ นวัตถุ และดา้ นจิตใจ เปน็ ความรู้สึกท่ีมีความสุขเม่อื ได้ รับความสาเรจ็ ตามความตอ้ งการหรอื แรงจงู ใจ

ปนัดดา ยอดระบา (2544 : 6) ได้กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกท่ีดีที่ชอบที่พอใจ หรอื ที่ประทับใจของบุคคลตอ่ สง่ิ ใดสงิ่ หนง่ึ ทไ่ี ดร้ ับโดยสง่ิ น้ันสามารถตอบสนองความตอ้ งการ ทงั้ ทางดา้ นร่างกายและจติ ใจ บุคคลทกุ คนท่ีมคี วามตอ้ งการหลายสง่ิ หลายอย่างและมคี วามต้องการ หลายระดับซึง่ หากไดร้ บั การตอบสนองก็จะเกิดความพึงพอใจ บังอร ควรประสงค์ (ศุภาพร วงศ์ใหญ่. 2547 : 39 ; อ้างองิ มาจาก บังอร ควรประสงค์. 2544 : 46) ได้กลา่ วว่าความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรสู้ กึ หรอื ทศั นคติทางบวก ของบคุ คลทม่ี ตี อ่ ส่ิงหน่ึง ซ่ึงสิ่งน้นั สามารถตอบสนองใหแ้ ก่บุคคลน้ันได้ ความพงึ พอใจยอ่ มมีความ แตกต่างกันขึ้นอยู่กบั ประสบการณข์ องบคุ คลที่ไดร้ บั วราภรณ์ ชว่ ยนกุ จิ (2544 : 8) ไดก้ ลา่ วความพงึ พอใจ หมายถึง ความรู้สกึ บวกของ บคุ คลทม่ี ตี ่อสงิ่ หน่ึงสง่ิ ใดอนั เนื่องมาจากความสาเร็จ ความประสงคท์ ต่ี นคาดหมายไว้ เป็นความรสู้ กึ ที่ปรับเปล่ยี นไดเ้ สมอขน้ึ อยูก่ ับสถานการณ์ สภาพแวดลอ้ ม ช่วงเวลาในขณะนนั้ ๆ ความพึงพอใจ เป็นพลังแหง่ การสรา้ งสรรค์ สามารถกระตนุ้ ใหเ้ กิดความภมู ใิ จ มั่นใจ อานนท์ กระบอกโท (2546 : 33) ได้สรุปความหมายของความพึงพอใจไวว้ า่ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรสู้ กึ หรือเจตคตทิ ี่มตี อ่ การทางานน้นั เช่น ความร้สู ึกรกั ความร้สู กึ ชอบ ภมู ใิ จสขุ ใจ เต็มใจและยนิ ดี จะมีผลใหเ้ กดิ ความพงึ พอใจในการทางาน มีการเสยี สละ อุทิศแรงกาย แรงใจ และสติปัญญาใหแ้ กง่ านอย่างแทจ้ ริง Good (1973 : 161) ไดใ้ ห้ความหมายไวว้ า่ ความพงึ พอใจ หมายถงึ สภาพหรือระดับ ความพึงพอใจท่ีเปน็ ผลมาจากความสนใจและและเจตคตขิ องบคุ คลทีม่ ตี อ่ งาน Applewhite (1973 : 6) กลา่ วว่า ความพงึ พอใจ เป็นความรสู้ กึ สว่ นตวั ของบคุ คล ในการปฏบิ ตั ิงาน ซ่งึ มีความหมายกวา้ งรวมไปถึงความพอใจในสภาพแวดล้อมทางกายภาพด้วย การมีความสขุ ทที่ างานร่วมกบั ผอู้ ื่น ที่เขา้ กนั ได้ มีทศั นคติทดี่ ีต่อการทางานด้วย Morse (1955 : 27) กล่าววา่ ความพึงพอใจ หมายถึง ทกุ สง่ิ ทุกอยา่ งที่สามารถถอด ความเครียดของผทู้ างานได้ลดน้อยลง ถา้ เกิดความเครยี ดมากจะทาให้เกิดความไมพ่ อใจในการทางาน และความเครียดนี้มีผลมาจากความตอ้ งการของมนษุ ย์ เม่ือมนษุ ย์มีความต้องการมาก จะเกิดปฏกิ ิริยา เรยี กร้องหาวิธีตอบสนอง ความเครียดกจ็ ะลดนอ้ ยลงหรอื หมดไป ความพึงพอใจก็จะเพม่ิ มากข้ึน จากความหมายของความพึงพอใจที่มผี ู้ให้ความหมายไวข้ า้ งต้นสรุปไดว้ ่า ความพงึ พอใจ หมายถึง ความรู้สกึ ชอบ รัก สนใจ ภูมใิ จ ต่อการปฏิบตั ิงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ซ่ึงมผี ลอย่างยงิ่ ต่อการปฏบิ ัตงิ านน้ัน ๆ ให้สาเรจ็ ลงได้ด้วยดี ตามวัตถปุ ระสงคห์ รอื คามเป้าหมาย ดังน้นั ความพงึ พอใจในการเรียนรหู้ มายถึง ความรูส้ ึกพอใจ ชอบใจ สนใจ ในการร่วมกจิ กรรม การเรยี นการสอนและตอ้ งดาเนนิ กจิ กรรมน้ันใหส้ าเร็จ 2. แนวคิดทฤษฎเี ก่ยี วกับความพึงพอใจ

มีนกั การศกึ ษาสาขาต่าง ๆ ทาการคน้ คว้าและตามทฤษฎที เี่ กี่ยวกับแรงจงู ใจอนั จะกอ่ ให้ เกดิ ความพึงพอใจในการทางานไว้ ดงั นี้ Skinner (1971 : 96-120) ได้อ้างคากลา่ วของ Jean-aeques Roussau ท่แี สดงความคิด ในแนวเดยี วกนั จากหนงั สอื “เอมลิ ” (Emile) โดยให้ขอ้ คิดแก่ครวู ่า จงทาให้เด็กเกิดความเช่อื ว่า เขาอยู่บนความควบคุมของตวั เขาเอง แม้วา่ ผูค้ วบคมุ ทีแ่ ท้จรงิ คอื ครู ไม่มวี ิธีการใดดีไปกว่าการให้ เขาได้แสดงความรูส้ ึกวา่ เขามีอิสรเสรีภาพ ด้วยวธิ นี ้ี คนจะมีกาลังใจด้วยตนเอง ครูควรปลอ่ ยใหเ้ ดก็ ทาเฉพาะส่งิ ทเ่ี ขาอยากทา แต่เขาคงจะอยากทาในสง่ิ ที่ครูต้องการใหเ้ ขาทาเทา่ นั้น Maslow (1970 : 69-80) ได้เสนอทฤษฎลี าดับขน้ั ของความต้องการ (Hierarechy of Needs) นับวา่ เป็นทฤษฎหี น่ึงทไ่ี ดร้ บั การยอมรับอยา่ งกว้างขวาง ซ่ึงต้ังอยบู่ นสมมตฐิ านว่า “มนุษย์เรามีความต้องการอยู่เสมอไม่มีที่ส้ินสุด เมื่อความต้องการได้รับการตอบสนองหรือพึงพอใจ อย่างใดอย่างหน่ึงแล้ว ความต้องการส่ิงอื่น ๆ ก็จะเกิดขึ้นมาอีก” ความต้องการของคนเราอาจจะ ซ้าซ้อนกันความต้องการอย่างหน่ึงอาจจะยังไม่หมดไป ความต้องการอีกอย่างหนึ่ง ก็อาจจะเกิดขึ้นได้ ความต้องการของมนษุ ย์มีลาดับขัน้ ดังน้ี 1. ความตอ้ งการทางด้านรา่ งกาย (Physiological Need) เป็นความต้องการ ข้ันพนื้ ฐานของมนุษย์ เน้นส่ิงจาเป็นในการดารงชีวติ ไดแ้ ก่ อาหาร อากาศ ที่อยูอ่ าศยั เคร่อื งนุ่งห่ม ยารกั ษาโรค ความต้องการพกั ผ่อน ความต้องการทางเพศ 2. ความตอ้ งการความปลอดภยั (Safety Need) ความมนั่ คงในชีวิตทั้งที่เป็นอยู่ ในปจั จุบนั และอนาคต ความเจรญิ กา้ วหน้าอบอ่นุ ใจ 3. ความต้องการทางสังคม (Social Need) เป็นสงิ่ จูงใจสาคัญต่อการเกดิ พฤติกรรม ต้องการใหส้ งั คมยอมรับตนเองเขา้ เปน็ สมาชกิ ตอ้ งการความเป็นมิตร ความรักจากเพื่อนร่วมงาน 3. ความตอ้ งการมีฐานะ (Esteem Needs) มีความอยากเดน่ ในสังคมมชี ือ่ เสียง อยากใหบ้ คุ คลยกยอ่ งสรรเสรญิ ตนเอง อยากมีความเป็นอิสรเสรีภาพ 5. ความต้องการที่จะประสบผลสาเร็จในชีวิต (Self-Actualization Needs) เปน็ ความต้องการในระดับสงู อยากให้ตวั เองประสบผลสาเรจ็ ทกุ อยา่ งในชวี ิตซึง่ เปน็ ไปได้ยาก Scott (1970 : 124) ไดเ้ สนอแนวคิดในการจูงใจต่อการทางานทจ่ี ะเกิดผลเชิงปฏิบัติ มีลักษณะ ดงั นี้ 1. งานควรมสี ว่ นสาคญั กับความปรารถนาส่วนตัว งานนัน้ จะมคี วามหมายสาหรับ ผู้ทา 2. งานน้ันต้องมกี ารวางแผนและวัดความสาเรจ็ ได้ โดยใชร้ ะบบการทางาน และการควบคุมท่ีมีประสทิ ธภิ าพ 3. เพอ่ื ให้ไดผ้ ลในการสรา้ งส่ิงจงู ใจภายในเปา้ หมายของงานจะตอ้ งมรลักษณะ ดังนี้

3.1 คนทางานมีสว่ นในการต้ังเป้าหมาย 3.2 ผปู้ ฏิบตั ไิ ดร้ บั ทราบผลสาเรจ็ ในการทางานโดยตรง 3.3 งานนั้นสามารถทาใหส้ าเร็จได้ จากแนวคดิ น้มี าประยกุ ตใ์ ช้กบั การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน นกั เรยี นมสี ว่ นเลือก เรียนตามความสนใจ และมโี อกาสรว่ มกันตัง้ จดุ ประสงคห์ รือความมุ่งหมายในการทากิจกรรม ไดเ้ ลือกวธิ ีแสวงหาความรูด้ ว้ ยวิธีทผ่ี เู้ รยี นถนดั และสามารถคน้ หาคาตอบได้ สรปุ ตามแนวคิดทฤษฏีท่กี ลา่ วมาขา้ งตน้ พอสรุปได้ว่า ความพงึ พอใจในการเรียนทีจ่ ะ ทาให้ผลการเรยี นเปน็ ไปในทางบวก ย่อมข้ึนอยกู่ ับกิจกรรมทผี่ ้เู รียนได้ปฏิบัติ ทาให้ผเู้ รียนไดร้ บั การ ตอบสนองความตอ้ งการท้งั ทางดา้ นรา่ กายและจิตใจ ซึง่ เกิดความสมบรู ณ์ในชีวติ มากน้อยเพยี งใด ยอ่ มขนึ้ อยกู่ ับองค์ประกอบต่าง ๆ ท่ีครผู ้สู อนจะนามาใช้ส่งเสรมิ ความพึงพอใจในการเรยี นให้กบั ผ้เู รียน งานวิจยั ทเ่ี กีย่ วข้อง 1. งานวจิ ยั ในประเทศ ศศิธร เขอ่ื นแกว้ (2544 : 56) ไดศ้ ึกษาการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น วิชาเสริมสร้างประสบการณ์เร่อื งของสตั ว์ สาหรบั นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ที่สอนโดยใช้ ส่ือประสมกับการสอนปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนโรงเรียนเทศบาลสวนสนุก เทศบาลนครขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ผลการศึกษาพบว่า การสอนท่ีใช้ส่ือประสมซ่ึงประกอบด้วยบทเรียนโปรแกรมชุดการ สอนและสไลด์เสียง มปี ระสิทธิภาพ 82.93 / 80.26 และค่าดชั นีประสิทธผิ ล เทา่ กับ 0.53 สมหมาย บารุง (2545 : 81-82) ได้ศึกษาการพฒั นาชุดสือ่ ประสมกลมุ่ สรา้ งเสรมิ ประสบการณ์ชวี ติ เรอ่ื ง จังหวดั ร้อยเอ็ด สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนบา้ น หนองนาสรา้ ง สานักงานการประถมศึกษาอาเภอเมืองร้อยเอด็ จานวน 30 คน ผลการศึกษาพบวา่ ชุดส่ือประสมมีประสทิ ธิภาพเท่ากบั 86.14 / 82.11 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80 / 80 ที่กาหนดไว้ ดัชนีประสทิ ธผิ ลมคี ่าเท่ากับ 0.7233 หมายความว่านักเรยี นมีความรู้เพมิ่ ขึ้นรอ้ ยละ 72.33 นกั เรยี นมี ความคงทนในการเรยี นรูค้ ดิ เปน็ รอ้ ยละ 78.76 มีความพึงพอใจเกยี่ วกบั ชุดสื่อประสมอยู่ในระดบั มาก ชาญยทุ ธ์ ผลาพฤกษ์ (2547 : 73) ได้ศกึ ษาพฒั นาชดุ สื่อประสมประกอบการสอน

กลุม่ ทักษะการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง รามเกียรต์ิ ตอนกุมภกรรณทดนา้ สาหรบั นักเรียน ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนบา้ นกลางเสลภมู ิ จงั หวัดรอ้ ยเอด็ จานวน 26 คน ผลการศึกษาพบวา่ ประสทิ ธิภาพของกระบวนการมีคา่ เท่ากับ 86.20 และประสิทธิภาพของผลลัพธ์มีค่าเทา่ กบั 81.15 ซง่ึ เป็นไปตามเกณฑ์ 80 / 80 ค่าดชั นปี ระสิทธิผลของชดุ สื่อประสมประกอบการสอนมคี า่ เทา่ กับ 0.68 มคี ะแนนเฉล่ียหลงั เรยี นสูงกวา่ คะแนนเฉล่ยี กอ่ นเรยี นอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดบั .05 ความพึงพอใจต่อการเรียนอยูใ่ นระดับพงึ พอใจมาก เม่ือพจิ ารณารายขอ้ พบว่า คุณภาพ และ ระดับ ความงา่ ยไมซ่ บั ซ้อน อยใู่ นระดบั พงึ พอใจมากท่ีสุด ศวิ าพร ฉายชัยภูมิ (2548 : 77) ไดศ้ กึ ษาชุดสอ่ื ประสมเพอื่ พฒั นาทกั ษะการฟัง ภาษาองั กฤษ ของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ผลการศึกษาพบว่า ชุดส่ือประสมมปี ระสิทธิภาพ เทา่ กบั 80.60 / 81.96 ซึ่งเปน็ ไปตามเกณฑท์ ต่ี งั้ ไว้ ค่าดชั นปี ระสิทธผิ ลมีค่าเท่ากบั 0.5976 หมายความว่านักเรยี นมีความรู้เพิม่ ขึ้นรอ้ ยละ 59.76 นกั เรยี นมคี วามพงึ พอใจในการเรยี นดว้ ยชดุ ส่อื ประสมโดยรวมทุกด้านอยใู่ นระดบั มาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ดา้ นเนื้อหาอยูใ่ นระดับ ปานกลาง ด้านเทคนิคอยู่ในระดบั มาก ไพบูลย์ คากนั ยา (2541 : บทคัดย่อ) ได้ศกึ ษาการสร้างชุดสอ่ื ประสมทม่ี ี ประสทิ ธิภาพกลมุ่ สรา้ งเสรมิ ประสบการณ์ชีวิต เร่ืองสหกรณ์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 ตามหลักสตู ร ประถมศึกษา 2521 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2533) เพ่อื สา้ งชดุ ส่ือประสมที่มปี ระสิทธิภาพ และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุดสื่อ ประสม ผลการศกึ ษาพบว่า ชดุ สอ่ื ประสมท่สี รา้ งข้ึนสูงกว่าก่อนเรยี น เกรียงไกร เจริญพงศ์ (2542 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาชุดสื่อประสมที่มี ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 และเพ่อื เปรียบเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรียนช้ัน มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เรอ่ื งโรคไม่ตดิ ต่อ วชิ าสขุ ศกึ ษา ตามหลกั สูตรมัธยมศกึ ษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2533) ผลการศกึ ษาพบวา่ ชดุ การสอนแบบสอื่ ประสม เรอ่ื งโรคไม่ ตดิ ตอ่ วชิ าสุขศึกษา ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และนักเรียนที่เรียน ดว้ ยชุดการสอนแบบส่อื ประสม มคี ะแนนเฉลีย่ หลงั เรยี นสูงกว่าคะแนนเฉล่ยี กอ่ นเรียนอยา่ งมี นยั สาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั .01 อัมพร กลุ าเพ็ญ (2542 : บทคดั ย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาชุดส่อื ประสมประกอบ การการเรยี นการสอนแบบศูนย์การเรียน เร่ืองศาสนาในประเทศ กลุ่มสรา้ งเสรมิ ประสบการณ์ ชวี ติ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 และเพอื่ หาคา่ ดัชนีประสทิ ธผิ ล ของชดุ สอ่ื ประสม ผลการศกึ ษาพบว่า ชดุ สือ่ ประสม เรอื่ งศาสนาในประเทศไทย กลมุ่ สรา้ งเสรมิ ประสบการณช์ ีวิต ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 มปี ระสิทธภิ าพ 83.60/85.08 เป็นไปตามเกณฑท์ ี่ กาหนดไว้ แลว้ มคี ่าดชั นปี ระสิทธผิ ลของชดุ ส่อื ประสมเทา่ กับร้อยละ 55.47

แสงทอง ตงุ คะสมติ (2544 บทคัดย่อ) ไดท้ าการศึกษาการใชช้ ดุ สือ่ ประสมประกอบ การสอนเรื่องสารเคมี กลมุ่ สรา้ งเสริมประสบการณช์ วี ิต ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ผลการศกึ ษาพบว่า 1) ชดุ ส่อื ประสมท่พี ัฒนาข้ึนมีประสทิ ธภิ าพ เทา่ กบั 82.38/82.65 ซึง่ สูงกวา่ เกณฑ์ 80/80 ที่กาหนดไว้ 2) ดรรชนีประสทิ ธิผลของชุดสื่อประสม เรอื่ งสารเคมี กลุ่มสรา้ งเสริมสบการณช์ วี ิต ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 ทัง้ 4 ชดุ มีค่าดชั นปี ระสิทธผิ ลเท่ากบั 0.67 3) นกั เรยี นหลงั จากเรยี นดว้ ย ชดุ สื่อประสม 2 สปั ดาห์ มีคามคงทนเก่ียวกบั เร่ืองสารเคมี คดิ เป็นรอ้ ยละ 84.21 ของคะแนนสอบ หลงั เรยี น โดยมกี ารลมื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 15.79 4) นกั เรยี นมคี วามคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ชดุ สอ่ื ประสม เร่ืองสารเคมี กล่มุ สรา้ งเสริมประสบการณช์ วี ติ อยูร่ ะดบั เห็นดว้ ยมากท่สี ดุ อัมพร กลุ าเพญ็ (2544 : บทคัดย่อ) ได้ศกึ ษาการพฒั นาชุดส่ือประสมประกอบการเรียน การสอนแบบศูนย์การเรียน เร่ืองศาสนาในประเทศ กลมุ่ สร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ทม่ ี ีปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และเพอ่ื หาคา่ ดชั นปี ระสทิ ธิผลของ สอื่ ประสม ผลการศกึ ษาพบวา่ ชุดส่ือประสม เรอ่ื งศาสนาในประเทศไทย กลมุ่ สรา้ งเสรมิ ประสบการณช์ ีวิต ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 มีประสิทธภิ าพ 83.60/85.08 เปน็ ไปตามเกณฑ์ ท่ีกาหนดไว้ และมคี ่าดชั นปี ระสทิ ธิผลของชดุ สอื่ ประสม เท่ากับ รอ้ ยละ 55.47 2. งานวิจัยต่างประเทศ Jones (2001 : 538-A) ไดศ้ ึกษาความเขา้ ใจในการฟงั จากการเรยี นดว้ ยสอ่ื ประสม ของนักเรยี นที่เรียนวิชาฝรั่งเศสในภาคเรียนท่ี 2 จานวน 171 คน ที่สอนวธิ ีการฟังขอ้ ความฝรัง่ เศส เชิงประวัตศิ าสตร์ จานวน 331 คา โดยใช้หนว่ ยแบบส่ือประสม ระหวา่ งกลุม่ นักเรียนที่ไดร้ ับ คาอธบิ ายประกอบคาสาคัญ เพื่อคน้ หาสารสนเทศท่ชี ว่ ยได้เพอื่ ประกอบเน้อื หาท่ีฟงั ทต่ี า่ งกัน คอื นกั เรียนทไ่ี ม่ได้รบั คาอธิบายประกอบเปน็ เอกสารแตไ่ ด้รบั คาอธิบายประกอบด้วยคาพดู ไดร้ บั คาอธิบายประกอบท่ีเปน็ ภาพ หรือไดร้ บั ทัง้ สองอยา่ ง ผู้วจิ ยั ทาการศกึ ษาความแตกต่างในความ ตอ้ งการความเข้าใจ และคาศพั ท์ระหวา่ งกลมุ่ ทง้ั สอง โดยใชแ้ บบทดสอบก่อนและหลงั การทดลอง และใชแ้ บบทดสอบหลงั การทดลองแบบพิธีการระลกึ ได้ และใชว้ ธิ ีการสมั ภาษณ์เกย่ี วกับเจตคตแิ นว ความคิดความเช่ือของนักเรียน ผลการศึกษาพบว่า การบอกลักษณะคาแปลของคาศัพท์ และการระลึก ข้อความได้ สาหรับนักเรียนท่ีไม่ได้รับคาอธิบายประกอบคาศัพท์อยู่ในระดับต่า ส่วนนักเรียนท่ีได้รับ คาอธิบายประกอบคาศัพท์เพียงอย่างเดียว อยู่ในระดับปานกลาง และนักเรียนที่ได้รับคาอธิบาย ประกอบคาศัพท์ทั้งสองประเภท อยู่ในระดบั ดีที่สุด ในด้านความเข้าใจในการฟังผ้เู รียนที่มีความสามารถ ทางมิติสัมพนั ธร์ พู้ ธิ กี ารระลกึ ไดน้ นั้ ผเู้ รยี นทม่ี คี วามสามารถทางการพูดสูงปฏิบัตไิ ดด้ ี กว่าผ้เู รยี นท่มี ีความสามารถทางการพูดตา่ เมือ่ ผูเ้ รยี นได้รบั คาอธิบายประกอบคาศพั ท์ดว้ ยภาพอยา่ ง เดยี ว พบว่า ผเู้ รยี นทีม่ ีความสามารถทางการพดู สงู ปฏบิ ตั ิไดด้ ีกว่าผเู้ รยี นทม่ี ีความสามารถทางการ

พูดต่า แนวโนม้ ของนกั เรยี นที่ได้รบั คาอธิบายประกอบคาศัพทด์ ้วยภาพ พบว่า นกั เรยี นทม่ี คี วามรู้ ความเข้าใจตา่ มักปฏิบตั ิไดด้ กี วา่ นกั เรียนทมี่ คี วามรคู้ วามเข้าใจสูงเมอื่ มีการนาเสนอท้งั 2 รูปแบบ ส่วนนักเรยี นที่ไมไ่ ดร้ ับคาอธิบายประกอบ และไดร้ ับคาอธิบายประกอบทเ่ี ปน็ ภาพ มคี วามรู้ความ เขา้ ใจไมแ่ ตกต่างกัน เจตคติและความเช่อื ชว่ ยเสริมความรู้ แต่ไมช่ ว่ ยใหม้ ีความเขา้ ใจเกยี่ วกบั คาอธิบายประกอบคาเพ่อื ใหไ้ ด้ความรู้ใหมจ่ ากเนอ้ื หาทฟ่ี ัง ข้อเสนอแนะความเข้าใจในการฟงั เมอื่ ใช้สื่อประสมทีม่ ุ่งเน้นสารสนเทศท่หี ลากหลาย เหมาะสาหรบั นกั เรยี นที่มีความจา ความเข้าใจ และเจตคติที่ดีตอ่ การเรยี น ซ่ึงเป็นตวั เช่ือมโยงระหวา่ งภาษาพดู กับการมองเห็นได้ดที สี่ ุด Lee (2000 : 1330-A) ไดศ้ ึกษาประสิทธภิ าพการช่ือประสมกับระบบการศกึ ษาใน การใชภ้ าษาองั กฤษเปน็ ภาษาที่สอง (English as a Second Language : ESL) โดยมีความมงุ่ หมาย เพื่อประเมนิ ผลกระทบของสื่อประสมในการพฒั นาความสามารถของผเู้ รยี นและหาประสทิ ธภิ าพของ สือ่ ประสมจากการเรียนในระบบการศกึ ษา ESL ท่ีจะทาให้ผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ โดยแบง่ ผูเ้ รยี นเปน็ 2 กลมุ่ กลมุ่ ทดลองเรียนดว้ ยสอื่ ประสม กลมุ่ ควบคมุ เรยี นโดยไม่มีส่ือประสม ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองกับกลุม่ ควบคมุ มีค่าคาดคะเนแตกต่างกันอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .05 Hutchins (2000 : 2878-A) ได้ศึกษาการใช้ Software ในการนาเสนอแบบสื่อประสม ในการถ่ายทอดทางการศกึ ษาและการฝึกอบรม ผลการศึกษาพบว่า นักวชิ าการและผูใ้ ห้การฝกึ อบรม ซ่งึ ทาหนา้ ทปี่ ระจาอยู่ในสถาบันไดม้ ีการใช้ Software ในการนาเสนอแบบสอื่ ประสม และชดุ ของ Software ทใ่ี ช้มากท่สี ุดคือ Software Power Point Confer (2001 : 2573-A) ได้ศึกษาเก่ียวกบั การมสี ่วนรว่ มของนกั เรียนในการเปลีย่ นแปลง วิธกี ารสอนของครูโดยเนน้ นกั เรยี นเป็นศนู ยก์ ลาง ซงึ่ นักเรยี นจะไดร้ บั ความรู้ความเขา้ ใจ จากการเจรจาตอ่ รอง และการทางานรว่ มมือกับคนอื่น ๆ กล่มุ ตัวอยา่ งเป็นนกั เรียน 42 คน ครู 6 คน ผลการศกึ ษาพบวา่ ในระยะแรก ๆ จากการสัมภาษณ์และการสังเกตการณ์สอนในห้องเรียน ครูยงั ไม่มีความเข้าใจทช่ี ัดเจนเกยี่ วกับแนวคดิ และการปฏบิ ตั ิในการจัดการเรยี นการสอนแบบใหม่ แต่หลงั จากไดร้ ับการพฒั นาแลว้ พบว่า ครมู ีความเข้าใจในแนวความคิดและการปฏิบตั แิ บบใหมไ่ ด้ อย่างเหมาะสม นอกจากน้ี ครบู างคนสามารถทาความเข้าใจแนวความคิดการสอนแบบใหมไ่ ด้ก่อน ทจี่ ะลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ แต่ครบู างคนตอ้ งปฏิบัตใิ หท้ กุ อย่างชดั เจนเสียก่อนจงึ จะเกดิ ความเขา้ ใจ แนวความคิดดังกลา่ วได้ Gaytan (2000 : 1368-A) ได้ศกึ ษาประสทิ ธิภาพของสอื่ ประสมแบบปฏสิ มั พนั ธ์ ในการศึกษาภาษาอังกฤษในฐานะที่เปน็ ภาษาที่สองในผูใ้ หญ่ ผลการศกึ ษาพบว่าการสอนภาษา องั กฤษให้กับกลุม่ ผ้ใู หญ่ทใ่ี ชภ้ าษาอังกฤษในฐานะท่ีเปน็ ภาษาท่สี องด้วยส่ือประสมปฏสิ มั พนั ธ์

มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นสูงกวา่ กลมุ่ ท่ไี มไ่ ดใ้ ชส้ อื่ ประสมปฏสิ มั พนั ธ์อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 จากการศึกษาค้นควา้ เอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ส่ือประสมสรุปไดว้ ่า สือ่ ประสม สามารถถ่ายทอดเน้อื หาและเสรมิ การเรียนรู้ในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ สง่ ผลให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และมเี จตคตทิ ่ีดตี อ่ การเรียน บทท่ี 3 วธิ ดี าเนนิ การศกึ ษาคน้ ควา้ การศึกษาการสรา้ งบทเรียนสอื่ ประสม เรื่องการวาดภาพระบายสี สาหรับนกั เรียน ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 และหาประสทิ ธภิ าพของบทเรยี นสือ่ ประสม ผ้ศู ึกษาค้นควา้ ได้ดาเนินการ ศึกษาค้นควา้ ตามลาดับข้ันตอน ดงั น้ี 1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 2. เครื่องมือทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า 3. การสร้างและการหาคุณภาพของเครือ่ งมอื 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 5. การวเิ คราะห์ข้อมูล

6. สถติ ิท่ใี ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 1. ประชากร ไดแ้ ก่ นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท4่ี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 33 ลพบุรี 2. กล่มุ ตวั อยา่ ง ไดแ้ ก่ นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท4ี่ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 33 ลพบรุ ี ทีก่ าลังเรียนในภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 จานวนทั้งหมด จานวน 6 คน ได้มาจากการเลือกแบบ เจาะจง (Purposive Sampling) เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาคน้ คว้า เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการศึกษาค้นคว้าครง้ั นี้ มี 4 ชนดิ คือ 1. บทเรียนสอ่ื ประสม จานวน 12 ชุด 2. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น 3. แบบประเมินทักษะการวาดภาพระบายสี 4. แบบวดั ความพงึ พอใจของผูเ้ รียนท่มี ตี ่อการเรียนวาดภาพระบายสโี ดยใช้บทเรยี น ส่ือประสม การสรา้ งและการหาคณุ ภาพของเครอ่ื งมอื 1. การสร้างบทเรียนส่อื ประสม 1.1 ขนั้ เตรียมการผลติ สอื่ โดยการศกึ ษาหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ศึกษาสภาพปจั จุบันของปญั หาการเรียน การสอนวาดภาพระบายสี ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ศกึ ษาเอกสาร ตาราและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง กับสอื่ การเรยี นการสอน ศกึ ษาเทคนิคและกระบวนการผลติ สือ่ การเรียนการสอน เขา้ อบรมสัมมนา เกีย่ วกบั เทคนคิ และกระบวนการผลิตสอ่ื การเรยี นการสอน 1.2 กาหนดเนอ้ื หา ในการสร้างบทเรียนส่อื ประสม เรอื่ งการวาดภาพระบายสี กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ สาระทัศนศลิ ป์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ตามหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 1.3 วธิ ีการผลติ บทเรยี นสอ่ื ประสม 1.3.1 ศึกษาหนงั สอื เอกสารเกย่ี วกบั เรื่องการจดั ทาหลกั สตู รทอ้ งถิน่

1.3.2 ทาการวิเคราะห์หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ สาระทัศนศลิ ป์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยที่ 1 การวาดภาพระบายสี 1.3.3 กาหนดรายละเอียดของเนือ้ หาและวตั ถุประสงค์ โดยให้สัมพนั ธก์ บั หลกั สูตร กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระทัศนศิลป์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยที่ 1 การวาดภาพระบายสี แบง่ ออกเปน็ 12 ชดุ ดงั กล่าวไว้แล้ว 1.3.4 กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ท่วั ไปและวัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรมของบทเรียน สอ่ื ประสม 1.3.5 ศกึ ษาเอกสารและตาราถึงวิธกี ารสรา้ งบทเรยี นส่ือประสมในรูปแบบต่าง ๆ 1.3.6 สร้างบทเรียนสอื่ ประสมตามวตั ถุประสงค์และเนอื้ หาทีต่ ้งั ไว้ โดยดาเนินการ วางโครงเร่ืองที่จะเขียนเป็นลาดับเรื่องราวก่อนหลงั จากงา่ ยไปหายากแบง่ เนือ้ หาออกเป็นตอน ๆ แตล่ ะตอนตอ้ งสมั พันธก์ ัน โดยสร้างบทเรยี นสื่อประสม จานวน 12 ชุด ดังน้ี ชดุ ท่ี 1 เรอ่ื ง เสน้ และแสงเงา ชดุ ที่ 2 เรือ่ ง รูปรา่ ง รูปทรง และพน้ื ผวิ ชุดท่ี 3 เรื่อง ทศั นธาตกุ บั การสรา้ งภาพ ชดุ ท่ี 4 เรือ่ ง การทดลองสี ชดุ ที่ 5 เรื่อง เสน้ สายลายไทย ชุดท่ี 6 เรอ่ื ง ธรรมชาตกิ ับศลิ ปะ ชดุ ท่ี 7 เรอ่ื ง รูปเรขาคณติ สร้างสรรค์ ชดุ ท่ี 8 เรอ่ื ง การพิมพภ์ าพลายเสน้ ชดุ ท่ี 9 เรอื่ ง การเขียนภาพจากเหตกุ ารณ์ประจาวันและงานประเพณีใน ทอ้ งถิน่ ชดุ ท่ี 10 เรื่อง การเขียนธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ชุดที่ 11 เร่ือง การวาดภาพระบายสี ชดุ ที่ 12 เรื่อง จินตนาการงานศิลป์ 1.3.7 นาบทเรียนส่ือประสมที่สร้างขึ้นเสนอต่อ ผเู้ ชย่ี วชาญ เพอื่ พิจารณาตรวจสอบ เก่ยี วกับความเท่ียงตรงของเนอื้ หา ความถกู ต้องของภาษาทใ่ี ช้ จุดประสงค์ สาระการเรยี นรู้ และกิจกรรมใหม้ ีความเหมาะสมกบั วัยและระดบั ชัน้ ท่ีเรยี น นาคะแนนผลการประเมนิ คุณภาพและความเหมาะสมของบทเรียนสอื่ ประสม แตล่ ะชุด มาคานวณหาค่าเฉลี่ย และมีคะแนนผลการประเมนิ ดงั นี้ ชุดท่ี 1 มีค่าเฉลีย่ 4.83 ชุดท่ี 2 มีค่าเฉลย่ี 4.63 ชุดท่ี 3 มีคา่ เฉล่ยี 4.70 ชดุ ที่ 4 มีค่าเฉลย่ี 4.70

ชุดที่ 5 มีคา่ เฉลยี่ 4.63 ชุดท่ี 6 มีค่าเฉลย่ี 4.67 ชุดท่ี 7 มคี า่ เฉลย่ี 4.67 ชดุ ท่ี 8 มีคา่ เฉลยี่ 4.60 ชดุ ท่ี 9 มีคา่ เฉล่ยี 4.60 ชดุ ที่ 10 มีคา่ เฉลยี่ 4.87 ชดุ ท่ี 11 มีคา่ เฉลยี่ 4.90 ชุดท่ี 12 มีคา่ เฉลี่ย 4.80 ค่าเฉล่ยี โดยรวมท้ัง 12 ชดุ เท่ากบั 4.72 เม่อื เทยี บกับเกณฑท์ ี่ตงั้ ไว้ บทเรยี นสือ่ ประสมมคี ุณภาพอยูใ่ นระดบั ดีมากทุกชุด 1.3.8 จดั ทาคมู่ อื การใช้ สรา้ งแผนการจดั การเรียนรทู้ ใ่ี ช้กจิ กรรมของบทเรยี น สื่อประสมเป็นหลกั แผนละ 2 ชั่วโมง 1.3.9 จัดทาสอ่ื เพ่มิ เตมิ เพือ่ ใชป้ ระกอบกจิ กรรมในบทเรยี นสอื่ ประสม 1.3.10 นาบทเรียนส่อื ประสม เรื่องการวาดภาพระบายสีไปทดลองใชจ้ ริง กับกลุ่มตวั อย่าง คือ นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 เนื้อหาประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ดังนี้ 1.3.10.1 การทดลองแบบ 1 : 1 กับนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห3์ 3 ลพบรุ ี จานวน 3 คน คือ เก่ง ปานกลาง และออ่ น อยา่ งละ 1 คน โดยใช้ บทเรียนสอื่ ประสมทีละคนเพอื่ ตรวจสอบความเหมาะสมในเรือ่ งเวลา การใชภ้ าษากิจกรรมตา่ ง ๆ ทีจ่ ัดไวใ้ นบทเรียน ทาการเก็บข้อมูลตา่ ง ๆ โดยสงั เกตพฤติกรรมผเู้ รียน ตลอดจนตรวจดูผลงาน จากการทาแบบฝกึ ทกั ษะระหวา่ งเรียนและการปฏิบตั ิกิจกรรมอยา่ งใกล้ชิดแลว้ นาไปปรบั ปรงุ แก้ไข เพม่ิ เตมิ อีกครั้ง ผลการทดลองแบบ 1 : 1 โดยใช้บทเรียนสอ่ื ประสมจานวน 12 ชดุ มผี ลเฉลี่ยเท่ากบั 17.92 จากคะแนนเตม็ 20 ในแตล่ ะชดุ หรือคดิ เป็น รอ้ ยละ 89.58 1.3.10.2 การทดลองกลุ่มเล็ก 9 คน กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์33 ลพบุรี ประกอบด้วย นักเรียนกลุ่มเก่ง ปานกลางและอ่อน อย่างละ 3 คน ใช้เพ่ือหาประสิทธิภาพของบทเรียนส่ือประสม โดยสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนอย่างใกล้ชิด ตลอดจน ตรวจดูผลงานจากการทาแบบฝึกทักษะระหวา่ งเรียนและการปฏิบัตกิ ิจกรรมแล้วนาไปปรับปรุงแก้ไขอีก ครั้ง ผลการทดลอง กลมุ่ เล็ก 9 คน โดยใช้บทเรียนสื่อประสมจานวน 12 ชุด มผี ลเฉลย่ี เทา่ กบั 17.93 จากคะแนนเตม็ 20 ในแตล่ ะชุด หรอื คิดเปน็ รอ้ ยละ 89.63 1.3.10.3 การหาประสิทธิภาพแบบภาคสนาม โดยนาบทเรียนสอื่ ประสม ท่ีปรบั ปรงุ แกไ้ ขแลว้ ไปทดลองกบั นักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์33 ลพบุรี ที่กาลงั เรียนอยใู่ นภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 จานวน 6 คน เพ่อื หาประสิทธภิ าพของบทเรยี นสื่อ ประสมตามเกณฑ์ 80/80 2. การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น

ขน้ั ตอนการสรา้ งและหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ดงั น้ี 2.1 ศกึ ษาคาอธบิ ายรายวิชา และจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ สาระทศั นศิลป์ เรื่องการวาดภาพระบายสี ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 ประจาภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 2.2 แบง่ เนื้อหา หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่อื งการวาดภาพระบายสี เป็นบทเรยี นส่อื ประสม จานวน 12 ชุด 2.3 วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์ ของเนือ้ หายอ่ ยหรอื หน่วยการเรยี นใหส้ อดคลอ้ ง สาคญั และจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.4 ศึกษาวธิ ีเขียนข้อสอบ กาหนดรูปแบบและจานวนขอ้ สอบ ดงั นี้ คอื สรา้ งเป็น ข้อสอบปรนัยชนดิ เลือกตอบ (Multiple Choice Test Items) กาหนดตวั เลือกไวแ้ ตล่ ะขอ้ 4 ตัวเลอื ก ก ข ค ง จานวน 50 ข้อ การใหค้ ะแนนตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผดิ ไมไ่ ด้คะแนน ต้องการใชจ้ ริง จานวน 30 ข้อ 2.5 นาตารางความสมั พันธท์ ่วี ิเคราะหไ์ วแ้ ล้ว และขอ้ สอบทสี่ ร้างขึน้ ไป ตรวจสอบความ สอดคลอ้ ง ระหวา่ งเนอื้ หา จุดประสงค์มคี วามสัมพนั ธ์กันกบั ข้อสอบแตล่ ะข้อ โดยหาค่า IOC ตามวิธขี อง Rovinelli และ Harmbleton(สมนกึ ภทั ทิยธน.ี 2546 : 63) พบว่า แบบทดสอบจานวน 50 ข้อ เข้าเกณฑท์ กุ ขอ้ ได้ค่า IOCตง้ั แต่ 0.67 ถึง 1.00 จงึ เลือกไวใ้ ช้ท้งั หมด 2.6 นาข้อสอบที่ผ่านการพจิ ารณาจากผู้เชยี่ วชาญ มาพิมพ์เป็นแบบทดสอบไป ทดลองสอบ กบั นกั เรียนที่เคยเรียนเน้อื หานมี้ าแล้วท่ไี มใ่ ช่กลุม่ ตัวอย่าง คือนกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์33 ลพบุรีจานวน 30 คน ท่กี าลังเรยี นในภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2551 2.7 นาผลการทดสอบมาวิเคราะหห์ าคณุ ภาพของขอ้ สอบ โดยการหาคา่ ความยาก และอานาจจาแนกเป็นรายขอ้ แบบองิ เกณฑ์ คดั เลือกขอ้ สอบให้ครอบคลมุ เนอื้ หาและจดุ ประสงค์ การเรียนรู้ คัดเอาเฉพาะข้อสอบทมี่ ีค่าความยากงา่ ย (p) ตั้งแต่ 0.20 ถึง 0.80 และคา่ อานาจจาแนก (B) ต้ังแต่ 0.20 ถึง 1.00 ได้ขอ้ สอบเข้าเกณฑจ์ านวน 35 ข้อ จึงคดั เลือกไวจ้ านวน 30 ข้อ ตามท่ีต้องการ มคี า่ ความยากตั้งแต่ .31 ถึง .71 และมอี านาจจาแนก (B) ตงั้ แต่ .23 ถึง .73 2.8 นาข้อสอบทีค่ ดั เลือกไว้จานวน 30 ข้อ มาหาความเช่อื มั่นทง้ั ฉบบั โดยใชว้ ิธี การของโลเวทท์ ไดค้ ่าความเช่อื มน่ั เทา่ กับ .89 2.9 จัดพมิ พแ์ บบทดสอบเปน็ ฉบบั จรงิ เพื่อนาไปใช้เก็บข้อมลู กบั กลุ่มตัวอยา่ งต่อไป 3. การสร้างแบบประเมินทกั ษะปฏิบัตงิ าน เรือ่ งการวาดภาพระบายสี เปน็ แบบประเมินทกั ษะการปฏิบัติตนของนกั เรียน ขณะรว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกิจกรรมของบทเรียนสอ่ื ประสมกาหนด รวมถงึ พฤติกรรมตา่ งๆระหว่างเรยี นด้วย มขี ัน้ ตอน

การสรา้ ง ดังนี้ 3.1 ศึกษาการสรา้ งแบบประเมนิ ทักษะจากหนงั สอื วดั ผลการศกึ ษา (สมนึกภทั ทยิ ธาน.ี 2548 : 74-103) หนังสอื แนวทางการวดั ผลประเมินผล กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ตามหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานพุทธศกั ราช 2544 ของสานักนิเทศและพัฒนามาตรฐานการศึกษา (กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2545 : 1-123) 3.2 ศึกษาวิธีสร้างแบบประเมินทักษะปฏิบตั ิ และกาหนดรูปแบบการประเมนิ ทกั ษะปฏิบตั ิ 3.3 สร้างแบบประเมนิ ทกั ษะการวาดภาพระบายสี โดยใชบ้ ทเรียนสื่อประสมชนิด มาตราสว่ นประมาณ (Rating Scale) มี 4 ระดบั แยกเป็น 3 ขั้น รวมทั้งหมดจานวน 10 ข้อ ดงั น้ี ขน้ั เตรียม 1. เตรียมวัสดุอปุ กรณ์ มีลาดบั ขั้นตอนในการปฏิบัตงิ าน 4 คะแนน มวี ัสดุอปุ กรณต์ ามท่ีกาหนด และปฏบิ ตั ติ ามขนั้ ตอนของกจิ กรรม 3 คะแนน มีวสั ดอุ ปุ กรณ์ไมต่ รงตามทก่ี าหนด และปฏบิ ตั ิตามข้นั ตอนบ้าง 2 คะแนน มีวสั ดอุ ุปกรณ์บางรายการ และปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนนอ้ ย 1 คะแนน ไมม่ วี ัสดุอุปกรณ์ และไม่ใหค้ วามสนใจ 2. ตอบคาถามจากกิจกรรมท่กี าหนดให้ 4 คะแนน ตอบคาถามจากกจิ กรรมทุกคาตอบ 3 คะแนน ตอบคาถามจากกิจกรรมบางขอ้ 2 คะแนน ตอบคาถามจากกจิ กรรมน้อยมาก 1 คะแนน ไม่สนใจตอบคาถามเลย 3. มีความสนใจ ความต้งั ใจ ในการปฏบิ ัติกิจกรรม 4 คะแนน ใหค้ วามสนใจและเอาใจใส่ในการปฏิบัตงิ านดีมาก 3 คะแนน ใหค้ วามสนใจการปฏบิ ตั ิงานดี 2 คะแนน ให้ความสนใจการปฏบิ ัตงิ านนอ้ ย 1 คะแนน ไม่ใหค้ วามสนใจการปฏิบตั งิ านเลย ขั้นปฏบิ ัติ 1. การออกแบบแปลกใหม่ มคี วามคดิ สร้างสรรค์เปน็ ไปอยา่ งอสิ ระ 4 คะแนน มีรูปแบบชัดเจน แปลกใหม่สร้างสรรค์ เปน็ แนวคดิ ของ ตนเอง อยา่ งอิสระ 3 คะแนน มรี ปู แบบแปลกใหม่ เปน็ แนวคิดของตนเอง อย่างอิสระ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook