Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Sym The Role of Novel_final

Sym The Role of Novel_final

Published by supawitkib, 2022-01-06 04:44:48

Description: Sym The Role of Novel_final

Search

Read the Text Version

ราชวทยาลยั โสต ศอ นาสกิ แพทย แหงประเทศไทย รว มกบั บรษทั เอ. เมนารนี (ประเทศไทย) จำกดั เสนอบนั ทกึ การบรรยายพเศษ เรอ่ ง The Role of Novel Non-sedative Antihistamine in Management of Allergic Rhinitis ส2ิง5ห6า4คม Assoc. Prof. Songklot Aeumjaturapat, MD. Department of Otolaryngology, King Chulalongkorn Memorial Hospital Dr. Boonsam Roongpuvapaht, M.D. Department of Otolaryngology, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University Update Clinical Practice Guideline & หรอื INCS แตห่ ากเปน็ persistent rhinitis มี VAS score เทา่ กบั Tips & Tricks for success to treat Allergic หรือมากกวา่ 5 ขึน้ ไป แนะนำ� ให้ใช้ INCS หรือ INCS รว่ มกบั Rhinitis intranasal antihistamine หลังจากนนั้ ใหท้ ำ� การ re-assess VAS daily ของผ้ปู ว่ ยที่ 3 วัน โดยหากผู้ปว่ ยมี VAS นอ้ ยกว่า 5 รศ. นพ.ทรงกลด เอีย่ มจตุรภทั ร และยังมี symptoms อยู่ แนะนำ� ให้ continue treatment แต่ หากมี VAS นอ้ ยกว่า 5 และไม่มี symptoms แลว้ แนะน�ำให้ ภาควชิ าโสตศอนาสกิ วทิ ยาคณะแพทยศาสตร์จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั step down หรอื stop treatment สว่ นในกรณีท่ผี ปู้ ่วยยงั มี VAS score เท่ากับหรือมากกว่า 5 ขึ้นไป แนะน�ำว่าสามารถ การตรวจรกั ษาโรคจมกู อกั เสบภมู แิ พ้ (allergic rhinitis) step up ยาท่ีใช้อยู่ และ re-assess VAS daily อกี ครั้งท่ี 7 วัน มี clinical practice guidelines ทสี่ ำ� คญั ทอี่ อกมาในปี ค.ศ. 2020 โดยหากผปู้ ่วยยงั มี VAS score เทา่ กบั หรือมากกว่า 5 อยู่อกี นน่ั ก็คือ Next-generation Allergic Rhinitis and Its Impact แนะน�ำวา่ อาจพจิ ารณาใช้ specific immunotherapy ขณะท่ี on Asthma หรือทีเ่ รียกกนั ว่า ARIA guidelines ซ่งึ แยกผู้ปว่ ย ในกรณขี องผปู้ ว่ ยกลมุ่ treated symptomatic patient แนะนำ� allergic rhinitis ออกเปน็ 2 กลุ่ม คอื กลุ่ม untreated symp- ให้ประเมินผปู้ ่วยด้วย VAS score เชน่ กนั โดยหากผูป้ ่วยมี VAS tomatic patient และกลมุ่ treated symptomatic patient score นอ้ ยกวา่ 5 แนะน�ำใหใ้ ช้ first-line drug เชน่ เดียวกับ และใช้ visual analog scale (VAS, คะแนนถงึ 1-10) เปน็ เครอ่ื งมอื ผู้ป่วย untreated symptomatic แล้วประเมิน VAS daily ในการกำ� หนดแนวทางการรักษา โดยในผูป้ ว่ ยกล่มุ untreated ของผู้ป่วยที่ day 3 ซ่ึงหากมี VAS score น้อยกว่า 5 อาจ symptomatic patient หากมี VAS score น้อยกว่า 5 จัดว่า เปน็ intermittent rhinitis แนะน�ำวา่ สามารถใช้ยาตัวไหนก็ได้ ไม่ว่าจะเป็น second generation oral H1 antihistamine “เอ.เมนารินีเป็นผู้สนับสนุนให้กับผู้ให้บริการวิชาชีพทางการแพทย์ โดย ส่ิงตีพิมพ์น้ีมีความเห็นของผู้บรรยายและเจตนารมณ์เพ่ือ TH-BIX-122021-116 วัตถุประสงค์การศึกษาเท่านั้น ส่ิงตีพิมพ์นี้ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์ของ เอ.เมนารินี ในลักษณะใด ๆ ท่ีไม่ สอดคล้องกับข้อมูลในเอกสารก�ำกับยาของผลิตภณั ฑท์ ี่ได้รับอนมุ ัติ

พิจารณา step down แล้วกห็ ยดุ ยา ทง้ั นใ้ี ห้ขนึ้ อยู่กบั patient AR แนะน�ำให้ใช้เป็นอันดับแรกก็คือ INCS ร่วมกับ sec- preference เปน็ หลกั สว่ นในกรณีทม่ี ี VAS score มากกว่า 5 ond-generation antihistamines แนะน�ำให้ step up INCS หรือ INCS ร่วมกับ intranasal antihistamine แล้วประเมนิ VAS daily ท่ี 7 วัน หากมี VAS The Role of Novel Non-sedative Antihis- score นอ้ ยกวา่ 5 กอ็ าจพิจารณา step down แลว้ กห็ ยุดยา tamine in Management of Allergic Rhinitis แตห่ ากยงั มี VAS score มากกว่า 5 แนะน�ำให้ step up และ อาจพิจารณาใช้ specific immunotherapy นพ.บญุ สาม รงุ่ ภูวภัทร ขณะที่ guidelines ส�ำหรับ allergic rhinitis ของ European Forum for Research and Education in Allergy ภาควชิ าโสต ศอ นาสกิ วทิ ยา คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี and Airway Diseases (EUFOREA) ทอ่ี อกมาในปี 2020 แนะนำ� มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ใหใ้ ช้ VAS score น้อยกว่า 5 หรอื มากกว่า 5 ในการประเมนิ ผปู้ ว่ ย และจำ� แนกผปู้ ว่ ย AR ตาม severity ของโรค ตง้ั แตร่ นุ แรง ยากลมุ่ oral antihistamines มพี ฒั นาการมาเปน็ เวลา น้อยไปจนถึงรุนแรงมาก ขณะเดียวกันก็แบ่ง algorithm ของ ยาวนานแล้ว เริ่มต้ังแต่ first-generation antihistamines การรักษา AR ออกเปน็ first-line care โดยเภสชั กรหรอื แพทย์ เช่น hydroxyzine และ chlorpheniramine ในช่วงปี 1970s, เวชปฏบิ ตั ิทว่ั ไป และมียาทีแ่ นะน�ำใหใ้ ช้ตามลำ� ดบั ได้แก่ INCS, second-generation antihistamines เช่น loratadine, second generation oral antihistamine และ intranasal cetirizine, ebastine และ fexofenadine ในช่วงปี antihistamine ส่วน specialist care โดยแพทยผ์ เู้ ชีย่ วชาญ 1980s-1990s และ oral antihistamines ทีจ่ ัดเปน็ newer เฉพาะทาง มียาท่ีแนะน�ำใหใ้ ชเ้ ป็นอนั ดบั แรกกค็ ือ INCS รว่ มกับ antihistamines ที่ออกมาสู่ตลาดนับตั้งแต่ปี 2000 มาจนถึง intranasal antihistamine หรือการใช้ combination ของ ปัจจุบัน เช่น levocetirizine, desloratadine, rupatadine INCS ร่วมกับ second generation oral antihistamine แลว้ และ bilastine โดย antihistamine มี mechanism of action ประเมิน VAS score โดยหากผ้ปู ่วยยังมี VAS score มากกว่า 5 ดว้ ยการเขา้ ไปแยง่ จบั กบั histamine receptors ทเี่ ยอ่ื บผุ วิ ของ แนะน�ำให้สามารถเลือกใช้ options ที่มีเพิ่มเข้ามา นั่นก็คือ ร่างกายคนเรา ท�ำให้ histamine ท่ีสารก่อภูมิแพ้หล่ังออกมา immunotherapy, short-course oral corticosteroid ไมส่ ามารถออกฤทธ์ิดว้ ยการจบั กับ histamine receptors หรือ surgery ส่วน Japanese guidelines for allergic เกย่ี วกบั beneficial effects ของ H1 antihistamines rhinitis ทอี่ อกมาในปี 2020 นนั้ ไมไ่ ดใ้ ช้ VAS score เปน็ เครอื่ ง นอกจากองค์ความรู้เดิมที่ว่า H1 antihistamines ยับย้ังไม่ให้ มอื ในการประเมนิ การรกั ษาผปู้ ว่ ย AR แตใ่ ชใ้ นลกั ษณะ Likert histamine ที่หล่ังจาก mast cells ของสารกอ่ ภูมแิ พ้ จบั กับ scale คอื ++++ เป็น most severe, +++ เป็น severe, ++ Hแล1 ะrevcaespotdoirlsatทioเ่ี ยnื่อสบ่งผุ ผวิ ลใจหงึ ชม้ ่วอี ยาลกดารvบaวsมcลuดlaลrง permeability เปน็ moderate และ + เป็น mild AR ซึง่ มีที่มาจากการดู และทสี่ �ำคญั ก็ อาการหลกั ของผปู้ ว่ ย AR นน่ั กค็ อื nasal blockade รว่ มกบั คอื H1 antihistamines ยับยงั้ sensory nerve stimulation sneezing และ/หรอื rhinorrhea โดยยาท่แี นะนำ� ใหใ้ ช้เปน็ จึงมีบทบาทโดดเด่นในการลดอาการจามและคันจากสาร อนั ดบั แรกสำ� หรบั ผปู้ ว่ ยทเี่ ปน็ mild และ moderate AR กค็ อื ก่อภมู แิ พ้ ปจั จุบนั ยังมีองคค์ วามรู้ใหมท่ ี่ส�ำคญั ก็คอื H1 antihis- second-generation antihistamines สว่ นยาอันดับสองท่ี tamines มฤี ทธ์ิ anti-inflammation ด้วย โดยการเขา้ ไปแยง่ แนะนำ� ใหใ้ ช้ก็คอื mast cell stabilizer ส่วนผปู้ ว่ ย severe จจาับกกกบั ารHอ1ยrใู่eนcภeาpวtะorasctทiv่ีเยe่อื sบtaุผtวิ eทไปำ� เใปหน็้ Hin1 arecctievpetsotrasteเปทลำ� ่ยี ใหน้ histamine ที่สารก่อภูมิแพ้หล่ังออกมา ไม่สามารถจับกับ H1 receptors สง่ ผลให้ไมม่ ีการกระตุ้น inflammatory pathway จงึ ไมม่ ีการหลั่ง pro-inflammatory cytokines ตา่ ง ๆ ออกมา อย่างไรก็ตาม ยากลุ่ม first (old)-generation antihistamines มีข้อเสียคือ สามารถผ่านเข้าไปยัง central nervous system (CNS) ทำ� ใหเ้ กดิ อาการงว่ งนอน ขณะเดยี วกนั ยงั เขา้ ไปยงุ่ เกยี่ วกบั muscarinic receptors ทำ� ใหเ้ กดิ ผลขา้ งเคยี ง ในเร่ืองของ dry mouth, urinary retention และ sinus tachycardia นอกจากนี้ ยากลุ่ม first (old)-generation antihistamines ยงั มี potential adverse effects ในเรอ่ื งของ TH-BIX-122021-116

weight gain, dizziness, postural hypotension และโดย ในสว่ นของ allergic conjunctivitis มผี ลการศึกษา เฉพาะในเรอ่ื งของ QT prolongation ซง่ึ เปน็ safety concern จากการส�ำรวจในกลุ่มผู้ป่วย AR ในฝรั่งเศสในปี 2012 พบว่า ที่ส�ำคญั และท�ำให้ยา antihistamines รุ่นเกา่ หลายตัวถูกถอน 52% ของผู้ป่วย AR จะมีอาการทางตาร่วมด้วย ซึ่งส่วนใหญ่ ออกจากตลาดไปแลว้ ประมาณ 51% เปน็ อาการคนั ตา, 39% มีน�ำ้ ตาไหล และ 7% ส�ำหรับยากลุ่ม second (new)-generation antihis- มีตาแดง โดยมี Consensus document on allergic tamines มี strong evidence-based ที่สนับสนุนบทบาท conjunctivitis (DECA) จากคณะผู้เชี่ยวชาญของ Spanish ในการใชส้ ำ� หรบั allergic rhinitis, allergic conjunctivitis และ Society of Allergology และ Spanish Society of Ophthal- urticaria โดย Professor Jean Bousquet ไดเ้ สนอไว้เก่ยี วกบั mology ที่ออกมาในปี 2015 มีค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการใช้ยา pharmacological properties ของ ideal oral antihistamine สำ� หรบั ผปู้ ว่ ย AR ทมี่ อี าการทางตาเดน่ วา่ oral antihistamines ว่าต้องเปน็ potent และ selective H1 receptor blockade, เช่น bilastine, cetirizine, desloratadine, fexofenadine, มี additive antiallergic activities และ anti-inflammatory levocetirizine และ rupatadine มีบทบาทด้วยเชน่ กันในการ effects, ไมถ่ กู รบกวนโดยอาหาร คือรับประทานก่อนหรือหลงั รักษาผู้ป่วย AR ท่ีมีอาการทางตาเด่น โดยเฉพาะ bilastine มอื้ อาหารกไ็ ด้, ออกฤทธฤิ์ ทธเ์ิ รว็ และมีฤทธิอ์ ยู่ได้นาน, ไม่ท�ำให้ มีการศึกษาที่รายงานไว้ใน Journal of Investigational เกดิ ภาวะ tachyphylaxis หรือการดื้อยาเม่อื ใชไ้ ปนาน ๆ และ Allergology & Clinical Immunology ในปี 2011 พบว่า ไม่มีฤทธ์ิท�ำให้ง่วงนอน โดยมีการศึกษาแบบ randomized bilastine20mgมปี ระสทิ ธภิ าพทดั เทยี มกบั activecomparators controlled trial ท่ีเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ second ท่ีเป็นยา oral antihistamines ตัวอ่ืน ๆ ในการลดอาการ (new)-generation antihistamines คือ desloratadine 5 ทางตาของผปู้ ว่ ย AR โดยทงั้ bilastine และ active comparators mg และ bilastine 20 mg โดยมกี ลุม่ ควบคุมที่ได้รับ placebo มีประสิทธิภาพดีกว่าอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับ ดว้ ย ในผู้ปว่ ย seasonal AR ทรี่ ายงานไว้ใน Allergy ปี 2009 placebo พบว่า bilastine และ desloratadineลด total symptom สำ� หรบั บทบาทของ oral antihistamines ใน urticaria score (TSS) ของอาการคัน จาม น�้ำมูกใสและคดั จมูกได้ดีกว่า ใน EAACI/GA²LEN/EDF/WAO guideline ทอี่ อกมาในปี 2018 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติเม่ือเทียบกับ placebo นับตั้งแต่วัน มกี ารพดู ถงึ เรอ่ื ง dose ของ oral antihistamines ไวอ้ ยา่ งชดั เจน แรก ๆ ไปจนถงึ 14 วันของการศกึ ษา โดยแนะนำ� ใหเ้ รม่ิ รกั ษาผปู้ ว่ ย urticaria ดว้ ย second-generation ขณะทอ่ี กี หนง่ึ การศกึ ษาทร่ี ายงานไวใ้ น Inflammation Hแล1-ว้ aตnดิ tตihาiมstผa้ปู m่วยinไeปs (sgAH) ที่เป็น standard dose ก่อน Research ปี 2010 ในผู้ป่วยแพ้ aeroallergenท่ีท�ำข้ึนใน 2-4 สปั ดาห์ ถ้าอาการไมด่ ขี ้นึ แนะนำ� ให้ Vienna Challenge Chamber เปรยี บเทยี บระหวา่ ง bilastine, สามารถเพมิ่ dose ของ sgAH เปน็ 4 เทา่ และหากผปู้ ่วยยังมี cetirizine, fexofenadine และ placebo พบว่ากล่มุ ผปู้ ว่ ยท่ี อาการไม่ดีขึ้น ให้ refer ผู้ป่วยไปอยู่ในการดูแลของแพทย์ ไดร้ บั bilastine, cetirizine และ fexofenadine มี nasal และ ผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะทางทอ่ี าจพจิ ารณาให้ omalizumab เสรมิ เขา้ ocular symptoms ลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติเม่ือเทียบ กับ sgAH หรอื ให้ ciclosporin เสริมเข้ากับ sgAH โดยเฉพาะ กับกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับ placebo โดยฤทธิ์ในการลด nasal bilastine มีการศึกษาเปรียบเทียบกับ levocetirizine และ และ ocular symptoms ของ bilastine, cetirizine และ placebo ในผปู้ ว่ ย chronic idiopathic urticaria พบวา่ bilastine fexofenadine ดำ� รงอยไู่ ดน้ านกวา่ 24 ชว่ั โมง ซง่ึ เปน็ คณุ สมบตั ิ มปี ระสทิ ธภิ าพทดั เทยี มกบั levocetirizine ในการลด idiopathic อยา่ งหนงึ่ ของความเปน็ ideal oral antihistamines urticaria และ bilastine มีประสิทธิภาพเหนือกว่าอย่างมี นยั สำ� คญั ทางสถติ เิ มอ่ื เทยี บกบั placebo ในการลด idiopathic urticaria นอกจากนี้ ยงั มีการศึกษาที่แสดงใหเ้ หน็ วา่ bilastine สามารถยบั ยัง้ wheal ของ urticaria ได้เปน็ อย่างดีในลกั ษณะ dose-dependent คอื dose ยงิ่ สงู ย่ิงสามารถยับยงั้ wheal ได้ดมี ากขนึ้ TH-BIX-122021-116

ไมม่ ากนกั แตก่ ลมุ่ ทไ่ี ดร้ บั hydroxyzine มี Stanford Sleepiness Scale สูงกวา่ อยา่ งมีนัยสำ� คญั ทางสถติ ิ ดงั นน้ั ใน guidelines เกี่ยวกับการใช้ยาในนักบินที่ออกโดยกระทรวง Land, Infra- structure and Transport ของญี่ป่นุ จงึ ให้การรบั รองเฉพาะ bilastine, fexofenadine, desloratadine และ loratadine เท่าน้นั ทน่ี ักบนิ สามารถใชไ้ ด้ขณะทำ� การบิน ในเรอื่ งความปลอดภยั ของ oral antihistamines ทเี่ ปน็ โดย bilastine นอกจากจะมีขอ้ ดี ไม่ว่าจะเป็นออก second-generation antihistamines มกี ารศกึ ษาเปรยี บเทยี บ ฤทธิ์ได้เร็วภายใน 2 ชั่วโมง ออกฤทธิ์อยู่ได้นานเนื่องจากมี ระหวา่ ง bilastine ซงึ่ เปน็ ยาตวั หนงึ่ ในกลมุ่ second-generation half-life ถึง 14.5 ชั่วโมง และรับประทานเพียงวันละคร้ัง antihistamines ท่ีไมผ่ ่าน blood-brain barrier เขา้ สู่ CNS, แล้ว bilastine ยังมีจุดแข็งท่ีส�ำคัญก็คือ ไม่จ�ำเป็นต้องลด hydroxyzine ซึ่งเปน็ first-generation antihistamines หรอื dose เมอื่ ใชใ้ นผปู้ ว่ ยทมี่ ปี ญั หาไตวายหรอื ตบั แขง็ นอกจากนี้ ยา oral antihistamines รุ่นเก่า ทสี่ ามารถผา่ น blood-brain ยังมีผลการศึกษาที่รายงานไว้ใน Pediatric Allergy and barrier เขา้ สู่ CNS และ placebo พบวา่ ในขณะท่ี bilastine Immunology ปี 2016 เกย่ี วกบั การใช้ bilastine ขนาด 10 mg และ placebo ไมม่ ีผลทำ� ให้การทำ� งานของสมองส่วน cortical ในเดก็ อายุต้งั แต่ 2 ปีไปจนถงึ นอ้ ยกวา่ 12 ปี จำ� นวนประมาณ ลดลง แต่ hydroxyzine มีผลลดการท�ำงานของสมองส่วน 500 คนทม่ี โี รค allergic disease ซง่ึ ถูกสุ่มใหไ้ ดร้ ับ bilastine cortical ลงอยา่ งมาก ขณะเดยี วกนั กม็ กี ารศกึ ษาทแี่ สดงใหเ้ หน็ วา่ 10 mg จำ� นวนประมาณ 260คนและอกี กลมุ่ หนงึ่ จำ� นวนประมาณ แม้การใช้ high-dose bilastine จะท�ำให้ผู้ป่วยมีอาการง่วง 240 คนไดร้ บั placebo พบว่าเดก็ กลุม่ ท่ไี ด้รับ bilastine 10 mg อยบู่ า้ งเลก็ นอ้ ย แต่ hydroxyzine มผี ลทำ� ใหผ้ ปู้ ว่ ยมอี าการงว่ งมาก มี sleeping-related breathing disorder (SRBD), daytime นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาทดสอบความปลอดภัยของการใช้ sleepiness, snoring และ inattention ไม่แตกต่างจากเด็ก bilastine ในระหวา่ งขบั รถยนต์ โดยดวู า่ อาสาสมคั รสขุ ภาพแขง็ กลุ่มทไี่ ดร้ บั placebo โดยในประเทศไทย bilastine 10 mg แรงดีท่ีได้รับ bilastine 20 และ 40 mg มีการขับรถยนต์ใน ในรปู orodispersible tablet ไดร้ บั การรบั รองจากคณะกรรมการ simulator เบ่ียงเบนจาก standard deviation of lateral อาหารและยา (อย.) เปน็ ทเ่ี รยี บรอ้ ยแลว้ ดว้ ยขอ้ บง่ ใชส้ ำ� หรบั เดก็ position (SDLP) มากนอ้ ยแคไ่ หน เมอ่ื เทยี บกบั ผทู้ ไี่ ดร้ บั placebo อายตุ ้งั แต่ 6 ปีขึน้ ไปทมี่ โี รค allergies และท่ีได้รับ hydroxyzine 50 mg โดยในวันแรกที่ได้รับยา พบว่าอาสาสมัครกลุ่มที่ได้รับ hydroxyzine 50 mg มีการ ขบั รถยนตเ์ บยี่ งเบนไปจาก SDLP มากทส่ี ดุ ในขณะทก่ี ลมุ่ ทไี่ ดร้ บั bilastineท้งั 20 และ 40 mg มีการขับรถยนตเ์ บย่ี งเบนไปจาก SDLP ไม่แตกต่างจากกลุ่มอาสาสมัครท่ีได้รับ placebo และ หลงั จากผา่ นไป 1 สปั ดาห์ ถงึ แมอ้ าสาสมคั รทไ่ี ดร้ บั hydroxyzine 50 mg จะมี tolerability ดขี น้ึ แตก่ ย็ งั ขบั รถยนตเ์ บย่ี งเบนไปจาก SDLP มากกวา่ เม่อื เทียบกับกลุ่มอาสาสมัครทไี่ ด้รบั bilastine และ placebo อกี ทั้งยงั มกี ารศกึ ษาท่ีชือ่ วา่ BISCAT (Bilastine in Simulated Cabin Altitude Test) เปรียบเทียบระหว่าง อาสาสมคั รทไ่ี ดร้ บั bilastine, hydroxyzine และ placebo ใน การ lock เปา้ ในหอ้ งจำ� ลองการบนิ พบวา่ กลมุ่ ทไี่ ดร้ บั bilastine และ placebo สามารถ lock เปา้ ไดค้ ่อนข้างดี แตก่ ลุม่ ทไ่ี ดร้ บั hydroxyzine มีความคลาดเคลื่อนในการ lock เป้าสูงมาก ขณะเดียวกันพบว่า กลุ่มที่ได้รับ bilastine และ placebo มอี าการง่วงนอนที่ประเมินด้วย Stanford Sleepiness Scale TH-BIX-10272021-101562 โปรดศกึ ษาขอ้ มลู ในเอกสารกำ� กบั ยาอยา่ งครบถว้ นซงึ่ สามารถขอไดจ้ ากผแู้ ทนยา Menarini ในพน้ื ทข่ี องคณุ เนอ้ื หาในบทความนไ้ี ดม้ าจากการถอด ถอ้ ยค�ำเสยี งจากการบรรยายเรือ่ ง “The Role of Novel Non-sedative Antihistamine in Management of Allergic Rhinitis” ในงานสมั มนา วชิ าการออนไลน์ เมือ่ วนั ที่ 4 สงิ หาคม 2564”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook