Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore best Practice ตำบลน้ำน้อย2

best Practice ตำบลน้ำน้อย2

Published by seramansomjai, 2021-04-29 09:43:06

Description: best Practice การจักสานจากเชือกใยปอตำบลน้ำน้อย

Search

Read the Text Version

ผลการปฏิบัติงานเปน เลิศ การจักสานผลิตภณั ฑจากเชอื กใยปอ กศน.ตาํ บลนํา้ นอย ตําบลนา้ํ นอ ย อาํ เภอหาดใหญ นางสาวสมใจ เสระหมาน นางสาวปนแกว ไพโรจน ครูกศน.ตําบล ตาํ บลนา้ํ นอย อาํ เภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา

บันทึกขอ ความ สวนราชการ ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอหาดใหญ ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๗๒๑6/ วนั ที่ 5 เมษายน 2564 เรอ่ื ง รายงานการจดั ทําผลการปฏบิ ตั ิงานเปน เลศิ (Best Practice) ภาคเรียนท่ี 2/๒๕๖3 เรียน ผอู าํ นวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอหาดใหญ 1. เรื่องเดิม ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอหาดใหญมีนโยบายให บคุ ลากร ครู กศน.ตาํ บล จัดทําผลการปฏบิ ตั ิงานเปนเลศิ (Best Practice) ภาคเรียนที่2/๒๕๖3เพื่อรายงานการ ปฏบิ ัติหนา ทีท่ ป่ี ระสบความสําเร็จท่ีสามารถเปน แบบอยา งแกบคุ คลอื่นตลอดจนเผยแพรต อไป 2. ขอเท็จจริง ขาพเจานางสาวสมใจ เสระหมานและนางสาวปนแกว ไพโรจน ครู กศน.ตําบล ตําบลน้ํานอยไดดําเนินการจัดทําผลการปฏิบัติงานเปนเลิศ (Best Practice) ภาคเรียนท่ี 2/๒๕๖3 ตามท่ีไดรับ มอบหมายเรยี บรอยแลว ๓. ขอกฎหมาย คําส่ังสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการท่ี๔๘๙/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๑ เรื่อง มอบอํานาจใหผูอํานวยการสถานศึกษาศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและ ผูอํานวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขต ปฏิบัติราชการแทนและประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ฉบับลงวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๒ ๔. ขอ พจิ ารณาเสนอแนะ เห็นควรพิจารณาลงนามการจัดทําผลการปฏบิ ตั งิ านเปนเลศิ (Best Practice) ภาคเรียนท่ี 2/๒๕๖3 เอกสารดังแนบ จึงเรียนมาเพือ่ โปรดทราบ (นางสาวสมใจ เสระหมาน) ครู กศน.ตาํ บล  ทราบ (นายไพโรจน คเชนทองสวุ รรณ) ผอู าํ นวยการศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอหาดใหญ

คาํ นํา เอกสารนี้จัดทาํ ขึ้นเพ่ือเสนอผลการปฏิบัติงานที่เปนเลิศ best Practice การจักสานผลิตภัณฑ จากเชือกใยปอกลุมอาชีพตําบลนํา้ นอย อาํ เภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ซ่ึงกลุมอาชีพดังกลาว กศน. ตาํ บลนํ้านอยไดสงเสริมอาชีพใหกับประชาชนโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมใหประชาชนในชุมชนมี อาชีพจากอาชีพหลักเพิ่มรายไดลดรายจายในครอบครัวและตลอดจนการใชเวลาวางใหเกิดประโยชน ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานตําบลน้ํานอย ตอนที่ 2 ผลงานการปฏิบัติงานที่เปนเลิศ best Practice ขอขอบคุณเครือขาย หนวยงานและ องคกรและกลุมอาชีพผลิตภัณฑจากเชือกใยปอที่ใหความรวมมือในการจัดทําขอมูลใหความชวยเหลือในการ ปฏิบัติงาน ขอขอบคุณที่ใหการสนับสนุน การปฏิบัติงานดวยดีตลอดมา จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ นางสาวสมใจ เสระหมาน ผูจัดทํา

สารบญั หัวขอ หนา ขอ มลู พืน้ ฐานตาํ บลนํ้านอย 1-11 ขอ มลู วิธกี ารปฏิบัตงิ านเปน เลศิ 12-15 กิจกรรมเดน ท่สี ามารถเปนแบบอยางได 16-17 แนวทางการพฒั นาสูค วามสําเรจ็ 18-22 สรปุ วิธกี ารที่เปน เลิศ 21-24 ภาคผนวก 25-35

1 สว นที1่ ขอมลู ทั่วไปตาํ บลนาํ้ นอย (Best Practice)

2 สภาพท่ัวไปตาํ บลนํา้ นอย ลกั ษณะทางภมู ิศาสตร ท่ีตง้ั ต้ังอยูทางทิศเหนือของอําเภอหาดใหญ หางจากท่ีวาการอําเภอหาดใหญ ประมาณ 10 กิโลเมตร หาง จากจังหวัดสงขลาประมาณ 30 กิโลเมตร ทิศเหนือ ติดตอกับ เทศบาลตําบลพะวง อําเภอเมือง จังหวัด สงขลา ทิศใต ติดตอกับ เทศบาลเมืองคลองแห และองคการบริหารสวนตําบลทุงใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัด สงขลา ทิศตะวันออก ติดตอ กบั องคก ารบริหารสวนตําบลทาขา ม และองคการบริหารสวนตําบลทุงใหญ อําเภอ หาดใหญ จังหวัดสงขลา ทิศตะวันตก ติดตอกับ เทศบาลตําบลคลองแห และตําบลคูเตา อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา เน้ือที่ ตําบลน้ํานอย มีเนื้อท่ีประมาณ 47.20 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 29,500 ไร ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ มีสภาพภูมิประเทศเปนภูเขาและเปนท่ีราบทุงนา พ้ืนที่ลาดเชิงเขา และลาดเอียงจากภูเขา นํ้านอยไปจดทะเลสาบ ตามแนวคลองนํ้านอย และคลองวง ดินมีลักษณะเปนดินลูกรังบริเวณภูเขาและดินปน ทรายบริเวณท่ีราบลุม มีคลองที่สําคัญ จํานวน 6 สาย คลองพะวง คลองนํ้านอย คลองกํานัน คลองใหญ คลอง ขดุ คลองพานหาน ลกั ษณะภมู ิอากาศ ชุมชนน้ํานอยตั้งอยูในเขตอิทธิพลของลมมรสุมเมืองรอน มีลมมรสุมพัดผานทุกป คือ มรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ เริ่มต้ังแตกลางเดือนตุลาคม ถึงกลางเดือนมกราคม และมรสุมตะวันตกเฉียงใต เร่ิมต้ังแต กลางเดือนพฤษภาคม ถึงกลางเดือนตุลาคม จากอิทธิพลของลมมรสุมดังกลาว สงผลใหมีฤดู คือ ฤดูรอน เร่ิม ต้ังแตเดือนกุมภาพันธ ถึงเดือนกรกฎาคม ซึ่งจะเปนชวงท่ีวางของสมมรสุม จะเริ่มตั้งแตหมดมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ แลว อากาศเริ่มรอนและอากาศจะมีอุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายน แตอากาศจะไมรอนนัก เน่ืองจากตั้งอยูใกลทะเล สวนฤดูฝนเริ่มตั้งแตเดือนสิงหาคม ถึงเดือนมกราคม ซ่ึงจะมีฝนท้ังในชวงลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือและสมมรสุมตะวันตกเฉียงใต แตในชวงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะมีฝนตกชุกมากกวา เน่อื งจากพดั ผา นอา วไทย สวนลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใตจ ะถกู เทอื กเขาบรรทดั ปดกน้ั ทาํ ใหฝนตกนอ ยลง จาํ นวนหมบู าน มี 10 หมูบาน คือ หมทู ่ี 1 บา นนา้ํ นอ ยนอก หมูท่ี 2 บานน้าํ นอย หมูท่ี 3 บานน้ํานอยใน หมูท ี่ 4 บา นบนเขา หมทู ่ี 5 บา นทา นางหอม หมูท่ี 6 บา นบอ โพธิ์ หมทู ี่ 7 บานทา จนี หมทู ี่ 8 บา นกลางนา หมูท ่ี 9 บานโคกหาร หมทู ่ี 10 บานบนเขา

3 แผนทีต่ าํ บลนํา้ นอย อําเภอหาดใหญ จงั หวดั สงขลา ขอ มลู ดา นประชากร จํานวนประชากรจาํ แนกตามเพศและเขตพ้ืนทต่ี าํ บลน้ํานอย หมู ช่อื หมบู า น จาํ นวน จํานวนประชากร(คน) จํานวนครวั เรือนในพื้นท่ี ท่ี ครัวเรือน ชาย หญงิ รวม เขต อบต. เขตเทศบาล 1 น้ํานอ ย 260 329 397 726 2 นํ้านอยใน 164 231 248 461 - 260 3 น้าํ นอ ยนอก 213 270 303 573 - 164 4 บา นบนเขา(ศรีษะคีร)ี 255 404 436 840 - 213 5 ทา นางหอม 418 574 670 1,244 - 255 6 บา นบอ โพธิ์ 371 517 573 1,090 - 418 7 บานทา จีน 350 484 523 1,017 - 371 8 บานกลางนา 350 494 523 1,017 - 350 9 บา นโคกหาร 306 391 443 834 - 350 10 บานบนเขา 469 572 620 1,192 - 306 รวม 3,156 4,266 4,736 9,002 - 469 - 3,156 ตําบลนํ้านอยมีครัวเรือนอาศัยอยูจํานวน 3,156 ครัวเรือน อยูในเขตพื้นที่การปกครองเทศบาล ตาํ บลท้งั หมดมีประชากรทั้งสิ้น 9,002 คนแยกเปนประชากรชายจํานวน 4,266 คน คิดเปนรอยละ 47.38 และประชากรหญงิ จํานวน 4736 คน คดิ เปน รอยละ 52.61 ความหนาแนนเฉลี่ย คน/ตารางกิโลเมตร

4 จาํ นวนประชากรจําแนกตามชว งอายุ จาํ นวน (คน) รอ ยละของประชากรท้งั หมด (คน) ชวงอายุ (ป) 0-5 6 - 14 15 - 39 40 - 59 60 - 69 70 - 79 80 - 89 90 ปข น้ึ ไป รวม จาํ นวนผพู ิการจาํ แนกตามประเภทความพิการ ประเภทผูพิการ จาํ นวนผูพิการ (คน) รวม คิดเปน รอ ยละ ชาย หญงิ 3 -ทางสมอง 21 2 -ทางสายตา 2- 13 -ทางรายกาย 94 - -พกิ ารซาํ้ ซอน -- 1 -ทางหู 1 - 2 ออทสิ ติก 2- - พกิ ารทางสตปิ ญญา 1 - กลุมผูพกิ าร เปน กลุมผดู อ ยโอกาสในการท่จี ะเขารับบริการทางการศกึ ษาหรอื เขา รวมกิจกรรมการ เรยี นรดู อยกวาคนปกติท่ัวไป อนั เน่อื งมาจากขอจํากัดทางดา นรา งกาย จิตใจ สตปิ ญญาหรือความสามารถใน การเรยี นรู จากตารางขอ มูลจาํ นวนคนพิการในพ้ืนที่ตาํ บลน้ํานอ ย จาํ แนกประเภทความพิการ สว นใหญมคี วาม พกิ ารทางรางกาย ขอมลู ดา นสงั คม ศาสนสถาน ประเภทศาสนสถาน - แหง วดั พุทธ สํานักสงฆ 5 มสั ยิด - โบสถค รสิ ต - อน่ื ๆ - โรงเรยี นปรยิ ธรรม.........-...........แหง จํานวนผเู รยี น............-........ คน โรงเรยี นท่สี อนศาสนาอืน่ ๆ (ระบ)ุ .....-..........แหง จาํ นวนผูเ รยี น........-.........คน 5 3.4 องคก รชุมชน/ผนู าํ ชมุ ชน รายการ จํานวน(กลมุ )/หมบู าน จํานวนสมาชิก 350 (คน)

กรรมการหมูบาน10 - 6 อสม. 10 หมบู าน 192 คน อาสาสมคั ร กศน.- 5 คน อาสาพัฒนาชมุ ชน - - กลมุ ตา งๆในชุมชน(ปจจุบันกาํ ลังดําเนนิ การอยู) รายการ จํานวน(กลมุ )/หมบู าน จาํ นวนสมาชิก(คน) กลมุ แมบา น 10 กลุม กลมุ เกษตรกร 10 กลุม กลมุ สตรี 10 กลุม กลุมเยาวชน 1 52 กลุมผสู งู อายุ 3 546 กลุมถ่วั ลิสงค่วั ทราย 2 กลมุ กลมุ เครื่องแกง 3 กลมุ กลมุ รับซอ้ื น้ํายางสด 5 กลมุ กลมุ ตมี ดี 1 กลุม กลุมออมทรัพย 6 กลมุ กลุมสัจจะวนั ละบาท 1 กลุม 3.6 ปญหาดานสงั คม ประเภทคดี ราย หรือ ครัง้ ฆา ตัวตาย - ขมขืน - ปลน /ชิงทรพั ย - ทาํ รา ยรางกาย - ลักทรพั ย - ยาเสพติด - การพนัน - ทะเลาะวิวาท - อ่ืนๆ(ระบ)ุ - ผมู สี ิทธ์เิ ลอื กตั้งครั้งสดุ ทาย จาํ นวน...................คน ผไู ปใชส ิทธิ์เลอื กตงั้ จําแนกตามประเภท ประเภท ผไู ปใชส ทิ ธิ์ จํานวนบัตรเสีย จํานวน(คน) รอยละ สมาชกิ วุฒสิ ภา(สว.) สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร(สส.)

สมาชิกสภาจงั หวัด(สจ.) สมาชิกสภาเทศบาล(สท.) สมาชกิ อบต.(ส.อบต.) กํานนั 1 คน ผใู หญบ าน 10 คน ประเพณีทองถิน่ (ระบุ) 1.ประเพณีไหวต ายาย 2.ประเพณรี ับเทยี มดา 3. ประเพณตี กบาตรหัวสา 4.ประเพณีชักพระ 5.ประเพณที ําบุญวันวา ง 6. ประเพณที ําบุญเดือนสบิ (ชงิ เปรต) การละเลน พน้ื บาน(ระบุ) 1. หมากขุม 2. หมากเก็บ 3. เดนิ กะล ภาษาถ่นิ (ระบุ ภาษาพ้ืนบา นภาคใต ขอมลู ดานเศรษฐกิจ อาชีพของประชาชนในตําบล เพศ รวม จํานวน อาชีพ ชาย รอยละ หญิง รอยละ (คน) รอยละ (คน) (คน) 40 0.42 ทํานา 14 0.32 26 0.51 - 1 0.01 ทําไร 1 0.02 - 1,648 17.31 17.16 ทําสวน 774 17.48 874 0.08 28 0.29 0.02 2 0.02 ประมง 24 0.54 4 5.40 506 5.32 0.37 40 0.42 ปศสุ ตั ว 1 0.02 1 2.28 213 2.24 34.31 3,543 37.22 รบั ราชการ เจาหนา ทข่ี องรฐั 231 5.22 275 7.84 552 5.80 1.90 206 2.16 พนักงานรฐั วิสาหกิจ 21 0.47 19 0.04 6 0.06 18.38 1,818 19.10 พนกั งานบริษัท 97 2.19 116 11.70 916 9.62 100.00 9,519 100.00 รับจา งท่ัวไป 1,796 40.57 1,747 คาขาย 153 3.46 399 ธุรกิจสว นตัว 109 2.46 97 อาชพี อ่นื ๆนอกเหนือจากที่กลาวมาแลว 4 0.09 2 กาํ ลังศกึ ษา 882 19.92 936 ไมมีอาชีพ 320 7.23 596 รวม 4,427 100.00 5,092

7 แหลง เรียนรใู นชมุ ชน และทุนดา นงบประมาณท่สี ามารถนาํ มาใชประโยชนเพ่ือการจัดการศึกษา ประเภทบคุ คล ประเภทสถานทแ่ี ละองคกร ประเภททรัพยากรธรรมชาติ ประเภทกจิ กรรมทางสังคม- วฒั นธรรมและตน ทนุ งบประมาณ 1. แหลง เรยี นรปู ระเภทบุคคล ไดแก ภมู ปิ ญญาทองถน่ิ ความรคู วามสามารถ ทอ่ี ยู นายปว น นนทะพทุ ธ ดา นพิธีกรรมทางศาสนา หมทู ่ี 7 ตาํ บลนาํ้ นอย นางเผ้ือน บวั เทพ ดานอาชีพเคร่ืองแกง หมทู ่ี 7 ตาํ บลนาํ้ นอย นายมนูณ พันธนิล ดา นตมี ดี หมูที่ 8 ตําบลนํ้านอ ย นางแฉลม เกศมงคล ดา นจกั สาน หมูท ี่ 9 ตําบลน้ํานอย นางผ้ิน เกศมงคล ดา นอาหารพน้ื บาน(ขาวหมาก) หมทู ี่ 7 ตําบลน้ํานอ ย นายทิน อมั โร ดา นแทงหยวก หมทู ี่ 4 ตาํ บลนาํ้ นอย นายนิยม อนิ ทสุวรรโณ ดานแทงหยวก หมทู ่ี 4 ตาํ บลน้ํานอ ย นายชะลอ บัวชืน่ ดา นพธิ กี รรมทางศาสนา หมทู ่ี 6 ตาํ บลนํ้านอ ย นายจาํ นงค ศิรคิ ุณ ดานพิธีกรรมงานศพ หมูท ี่ 5 ตําบลน้ํานอ ย นางปราณี ศรมี ณี ดานจดั ดอกไมจ ันท หมูท ี่ 7 ตาํ บลนาํ้ นอย 2. แหลงเรียนรปู ระเภทสถานท/ี่ ชมุ ชน/กลมุ ทางเศรษฐกจิ /สังคม ไดแ ก ชื่อแหลงเรยี นรู ประเภทแหลง เรียนรู ที่ตั้ง กลุมเครื่องแกงสมนุ ไพร เศรษฐกจิ ม.7 กลมุ ตมี ดี เศรษฐกจิ ม.8 กลมุ ถวั่ คว่ั ดานเศรษฐกิจ ม.4 กลมุ ปกผาถุง เศรษฐกจิ ม.1-3 กลุมจกั สาน เศรษฐกิจ ม.1 กลุมกระเบ้อื งดนิ เผา ศลิ ปะ ม.5 กลมุ สะตอดอง การเกษตร ม.3 กลุมซ้อื น้ํายาง การเกษตร ม.8 กลุม เล้ยี งผึง้ การเกษตร ม.9 3. แหลง สนับสนนุ ทุน/งบประมาณ ประเภทองคกร ไดแ ก ภาคีเครือขา ย การสนบั สนุน ทอี่ ยู/ ท่ตี ั้ง เทศบาลตําบลนํา้ นอย สนบั สนุนวิทยากร/กจิ กรรม 999 หมทู ี่ 7 ต.นา้ํ นอ ย โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตําบลน้ํานอ ย(บา นทาจีน) วิทยากร/สนบั สนุนกิจกรรม 103/1 หมทู ี่ 7 ต.น้าํ นอ ย โรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตําบลน้ํานอ ย วิทยากร/สนบั สนนุ กิจกรรม หมูท่ี 2 ต.น้ํานอ ย ผูสูงอายุตาํ บลนาํ้ นอย สนับสนนุ การจัดกจิ กรรม 23 หมทู ่ี 2 ต.นาํ้ นอ ย โรงเรียนทาจนี อุดมวิทยา สนบั สนุนการจดั กจิ กรรม หมูท่ี 7 ต.น้ํานอย วดั ทา นางหอม สนบั สนุนวสั ดสุ ํานกั งาน/วิทยากร หมทู ี่ 5 ต.นา้ํ นอ ย

8 กลมุ อาชพี เศรษฐกจิ ชมุ ชน / ผลติ ภณั ฑต าํ บล 1.พรมเช็ดเทา แหลงผลิต อยทู ี่กลมุ พฒั นาอาชีพผสู ูงอายุ ม.7 (บา นทา จนี ) ต.นํ้านอย ติดตอ สินคา ไดท่ี คณุ ปราณี ศรมี ณี เปน ประธานกลุม โทร. 01-9907807 2.ผลิตภัณฑมดี พรา เปนสินคา โอทอปท่ีไดร ับความนิยม จากชาวบานเปน อยางมาก มีการผลติ ข้นึ ณ หมู 8 มสี นิ คา หลายชนดิ เชน มีด พรา เคียว มีดปลายแหลม มีดอโี ต ฯลฯ สนใจสินคาติดตอ ไดที คณุ มนูญ พนั ธ นลิ โทร.081-5983888 3.กระทอ น เปนผลไมที่ทาํ ชื่อเสยี งใหกบั ตําบลเพราะเปนทีย่ อมรับกนั ทวั่ ไปวามคี ุณภาพดี มีแหลง จาํ หนา ยท่ี บริเวณถนนลพบรุ ีลาเมศร แหลง ผลติ หมูที่ 4,10 (บานบนเขา) โดยการรวมกลุมของกลุมสมาชกิ ทีป่ ลูกกระทอน สนใจตดิ ตอ คุณนงค ทองแกว (ประธานกลุม) โทร. 086-687- 0879 4. กลุม ถ่ัวลิสงคัว่ ทราย แหลงผลติ อยูท ี่ หมูท่ี 4 (บานบนเขา) ดวย กรรมวิธีการผลิตทเี่ นน ความสะอาด มคี ณุ ภาพ มีจําหนา ยท่ัวไปใน ตาํ บล โดยมี คุณอรุณ ทองมา เปน ประธานกลุม สนใจสนิ คา โทร.09-9755292 ,074-218710, 087-8995087 5. ไกย า งนา้ํ นอย เปนอาหารสนิ คา โอทอป ตําบลนาํ้ นอย ทไี่ ดรับ ความนิยม ดวยรสชาติท่ีอรอย สะอาด นารับประทาน เปนทรี่ ูจกั ของ คนน้ํานอยเปนอยางดี สนใจสินคา หาซอื้ ไดที่ หมูท่ี 1 ต.น้าํ นอย อ. หาดใหญ จ.สงขลา เบอรโ ทรศพั ท 074-446097

9 6. กลุม ขนมทองพบั -ขนมดอกจอก จดั เปนสินคา โอทอป ของตําบล น้ํานอยอีกอยางหนงึ่ ท่ีไดร บั ความนิยม ซ่ึงรวมกลุมโดยสมาชิกกลมุ แมบ านบอโพธ์ิ ม.6 ต.น้าํ นอย มสี มาชกิ จาํ นวน 14 คน ใชเ วลาหลังจากเสร็จส้นิ ภารกิจภายในครอบครวั รวมกลมุ กัน เพื่อสง เสริมอาชพี และเพิ่มรายได ใหกบั ครอบครวั โดยไดรบั การสนบั สนนุ เงินทนุ ภายใตโครงการเศรษฐกจิ ชมุ ชน หมูบา นละ 100,000 บาท จาก อบต.น้ํานอย และไดร บั การสนับสนุนครูสอนทําขนมตาง ๆ จากสาํ นักงานพฒั นาชมุ ชน ศนู ยการศึกษานอกโรงเรียน และไดรับการสนบั สนนุ เคร่ืองทาํ ขนมทองพบั ไฟฟา และเครื่องซีนถุงจาก อบต.นํ้า นอย ทําใหข นมมีคณุ ภาพย่ิงขึ้น ขนมทองพบั มหี ลายรสชาตใิ หเ ลือกรบั ทาน มรี สใบเตย กะทิ สตอเบอ ร่ี องนุ มจี ําหนา ย ทงั้ ปลกี และสง สถานทีด่ าํ เนนิ การ จดั จําหนาย เลขท่ี 25/1 ม.6 ต.นา้ํ นอย อ.หาดใหญ จ. สงขลา โทร.074 - 550156,094620070 7.กลุมแมบานเกษตรกรบานทาจีน (กลุมเคร่ืองแกง) แหลงผลิต หมูที่ 7 (บานทาจีน) รสชาติดี กรรมวิธีการผลิตที่สะอาด ถูก สุขลักษณะ เก็บไดนาน ปราศจากสารกันบูด มีเคร่ืองแกงชนิดตาง ๆ เชน แกงพะแนง แกงค่ัว แกงสม แกงมัสมั่น แกงปา แกงผัดเผ็ด แกง เขียวหวาน นอกจากน้ี ยังมีนาํ้ พริกตาง ๆ เชน น้ําพริกเผา น้ําพริกมะขาม และยังมีการผลิตนํ้ายาลางจาน สนใจ ตดิ ตอ สนิ คา ไดท ี่ คุณวรรณี รม เย็น (ประธานกลุม) โทร. 0-7433-4540,06-6940766 8. กลุมกระเบื้องดินเผา ม.5 (บานทานางหอม) ผลิตดวยกรรมวิธีการ ผลิตที่ดูแลอยางดีทุกขั้นตอน โดยชางผูชํานาญ จึงทําใหกระเบื้องดินเผา ของ ตําบลน้ํานอย มีความแข็งแรง ทนทาน

10 ขอ มลู ดานการศึกษา ตําบลน้าํ นอยมสี ถานศกึ ษารวมทงั้ หมด 14 แหง มคี รจู าํ นวน.....-.....คน และมีนักเรยี นจํานวน...-...... คน เปน อตั ราสวนคร/ู อาจารย ตอนกั เรยี น ประมาณ.......-.....ในแตล ะสถานศึกษาท่ีอยูในเขตตาํ บล...........มี จํานวนนักเรียน นกั ศกึ ษา ดงั นี้ หมู ชื่อหมูบา น ไมรู จาํ แนกตามการศึกษาสูงสุด อนุปริญญา ปรญิ ญา สงู กวา หมาย ท่ี หนังสอื หรอื ตรี ปริญญาตรี เหตุ ตํา่ กวา การศึกษา มัธยมศกึ ษา เทยี บเทา ประถม ภาคบงั คบั ตอนปลาย 1 บานนํ้านอย 0 12 48 46 24 25 0 2 บานนาํ้ นอยนอก 0 3 24 12 9 0 0 3 บา นนํ้านอยใน 0 10 50 45 40 25 0 4 บานบนเขา 0 13 80 39 33 13 0 5 บานทานางหอม 0 18 96 43 37 21 0 6 บา นบอโพธ์ิ 0 11 86 25 25 7 0 7 บานทา จีน 0 26 74 44 30 15 0 8 บา นกลางนา 0 26 74 44 30 15 0 9 บานโคกหาร 0 13 100 60 50 40 1 10 บานบนเขา(ศรษี ะครี )ี 0 32 100 36 28 27 0 รวม คิดเปนรอยละ 1) โรงเรียนวัดทานางหอม จํานวนนักเรียน................คน 2) โรงเรียนทาจนี อุดมวิทยา จาํ นวนนกั เรยี น................คน 3) โรงเรยี นชมุ ชนบานนํ้านอ ย จาํ นวนนกั เรยี น...............คน 4) ศนู ยพฒั นาเด็กเลก็ 3 แหง จาํ นวนนักเรียน...............คน 5) กศน.ตําบล 1 แหง จํานวนนักเรียน....133.....คน ระดบั การศกึ ษาของประชาชนในตาํ บล จากตารางขอมลู ระดับการศึกษาของประชาชนในตาํ บล พบวา กศน.ตาํ บลน้ํานอ ย ในรอบปท่ีผา นมามจี ํานวนนักศึกษาทั้งหมด ... คน แยกตามระดับ ดังนี้ ภาคเรยี นที่ 2/2563 -ระดบั ประถมศึกษา จํานวน 9 คน -ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน จาํ นวน 51 คน -ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 73 คน

11 ในการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 มนี กั ศึกษาจํานวนทล่ี งทะเบียนเรยี นท้งั หมด 133 คน มีนกั ศกึ ษาคงอยู จํานวน 133 คน มีผูเ ขา สอบ จาํ นวน............คน และมีผจู บหลกั สตู รท้ังหมด.........19..........คน คิดเปน รอ ยละ ............... แยกตามระดับ ดงั นี้ -ระดับประถมศึกษา จาํ นวน...........9.........คน จบหลกั สูตรจาํ นวน....1......คน -ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน จํานวน..........51........คน จบหลักสูตรจํานวน...6......คน -ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน...........73......คน จบหลักสตู รจํานวน...13.....คน ภาคเรียนท่ี 2/2563 -ระดับประถมศึกษา จาํ นวน............... 9............คน -ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จาํ นวน................51..........คน -ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน................73..........คน จากขอ มลู ดังกลาวพบวา มจี าํ นวนผูจบหลักสตู รคอนขางนอ ย ระดับการศึกษา เพศ รวม(คน) ชาย(คน) รอ ยละ หญงิ (คน) รอ ยละ คน รอ ยละ ไมเคยศกึ ษา 86 0.89 140 1.59 226 2.57 อนุบาล/ศูนยเ ด็กเลก็ 72 0.82 82 0.93 154 1.75 ตา่ํ กวาระดบั ประถมศึกษา (ป.4ป.7ป.6) 219 2.49 237 2.70 456 5.19 ประถมศกึ ษา (ป.4ป.7ป.6) 1,303 14.84 1,625 18.51 2,928 33.35 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน 685 7.80 534 6.08 1,219 33.35 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 705 8.03 609 6.94 1,314 14.97 อนปุ ริญญา(ปวส.หรอื เทียบเทา) 364 4.15 278 3.17 624 7.31 ปรญิ ญาตรีหรือเทียบเทา 662 7.54 1,053 11.99 1,715 19.54 สูงกวา ปรญิ ญาตรี 45 0.54 78 0.89 125 1.42 รวม 4,143 47.19 4636 52.81 8,779 100.00

12 สว นที่ 2 ขอมูลวธิ กี ารปฏิบัติทีเ่ ปนเลศิ (Best Practice) ช่ือผลงาน การสงเสรมิ สนบั สนุน“กลุมการจกั สานผลติ ภัณฑจากเชอื กใยปอ”มุง สูความเปนเลิศ ช่อื เจาของผลงาน โดยนางสาวสมใจ เสระหมาน สงเสริมกลุมการจักสานผลิตภัณฑจากเชือกใยปอตําบลน้ํานอย โดยมีประธานกลุม นางสุธรรม เหม หมัน และสมาชิกในกลุมอาชีพ “การจักสานผลิตภัณฑจากเชือกใยปอ” เร่ิมเกิดจากการท่ีกลุมในชุมชนน้ัน ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทําสวน เลี้ยงสัตว และแมบานซ่ึงกลุมแมบานจึงรวมตัวกันเขากลุมเพ่ือดําเนินการ สรา งกลุม อาชพี ขนึ้ มา โดย กศน.ตาํ บลนํ้านอยเขามามีสวนในการชวยสงเสริมการสรางอาชีพใหแกกลุม เร่ิมตน จากจัดกลุมอาชีพใหแกกลุมแมบานจัดหาวิทยากรมาสอนใหแกกลุม จัดหาวัสดุอุปกรณในการจัดทํากลุมอาชีพ การจักสานผลติ ภณั ฑจากเชือกใยปอ ซึ่งเริ่มแรกทําเพื่อจัดในชุมชน ตอมาเร่ิมมีการตอยอดใหแกกลุมเพื่อเพ่ิมให กลมุ มีความเขมแขง็ มากย่งิ ขึ้น จงึ เรม่ิ จดั หาวิทยากรที่จะมาสอนในรูปแบบตาง ๆ ใหมันหลากหลาย ประจวบกับ ทก่ี ลุมมคี วามกระตือรือรนและพยายามเสาะแสวงหาความรูในเรื่องแบบใหม ๆ มาทําเพ่ิมสามารถจัดไดชํานาญ ข้ึน และกลุมไดรับการสงเสริมจาก กศน.ตั้งแต ป ๒๕๕๗ จนถึงปจจุบัน จึงทําใหกลุมอาชีพ “การจักสาน ผลิตภณั ฑจากเชือกใยปอ ตําบลน้าํ นอย” สามารถจัดทําเปน อาชพี เสริมไดอีกดวย จนทําใหเกิดการสรางงานการ สรางรายได ท้ังยังทําใหกลุมแมบานมีรายไดจากเงินปนผลกลุมมาจุนเจือครอบครัว หลังจากน้ันจึงไดเกิดการ รวมตัวของชาวบานในชมุ ชนทต่ี อ งการสรา งอาชพี สรางรายได รวมตวั กันขึ้นมาจัดต้ังเปนกลุมเม่ือป ๒๕๕๗ ไดมี การปรบั ปรุงและพฒั นาฝมอื เพื่อใหม ีความพรอมและเหมาะกบั ผลติ ภณั ฑเ พ่อื ทีจ่ ะพฒั นาฝม ือใหดขี ึน้ ไดเปนอยา ง ความเปน มา จากการท่ีทาง กศน.ตําบลน้ํานอย ไดดําเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ หลักสูตรระยะ สั้น 30 ช่ัวโมงขึ้นเมื่อ ป พ.ศ.2557 โดยมีการจัดตั้งกลุมอาชีพ “การจักสานกระเปาจากเชือกใยปอ” ขึ้น โดย จากการจัดทําแผนปฏิบัติการระดับตําบล โดยจากการสํารวจและการสอบถามความตองการของประชาชนใน ตําบลนํ้านอย โดยจัดต้ังกลุมซ่ึงมีการแจงความประสงคในการเรียนรูการจักสานกระเปาจากเชือกใยปอ ทาง กศน.ตําบลนํ้านอยจึงเล็งเห็นถึงความตองการของกลุม จึงไดสนับสนุนกลุมอาชีพ หลักสูตรระยะส้ัน 30 ชั่วโมง ใหแกกลุม และไดมีการพัฒนาตอยอดใหแกกลุมเรื่อย ๆ จนกลุมเกิดความชํานาญ และเกิดการเรียนรูท่ี หลากหลาย และรวมถึงการเรียนรูทั้งในหองเรียนและนอกสถานที่ โดยมีวิทยากรเปนผูดีแล คือ นางสุรินทร ภู วเิ ศษ เปนวิทยากร ทาง กศน.ตําบลนํ้านอย มองเห็นถึงความต้ังใจและความตองการที่ จะเรียนรูของกลุมจึงไดสนับสนุนวัสดุ อุปกรณและวิทยากรใหแกกลุมเพื่อเพ่ิม ความรูที่หลากหลายใหแ กก ลุม และทางกลุมไดมีการพัฒนาฝมือจากการศึกษา ดว ยตนเองและจากวิทยากร เพ่ือตอ งการพัฒนาฝมือตนเอง

13 ตอ มาไดม กี ลมุ ทีส่ นใจไดเ ขามาศึกษาดูงาน เรียนรู และยังเชิญใหเ ปนวิทยากรในการใหแกตําบลใกลเคียง ในอาํ เภอหาดใหญและอาํ เภอตางๆในจงั หวัดสงขลา กลมุ จกั สานผลติ ภณั ฑจากเชอื กใยปอ ท่ที าง กศน.ตําบลนํา้ นอย ไดเขามาสนบั สนนุ นัน้ มีหนวยงานเขามา ใหความรว มมอื และสนับสนุน ตอยอดใหแกก ลุมเรื่อยมา และทําใหเปนท่ีรูจักและสมาชิกในกลุมไดรับเชิญไปเปน วิทยากรใหหนวยงาน ทั้งในตําบลน้ํานอย อําเภอหาดใหญและอําเภอตางๆในจังหวัดสงขลาซึ่งสามารถสราง รายไดเสริม สรา งอาชีพเสริมใหกบั กลมุ อีกดวย จุดเริ่มตนของการรวมกลุม เกิดจากสมาชิกจํานวน 10 คน พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณในทํา กระเปาจากเชือกใยปอและรวมพูดคุยกับวิทยากรในการจักสานผลิตภัณฑจากเชือกใยปอในแบบตาง ๆ รวมกัน พบวา การการจักสานผลติ ภณั ฑจากเชือกใยปอเปน งานฝมือท่สี วยงามยงั ไมม ใี หเ หน็ มากนัก มีความสวยงามคงทน และราคาสูงเปนความตองการของตลาด และไดรวมกันศึกษาเรียนรูจนสามารถจําหนายสรางรายไดเสริมใหกับ ตนเองและครอบครัว เพิ่มข้นึ อยา งตอเน่อื ง กศน.ตําบลน้ํานอย สังกัดศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอําเภอหาดใหญ ในฐานะเปนสถานศึกษาในชุมชน มีการ ดาํ เนนิ งานจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ภายใตกิจกรรม ที่สอดคลองกบั ขอ มูลสภาพปญ หาและความตองการของกลุมเปาหมาย จึงเขา รวมเปนสวนหน่ึงในการดําเนินกิจกรรมการศึกษาตอเน่ืองภายใตช่ือกิจกรรม การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ “การจัดดอกไมสดในงานพิธี” โดยการสนับสนุน วสั ดอุ ปุ กรณ และสงเสรมิ กระบวนการเรยี นรูภายในกลมุ ใหเกดิ การพัฒนาและกระจายความรูการจัดดอกไมสดใน งานพธิ ตี อ ไป แตด ว ยคณุ ภาพของงานฝมือการจัดดอกไมสด รวมทั้งการบริหารจัดการกลุมแบบแนวราบการให ความสําคัญกับความโปรงใสในการทาํ งานรว มกนั จึงสงผลให “การจักสานผลิตภณั ฑจ ากเชือกใยปอ ตําบลน้ํา นอย” นอกจากจะเปนฐานรากของสรา งรายไดเสรมิ และสรา งอาชีพเสริมแลว ยังเปนฐานรากที่สําคัญของสมาชิก และสรา งอาชพี สรา งรายไดเ สริมใหก ับกลุมและครอบครัวของสมาชิกในกลมุ อีกดวย

14 วตั ถุประสงค 1. เพ่ือสงเสริมกระบวนการเรียนรูการจักสานผลิตภัณฑจากเชือกใยปอตําบลน้ํานอย อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 2. เพ่ือสงเสริมใหเกิดการกระจายความรูและสรางอาชีพ สรางรายไดเสริมใหกับสมาชิกและประชาชน ตาํ บลน้าํ นอ ย อําเภอหาดใหญ จังหวดั สงขลา กจิ กรรม/วิธีการ/ข้ันตอนสาํ คญั วตั ถุประสงค ข้นั ตอนการดาํ เนินงาน 1. เพ่ือสงเสรมิ กระบวนการเรียนรู 1.1 จัดประชมุ รว มกบั กลมุ เปาหมาย และเจาหนา ท่ี เพื่อ การจักสานผลิตภณั ฑจ ากเชือกใย ปรกึ ษาหารือแนวทางและกระบวนการเรียนรู ปอ ตําบลนาํ้ นอย อาํ เภอหาดใหญ 1.2 ใหการสนบั สนุนวสั ดอุ ุปกรณท จ่ี าํ เปน เพ่อื ให จังหวดั สงขลา กลุมเปา หมายนําไปพฒั นากระบวนการเรียนรเู กย่ี วกบั การจักสานผลติ ภัณฑจ ากเชือกใยปอทีม่ ีความหลากหลาย รปู แบบทนั สมยั เปน ท่ีตองการของตลาด 2. เพ่ือสง เสรมิ ใหเ กิดการกระจาย 1.3 ติดตามผลการพัฒนากระบวนการจกั สานผลติ ภัณฑ ความรูการจกั สานผลติ ภัณฑจาก จากเชอื กใยปอของกลมุ 2.1 จัดประชมุ รว มกบั กลมุ การจักสานผลติ ภณั ฑจาก เชอื กใยปอ และเจาหนา ทขี่ อง กศน.ตาํ บลน้าํ นอยและ เชือกใยปอในตาํ บลนํ้านอย อําเภอ วทิ ยากรที่มีความชํานาญ เพื่อหารือเก่ยี วกบั แนวทางการ หาดใหญ จงั หวดั สงขลา สง เสริมการการจักสานผลิตภณั ฑจ ากเชือกใยปอของกลมุ โดยใหกลมุ ไดเ ห็นความสาํ คัญ และพรอมที่จะดําเนนิ การ วตั ถุประสงค กระจายขอมูลดังกลา วไปสคู นในหมบู านของตนเอง 2.2 จดั กจิ กรรมการใหค วามรูก ารจกั สานผลติ ภัณฑจาก เชอื กใยปอ กับเครอื ขายและกลุมที่สนใจในตําบลน้าํ นอ ย โดยมีวิทยาการชาํ นาญการเปนวิทยากร ขนั้ ตอนการดาํ เนินงาน 2.3 เมอื่ เสร็จสน้ิ กิจกรรมในขอ 2.2 พบวา สมาชกิ ใน กลมุ ที่เขารว มกจิ กรรมเกิดความสนใจที่จะเรยี นรูการผลติ ผลิตภัณฑใหมๆ ที่มคี วามหลากหลายกศน. ตาํ บลนา้ํ นอยก็ จะมกี ารตอ ยอดเพ่อื พัฒนาฝม ือและคุณภาพของ ผลติ ภณั ฑส งเสริมการจาํ หนายสินคา ผา นสอื่ ออนไลนและ ประชาสมั พนั ธการจาํ หนายสินคาท่หี ลากหลายมากขึ้น 2.4 ตดิ ตามและประเมินผลการดาํ เนนิ ของสมาชิก

15 ผลสาํ เรจ็ 1. เกดิ การบรู ณาการความรแู ละความรว มมือของทุกภาคสวน 2. เกิดการพัฒนาบุคลากรในชุมชนใหมีประสิทธิภาพ สามารถทําหนาท่ีเปนผูสรางกระบวนการเรียนรู ใหกบั คนในชมุ ชนและในพ้ืนทีอ่ นื่ ๆ ทส่ี นใจได 3. เกดิ การกระจายความรู สงผลใหเ กิดพ้ืนทีก่ ารเรยี นรูใ นหมบู าน 4. เกดิ การรวมกลุม และการแลกเปลยี่ นเรียนรูรวมกนั ของคนในตําบล 5. เกดิ ความยงั่ ยนื จากการใชแ นวคดิ “การลงแรง และรวมใจ” 6. เกิดจดุ การเรียนรใู หก บั ชุมชน สถาบนั การศกึ ษาและหนว ยงานอ่ืนๆ ทส่ี นใจ 7. การพฒั นาฝมือทีม่ คี ุณภาพสําหรบั กลุมเปาหมาย สามารถสรางจา ยไดเสรมิ และอาชพี เสรมิ ผลการไดย อมรับ 1. ทาํ ใหก ารดําเนินงานประสบความสําเร็จและยงั่ ยนื เนื่องจากเปน การทาํ งานที่มีการบรู ณาการความรู และการสรา งกระบวนการทํางานแบบมีสวนรวมกับหนวยงานตา งๆ ท่เี กี่ยวของและกลุมเปา หมายในทุกขั้นตอน 2. ทําใหเ กิดผสู รางกระบวนการเรยี นรใู นชุมชน และในพ้ืนท่อี นื่ ๆ ที่สนใจ 3. ทําใหเ ห็นความสําคญั ของการมสี ว นรวมในการพฒั นาฝมอื และการพัฒนาความรู

16 กจิ กรรมเดน ท่สี ามารถเปนแบบอยา งได “การจักสานผลิตภณั ฑจ ากเชือกใยปอ” กลุมอาชีพ “ การจกั สานผลติ ภัณฑจ ากเชอื กใยปอ ตาํ บลนํา้ นอ ย ” กลุมอาชีพ “การจักสานผลิตภัณฑจากเชือกใยปอ” เริ่มเกิดจากการที่กลุมในชุมชนนั้นประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ทําสวน เลี้ยงสัตว และแมบานซ่ึงกลุมแมบานจึงรวมตัวกันเขากลุมเพ่ือดําเนินการสรางกลุมอาชีพ ขึ้นมา โดย กศน.ตําบลนํ้านอยเขามามีสวนในการชวยสงเสริมการสรางอาชีพใหแกกลุม เริ่มตนจากจัดกลุม อาชพี ใหแกกลุมแมบานจัดหาวิทยากรมาสอนใหแกกลุม จัดหาวัสดุอุปกรณในการจัดทํากลุมอาชีพจัดดอกไมสด ในงานพิธี ซ่ึงเร่ิมแรกทําเพ่ือจัดในชุมชน ตอมาเร่ิมมีการตอยอดใหแกกลุมเพื่อเพ่ิมใหกลุมมีความเขมแข็งมาก ย่ิงข้นึ จงึ เรมิ่ จดั หาวทิ ยากรที่จะมาสอนการจดั ดอกไมใ นงานพธิ ใี นรูปแบบตา ง ๆ ใหมนั หลากหลาย ประจวบกับที่ กลุม มคี วามกระตือรือรนและพยายามเสาะแสวงหาความรูในเร่ืองแบบใหม ๆ มาทําเพิ่มสามารถจัดไดชํานาญข้ึน และกลุมไดรับการสงเสริมจาก กศน.ตั้งแต ป ๒๕๕๗ จนถึงปจจุบัน จึงทําใหกลุมอาชีพ “การจักสานผลิตภัณฑ จากเชือกใยปอ ตําบลน้ํานอย” ไดมีการพัฒนาใหกลุมมีทักษะและความชํานาญในการผลิตผลิตภัณฑที่มีความ หลากหลายมากขึ้น และสามารถจัดทําเปนอาชีพเสริมไดอกี ดว ย จนทาํ ใหเกิดการสรางงานการสรางรายได ท้ังยัง ทาํ ใหก ลมุ แมบานมีรายไดจ ากเงินปน ผลกลุมมาจุนเจอื ครอบครัว หลังจากน้ันจึงไดเกิดการรวมตัวของชาวบานใน ชมุ ชนท่ตี องการสรางอาชีพสรางรายได รวมตัวกันขึ้นมาจัดตั้งเปนกลุมจัดตั้งกลุมการจักสานผลิตภัณฑจากเชือก ใยปอ ตําบลนํ้านอยขึ้นมา และเม่ือป ๒๕๕๗ ไดมีการปรับปรุงและพัฒนาฝมือใหมีคุณภาพ รูปแบบทันสมัยสู ความเปนสากลตอไป จุดประสงคของการกอตงั้ กลุมการจักสานผลิตภณั ฑจ ากเชือกใยปอ ๑. เพอ่ื แลกเปล่ียนประสบการณซง่ึ กันและกัน ๒. เพ่ือลดคาใชจายในครัวเรือน ๓. เพื่อสรางอาชพี สรา งรายไดใหแ กก ลมุ แมบ าน ๔. เพื่อเปนตัวอยา งใหกับชาวบานในหมูบ าน ๕. เพอ่ื ใหค นในหมบู านรูร กั สามัคคี เปนหนงึ่ เดยี วกัน โครงสรางในการทํางาน เมื่อสมัยป พ.ศ.๒๕๕๗ นั้นเกิดการรวมกลุมกอตั้งเปนกลุมการจักสานผลิตภัณฑจากเชือกใยปอ จนสามารถ ขยายผล และความรูการทําในรูปแบบตาง ๆ จึงทําใหโครงสรางของการทํางานน้ันมีการปรับเปลี่ยนซ่ึงจากเดิม นน้ั มีเพียงไมก่ีคนเทาทันที่รวมกลุมกันและต้ังใจทํางาน แตในปจจุบันนั้นกลุมไดเปนท่ียอกมรับคนในชุมชน และ เพอ่ื รองรบั กับความตอ งการของตลาดในชุมชนและตลาดภายนอกตอไป กระบวนการในการดําเนนิ การ ๑. การรวมกลุมการจกั สานผลิตภัณฑจากเชือกใยปอ ซึ่งจะใชเ วลาวางจากการทําประจํามีการรับงานแลตาม รายการท่มี อี อเดอรแ ละนําสง หนวยงานเพอื่ นําสินคา ไปจําหนายตอไป ๒. การพัฒนาฝม อื และคณุ ภาพการจักสานผลติ ภณั ฑจากเชือกใยปอ ซ่งึ กลมุ จะไดร บั การสนับสนุนจาก กศน. และไดทําการพัฒนาฝมือจากการศึกษาคนควาและการทดลอง และ กศน.ไดเชิญวิทยาการมาตอยอดใหอยาง ตอ เนื่อง ๓. การสรา งรายไดใหกบั กลุม ผลผลิตท่ีไดจากการรับจัดตามที่มีรายการ ซ่ึงชาวบานในชุมชนน้ันจะใหความ รวมมือและชว ยเหลอื กนั เปนอยา งดี เนอื่ งจากเปนชมุ ชนท่ีมีความตองการในเรอ่ื งการชวยเหลือซึ่งกันและกัน

17 ผลหลังจากการดาํ เนินการ ๑. ดานการลดรายจาย การจัดทําบัญชีกลุมเปนการสงเสริมใหชาวบานในชุมชนนั้นมองเห็นประโยชนของ การทําบญั ชีควบคุมท้งั รายรบั รายจา ย และกําไร ๒. ดา นการเพ่ิมรายได ครัวเรือนมีอาชีพเสริม โดยชาวบานในชุมชนน้ันจะประกอบอาชีพเกษตรกรรมแล คา ขายเปน หลัก แตไ ดมีการรวมกลุมทาํ ใหก ลุมเกดิ รายไดแกสมาชิกในกลุม ๓. ดา นการประหยดั ครวั เรอื นมกี ารออม เห็นชัดจากการท่ีครัวเรือนสมัครเปน สมาชกิ กลมุ ออมทรัพยของ หมบู าน คิดเปน ๑๐๐ % ซ่งึ ไดแก ธนาคารชมุ ชน ออมทรัพยช ุมชน และสถาบนั การเงินของหมูบา น ๔. ดานการเรยี นรู กลุมไดม กี ารเรยี นรกู ารจัดดอกไมในแบบตา งๆ มีการพฒั นาฝม อื ไดม ีการจดั ต้ังกลุมการ จักสานผลติ ภณั ฑจ ากเชือกใยปอขน้ึ ขน้ึ เพ่ือสามารถเปนท่ศี ึกษาดงู าน และเปนสถานที่ทีถ่ ายทอดความรูใหแ ก เยาวชนผูทส่ี นใจในการประกอบอาชีพ

18 สวนที่ 3 แนวการพัฒนาสเู สน ทางความสาํ เรจ็ แนวทางการพัฒนาสูความสาํ เรจ็ กศน.ตําบลน้าํ นอย โดยครู ผเู รยี น คณะกรรมการ กศน.ตําบล อาสาสมัคร กศน.และประชาชนในพื้นท่ี ตําบลนํ้านอย มีสวนรวมในการกําหนดเปาประสงค ภายใตกรอบปรัชญา วิสัยทัศน เอกลักษณ อัตลักษณ ของ กศน. ตาํ บล โดยมกี ลยุทธการดาํ เนนิ งานจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ภายใตโครงการ/กิจกรรม ท่ีสอดคลองกับ ขอมูลสภาพปญหาและความตองการของกลุมเปาหมาย และขอมูล ผลการประเมินตนเองในรอบปที่ผานมา ไปใชในการจัดทํา แผนปฏิบัติการประจําปแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพ่ือเปน เครื่องมือในการปฏิบัติงานการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาใน พ้นื ทต่ี าํ บลใหมีประสิทธภิ าพโดยมที ิศทางการพฒั นา ดังนี้ 1. ไมห ยุดยั้งการพฒั นา ผูที่จะประสบความสําเรจ็ ในหนา ท่กี ารงานไดจะตอ งเปนคนทม่ี ีหวั ใจของการพฒั นาอยูเสมอ ไมวาจะเปน เรื่องบุคลิกลักษณะ พฤติกรรม หรือแมแตวิธีการทํางาน โดยตองเปนผูที่มีการสํารวจและประเมินความสามารถ ของตนเองอยูตลอดเวลา คอยตรวจสอบวาเรามีจุดแข็งและจุดบกพรอง ในดานใดบางและพยายามที่จะหาทางพัฒนาจุดแข็งและปรับปรุง จดุ บกพรอ งของตนใหด ขี ้นึ นอกจากน้ียงั ตองเปนคนที่ไมยึดติดกับวิธีการ หรือขั้นตอนการทํางานแบบเดิม ๆ โดยควรจะหาเทคนิคและแนวทาง ใหม ๆ เพ่ือพัฒนาการทํางานของตนเองใหดีข้ึนและมีประสิทธิภาพมาก ขน้ึ อยูเสมอ 2. คิดแตทางบวก ความคิดทางบวกจะเปนส่ิงที่ชวยทําใหคุณมองโลกในแงดี มีกําลังใจและพลังที่จะทํางานตาง ๆ ที่ไดรับ มอบหมายใหประสบผลสําเร็จ คนที่มีความคิดทางบวกจะเปนคนที่สนุกและมีความสุขกับงานที่ทํา แสวงหา โอกาสที่จะชวยเหลือและสนับสนุนผูอื่นอยูเสมอ…สําหรับผูที่มีความคิดในดานลบอยูตลอดเวลา จะเปนผูท่ี หมกมุนอยูแตกับปญหา ชอบโทษตัวเองและคนรอบขางอยูเสมอ ขาดความคิดท่ีจะพัฒนาตนเองและงานที่ทํา… ในท่สี ดุ ผลงานทไ่ี ดร ับยอ มขาดประสทิ ธภิ าพ 3. มงุ เนนความอดทน ความอดทนเปนพลังของความสําเร็จ…อดทนตอคําพูด อดทนตอพฤติกรรมการดูหมิ่นหรือ สบประมาท อดทนตอ ความเครียดในการทํางาน ขอเพียงแตใหคุณมีความอดทนและอด กล้ันเขา ไว แลวคณุ จะสามารถเผชญิ กบั ปญ หาตา ง ๆ ไดส ําเรจ็

19 4. ความมนี ํ้าใจใหก บั ทุกๆ คน ชว ยเหลอื อยางจรงิ ใจ ดวยคําพูด หรือ จากความคิดเห็นตางๆ ที่พยายามถายทอดความรูมาใหเปนการ แสดงใหเห็นไดเปนอยางดี มีน้ําใจดีงามตอผูอื่นและผูใตบังคับบัญชา ตัดเร่ืองความขึ้งโกรธออกไปจากความรูสึก นกึ คดิ ของตวั เอง โดยนกึ ถงึ ผอู ่นื อยเู สมอ 5. การทาํ งานทที่ มุ เท ใหความคิดเห็น และชวยเหลืออยางเต็มท่ี และ แนะนําในทุกๆดานทุมเทใหกับงานจริงๆมีความคิดไม หยุดนิ่ง ทุกๆ คนในองคกรควรเปนนํ้าหน่ึงใจเดียวกันในการทํางาน คือใหคิดอยูเสมอวา เวลาทํางานไปแลว องคก รจะไดอ ะไร ดงั น้นั การทาํ งานจึงตองมีการพฒั นาใหด ียงิ่ ๆ ขึน้ ไป 6.มนุษยสัมพนั ธ ถา คุณเปนคนหนึง่ ท่เี พ่อื น ๆ ทที่ าํ งานไมชอบ ไมอยากคุยดวย หรือ เขา กับเพื่อนในท่ีทํางานไมไดเลย คงตองถึงเวลาพิจารณาและปรับปรุง ทักษะดาน สัมพันธกันเรงดวนแลวละคะ อยามัวแตหลอกตัวเองวา เราดีแลว เปนไปไมได หรอกเพราะถาเราดีจริงแลวเราจะไมมีเพื่อนเอาเลยหรือคะ มนุษยสัมพันธเปน เรอื่ งท่สี ําคัญมาก คณุ ไมม ีทางประสบความสาํ เร็จได ถา มนุษยส ัมพันธคุณแยมาก ๆ ตอใหคณุ เกง แคไหนก็ตาม มนษุ ยเ ปน สัตวสงั คมและแนนอนคุณเลย่ี งไมพน ท่จี ะตอ งตดิ ตอกบั คนอ่ืน 7. ทีม ทํางานเปนทีมไดห รอื เปลา เคยสงั เกตตวั เองไหมคะวา คณุ ทํางานเปนทีมไดด แี คไหน หรอื วาตอง ทํางานคนเดียวถึงจะดี? ในอนาคตการทํางานจะ เนนบุคคลที่ทํางานเปนทีมไดดีมากกวาคนที่ชอบทํางานคน เดียว คณุ ทราบหรอื ไมว า ตอ ไปโลกเราก็จะแคบลงเพราะการพัฒนา ในดานตาง ๆ มีมากขึ้น การทํางานก็ตองเปนทีมมากยิ่งขึ้น เพราะฉะนั้นผูมีทักษะในการทํางานเปนทีม และ เปนผูรวมทีมท่ีดี จะเปนขอจําเปนในการทํางานทกุ ที่ 8. ขอตกลงในการทาํ งานระหวางคุณกนั คนอ่ืน ๆ นึกไวเสมอเลยวา อะไรที่คุณรับปากกับใครก็แลวแต คุณตองรับ ผิดชอบและทําใหไดตามท่ีรับปาก ถา ไมไดหรือวาลาชากวา ทเี่ รารบั ปาก คณุ ตองแจงลวงหนาใหแกบคุ คลทีค่ ุณรับปากอยางนอยสองหรือสามวัน อัน นเี้ ปน มารยาทในการทาํ งานทีด่ ี เพราะฉะน้นั กอนที่คณุ จะรบั ปากใครในเร่ืองของการทาํ งาน คิดใหรอบคอบกอ น 9. เปาหมาย เปาหมาย และ เปาหมาย เปนส่ิงสําคัญ สําหรับการทํางาน ถาคุณทํางานแบบมีเปาหมายวา งานแตละ อยางท่ีอยูในความรับผิดชอบของคุณมีแผนการเสร็จเม่ือไหร คุณมีเปาหมายในการทํางานอยางไรใหประสบ ความสําเร็จ หรือ ที่ต้ังเปา ถึงคุณจะทําไมไดจริง แตคุณตองพยายามเต็มท่ีแลวนะ รับรองไดวา หัวหนาคุณคง มองคุณแบบไมธรรมดา และจะเปนโอกาสที่ดีของคุณในการทําตัวใหนาเช่ือถือ แตระวังอยาใชเปาหมายมาพูด และทาํ ไมเ คยไดเ ลย เพราะจะกลายเปนการคยุ อวดมากกวา

10. สรา งสรรค 20 หวั ใจของความสําเรจ็ ทางการทาํ งาน คอื ความคดิ สรางสรรค อยาพยายามเปนคน ใครวาอะไร ฉันก็เห็น ดวยไปเสียทุกอยาง คุณไมจําเปนตองเถียง หรือ โตแยง ถาคุณยังไมมีขอมูล หรือ ยังไมกลาพูด แต คุณตอง พยายามฝกสมองของคุณใหคิดในแบบของคุณอยูเสมอ ทุกการทํางานของคุณ คุณตองพยายามคิดวา คุณจะทํา อะไรเพิ่มเติมใหงานท่ีทําอยูปจจุบัน ดีข้ึน สะดวกข้ึนกวาเดิมไดไหม หลักของการเปนคนมีความคิดสรางสรรค งา ยๆ กค็ ือ กลาคิด คดิ ใหบ อย คดิ ใหมาก และคุณก็จะเปน คนคิดสรางสรรค

21 สว นที่ 4 บทสรุปวิธกี ารปฏิบัติทเ่ี ปนเลิศ จากการดําเนินงานการสงเสริมการจัดกระบวนการเรียนรูแบบการสงเสริมกิจกรรมพัฒนาอาชีพใหกับ ประชาชนในตําบลนํ้านอย จึงไดมีการจัดสงเสริมกลุมการจักสานผลิตภัณฑจากเชือกใยปอข้ึน จึงไดรับการ ยอมรับจากกลุมและประชาชนในตําบลน้ํานอย รวมถึงหนวยงานท้ังทางภาครัฐและเอกชน และกลุมเครือขายท่ี สนใจในการจัดดอกไมสดในงานพิธีจากตําบลตาง ๆ ท่ีขอเขามาศึกษาดูงานจากกลุมการจักสานผลิตภัณฑจาก เชือกใยปอตาํ บลนํ้านอย จึงเปนผลทําใหเกิดกระบวนการเรียนรูจากข้ันตอนตาง ๆ ในการดําเนินงานของ“กลุม การจักสานผลติ ภณั ฑจ ากเชือกใยปอตาํ บลนาํ้ นอ ย”โดยเนน กระบวนการ P–D–C–A P : Plan = วางแผน D : Do = ปฏบิ ัตติ ามแผน C : Check = ตรวจสอบ / ประเมินผลและนาํ ผลประเมินมาวิเคราะห A : Action = ปรบั ปรุงแกไขดําเนนิ การใหเหมาะสมตามผลการประเมนิ การนํากระบวนการ PDCA ไปประยกุ ตใชในการทําแผนเพื่อใหส อดคลองกับเปาหมายในการประกัน คุณภาพของคณะ Plan (วางแผน) หมายถงึ การวางแผนการดาํ เนินงานอยา งรอบคอบ ครอบคลุมถงึ การกําหนดหัวขอที่ตองการปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลง ซงึ่ รวมถงึ การพัฒนาส่งิ ใหมๆ การแกปญ หาที่เกิดขน้ึ จากการปฏิบัตงิ าน อาจประกอบดว ย การ กาํ หนดเปา หมาย หรือวัตถปุ ระสงคของการดําเนินงาน Plan การจัดอันดับความสาํ คัญของ เปา หมาย กําหนดการดําเนินงาน กาํ หนดระยะเวลาการดาํ เนินงาน กําหนดผรู ับผดิ ชอบหรอื ผดู ําเนินการและกําหนด งบประมาณท่ีจะใช การเขียนแผนดงั กลาวอาจปรับเปลยี่ นไดต ามความเหมาะสมของลักษณะ การดาํ เนนิ งาน การวางแผนยงั ชวยใหเ ราสามารถคาดการณสิ่งที่เกิดข้ึนในอนาคต และชว ยลดความสูญเสียตางๆท่ีอาจเกิดขึ้นได ฉะน้ัน P เราจะตองมแี ผน โดยมีการรวมกนั ประชุมจัดทําแผน สํารวจความตอ งการของชุมชน Do (ปฏิบตั ติ ามแผน) หมายถงึ การดําเนนิ การตามแผน อาจประกอบดว ย การมโี ครงการรองรับ การดําเนินการ มกี ลุมหรือ คณะทาํ งาน ซึง่ คณะเราก็มกี ารจัดต้งั กลมุ เพือ่ ดําเนินงานตามแผนที่ไดวางไว หรอื ตามแบบเสนอขอจัดตงั้ กลุม หลักสูตรพัฒนาอาชีพ ของทาง กศน.ทไี่ ดเสนอจดั ไปและจะตอ งมวี ธิ ีการ ดําเนินการ 1. มกี ารกาํ หนดขนั้ ตอนหรือวิธีการดําเนนิ การหรือไม 2. มีผูรับผดิ ชอบดาํ เนินการไดตามกําหนดไวห รอื ไม 3. มีการประสานงานกับผูท เี่ กี่ยวของมากนอยเพียงไร 4. สามารถดาํ เนินการตามระยะเวลาทก่ี ําหนดไดห รอื ไม 5. สามารถดาํ เนนิ การไดต ามงบประมาณท่ีกําหนดไวหรือไม Check (ตรวจสอบการปฏบิ ัติตามแผน) หมายถงึ การประเมินแผน อาจประกอบดวย การประเมนิ โครงสรา งท่ีรองรบั การดาํ เนนิ การ การ ประเมินขน้ั ตอนการดาํ เนนิ งาน และการประเมินผลของ การดําเนินงานตามแผนทไ่ี ดต้ังไว โดยในการประเมิน ดังกลา วสามารถ ทําไดเอง โดยคณะกรรมการทีร่ บั ผิดชอบแผนการดําเนนิ งานน้นั ๆ ซงึ่ เปนลักษณะของการ ประเมนิ ตนเอง โดยไมจําเปน ตอ งต้งั คณะกรรมการ อีกชดุ มาประเมินแผน หรือไมจ ําเปน ตองคิดเคร่ืองมือหรอื แบบประเมนิ ทีย่ งุ ยากซบั ซอ นไดม ีการกําหนดวธิ /ี รปู แบบการประเมนิ หรือไม 1. มีรูปแบบของการประเมินเหมาะสมหรอื ไม 2. ผลของการประเมินตรงกบั วตั ถุประสงคทว่ี างไวห รอื ไม

3. ปญหา/จดุ ออนที่พบในการดําเนนิ การมีหรอื ไม 22 4. ขอ ดี/จดุ แขง็ ของการดําเนนิ การมีหรือไม Act (ปรบั ปรุงแกไข)

การสง เสรมิ สนบั สนุน“กลุมการจักสานผลติ ภณั ฑจ ากเชือกใยปอ 23 “มงุ สคู วามเปนเลศิ ” บทสรปุ  การสงเสริมสนบั สนนุ “กลมุ การจกั สานผลติ ภัณฑจากเชือกใยปอ ”มงุ สูความเปน เลิศ” Best Practice เปน วธิ กี ารปฏบิ ัตงิ านท่ดี ี ไมวาจะนําไป ปฏิบัติท่ีไหน อยางไร ซ่ึงผลงานที่ปฏิบัตินั้นได นําไปสูผลสําเร็จ หนวยงานจําเปนตองมีการ แลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงานท่ีดีกับหนวยงานยอย และมีการ แลกเปล่ียนระหวางหนวยงานตาง ๆ ท้ังภายในและภายนอก ผลสุดทาย คือ การนํา Best Practice นั้นไปใช จนเปน มาตรฐาน  สรุป Best Practice เปนวิธีการทํางานที่ดีท่ีสุดในแตละเร่ือง ซ่ึงสามารถเกิดขึ้นไดในทุก หนวยงานจากหลายชองทาง ทั้งตัวผูนําและผูรวมงาน ผูมีสวนไดสวนเสีย หรือ ภาวะปญหา และการ ริเร่ิมสรางสรรคพัฒนาที่มีข้ันตอน เมื่อมีวิธีการทํางานท่ีดีต องทําผานการเลา เรื่องทเี่ ปน การทาํ งานของตนเองมาแลกเปล่ยี นเรียนรู ในลักษณะ ของการแลกเปล่ียนขามสายงาน ขามหนวยงานโดย เกิดขึ้นในระดับบุคคล ระดับกลุมคน และระดับหนวยงานยอย Best Practice ท่ีไดควรมีการบันทึก เขยี นรายงานเพอ่ื การศกึ ษาพฒั นาและเผยแพรไดซ งึ่ จะเกดิ ประโยชนอยางยิ่ง การสงเสริม สนับสนุน ใหกับกลุม โดยทาง กศน.ตําบลนํ้านอยได ดําเนินการตอยอดความรูใหแกกลุมเรื่อย ๆ จนทางกลุมพัฒนาฝมือใหดีย่ิงขึ้น เมื่อ ผานประสบการณตาง ๆ ทางดานการรับงานจนเปนที่ยอมรับของคนในชุมชน และกลุมหนวยงานตาง ๆ ทาง กศน.ตําบลนํ้านอย ไดสนับสนุน สงเสริมดานการตลาด โดยการฝกอบรมใหความรูดานดิจิทัลชุมชน โดยการฝก ทําเวปเพจของกลุม และไดมีการสอนประชาสัมพันธสินคา ผาน Facebook และ ไลน จึงทําใหเปนที่รูจักของ ลูกคา

ขาพเจา ขอรบั รองวารายงานดังกลาวเปนความจริงทุกประการ 24 ลงชือ่ .............................................. (นางสาวสมใจ เสระหมาน) ครู กศน.ตําบล

ภาคผนวก

25 การพัฒนาการจักสานผลติ ภณั ฑจากเชือกใยปอ การจักสานตะกรา

26 สมาชิกเปนวทิ ยากรสอน การจกั สานผลิตภัณฑจากเชอื กใยปอ กศน.เมือง จังหวัดสงขลา กศน.อาํ เภอนาหมอม จังหวัดสงขลา

การรวมออกรานกบั หนวยงานตา งๆ 27 อบต. ตาํ บลทา ขา ม งานวันรกั การอาน กศน.อาํ เภอหาดใหญ

28 การตดิ ตามอาชพี การจกั สานผลติ ภณั ฑจ ากเชอื กใยปอ ตําบลนํ้านอย 29

การพัฒนารูปแบบและลายท่มี ีความหลากหลาย 30

การพัฒนาตอยอดอาชพี การจกั สานจากเชือกใยปอ ปงบประมาณ 2564 วนั ที่ 8-14 เดือนกุมภาพนั ธ พ.ศ. 2564 31

การพฒั นาตอยอดอาชพี การจกั สานจากเชอื กใยปอ ปงบประมาณ 2564 วันท่ี 8-14 เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2564

รูปแบบการจักสานกระเปา จากเชอื กใยปอ 32 สรา งอาชพี และรายไดใ หกบั สมาชกิ ( มยี อดขายจาํ นวนมาก)

พัฒนารปู แบบท่มี ีความหลากหลาย 33

34 ชอ งทางการจัดจําหนา ย

ชอ งทางการจัดจําหนา ย 35


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook