Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสถานการณ์โควิด

รายงานสถานการณ์โควิด

Description: รายงานสถานการณ์โควิด

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาเนินการ การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา(COVID-19) กลุม่ นิเทศติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3

คำนำ ภายใต้สถานการณ์การระบาดไวรัส Covid-19 ทาให้ท่ัวโลกใช้มาตรการเพิ่มระยะห่างทาง สงั คม (Social Distancing) ซึ่งในประเทศไทยได้ใชม้ าตรการปดิ สถานท่ีรวมตัวทางสงั คม ซ่งึ รวมถึงโรงเรียนทุก แห่งในประเทศไทย เน่ืองจากสถานการณ์ระบาดยังคงอยู่ ทาให้ระบบการศึกษาต้องปรับให้การเรียนรู้ของ นักเรียนไม่ขาดช่วง การเรียนการสอนออนไลน์จึงได้ถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นทางเลือกหน่ึง ซึ่งดูเหมาะสมกับ สถานการณ์ปัจจุบันที่ทุกคนช่วยกันจากัดพ้ืนที่อยู่ในที่พักอาศัย และด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกับ เทคโนโลยีทางการศึกษาในปัจจุบนั กระทรวงศกึ ศึกษาธกิ ารมอบนโยบายใหส้ านกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ดาเนินการ หาแนวทางการจดั การเรยี นการสอนทางไกล และให้สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาทุกเขตดาเนินการจัดต้ังศูนย์ เฉพาะกิจการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ขึ้น เพื่อดาเนินการจัดการเรียนการสอนทางไกล โดยออกแบบการเรียนการสอนส่วนกลาง สนบั สนนุ 80% และโรงเรียนออกแบบ 20% แบ่งเปน็ 4 ระยะ คอื ระยะท่1ี การเตรียมความพร้อม ระยะท่ี 2 การทดลองการเรียนการสอนทางไกล ระยะที่ 3 การจัดการเรียนการสอน และระยะที่ 4 การทดสอบและ การศึกษาต่อ จากนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ในการจัดการเรียนการสอนทางไกล สานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ดาเนินการในระยะท่ี 1 เรียบร้อยแล้วจึงสรุปผลแนวทางการ ดาเนินการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา( COVID-19) ระยะที่ 1 เพือ่ เปน็ แนวทางสรา้ งความเขา้ ใจและความรู้ในการดาเนินการจัดการเรียนการสอนทางไกลสาหรับ ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ครู และผปู้ กครองนกั เรียน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 หวังเป็นอย่างย่ิงว่า รายงานผลการ ดาเนนิ งานการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา(COVID-19) ระยะ ที่ 1 การเตรียมความพร้อม จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษาของ โรงเรียนในสังกัดในการใช้ประกอบการวางแผนการดาเนินงานการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การ แพรร่ ะบาดโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา(COVID-19) ในระยะต่อไปให้มีประสทิ ธิภาพมากขน้ึ ศูนยเ์ ฉพาะกจิ การจดั การศึกษาทางไกลในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา(COVID-19) กลมุ่ นเิ ทศติดตามแลประเมินผลการจัการศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3

สารบญั หน้า เรื่อง 1 1 คานา 2 สารบญั 2 3 ความเปน็ มา 6 วัตถปุ ระสงค์ 6 แนวทางการดาเนินงานการจัดการเรียนการสอนทางไกล ระยะท่ี 1 8 ระยะท่ี 2 9 ระยะที่ 3 10 ระยะที่ 4 12 ภาคผนวก 13 ข้อมลู พื้นฐาน 25 สรุปประเดน็ ท่ี 1 28 สรปุ ประเด็นที่ 2 30 สรปุ ประเด็นท่ี 3 เอกสารประชาสมั พนั ธ์ คาส่งั แตง่ ต้งั คณะทางานศนู ยเ์ ฉพาะกิจ ประกาศจัดตัง้ ศูนยเ์ ฉพาะกิจ สรุปข้อมูล ประชาสมั พนั ธ์

ศูนย์เฉพาะกจิ การจดั การศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา(COVID-19) สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3 ความเปน็ มา กระทรวงศึกศึกษาธิการมอบนโยบายให้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืน ดาเนินการหาแนว ทางการจัดการเรียนการสอนทางไกล และให้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาทุกเขตดาเนินการจัดตั้งศูนย์เฉพาะ กิจการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID- 19)ข้ึน เพือ่ ดาเนนิ การจดั การเรยี นการสอนทางไกล โดยออกแบบการเรียนการสอนสว่นกลางสนับสนุน 80% และ โรงเรยี นออกแบบ 20% แบง่ เปน็ 4 ระยะ คือ ระยะท่ี1 การเตรียมความพร้อม ระยะที่ 2 การทดลองการเรียนการ สอนทางไกล ระยะท่ี 3 การจดั การเรียนการสอน และระยะที่ 4 การทดสอบและการศึกษาตอ่ เพื่อให้การ ปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนทางไกลของโรงเรียนในสังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลของ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐานและสอดคลอ้ งกับแนวปฏิบัตติ ามมาตรการของรัฐบาล วตั ถุประสงค์ 1.เพอ่ื เป็นแนวทางสร้างความรู้ความเข้าใจในการดาเนินการจัดการเรียนการสอนทางไกลสาหรับผู้บริหาร สถานศึกษา ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา สังกดั สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3 2.เพ่ือเป็นแนวทางในการนิเทศ ติดตาม ให้คาปรึกษา เสนอแนะ ประเมินผล และดาเนินการช่วยเหลือ แก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 3. เพื่อเพ่ิมโอกาส การพัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรียนการสอนทางไกลของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขต พ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 3 1

การดาเนินงานตามแนวทางการจัดการเรยี นการสอน การดาเนินงานการจดั การเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโร นา 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นในสังกดั สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3 ระยะท่ี 1 การเตรยี มความพร้อม (7 เมษายน-17 พฤษภาคม 2563 สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 จัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจการจัดการเรียนการ สอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา(COVID-19) แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร จัดการศูนย์เฉพาะกิจฯประกอบด้วย ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 รอง ผอู้ านวยการสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมสุราษฎร์ธานี เขต 3 คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. คณะทางานศูนย์ เฉพาะกิจฯระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประกอบด้วย รองผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ผู้อานวยการ กลุม่ /หนว่ ย สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมสรุ าษฎร์ธานี เขต 3 ประธานอาเภอเครอื ขา่ ยการศึกษา 6 อาเภอ ศกึ ษานิเทศก์ ดาเนินดงั น้ี 1.คณะกรรมการศนู ยเ์ ฉพาะกจิ การจัดการเรยี นการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ร่วมประชุมรับ นโยบายผ่านระบบการประชมุ ทางไกล(Conference)ร่วมกับสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือรับ ฟงั นโยบายในการดาเนินการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) 2.สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 3 สารวจความตอ้ งการอุปกรณ์เพ่ือ ใช้ในการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา( COVID-19)ของ สถานศึกษาในสังกัด 3.สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 แจ้งครูผู้สอนในระดับ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี1-3 โรงเรียนในสังกัด เข้าร่วมอบรมพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้ เครอ่ื งมอื Tool Microsoft Team และ G Sutie for Education หรอื DEEP 4.สารวจความพร้อมการเขา้ ถึงการรับชมของนกั เรียนและผ้ปู กครองดา้ นอุปกรณ์และคลื่นสัญญาณ และจดั กลุ่มความพร้อมของการเข้าถึงเป็น 4 กล่มุ ได้แก่ 2

กลมุ่ ท่ี 1 พรอ้ มท้ัง 3 ด้าน กลุ่มที่ 2 พรอ้ ม 2 ดา้ น กลุ่มที่ 3 พรอ้ ม 1 ดา้ น กลุ่มที่ 4 ไม่พรอ้ ม 5.คณะกรรมการศนู ย์เฉพาะกิจการจดั การเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ประกอบด้วย ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สุราษฎร์ธานี เขต 3 คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. ผู้อานวยการกลุ่ม/หน่วย สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมสรุ าษฎร์ธานี เขต 3 ศึกษานเิ ทศก์ รว่ มประชมุ วางแผนการดาเนนิ การนเิ ทศ ติดตามการเตรียมความพร้อม ก่อนเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 และการทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โครา 2019 แตง่ ตงั้ คณะกรรมการนิเทศตดิ ตามฯ กาหนดปฏทิ ินการนเิ ทศ เคร่ืองมือเก็บ ข้อมลู การนเิ ทศตดิ ตาม นิเทศติดตามระหวา่ งวันท่ี 18-29 พฤษภาคม 2563 ทงั้ 152 โรง ระยะที่ 2 การทดลองการจัดการเรยี นการสอนทางไกล (18 พฤษภาคม-30 มิถุนายน 2563) 1.โรงเรยี นทุกโรงเรยี น ทกุ ระดบั ชั้นทดลองการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ตงั้ แต่วนั ที่ 18 พฤษภาคม -30 มถิ ุนายน 2563 ดังนี้ 1.1 ระดบั ชนั้ อนบุ าล จดั ประสบการณเ์ รียนรทู้ างไกลผา่ นระบบ DLTV เน้นกิจกรรมเตรียมความ พร้อม 1.2 ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา-มัธยมศึกษาตอนต้น(ป.1-ม.3) จัดการเรียนการสอนทางไกลผ่าน ระบบ DLTV เปน็ หลกั และเรียนเพ่ิมเติมตามท่ีโรงเรียนกาหนด 2.โรงเรยี นดาเนินการทดลองจัดการเรยี นการสอนทางไกลตามแนวทางปฏิบัตขิ องสพฐ.และของสานักงาน เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา โดยยดึ หลัก Learn from home เปลี่ยนบ้านเป็นหอ้ งเรยี น เปลีย่ นผ้ปู กครองเป็นผู้ชว่ ยครู ผู้บริหารสถานศกึ ษาและครู มบี ทบาท ดงั นี้ 2.1 บทบาทของผ้บู ริหารสถานศึกษา 1) กากบั ติดตาม ช่วยเหลือ และแกป้ ัญหาในการจดั การเรยี นการสอน 1.1) ตรวจสอบเวลาการปฏิบตั ิงานของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ตรวจสอบการเตรียม ความพรอ้ มของ ครู กอ่ นจัดการเรียนการสอนทกุ วนั โดยผา่ นชอ่ งทางการส่ือสารทโ่ี รงเรยี นกาหนด 3

1.2) สรา้ งขวัญกาลังใจ ควบคมุ กากบั และช่วยเหลือในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน ผูป้ กครองนักเรียน อย่างต่อเน่ือง 1.3) ตดิ ตอ่ สื่อสาร กบั ผปู้ กครองและนกั เรียนเพอ่ื ชว่ ยเหลือ แก้ปญั หาอยา่ งต่อเนื่อง 1.4) ประชมุ ผู้ปกครองเพ่ือสะท้อนปัญหาและผลการจดั การเรียนการสอน 2) วดั และประเมนิ ผลการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน 2.1) สรุปผลการจดั การเรียนการสอนเพอ่ื เป็นข้อมูลในการพฒั นาปรับปรงุ และแกไ้ ข 2.2) รายงานผลการจีชัดการเรียนการสอนในแตล่ ะสปั ดาห์ ตอ่ สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 2.2 บทบาทของครูผู้สอน 1) จัดการเรียนการสอนทางไกลในกล่มุ สาระการเรยี นรู้ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย อย่างมีข้ันตอน ดงั นี้ 1.1) ข้ันเตรยี มความพรอ้ ม 1.1.1)ศกึ ษาแผนการจดั การเรยี นรู้ ใบความรู้ใบงานสาหรบั นกั เรยี น สือ่ การสอนของ สพฐ.ล่วงหนา้ จากเว็บไซด์ www.dltv.ac.th 1.1.2) จัดเตรียม สอื่ ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกที่คดั เลือกแล้วจดั ชุดรายสัปดาห์ ตาม ความเหมาะสม เตรยี มจดั ทาแบบวัดประเมินผล ส่งมอบให้ผูป้ กครองตามช่องทางทก่ี าหนดรว่ มกัน 1.2) ขั้นการจัดการเรยี นการสอนทางไกล 1.2.1) ตรวจความพร้อมการเขา้ เรยี นของนกั เรยี นรายบคุ คล ผ่านการส่อื สารกับ ผ้ปู กครองก่อนเรม่ิ การรบั ชมการเรียนรทู้ างไกลแล้วบันทึกการเขา้ เรยี นของนกั เรียนตามทโี่ รงเรยี นกาหนด 1.2.2) ครผู ้สู อนและนักเรียนรับชมการถ่ายทอดสดการจดั การเรยี นการสอนพรอ้ มกนั ตามชอ่ งทางท่ีเหมาะสมและความพรอ้ มทีม่ ซี ่งึ สามารถรบั ชมได้ 4 ชอ่ งทาง คือ 1) ระบบจานดาวเทยี ม 2) ระบบดจี ิทัลทวี ี 3) ระบบเคเบิ้ลทวี ี 4)ระบบเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต จากIPV (วบ็ ไซด์ www.dltv.ac.th) และผา่ น แอปพลิเคชั่น DLTV โดยดาวน์โหลด App DLTV ลงบนโทรศัพทม์ อื ถอื 1.2.3) หลงั การเรยี นแตล่ ะวิชาจบลง ครูส่มุ ติดตาม สื่อสารกับนกั เรยี น/ผปู้ กครองเพือ่ ตรวจสอบความสนใจความรคู้ วามเข้าใจ ชว่ ยแก้ปัญหาหรือตอบข้อสกั ถาม และรบั ฟงั ความคิดเห็นของนกั เรยี น และผู้ปกครอง พบปัญหาเรื่องเนอื้ หาไม่เขา้ ใจครอู าจเพิ่มเตมิ ในช่องทางทตี่ ิดตอ่ สือ่ สารกัน 4

1.3) ข้ันการวัดและประเมนิ ผลการจดั การเรียนการสอนทางไกล 1.3.1) ครูวดั และประเมินผลการเรยี นตามรปู แบบแนวทางและชว่ งเวลาที่กาหนด หาก ประเมินแลว้ พบว่า หนว่ ย/สาระใดยงั ไม่ผา่ นเกณฑท์ ่กี าหนด อาจทบทวนเพมิ่ เติม สอนใหม่ตามชอ่ งทางส่ือสารที่ นดั หมายกันไว้ หรอื มอบหมายงานเพิ่มเตมิ 1.3.2) ครูประมวลผลการประเมินผเู้ รียนและบนั ทกึ ผลการประเมินของนักเรียนแต่ละ คนตามแบบบนั ทกึ ทโี่ รงเรยี นกาหนด 2) ครูออกพบปะนักเรยี นผปู้ กครอง กาหนดวนั เวลา สถานที่และวธิ ีการพบปะ โดยมกี ารนาใบงาน แบบฝกึ หัดและสื่อการเรียนไปส่งให้นกั เรยี น และตรวจชนิ้ งาน 3) รานงานผลการปฏบิ ัตกิ ารจัดการเรยี นการสอนตอ่ ผู้บริหารสถานศึกษาได้รบั ทราบทางช่องทางท่ี นดั หมาย 2.3 บทบาทของผู้ปกครองนักเรยี น หนา้ ที่เป็นผชู้ ่วยครู 1) ขน้ั เตรยี มความพรอ้ ม 1.1) จดั เตรยี มสือ่ อปุ กรณ์ท่มี ีอย่เู พอื่ ใช้ในการจดั การเรียนการสอนทางไกลตามช่องทาง ทก่ี าหนดรว่ มกับโรงเรียน 1.2) กรณีผูป้ กครองไม่พร้อมเรอ่ื งอปุ กรณท์ ่จี ะใชอ้ อกแบบการเรียนรรู้ ว่ มกบั ครผู สู้ อน โดยใช้ส่ือต่างๆทีค่ รกู าหนด 1.3) เข้าร่วมกลมุ่ สือ่ สารตามทกี่ าหนดร่วมกนั กบั โรงเรียน เชน่ กลมุ่ ไลน์ Facebook หรอื การประชุมเป็นครั้งคราว 1.4) รบั -สง่ เอกสารสอ่ื การเรียนรู้ ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัด และอ่ืนๆทใ่ี ชป้ ฏิบตั ิ กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน 2) ข้ันการจดั การเรียนการสอนทางไกล 2.1) รายงานการเข้าเรียนของนักเรยี นให้ครทู ราบตามช่องทางที่กาหนด 2.2) ดแู ลการจดั การเรียนการสอนทางไกลรว่ มกบั นกั เรียน ถ้าพบปญั หาขอ้ สงสยั ขอ คาแนะนาจากครูผ่านช่องทางท่ีนัดหมาย 3.) ขนั้ การวดั และประเมินผลการจดั การเรยี นการสอนทางไกล 3.1) ผปู้ กครองรวบรวมเอกสาร ใบงาน แบบฝกึ หัดทน่ี กั เรยี นทาเสรจ็ แลว้ เพอื่ ให้ครู ตรวจ 5

3.2) ผปู้ กครองสะท้อนพฤติกรรมการเรยี น ความร้คู วามเขา้ ใจของนักเรยี นให้ครูทราบ ในชว่ งเวลาเยย่ี มบา้ นตามทีก่ าหนด ระยะที่ 3 การจดั การเรียนการสอน (1 กรกฎาคม 2563 – 30 เมษายน 2564) 1.โรงเรยี นทกุ โรงเปดิ การเรยี นการสอนภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 พร้อมกันในวนั ที่ 1 กรกฎาคม 2563 และปิดภาคเรยี นท่ี 1 วนั ท่ี 30 พฤศจกิ ายน 2563 2. โรงเรียนทุกโรงเปิดการเรยี นการสอนภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 พร้อมกันในวันท่ี 1 ธันวาคม 2563 และปดิ ภาคเรยี นที่ 2 วันที่ 30 เมษายน 2564 3. กรณีสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา(COVID-19) ไม่คล่คี ลาย โรงเรียนดาเนนิ การ จดั การเรยี นการสอนทางไกล ตอ่ จากการทดลองการจดั การเรยี นการสอนทางไกลระยะท่ี 2 หรอื สอนเสริมเพ่มิ เตมิ ในส่วนทนี่ กั เรียนยงั ไม่บรรลุ ตามเปา้ หมายก่อน แล้วดาเนนิ ต่อจากระยะที่ 2 ตอ่ ไป 4. กรณีสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา(COVID-19)คล่คี ลาย โรงเรยี นดาเนินการ จดั การเรียนการสอนตามปกตใิ นโรงเรียนโดยใหเ้ ว้นระยะหา่ งทางสังคม(Social Distancing)และมีแผนเตรยี มการ เพอ่ื รองรับสถานการณฉ์ ุกเฉินต่างๆโดยจะต้องได้รบั อนมุ ตั ิจากคณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวดั และศูนย์บริหาร สถานการณ์โควิด 19 ระยะท่ี 4 การทดสอบและการศกึ ษาตอ่ (1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2564) 1. โรงเรียนเรียมรับการประเมนิ การทดสอบระดบั ชาติ NT และ O-NET ปกี ารศึกษา 2563 2. โรงเรียนดาเนินการทดสอบระดับชาติ NT และ O-NET ปกี ารศึกษา 2563 ตามวัน เวลาทห่ี น่วยงานท่ี เก่ียวข้องกาหนดตอ่ ไป 6

ภาคผนวก 7

ขอ้ มูลพ้นื ฐาน โรงเรียนในสงั กัด จานวน 152 โรงเรียน นักเรียนในสงั กัด จานวน 26,916 คน ระดบั ช้นั ท่ีเปิดสอน 5 โรง 4 โรง 32 โรง อนบุ าล-ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 111โรง อนบุ าล-มธั ยมศกึ ษาปีที่3 ประถมศกึ ษาปีท่ี1-6 ประถมศกึ ษาปีท่ี1-มธั ยมศกึ ษา ปีท่ี3 แบบสรุปผลความตอ้ งการ กลอ่ งรบั สัญญาณโทรทัศน์ดจิ ิทัลและโทรทัศน์ สาหรบั การจดั การศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 565 เครอ่ื ง กลอ่ งรับสญั ญาณโทรทศั น์ ดจิ ทิ ัล 5 เคร่ือง โทรทัศน์ 2,995 เคร่อื ง กลอ่ งรบั สญั ญาณโทรทัศน์ ดจิ ทิ ลั และโทรทศั น์ 8

ประเด็นท่ี 1 การเรียนการสอนทางไกลผา่ นช่องทางตา่ งๆ 13.91 % 9.47% เรียนผา่ นทีวีดีจทิ ลั 33.60 % เรียนผา่ น KU-Band 17.80 % เรยี นผา่ น C-Band 23.18 % เรยี นผา่ นเคเบลิ้ ทีวี เรยี นผา่ นIPTV เรยี นผา่ นอนิ เทอรเ์ นต ไมส่ ามารถเรยี นทางไกลได้ 1.28 % 0.76 % 9

ประเดน็ ที่ 2 รูปแบบทโ่ี รงเรยี นดาเนนิ การจัดการเรยี นการสอน 12 โรง 152 โรง เรยี นผา่ นชอ่ งทางหลกั ON- 152 โรง AIR เรียนผา่ นอนิ เทอรเ์ นต แอปพลเิ คช่นั ON-LINE เรยี นในพนื้ ที่ปลอดภยั ON- SITE ความพรอ้ มด้านสถานที่ขณะเรยี นทบี่ า้ น 7,801 คน นกั เรยี นมีความพรอ้ ม 19,115 คน นกั เรียนไมม่ ีความพรอ้ ม 10

การเยี่ยมบ้าน รับ-ส่ง เอกสาร ใบงาน 11 โรง 1 โรง 140 โรง รบั -สง่ เอกสาร สปั ดาห1์ ครงั้ รบั -สง่ เอกสาร สปั ดาห2์ ครงั้ รบั -สง่ เอกสาร สปั ดาห3์ ครงั้ ช่องทางการตดิ ต่อส่อื สารระหวา่ งครู ผู้ปกครอง 2,169 คน 5,435 คน 3,662 คน โทรศพั ท์ 15,650 คน LINE FACEBOOK พบปะโดยตรง 11

ประเดน็ ท่ี 3 ปัญหาและข้อเสนอแนะของโรงเรยี น ปัญหา -ดา้ นอุปกรณ์ นักเรียนไมม่ คี วามพร้อมดา้ นอุปกรณส์ าหรบั การเรียนรู้ ความพร้อมดา้ นสัญญาณ อินเทอรเ์ น็ต -ดา้ นการเดินทางในการพบปะเย่ยี มบา้ นนกั เรียน ไมส่ ามารถติดตอ่ สื่อสารกบั ผปู้ กครองไดท้ ุกคน -ด้านผปู้ กครอง ไมม่ เี วลาในการดแู ลควบคมุ นกั เรยี น ผู้ปกครองขาดความรู้ในเนอื้ หาท่ีเรยี นไม่สามารถ อธบิ ายเพ่ิมเตมิ ได้ ไมม่ ีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี -ดา้ นผู้เรียน นกั เรียนขาดสมาธิในการจดจอ่ เรยี นจนจบแต่ละรายช่ัวโมง ปัญหาและขอ้ เสนอแนะของสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ปัญหา -การประสานงานระหว่างสถานศึกษากบั เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา กรณีเร่งด่วนทาใหไ้ ดข้ อ้ มูลสานสนเทศไม่ สมบรู ณ์ ขอ้ เสนอแนะ -หนังสือส่ังการจากสพฐ.กรณีให้เขตพ้ืนที่การศึกษาประสานงานกับสถานศึกษา หรือใหเ้ ขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา ดาเนินการ ควรคดิ เชิงระบบกอ่ นสง่ั การและพิจารณาระยะเวลาในการดาเนินการให้เหมาะสมเพือ่ ใหไ้ ด้ขอ้ มลู สารสนเทศที่สมบรู ณ์ 12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29



30

กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook