Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 144247_PLCการใช้สื่อการเรียนการสอนบูรณาการสะเต็มศึกษา

144247_PLCการใช้สื่อการเรียนการสอนบูรณาการสะเต็มศึกษา

Published by gp10122504, 2019-08-12 23:06:58

Description: 144247_PLCการใช้สื่อการเรียนการสอนบูรณาการสะเต็มศึกษา

Search

Read the Text Version

บันทกึ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2561 \\ นางสาวพริ าภรณ์ สุภาโสต ครูโรงเรียนประตชู ัย สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพระนครศรอี ยุธยา เขต 1

หนังสือรบั รองชวั่ โมงชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี Professional Learning Community : PLC โรงเรียนประตูชยั อาเภอพระนครศรีอยุธยา จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา ขอรบั รองวา่ นางสาวพริ าภรณ์ สุภาโสต ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชานาญการ ปฏบิ ัติการสอน กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ปฏิบตั ิงานชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี Professional Learning Community : PLC ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2561 ระยะเวลารวม 46 ชวั่ โมง โดยมีเอกสารหลักฐานการดาเนนิ งานดังนี้ - บนั ทึกชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวชิ าชพี - พฒั นาการเรียนรู้ดว้ ยส่ือการเรียนการสอนบูรณาการสะเต็มศึกษา - แผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาศาสตร์ท่ีบรู ณาการสะเตม็ ศึกษา - การใชส้ ือ่ การเรยี นการสอนบรู ณาการสะเต็มศกึ ษา - รายงานการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนบรู ณาการสะเตม็ ศึกษา - เอกสารแสดงการบรู ณาการสะเตม็ ศกึ ษาการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ PLC - เอกสารแสดงการเผยแพรข่ ้อมูลกิจกรรม PLC : การใชส้ ื่อการเรยี นการสอนบรู ณาการ สะเตม็ ศกึ ษา - เกียรตบิ ัตรการอบรมเกย่ี วกับสะเตม็ ศึกษา ลงช่ือ......................................................... ลงชอื่ ......................................................... (นางสาวพิราภรณ์ สุภาโสต) (นายผดงุ ศกั ดิ์ หงษ์ทอง) ตาแหน่ง ครูโรงเรยี นประตชู ยั ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนประตชู ยั

บันทกึ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community Logbook : PLC Logbook กิจกรรม PLC : การใชส้ ่ือการเรยี นการสอนบูรณาการสะเตม็ ศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ประชุม PLC ครงั้ ท่ี : 1 วนั เดอื น ปี : 6 กรกฎาคม 2561 ผู้อานวยความสะดวกในการประชุม : นางสาวพิราภรณ์ สุภาโสต เร่มิ ประชมุ เวลา 15.30 น. เสรจ็ ส้ินการประชมุ เวลา 18.30 น. สถานทปี่ ระชุม : หอ้ งปฏบิ ัติการทางวทิ ยาศาสตร์ (สายชั้นมธั ยม) กลุม่ PLC ประกอบด้วยสมาชิก ดงั น้ี 1. นางสาวพิราภรณ์ สุภาโสต หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ระดบั ประถมศึกษา 2. นางชนดิ า วงค์เพช็ ร หัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ระดับมัธยมศกึ ษา 3. นางอารยี ์ จุรินทร ครู 4. นางสาวจรยี า จริตพจน์ ครู 5. นางจันทรจ์ ริ า อิ่มสุวรรณ ครู 6. นางสาวศริ มิ นสั ขนั ทนิตย์ ครู 7. นางสาวเสาวภา หนหู ลา้ ครู 8. นางสาวปิยะมาศ จิตประสงค์ ครู 9. นางสาวศุภรตั น์ ผลทับทมิ ครู 10. นางสาวกนกวรรณ วงศ์เกษม ครู 11. นางสาวณฐั กาญจน์ ธารมตั ิ ครู 12. นางสาวศรณั ยา ตามสมัคร ครู 13. นางสาวประภาภรณ์ พลรักษ์ ครู 14. นางสาวเสาวลักษณ์ ยม้ิ ประเสริฐ ครู หวั ขอ้ การประชุม - การรวมกลุ่ม เพ่อื นากจิ กรรม PLC : การใช้สอื่ การเรียนการสอนบรู ณาการสะเตม็ ศึกษา ผลการประชมุ - กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ช้ีแจงขั้นตอนการทา PLC การรวมกลุ่ม ทั้งน้ีเพื่อระดมประสบการณ์ หาความต้องการของครูที่อยากแก้ปัญหาหรือแนวทางการพัฒนา โดยเลือกประเด็นเพียง 1 ประเด็น เพ่ือแก้ไข ปัญหาการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนทีด่ นู ่าสนใจแปลกใหม่ แตเ่ ป็นเรื่องงา่ ยๆ ท่ีครูสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ และ ตอบสนองต่อการจดั กิจกรรม/โครงการท่โี รงเรยี นเกีย่ วข้องอย่แู ล้ว

- ครูกลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์กาหนดหวั ขอ้ /เน้อื หาท่อี ยากแกป้ ญั หาด้วยกระบวนการ PLC แล้วมานาเสนอหวั ขอ้ ที่จะประชมุ ครัง้ ตอ่ ไป - จดั ตั้งกลมุ่ PLC สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ในการประชมุ ครั้งตอ่ ไปให้เลือกหัวขอ้ ท่ีจะดาเนนิ การ แกไ้ ข เนน้ นวัตกรรมการสอนและการเรยี นรู้ ข้นั ที่ 2 ขน้ั คน้ หาปญั หาความต้องการ วันท่ปี ระชมุ 12 กรกฎาคม 2561 เวลา 15.30 – 17.30 น เวลาที่ใช้ 3 ชว่ั โมง กิจกรรมท่ี 2.1 รว่ มกันเสนอปญั หาความต้องการ ปญั หาที่พบในกลุม่ PLC นาเสนอ ดังนี้ - นกั เรยี นขาดทกั ษะการคิดและการแกป้ ญั หา - นกั เรยี นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นค่อนขา้ งต่า - ครูผู้สอนไม่มสี ่อื หรือนวตั กรรม กระบวนการตดั สนิ ใจที่กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน - นักเรียนมพี ฤติกรรมไมเ่ หมาะสมในการเรยี น กิจกรรมที่ 2.2 จัดกลุ่มปัญหา กลุ่มที่ 1 ดา้ นตัวนกั เรยี นขาดความตั้งใจเรยี น กลุ่มท่ี 2 ดา้ นครูผู้สอน กลมุ่ ที่ 3 ดา้ นสอ่ื นวัตกรรม สาหรับการจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่กี ระต้นุ ความสนใจนกั เรียน กจิ กรรมท่ี 2.3 จดั ลาดบั ความจาเป็นเร่งด่วน ลาดบั ท่ี 1 ปญั หาครผู ู้สอนไม่มสี ่ือนวตั กรรม กระบวนการจัดการเรยี นรู้ท่ีกระตนุ้ ความสนใจของ ผู้เรียน ลาดบั ท่ี 2 ดา้ นครผู ู้สอน ลาดบั ท่ี 3 ด้านตวั นกั เรียนขาดความตง้ั ใจเรยี น กิจกรรมท่ี 2.4 เลอื กปัญหาเพียง 1 ปญั หาโดยพิจารณาร่วมกนั - ครูผูส้ อนไมม่ ีสื่อนวัตกรรม กระบวนการตัดสินใจทกี่ ระตุ้นความสนใจของผู้เรียน สาหรับการจัด กจิ กรรมการเรยี นร้ซู ง่ึ สอดคล้องกับบรู ณาการสะเตม็ ศกึ ษา - ขอ้ ตกลงร่วมกนั แก้ปญั หาในทมี PLC กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ - สร้างส่ือนวัตกรรมที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning สาหรับ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ซึง่ ตอบสนองตอ่ โครงการพัฒนาการเรยี นรู้ทีห่ ลากหลายด้วยการบูรณาการสะเต็มศึกษา และการบูรณาการกบั วิชาต่างๆ 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

กิจกรรมท่ี 2.5 วาง Time line แผนการดาเนนิ งานการทากจิ กรรมของกลุ่ม ท่ี รายการกิจกรรม วนั เดอื นปี จานวนชว่ั โมง 1 การประชุมเพ่ือสร้างทีม PLC 6 ก.ค. 61 3 - ทมี กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 2 ค้นหาปัญหาความต้องการ 12 ก.ค. 61 3 3 รว่ มกันหาแนวทางในการแกป้ ัญหา 17 ก.ค.. 61 2 4 ออกแบบกจิ กรรม/วิธกี าร/นวตั กรรม 19 ก.ค.. 61 3 - ครูผู้สอนสรา้ งสือ่ นวัตกรรมพร้อมท้ังกาหนดกระบวนการ 3 3 จดั การเรยี นรทู้ สี่ อดคลอ้ งกบั การจัดการเรียนการสอนแบบ Active 3 2 Learning เนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรโ์ ดยใช้สอ่ื 3 นวัตกรรมที่หลากหลายและสอดคลอ้ งกบั โครงการพฒั นา 2 2 การเรยี นรูท้ ่ีหลากหลายด้วยการบูรณาการสะเตม็ ศกึ ษา 2 มีการบูรณาการกจิ กรรมเข้ากบั 8 กล่มุ สาระ 2 2 5 การประชมุ และประเมินผลการปฏบิ ตั ิ PLC 24 ก.ค.. 61 2 6 นาสู่การปฏิบตั ิ  การใหค้ วามรู้เกย่ี วกบั สะเตม็ ศกึ ษา(ครง้ั ที่1) 2 ส.ค.. 61  การให้ความรเู้ กีย่ วกบั สะเตม็ ศึกษา(ครั้งท่ี2) 7 ส.ค.. 61  การใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั สะเตม็ ศึกษา(ครง้ั ท่ี3) 9 ส.ค.. 61  กิจกรรมวันวทิ ยาศาสตร์ : พฒั นาการเรียนรทู้ ่หี ลากหลายดว้ ย การบูรณาการสะเตม็ ศกึ ษา 16 ส.ค.. 61  จดั ทาแผนการจัดการเรยี นรวู้ ิชาวทิ ยาศาสตร์ที่บูรณาการ สะเต็มศึกษา(คร้ังท่ี1) 23 ส.ค.. 61  จัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้วิชาวทิ ยาศาสตรท์ ีบ่ รู ณาการ สะเต็มศึกษา(ครงั้ ที่2) 28 ส.ค.. 61  จดั ทาแผนการจดั การเรียนรูว้ ิชาวทิ ยาศาสตรท์ บ่ี รู ณาการ สะเต็มศกึ ษา(ครั้งท่ี3) 30 ส.ค.. 61  จัดทาแผนการจัดการเรียนร้วู ิชาวทิ ยาศาสตรท์ ่บี ูรณาการ สะเต็มศกึ ษา(ครง้ั ท่ี4) 4 ก.ย. 61  จัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรกู้ ารพฒั นาการเรียนรู้ที่ หลากหลายดว้ ยการบรู ณาการสะเตม็ ศึกษา 6 ก.ย. 61  จัดกิจกรรมกระบวนการเรยี นรกู้ ารพฒั นาการเรียนรู้ที่ 12 ก.ย. 61 หลากหลายดว้ ยการบูรณาการสะเตม็ ศกึ ษา

ท่ี รายการกจิ กรรม วันเดือนปี จานวนชวั่ โมง 3 7 ประชุมรายงานความก้าวหน้าของการปฏิบัติ PLC และปัญหาต่าง 28 ก.ย. 61 3 ทเ่ี กิดจากการการปฏิบัตกิ ิจกรรม PLC และช่วยกันระดมหาวิธกี าร 3 แก้ปญั หา 8 จัดทาภาพรวมการทากจิ กรรม PLC ของครูกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 2 ต.ค. 61 วทิ ยาศาสตร์ 9 แลกเปล่ยี นเสนอแนะ (การประชมุ และประเมนิ ผลปฏิบัติ PLC) 4 ต.ค. 61 - คณะครูสรปุ ผลการประเมนิ สะท้อนผล PLC ขัน้ ที่ 3 รว่ มกนั หาแนวทางในการแกป้ ญั หา วนั ทป่ี ระชมุ 6 มิ.ย. 2561 เวลา 15.30 – 17.30 น จานวนชัว่ โมงท่ใี ช้ 2 ชั่วโมง ขนั้ ตอนการจัด “กจิ กรรมสะเต็ม” การจดั “กิจกรรมสะเต็ม” เป็นกระบวนการฝึก การแกป้ ัญหาในชีวติ จริงของนักเรียน โดยใชพ้ ื้นความรู้ ทางวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยีท่ีมอี ยู่ และ วธิ ีการทางวศิ วกรรม จึงขอนาเสนอ 4 สว่ น ดงั น้ี ส่วนที่ 1 : ทักษะการแกป้ ัญหา 9 ขนั้ ส่วนท่ี 2 : กระบวนการทางวิศวกรรม สว่ นที่ 3 : กระบวนการกจิ กรรมสะเตม็ 6 ขั้น ส่วนท่ี 4 : แนวทางการดาเนินการของครู ส่วนที่ 1 : กระบวนการแกป้ ญั หา 1. ขน้ั ตระหนักในปัญหาและความจาเป็น 2. ข้นั คิด วิเคราะหอ์ ยา่ งรอบคอบความจาเป็น 3. ขน้ั สร้างทางเลอื กอยา่ งหลากหลาย 4. ขน้ั ประเมินและเลือกทางเลอื กยา่ งเหมาะสม 5. ขน้ั วางแผนกาหนดข้นั ตอนลาดบั ไดอ้ ยา่ งได้อย่างเหมาะสม 6. ข้ันปฏิบัติไดอ้ ย่างช่นื ชม 7. ข้ันประเมนิ ดว้ ยตนเองระหวา่ งปฏิบตั ิ 8. ขน้ั ตอนปรับปรุงให้ดขี น้ึ อยูเ่ สมอ 9. ขนั้ ประเมินผลเพอ่ื ความภมู ิใจ

ส่วนท่ี 2 : กระบวนการวิศวกรรม ข้นั ตอน คาอธบิ ายโดยยอ่ 1. วิเคราะหค์ วาม (การออกแบบต้องเติมเตม็ ความตอ้ งการของผใู้ ช้ ตอ้ งแยกแยะผ้ใู ช้ บุคคล กลมุ่ บคุ คล ต้องการ ลักษณะเฉพาะของบคุ คล กลมุ่ บคุ คล เชน่ เพศ วัย) 2. นิยามปัญหา กาหนดโจทย์ท่ีประกอบดว้ ย/เปา้ หมาย/วตั ถปุ ระสงค์และขอ้ จากัด -โดยตอบคาถามวา่ “ทาอย่างไรให้ใด้ตามความต้องการ” หรือ “อธบิ ายโดยย่อถงึ สงิ่ ที่ตอ้ งทา ให้ไดเ้ พอื่ ตอบสนองความตอ้ งการ” – ตัง้ วตั ถุประสงค์ ความคาดหวังที่ชว้ี ดั ได้ ระบขุ ้อกาหนดบางอย่างของผลผลิต - ขอ้ จากดั ระบุถึงขอ้ จากดั ทีม่ อี ยู่ ระบถุ งึ ขอ้ กาหนดทีช่ ้ินงานอนญุ าตให้มีได้ ระบขุ อ้ กาหนด หรอื มาตรฐานทต่ี อ้ งปฏิบตั ิตาม 3. การวางแผนงาน สร้างแผนงาน ระบุระยะเวลาดาเนินงานและเน้อื งาน ระบผุ ลผลิตท่ีต้องส่งมอบในแตล่ ะ ชว่ งเวลา งบประมาณที่ใช้ เครื่องมือชว่ ยสรา้ งแผนงาน แผนภูมแิ กนต์ CPM (Critical Path Method) 4. การเก็บขอ้ มูล เกบ็ ขอ้ มูล -แหล่งความรู้/ข้อมลู ทจี่ าเปน็ ตอ้ งใช้ -ลักษณะอยา่ งไร วารสาร หนงั สอื คู่มอื สารานกุ รม รายงาน -หาอย่างไร การสืบคน้ การอา่ น การเข้าฟงั การประชุม -หาที่ไหน ห้องสมดุ อนิ เทอรเ์ นต็ 5. สรา้ งแนวคิดท่เี ปน็ ไป หาคาตอบทีเ่ ป็นไปได้แรกเรม่ิ สร้างขอ้ เผอื่ เลือกการออกแบบกวา้ งๆไว้ (ต้องการความคดิ ได้ สร้างสรรค์อย่างมาก) 6. ประเมินแนวคดิ ประเมนิ วา่ ขอบเขตแนวคดิ น้นั ตอบสนองความตอ้ งการ ประเมนิ ลักษณะสมบัตเิ ชิงสมรรถนะ ของแตล่ ะแนวทางการออกแบบ ทาอย่างไร? สร้างโมเดลคณิตศาสตร์ สร้างต้นแบบ ในงานจรงิ อาจตอ้ งประมาณการค่าใชจ้ ่ายการผลิต ความน่าจะเป็นของระยะใช้งานกอ่ นชารุด 7. เลือกวธิ ีทเ่ี หมาะสม ตดั สนิ ใจเลอื กวิธีที่เหมาะสมท่ีสดุ จากขอ้ เลอื กทีม่ ีอยู่ ต้องกาหนดเกณฑ์การเลอื กตาม สภาพแวดลอ้ ม เนน้ ใหต้ อบสนองผูใ้ ช้ 8. ส่อื สารระหว่างการ จดั ทาข้อเสนอ งานเขียน นาเสนองานออกแบบ งานพูด ออกแบบ 9. ปฏิบัติใหเ้ หน็ ผลจรงิ แปลงงานออกแบบไปสชู่ ิ้นงานจรงิ สร้าง ทดสอบ สรา้ งแลว้ ต้องทดสอบให้เห็นจริงวา่ ทางานได้ เลอื กวธิ ที ดสอบมาตรฐาน สร้างวิธีทดสอบใหม่ ช้ีวธิ ีการหรือขอ้ มลู ทใ่ี ช้ทดสอบ ช้ีผลการ ทดสอบทแี่ สดงว่าชน้ิ งานทางานได้ตามกาหนด ชิ้นงานทางานไดโ้ ดยไม่มีปญั หาในสถานการณ์ ต่างๆ อาจทดสอบกรณี Worst case

ส่วนท่ี 3 : ข้นั ตอนจดั การเรียนรู้ “กิจกรรมสะเต็ม” ขน้ั ท่ี 1 – ระบุปญั หา ข้นั ท่ี 2 –รวบรวมขอ้ มูลและแนวคดิ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับปัญหา ข้นั ที่ 3 –ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ขนั้ ที่ 4 -วางแผนและด าเนนิ การแกป้ ัญหา ข้ันที่ 5 – ทดสอบ/ประเมินผล/และปรบั ปรุงแก้ไขวิธกี ารแก้ปัญหา หรอื ชิน้ งาน ข้ันที่ 6 -นาเสนอวิธีการแกป้ ัญหา ผลการแก้ปญั หาหรือ ช้ินงาน สว่ นที่ 4 : แนวการจัดกจิ กรรม ใหม้ ขี ั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 6 ขน้ั ตอน ตามแนวทางของคณะกรรมการพัฒนาหลกั สตู รสะ เต็มทีไ่ ด้รบั การแตง่ ตัง้ จากกระทรวงศึกษาธิการ ขั้นตอน แนวทางปฏบิ ัติ 1.1 การทาใหน้ ักเรียนมองเหน็ ปัญหา ขน้ั น้ีครูต้องจัดหาหรือยกสถานการณ์ เช่น การสนทนาโดยใช้ประเด็นจากข่าว การเล่า เหตกุ ารณ์ การฉายวดิ ที ศั น์ ฯลฯ เพ่อื ใหน้ กั เรียนเห็นภาพของสภาพจริงในชีวิตประจาวัน ท่ี มีอุปสรรคต่อความสาเร็จที่ต้องการ หรือเห็นภาพท่ีทาให้เกิดการกระตุ้นให้คิดว่า ควรจะ สรา้ งหรอื มีนวตั กรรมท่ีจะช่วยให้การดาเนินการหรือการทางานหรือคุณภาพชีวิตดีขึ้น และ ทา้ ยสดุ ใหน้ ักเรียนเล่าหรือบอกเร่ืองราวในชีวิตจริงของนักเรียน อาชีพของผู้ปกครอง หรือ ครอบครัว หรือชุมชนของนักเรียน ในเรื่องท่ีเกี่ยวข้องกับ ประเด็นจากข่าว การเล่า เหตุการณ์ การฉายวิดที ัศน์ ฯลฯ ดงั กล่าว 1. ขนั้ ระบุปัญหา 1.2 การทาใหน้ ักเรียนตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของปญั หา ขั้นน้ีครูต้องทาให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงความสาคัญของปัญหา ซ่ึงเกิดจากการ เห็นคุณค่าของ “การรับรู้โดยการใส่ใจ” โดยครูต้องทาให้นักเรียนรับรู้ให้ได้ว่าจาก สถานการณท์ น่ี กั เรียนได้บอกเล่ามานัน้ มี “ปัญหาหรืออปุ สรรคต่อเปา้ หมาย” ที่ควรใส่ใจใน การหาวิธีแก้ไข มิฉะนั้นจะส่งผลกระทบในด้านลบ หรือใส่ใจท่ีจะ “สร้างหรือมีนวัตกรรม” อนั เปน็ การพัฒนา ซ่งึ จะทาใหเ้ กิดผลกระทบในด้านบวก 1.3 การทาใหน้ ักเรียนสามารถ “ระบุปัญหา” จากสถานการณไ์ ด้ตรงประเดน็ ข้ันน้ี ครูต้องทาให้นักเรียนมีความสามารถในการระบุปัญหา ซ่ึงการระบุปัญหาที่ดีนั้น ต้องส่ือสารให้เห็นเป้าหมายในการแก้ปัญหาอย่างชัดเจน และวิธีการทาให้นักเรียนระบุ ปัญหาจากสถานการณ์ได้ตรงประเด็นที่สุด คือให้นักเรียนซึ่งเป็นสมาชิกของกลุ่มระดม ความคิด “ตน้ ตอท่ีทาใหเ้ กดิ สถานการณ์ทีม่ ปี ัญหาแฝงอยู่” ให้มากที่สุด จากน้ันนาผลที่เกิด จากสถานการณ์ท้ังหมดมาสรปุ ใหแ้ คบลง 2. ขั้นรวบรวมข้อมูลและ 2.1 การฝึกใหน้ ักเรยี น “วเิ คราะห์ปัญหา และทาความเข้าใจสภาพแวดล้อมหรือบริบทของ แนวคดิ ท่ีเก่ียวขอ้ ง ปญั หา”

ข้นั ตอน แนวทางปฏิบตั ิ ขั้นน้ี ครูต้องพยายามให้นักเรียนแยกแยะปัญหาว่าปัญหานั้นมีองค์ประกอบย่อยๆ อะไรบ้าง เกิดจากอะไร ประกอบขึ้นมาได้อย่างไรและมีความเช่ือมโยงสัมพันธ์กันอย่างไร และให้นกั เรียนอภิปรายเพ่อื ระบใุ ห้ได้ว่า 1) “เปา้ หมายของการแก้ปัญหา” คืออะไร 2) “ความตอ้ งการของผู้รบั ประโยชน์จากการแกป้ ญั หา” มีอะไรบา้ ง 3) “เงอ่ื นไข หรอื ข้อจากดั หรือเกณฑ์ทเี่ ป็นบริบทของปัญหา” มีอะไรบา้ ง 2.2 การฝึกให้นักเรียน “รวบรวมขอ้ มลู และแนวคิดท่เี กย่ี วข้อง” ข้นั น้ี ครใู หน้ กั เรียนค้นควา้ หรือหาคาอธิบายในสิ่งท่ีนกั เรยี นได้แยกแยะมาแลว้ แต่ยังไม่มี ความชัดเจน โดยให้ค้นคว้า ข้อมูลที่เกี่ยวข้องและเกี่ยวกับปัญหาท่ีสนใจว่า ใน สภาพแวดล้อมหรือบริบทเหมือนกันหรือคล้ายกันกับปัญหาในชีวิตจริงของนักเรียน มี การศกึ ษาหรือแก้ไขมาบ้างหรอื ไม่ ทาอยา่ งไร และได้ผลอย่างไร ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ใด ดว้ ยวิธใี ด ซึ่งในการรวบรวมขอ้ มลู และแนวคดิ ทเี่ กี่ยวข้อง ในบางคร้ังอาจจาเป็นต้องเชิญผู้รู้ หรอื ผทู้ รงคณุ วุฒภิ ายนอกมาคุยกบั นกั เรยี น หรือนานักเรียนไปศกึ ษาเรยี นรู้นอกสถานที่ 3.1 ฝกึ ให้นักเรยี นมีความรอบคอบในการออกแบบวธิ ีแก้ปัญหา ข้ันนี้ ครูต้องดาเนินการให้นักเรียนเห็นความสาคัญของความรอบคอบในการการ ออกแบบวิธีแก้ปัญหา โดยเน้นว่าการจะทาให้ได้ “เป้าหมายของการแก้ปัญหา”น้ัน ต้อง คานึงถึงความต้องการของผู้รับประโยชน์จากการแก้ปัญหา เงื่อนไข หรือข้อจากัด หรือ เกณฑท์ ี่เปน็ บริบทของปญั หา ซ่ึงจะทาให้ผลผลติ จากการแกป้ ญั หาเปน็ ที่ยอมรับ 3. ขั้นออกแบบวิธีการ 3.2 ฝกึ ใหน้ กั เรยี นสรา้ งทางเลอื กวิธแี ก้ปญั หา แก้ปัญหา ขนั้ น้ี ครตู ้องทาให้นักเรียนเอาเปา้ หมายเปน็ ตัวตงั้ แล้วระดมสมองให้ได้ “วิธีการเพื่อให้ ถึงเปา้ หมาย” ให้มากวธิ ีทส่ี ุด ซ่ึงบางวิธอี าจมีความเป็นไปได้ยาก แต่ครูไม่ควรรีบด่วนตัดท้ิง เน่ืองจากวิธีคิดที่เป็นไปไม่ได้อาจทาให้เกิดวิธีคิดใหม่ท่ีเป็นไปได้หรืออาจปรั บให้มีความ เป็นไปได้ในภายหลัง ประการสาคัญต้องเน้นย้ากับนักเรียนว่าแต่ละวิธีแก้ปัญหาจะต้อง อาศัยพ้ืนฐานความรู้ทางคณิตศาสตร์-วิทยาศาสตร์ ซึ่งอาจมีเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมาร่วม ด้วยก็ได้ จากนนั้ นามาออกแบบเปน็ ”รา่ งแนวคดิ ”ของแต่ละวิธี แล้วประเมินในท้ายที่สุดว่า ควรจะเลอื กเลอื กวธิ แี กป้ ญั หาทมี่ คี วามเปน็ ไปได้ และดีทีส่ ดุ เพ่ือนาไปปฏิบัตจิ รงิ 4. ขัน้ วางแผนและ 4.1 ฝกึ ให้นกั เรียนเขยี นแผนการปฏิบตั ิการ ดาเนินการแกป้ ญั หา ข้ันนี้ เปน็ การนาร่างแนวคดิ ท่ีผ่านการเลอื กแล้วว่าเป็นวิธีท่ีมีความเหมาะสมที่สุดในการ จะนาไปปฏิบัติไปจัดทารายละเอียดเก่ียวกับข้ันตอนการดาเนินงาน เง่ือนเวลาท่ีต้อง ดาเนินงาน ความสามารถของแรงงาน ความเหมาะสมด้านเทคนิค ค่าใช้จ่าย และอ่ืนๆ ท่ี เก่ียวข้อง ซ่ึงขั้นตอนน้ีครูควรให้ความสนใจอย่างใกล้ชิดและซักถามนักเรียนอย่างละเอียด เพอ่ื ให้ข้อเสนอแนะหรอื ป้องกันอุปสรรคที่อาจเกิดจากการวางแผนท่ีไม่รอบคอบเหมาะสม และหลังการเขยี นแผนปฏบิ ตั กิ าร อาจตอ้ งให้ครูอนุมัติแผนปฏิบัติการก่อนนาไปดาเนินการ

ข้ันตอน แนวทางปฏิบัติ เนือ่ งจากบางกจิ กรรมอาจตอ้ งอยใู่ นความดูแลใกล้ชดิ จากครหู รอื ผรู้ ้เู ฉพาะดา้ น 4.2 ฝกึ ให้นักเรยี นปฏบิ ัติงานตามแผนและรายงานความกา้ วหนา้ เป็นระยะ ข้ันนี้ เป็นการลงมือปฏิบัติจริงในการแก้ปัญหา ระหว่างการปฏิบัติครูควรให้นักเรียน บันทึกความสาเร็จตามแผน ปัญหาอุปสรรคและวิธีแก้ไข และควรกาหนดเวลาท่ีนักเรียน ต้องรายงานสรุปให้ครูทราบความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานเป็นระยะๆ ด้วย โดยกาชับ นกั เรียนว่าหากมปี ญั หาหรืออุปสรรคหรือเหตุการณ์ที่จะต้องปรับแผน ต้องแจ้งให้ครูทราบ กอ่ นดาเนินการทกุ คร้ัง 5.1 ฝึกให้รูจ้ ักวิธกี ารทดสอบ ข้นั น้ี ครคู วรใหน้ กั เรียนระดมความคิดว่า ในการทดสอบผลงาน ควรจะทดสอบด้วยวิธี ใด และใครเป็นผู้ทดสอบ ระหว่างการทดสอบต้องอยู่ในการควบคุมดูแลหรือไม่ เพราะ บางครัง้ วิธกี ารทดสอบต้องคานนงึ ถงึ ความปลอดภยั ซงึ่ ต้องอย่ใู นการดูแลใกล้ชิดจากครูหรือ ผ้รู ูเ้ ฉพาะด้าน 5. ข้ันทดสอบ 5.2 ฝกึ ใหร้ ู้จักประเมินผล ประเมินผล และปรบั ปรุง ขั้นนี้ ครูควรให้นักเรียนประเมินโดยยึดว่า ได้ผลงานเป็นรูปธรรมตามเป้าหมาย หรอื ไม่ ผลงานน้ันมคี ุณลักษณะเป็นไปตามความต้องการ และ ภายใต้เงื่อนไขที่ได้กาหนด ไวแ้ ตแ่ รกหรอื ไม่ จากผลการประเมินมีสง่ิ ใดที่ตอ้ งปรับปรุงหรือไม่ 5.3 ฝกึ ให้มกี ระบวนการในการปรับปรงุ ข้ันน้ี ครูต้องกาชับนักเรียนว่า หากจาเป็นต้องปรับปรุง จะต้องบันทึกสาเหตุ ของการ ปรับปรุง วิธีปรับปรุงต้องอยู่บนพ้ืนฐานของการนาความรู้ทางคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและวิธีการทางวิศวกรรมมาใช้ และขออนุมัติแผนการปรับปรุงต่อครูก่อนนาไป ปรับปรงุ 6. ข้นั นาเสนอวิธีการ ขัน้ นี้ ครูควรเสนอแนะให้นักเรยี นนาเสนอ อย่างเป็นข้ันตอน ต้ังแต่สถานการณ์ปัญหา แกป้ ญั หา ผลการ การระบุปญั หา การรวบรวมขอ้ มลู การออกแบบ การวางแผน การปฏิบัติงานเพ่ือแก้ปัญหา การทดสอบ ผลการประเมิน การปรบั ปรงุ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ขนั้ ตอนของการทาความเข้าใจ แกป้ ญั หา หรอื ผลการ พัฒนานวัตกรรม ปญั หาว่าอะไรคือเปา้ หมาย อะไรคอื ความต้องการ อะไรเป็นขอ้ จากัดของการสร้างงาน การ รวบรวมข้อมูลทาให้เรียนรู้อะไร การออกแบบอยู่บนพื้นฐานของการใช้วิทยาศาสตร์และ คณติ ศาสตรอ์ ย่างไร มีเทคโนโลยีอะไรท่ีใช้ประโยชน์ในการสร้างงานนี้ เกิดปัญหาอุปสรรค ระหวา่ งสร้างงานอยา่ งไร ปรบั แก้อย่างไร และผลลัพธ์สดุ ท้ายเป็นไปตามเป้าหมายและความ ต้องการหรอื ไม่ ประการสาคญั จะตอ้ งให้นักเรียนลงข้อสรุปให้ผู้ฟังเห็นชัดเจนว่า วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยี นามาใชใ้ นการแกป้ ัญหาในชีวติ จรงิ ได้ การประเมินผล การประเมินผลกิจกรรมสะเต็ม ครูควรต้ังเป็นกติกา หรือ กาหนดหลักเกณฑ์การให้ คะแนนอย่างชดั เจน ซง่ึ อาจประกอบด้วย

ขน้ั ตอน แนวทางปฏิบตั ิ 1) การมองเหน็ ปญั หาและเป้าหมายของการแก้ปัญหา 2) การออกแบบเพ่ือแกป้ ัญหา บนพน้ื ฐานคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และการใช้เทคโนโลยี ที่เหมาะสม 3) การประเมนิ เพือ่ คดั เลือกแบบหรือวิธีการเพ่อื แกป้ ัญหาที่เหมาะสม 4) การจดั ทารายละเอียดของแบบหรือวธิ กี ารเพอื่ แกป้ ญั หาทไี่ ดค้ ัดเลือกไว้ 5) การจดั ทาแผนปฏิบตั ิงานและการดาเนนิ การตามแผน 6) การทดสอบ การประเมนิ และการปรับปรุงผลงาน 7) การนาเสนอ ขน้ั ที่ 4 ออกแบบกจิ กรรม/วธิ ีการ/นวัตกรรม สมาชิกกล่มุ PLC สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรร์ ่วมกนั แก้ปญั หาจดั กิจกรรมตามระดับชัน้ ของตนเอง โดยมตี ารางการจัดกิจกรรมดงั น้ี ท่ี รายการกิจกรรม วนั เดอื นปี 1 ครูให้ความรู้แก่นักเรยี นเกีย่ วกับการบูรณาการเกี่ยวกับสะเต็มศึกษา 6-17 กรกฎาคม 2561 2 ครูเขา้ อบรมเกย่ี วกบั การจัดการเรียนการสอนสะเตม็ ศึกษา 31 ม.ี ค..–28 ส.ค. 61 ออกแบบกจิ กรรม/วิธกี าร/นวัตกรรม 19 กรกฎาคม 2561 ครูผู้สอนสรา้ งสอ่ื นวตั กรรมพร้อมทง้ั กาหนดกระบวนการจัดการเรียนรูท้ ี่ สอดคลอ้ งกบั การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เน้อื หาในกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้สอ่ื นวัตกรรมที่หลากหลายและสอดคล้อง กบั โครงการพัฒนาการเรียนรทู้ ่หี ลากหลายดว้ ยการบูรณาการสะเต็มศกึ ษา มี การบรู ณาการกจิ กรรมเข้ากับ 8 กลุม่ สาระ 3 ประชมุ รายงานความกา้ วหนา้ ของการปฏิบตั ิ PLC และปัญหาตา่ งทเี่ กิดจากการ 24 กรกฎาคม 2561 การปฏบิ ัตกิ จิ กรรม PLC และชว่ ยกันระดมหาวธิ ีการแกป้ ญั หา 4 จดั ทาภาพรวมการทากิจกรรม PLC ของครูกล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 2 ตุลาคม 2561 5 แลกเปล่ียนเสนอแนะ (การประชุมและประเมนิ ผลปฏิบตั ิ PLC) 4 ตุลาคม 2561 6 คณะครสู รปุ ผลการประเมนิ สะท้อนผล PLC ครั้งท่ี 2 4 ตุลาคม 2561 ขน้ั ที่ 5 นาสกู่ ารปฏิบตั ิ ช่วงเวลาการปฏบิ ัติกิจกรรม PLC 4 ตุลาคม 2561 จานวน 2 ชวั่ โมง สมาชิกกล่มุ PLC ท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกบั เน้อื หาสาระดาเนนิ จัดการเรยี นการสอนตามรูปแบบทก่ี าหนดไว้ ดงั น้ี

1. นาสู่การปฏบิ ัติ 2. การอบรมครเู กยี่ วกับสะเตม็ ศกึ ษา 3. จัดทาแผนการจัดการเรียนรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตร์ท่ีบรู ณาการสะเต็มศกึ ษา 4. จดั กจิ กรรมกระบวนการเรยี นรกู้ ารพฒั นาการเรยี นรูท้ ่หี ลากหลายดว้ ยการบูรณาการสะเต็มศกึ ษา 5. กิจกรรมวันวทิ ยาศาสตร์ : พฒั นาการเรยี นรู้ท่หี ลากหลายดว้ ยการบรู ณาการสะเตม็ ศกึ ษา ขั้นท่ี 6 ข้ันแลกเปลี่ยนเสนอแนะ (การประชมุ และประเมินผลปฏบิ ัติ PLC) วันที่ประชุม 4 ตลุ าคม 2561 จานวน 2 ชัว่ โมง คณะครสู รปุ ผลการประเมนิ สะทอ้ นผล PLC แลกเปลี่ยนเสนอแนะ (การประชุมและประเมนิ ผล ปฏิบตั ิ PLC และคณะครูสรุปผลการประเมินสะท้อนผล PLC ขัน้ ท่ี 7 สะท้อนผล/เผยแพร่กจิ กรรม PLC สสู่ าธารณชน วนั ท่ี 19 ก.ย. 61 นิทรรศการดังน้ี กจิ กรรมท่ี 7.1 ประโยชน์ของกิจกรรม PLC ท่ีคัดเลือกใชใ้ นการแกป้ ัญหา กิจกรรมท่ี 7.2 ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาครั้งตอ่ ไป

ภาคผนวก

แผนการจดั การเรียนรู้วชิ าวิทยาศาสตร์ทีบ่ ูรณาการสะเต็มศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 สมบตั ิของวสั ดใุ นชีวิตประจาวัน จานวน 2 ช่ัวโมง …………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………… สาระการเรยี นรทู้ ีน่ ามาบูรณาการ วิทยาศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชีว้ ดั มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหวา่ งสมบตั ิของสารกบั โครงสรา้ งและแรงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนุภาค มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ ละจิตวิทยาศาสตร์ ส่อื สารสิ่งท่เี รยี นรู้ และนาความรไู้ ป ใชป้ ระโยชน์ ตวั ชว้ี ดั 1. มฐ.ว 3.1 ป.5/1 ทดลองและอธบิ ายสมบตั ขิ องวสั ดุชนดิ ต่างๆ เกี่ยวกบั ความยดื หยุ่น ความแข็ง ความเหนยี ว การนาความร้อน การนาไฟฟา้ และความหนาแนน่ 2. มฐ.ว 3.1 ป.5/2 สืบคน้ ข้อมูลและอภิปรายการนาวัสดุไปใช้ในชีวติ ประจาวัน มาตรฐาน ว 8.1 ใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจติ วิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ แกป้ ัญหา รวู้ ่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ เ่ี กิดขึ้นส่วนใหญม่ ีรปู แบบทแี่ น่นอน สามารถอธบิ ายและตรวจสอบได้ ภายใตข้ อ้ มูลและเครื่องมือทีม่ ีอยู่ในชว่ งเวลานัน้ ๆ เข้าใจวา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คม และสิ่งแวดล้อมมีความ เกย่ี วขอ้ งสมั พันธ์กนั ตัวชว้ี ัด 1. มาตรฐาน ว 8.1 ป.5/1 ตั้งคาถาม เก่ยี วกบั ประเด็น หรอื เร่อื ง หรือสถานการณ์ ท่ีจะศึกษา ตามที่ กาหนดให้และตามความสนใจ 2. มาตรฐาน ว 8.1 ป.5/2 วางแผนการสังเกต เสนอการสารวจตรวจสอบ หรอื ศกึ ษาคน้ ควา้ และ คาดการณ์สิง่ ที่จะพบจากการสารวจตรวจสอบ 3. มาตรฐาน ว 8.1 ป.5/3 เลอื กอุปกรณ์ที่ถกู ตอ้ งเหมาะสมในการสารวจตรวจสอบให้ไดข้ อ้ มูลท่เี ชอื่ ถือ ได้ 4. มาตรฐาน ว 8.1 ป.5/4 บนั ทึกข้อมลู ในเชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ และตรวจสอบผลกบั สง่ิ ท่ีคาดการณ์ไว้ นาเสนอผลและขอ้ สรุป 5. มาตรฐาน ว 8.1 ป.5/5 สร้างคาถามใหม่เพื่อการสารวจตรวจสอบต่อไป 6. มาตรฐาน ว 8.1 ป.5/6 แสดงความคดิ เหน็ อย่างอิสระ อธบิ าย และสรปุ สิ่งทไ่ี ดเ้ รยี นรู้ 7. มาตรฐาน ว 8.1 ป.5/7 บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบตามความเปน็ จริง มีการอา้ งองิ 8. มาตรฐาน ว 8.1 ป.5/8 นาเสนอ จัดแสดงผลงาน โดยอธบิ ายดว้ ยวาจา หรอื เขยี นอธิบายแสดง กระบวนการและผลของงานใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจ

คณติ ศาสตร์ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกยี่ วกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสิง่ ทต่ี ้องการวัด ตัวชวี้ ัด ป.4/1 บอกความสัมพันธข์ องหนว่ ยการวดั ความยาว นา้ หนกั ปริมาตรหรอื ความจุ และเวลา 1. มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพน้ื ฐานเกย่ี วกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทต่ี ้องการวดั การงานอาชีพและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1 เขา้ ใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรา้ งสิ่งของเครอ่ื งใช้ หรอื วธิ ีการ ตามกระบวนการ เทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลอื กใช้เทคโนโลยีในทางสรา้ งสรรค์ ต่อชีวิต สังคม ส่ิงแวดล้อม และมสี ่วนร่วมในการจัดการเทคโนโลยีทยี่ ง่ั ยืน ตัวช้ีวัด ป.5/3 นาความร้แู ละทกั ษะการสร้างชิน้ งานไปประยกุ ต์ในการสรา้ งส่ิงของเครื่องใช้ ภาษาตา่ งประเทศ มาตรฐาน ต 3.1 ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการเชอื่ มโยงความรู้กับกลมุ่ สาระการเรยี นร้อู น่ื และเปน็ พ้ืนฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศนข์ องตน ตวั ชี้วัด ป.4/1คน้ คว้า รวบรวมคาศพั ท์ที่เกยี่ วข้องกับกลุม่ สาระการเรยี นรู้อ่ืนและนาเสนอด้วยการพดู / การเขยี น จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ระบุการนาไฟฟ้าเป็นสมบัตขิ องวัสดไุ ด้ (K) 2. อธบิ ายวา่ วัสดตุ ่างชนดิ กันสามารถนาไฟฟา้ ได้แตกตา่ งกนั ได้ (K) 3. ทดลองและสรุปผลการทดลองเกย่ี วกบั การนาไฟฟ้าของวสั ดุชนดิ ตา่ งๆได้ (P) 4. เปน็ คนชา่ งสงั เกต ชา่ งคดิ ชา่ งสงสยั และเปน็ ผู้ทมี่ ีความกระตือรือรน้ ในการเสาะแสวงหาความรู้ (A) สาระการเรยี นรู้ 1. ความรู้ การนาไฟฟ้าของวัสดุ หมายถงึ ความสามารถของวัสดทุ ย่ี อมให้พลังงานไฟฟ้าเคล่อื นที่ผา่ นวสั ดนุ ้ีได้ เช่น โลหะ เป็นต้น 2. ทักษะ / กระบวนการ / กระบวนการคดิ - ทกั ษะการสรา้ งคาอธิบาย - ทกั ษะการทากิจกรรมทดลองโดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ - การวัดโดยหนว่ ยการวดั เป็นเซนตเิ มตร - การออกแบบทางวิศวกรรมโดยการเลอื กใช้วัสดใุ นการสรา้ งอปุ กรณ์ 3. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - ใฝ่เรยี นรู้ - มุง่ มน่ั ในการทางาน ขน้ั ท่ี 1 นาเขา้ สบู่ ทเรียน 1. ครูแบ่งนกั เรยี นออกเป็นกลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน ศกึ ษาวิธที ากิจกรรมท่ี 1.5 การนาไฟฟา้ ของวัสดุ ในใบงานท่ี 5 ให้เข้าใจ

2. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายก่อนทากิจกรรม โดยครถู ามคาถามกอ่ นทากจิ กรรมดังน้ี  นักเรยี นคิดวา่ วสั ดุชนิดใดนาไฟฟา้ ได้ดที ีส่ ุด (โลหะ) จากนนั้ ครใู หน้ กั เรียนตอบคาถามกอ่ นทากิจกรรมในใบงานที่ 5 3. นกั เรียนร่วมกนั ออกแบบการตอ่ วงจรไฟฟ้าเพ่ือทดสอบการนาไฟฟา้ ของวัสดุ เพ่อื บง่ ชก้ี ารนาไฟฟา้ ของวสั ดุ ข้นั ที่ 2 สารวจและค้นหา 1. แบ่งกลมุ่ นกั เรียนกลุม่ ละ 5-6 คน 2. สืบคน้ และศึกษาการการนาไฟฟ้าของวสั ดดุ ้วยวธิ ีการต่างๆ จากอนิ เตอร์เน็ต 3. ทาใบกจิ กรรมที่ 1 วางแผนและออกแบบการต่อวงจรไฟฟ้า จากนัน้ แบง่ หนา้ ทีก่ ันในการทากจิ กรรม 4. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ลงมอื ออกแบบการต่อวงจรไฟฟ้าตามที่ออกแบบไว้ รวมท้ังบันทกึ ภาพในการทา กิจกรรมด้วยภาพถา่ ย หรอื วดิ ทิ ัศน์ ขั้นท่ี 3 อธิบายและสะทอ้ นความคดิ (1 ชัว่ โมง) 1. ทาใบกจิ กรรมที่ 2 สะท้อนความคิด เพื่อฝึกความคดิ สรา้ งสรรค์ เก่ียวกับสิง่ ทีได้เรียนร้จู ากกิจกรรมใน ขั้นสารวจและค้นหา 2. นาเสนอผลการทาใบกจิ กรรมที่ 2 ข้ันท่ี 4 ขัน้ สรา้ งสรรค์ 1. สร้างสรรคผ์ ลงานนาเสนอเพอื่ สือ่ สารขอ้ มลู ที่ได้เรียนร้กู จิ กรรม อุปกรณแ์ ละสอ่ื การเรียนรู้ 1. ใบกจิ กรรมท่ี 1 วางแผนและออกแบบ 2. ใบกจิ กรรมที่ 2 สะท้อนความคิด การวัดและประเมนิ ผล วิธกี ารวัด เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ ตรวจใบกจิ กรรมท่ี 1 วางแผนและ ใบกิจกรรมท่ี 1 วางแผนและออกแบบ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ออกแบบ ตรวจใบกิจกรรมที่ 2 สะท้อน ใบกิจกรรมที่ 2 สะท้อนความคิด ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ความคิด สังเกตพฤตกิ รรม แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ อยู่ในระดับ พอใช้ ข้นึ ไป ประสงค์

ใบกจิ กรรมท่ี 1 สะทอ้ นความคดิ ใหร้ ่วมกันวเิ คราะห์เพอื่ ถอดความร้ทู เี่ กย่ี วขอ้ งตามแนวคิด STEM Education ไดแ้ ก่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยเขยี นลงในแผนภาพตอ่ ไปน้ี วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์

การพฒั นาการเรยี นร้ดู ว้ ยส่อื การเรยี นการสอนบรู ณาการสะเต็มศกึ ษา



การพฒั นาการเรยี นร้ดู ว้ ยส่อื การเรยี นการสอนบูรณาการสะเต็มศกึ ษา



การใช้ส่อื การเรียนการสอนบรู ณาการสะเตม็ ศกึ ษา

การใช้ส่อื การเรียนการสอนบรู ณาการสะเตม็ ศกึ ษา

การบูรณาการสะเตม็ ศึกษาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้PLC


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook