Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.4-2-2561

โครงสร้างรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.4-2-2561

Published by นายทินกร กันธิยะ, 2019-09-01 01:14:25

Description: โครงสร้างรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.4-2-2561

Search

Read the Text Version

โครงสร้างรายวชิ า รายวชิ าคณิตศาสตรพ์ ้นื ฐาน ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2561 กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ จดั ทาโดย นายทนิ กร กนั ธิยะ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ตาบลชา่ งเคง่ิ อาเภอแมแ่ จ่ม จงั หวดั เชยี งใหม่ สานักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

ผงั มโนทศั น์ รายวิชาคณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน รหัสวิชา ค 31102 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2561 ชอ่ื หน่วย หลักการนบั เบ้อื งต้น จานวน 20 ชว่ั โมง รายวิชาคณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 จานวน 40 ช่ัวโมง ชื่อหน่วย ความน่าจะเปน็ จานวน 20 ชวั่ โมง

การจัดทาโครงสร้างรายวิชา รายวชิ าคณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน รหสั วชิ า ค 31102 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2561 ท่ี ชอื่ หนว่ ย รหัส มฐ. สาระสาคญั เวลา คะแนน A ตัวชว้ี ัด 1. กฎเกณฑเ์ กี่ยวกับการนบั เบอ้ื งต้น (ชม.) รวม K P 2 20 2 21 2 1. หลักการนบั ค 3.2 ม.4/1 2 20 18 2 2 เบ้ืองตน้ 20 2 21 2 2 2. สอบกลางภาค 20 18 2 8 1. การทดลองสุม่ 100 84 8 3. ความนา่ จะ ค 3.2 ม.4/2 2. ความนา่ จะเปน็ สอบปลาคภาค เปน็ 4. รวมทง้ั ส้นิ 80

คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ าคณติ ศาสตรพ์ ื้นฐาน รหสั วิชา ค 31102 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หนว่ ยกติ คาอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาและฝึกทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรอ์ ันได้แก่ การแกป้ ญั หา การใหเ้ หตุผล การส่อื สาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอการเช่ือมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโย ง คณิตศาสตร์กับศาสตร์อืน่ ๆ และมีความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ในเร่อื งต่อไปน้ี หลักการนับเบื้องต้น กฎเกณฑ์เบื้องต้นเก่ียวกับการนับแฟคทอเรียล n วิธีเรียงสับเปลี่ยน วิธีจัดหมู่ ทฤษฎีบททวินาม ความน่าจะเปน็ และ กฎทีส่ าคญั บางประการของความนา่ จะเป็น ความนา่ จะเปน็ การทดลองสมุ่ เหตกุ ารณ์ ความน่าจะเปน็ ของเหตกุ ารณ์ การนาผลที่ไดไ้ ปใช้คาดการณ์ การแก้ปญั หาและการตัดสินใจ โดยจดั ประสบการณ์ หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวันท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าโดยปฏิบัติ จริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชวี ติ ประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและเจตคติท่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่าง เป็นระบบ ระเบยี บ มีความรอบคอบ มีความรบั ผิดชอบ มวี ิจารณญาณ และมีความเช่อื มน่ั ในตนเอง ตัวชี้วัด ค 3.2 ม.4/1 เขา้ ใจและใชห้ ลกั การบวกและการคูณ การเรียงสบั เปลีย่ น และการจัดหมู่ ในการแกป้ ญั หา ค 3.2 ม.4/2 หาความน่าจะเปน็ และน าความรเู้ กย่ี วกับความน่าจะเป็นไปใช้ รวมทั้งหมด 2 ตัวชวี้ ัด

โครงสร้างรายวชิ า รายวิชาคณิตศาสตร์พืน้ ฐาน รหสั วชิ า ค 31102 ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ท่ี ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา 1. หลกั การนบั เบือ้ งต้น ตัวชว้ี ัด (ชม.) 20 2. ความน่าจะเปน็ ค 3.2 ม.4/1 มีความคดิ รวบยอดเกี่ยวกับกฎเกณฑ์เบ้อื งต้น 20 ค 3.2 ม.4/2 เกี่ยวกับการนับและวธิ ีหาผลลัพธท์ ่อี าจเกดิ ขึน้ ของ เหตกุ ารณ์โดยใชแ้ ผนภาพต้นไม้อยา่ งงา่ ย 40 สามารถบอกได้วา่ การทดลองท่กี าหนดใหเ้ ปน็ การ ทดลองสมุ่ หรอื ไม่ สามารถหาค่าความนา่ จะเปน็ ของ เหตกุ ารณ์ท่ีกาหนดให้ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง สามารถนา ความรเู้ ก่ยี วกับความนา่ จะเป็นไปใช้ในการคาดการณ์ เหตกุ ารณ์ท่ีเข้ามาเกี่ยวข้องกับตนเองและใชช้ ว่ ยใน การตัดสนิ ใจได้ รวมทั้งสิน้