Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอวกาศ

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอวกาศ

Published by ohlunlabo, 2020-03-12 00:14:24

Description: ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอวกาศ

Search

Read the Text Version

4 ตุลาคม ค.ศ.1957 (พ.ศ.2500) สปุตนคิ 1 (Sputnik 1) First Earth Satellite - ดาวเทยี มดวงแรกของโลก First Russian Satellite - ดาวเทยี มดวงแรกของรัสเซยี ดาวเทียม Sputnik 1

ดาวเทียม Sputnik 1

3 พฤศจกิ ายน ค.ศ.1957 (พ.ศ.2500) ไลก้า (Laika) First Dog in Space - สนุ ัขในอวกาศตวั แรกของโลก สปตุ นิค 2 (Sputnik 2) ชื่อไลก้า มาจากภาษารัสเซียที่แปลว่า \"นักเห่า (barker)\" หรือ \"นักหอน (howler)\" เป็นท่ีน่าเศร้าท่ีไลก้าเสียชีวิตภายหลัง การส่งจรวด 2-3 ชั่วโมง จากความเครียด และความร้อน (ที่อาจเกิดจาก ความผิดพลาดในการทางานของระบบควบคมุ อณุ หภมู ิ)

ไลก้าในสปตุ นิค 2 ไลก้า

2 กรกฎาคม ค.ศ.1958 (พ.ศ.2501) ก่อตงั้ NASA องค์การบริหารการบนิ และอวกาศแหง่ ชาติ หรอื องคก์ ารนาซา (National Aeronautics and Space Administration - NASA) เปน็ หนว่ ยงาน ส่วนราชการ รบั ผิดชอบในโครงการอวกาศและ งานวจิ ยั ห้วงอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของ สหรัฐอเมรกิ า องคก์ ารนาซาไดป้ ระกาศภารกิจหลัก คอื การบกุ เบิกอนาคตแหง่ การสารวจอวกาศ

12 เมษายน ค.ศ.1961 (พ.ศ.2504) ยรู ิ กาการนิ (Yuri Gagarin) และยานวอสต๊อก 1 (Vostok 1) First Astronaut - นกั บนิ อวกาศคนแรกของโลก First Male Astronaut - นกั บนิ อวกาศชายคนแรกของโลก ยรู ิ กาการนิ

ยูริ กาการนิ ชาวรสั เซยี เปน็ นกั บินอวกาศ(ชาย)คนแรกของโลก ถกู สง่ ข้นึ ไปท่องอวกาศกบั ยานวอสทอก (Vostok) ยูริ ปฏิบัติภารกิจเพียงคร้ังเดียวในอวกาศ เม่ือวันท่ี 12 เมษายน พ.ศ.2504 เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นมนุษย์คนแรกของโลก ท่ีโคจรรอบ โลกในยานอวกาศ วอสทอก 1 (Vostok 1) นาน 108 นาที ในการ ปฏบิ ัติการครัง้ นน้ั ยูริทดลองทานอาหารและน้าในสภาวะไรน้ า้ หนกั ยูริ กาการนิ ยาน Vostok 1

14 มิถุนายน ค.ศ.1963 (พ.ศ.2506) วาเลนทินา เทเรชโควา (Valentina Tereshkova) First Female Astronaut - มนษุ ย์อวกาศหญิงคนแรกของโลก วาเลนทนิ า เทเรชโควา

วาเลนทินา เทเรชโควา (Valentina Tereshkova) ชาวรัสเซีย เป็น มนุษย์อวกาศหญิงคนแรกของโลก เธอข้ึนไปกับยาน วอสทอก 6 (Baikonur Cosmodrome) โคจรรอบโลก 48 รอบ รวมระยะเวลาท่ีอยู่ ในอวกาศ 2 วัน 22 ชวั่ โมง 50 นาที ก่อนกลบั ลงสพู่ น้ื โลกอยา่ งปลอดภัย

22 ธันวาคม ค.ศ.1968 (พ.ศ.2511) อะพอลโล 8 (Apollo 8) First Manned Voyage to a Celestial Body ยานอวกาศมนี กั บินโคจรรอบดวง จันทร์เปน็ ครง้ั แรก ยาน Apollo 8

โลเวล, แอนเดอส์, บอร์แมน นักบินอวกาศชาวอเมริกัน บังคับ ยานอพอลโล 8 โคจรรอบดวงจันทร์ 10 รอบ ใช้เวลา 20:10:13 ช่ัวโมง ย า น ก ลั บ สู่ โ ล ก เ มื่ อ วั น ท่ี 27 ธันวาคม 1968 รวมเวลาท้ังหมด ของโครงการ 6 วัน 3:00:42 ช่วั โมง

20 กรกฎาคม ค.ศ.1969 (พ.ศ.2512) อพอลโล 11 (Apollo 11) First Man on the Moon - มนษุ ยค์ นแรกบนดวงจันทร์ First Manned Mission to Land on the Moon - ภารกิจเยือนดวงจนั ทร์ที่มมี นษุ ยเ์ ป็นครงั้ แรก

นีล อาร์มสตรอง (Neil Armstrong) : เป็นมนุษย์อวกาศคนแรก ท่ี ขึ้นไปเดินบนดวงจันทร์ ยานลงจอดบนพ้ืนผิวดวงจันทร์ เมื่อวันท่ี 20 กรกฎาคม 1969 ใช้เวลาอยู่บนผิวดวงจันทร์ 21 ช่ัวโมง 31 นาที 20 วนิ าที ทาการเก็บตวั อย่างกอ้ นหนิ ดวงจันทรไ์ ด้ 21.55 กิโลกรมั ยานกลับสู่โลก เมอื่ วนั ท่ี 24 กรกฎาคม 2969 เวลา 16:50:35 UTC ใชเ้ วลาทั้งส้นิ ของภารกจิ 8 วนั 3 ชว่ั โมง 18 นาที 35 วนิ าที จากซ้ายไปขวา Neil Armstrong , อพอลโล ลูนาร์ โมดูล Michael Collins และEdwin adrin หรือยานอีเกล้ิ (Eagle)

20 สิงหาคม ค.ศ.1977 (พ.ศ.2520) วอยเอเจอร์ 2 (Voyager 2) First and Only Spacecraft to Travel to Uranus and Neptune – ยานอวกาศลาแรกและลาเดียวทเี่ ดินทางไปยังยูเรนัสและเนปจูน Voyager 2

28 มกราคม ค.ศ.1986 (พ.ศ.2529) อบุ ตั ิเหตกุ ระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ระเบิด (Space Shuttle Challenger Disaster) First Space Shuttle Disaster หายนะครง้ั แรกของโครงการกระสวยอวกาศ การระเบดิ ของกระสวย อวกาศชาเลนเจอร์

กระสวยอวกาศของอเมริกาลาแรกท่ีประสบอุบัติเหตุระเบิด หลังจากทะยานออกจาก Kennedy Space Center ทาให้นักบิน อวกาศทงั้ 7 คน เสยี ชีวิต

24 เมษายน ค.ศ.1990 (พ.ศ.2533) ฮับเบล้ิ สเปซ เทเลสโคป (Hubble Space Telescope - HST) First Space-based Opticle Telescope กล้องโทรทรรศน์อวกาศระบบออฟติกตวั แรก กลอ้ งโทรทรรศนอ์ วกาศฮบั เบิ้ล สหรัฐอเมริกาและองค์การ อวกาศยโุ รปไดร้ ว่ มกนั สง่ กล้องโทรทรรศนอ์ วกาศ ฮับเบิล้ ขนึ้ ไปโคจรรอบโลก

18 ธันวาคม ค.ศ.1993 (พ.ศ.2536) ไทยคม (Thaicom) ดาวเทยี มสื่อสารดวงแรกของไทย ช่ือ \"ไทยคม\" (Thaicom) เป็น ชื่อพระราชทานท่ีพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท ร ง พ ร ะ ก รุ ณ า โ ป ร ด เ ก ล้ า ฯ พระราชทาน โดยย่อมาจาก Thai Communications ใน ภาษาองั กฤษ

4 ธนั วาคม ค.ศ.1996 (พ.ศ.2539) ยานมาร์ส พาธไฟน์เดอร์ (Mars Pathfinder) เป็นยานอวกาศขนาด เล็กแบบประหยัดในโครงการอวกาศดิสคัพเวอรี (Discovery) ส่งออก 4 ธนั วาคม พ.ศ. 2539 ถงึ ดาวอังคาร 4 กรกฎาคม พ.ศ.2540 ยานโซเจอร์เนอร์ ยานลาลูกซ่ึงเป็นรถยนต์ 6 ล้อเล็กขนาดเท่าเตา ไมโครเวฟเคล่ือนท่ีไปตามรางลงจากยานแลนเดอร์ลาแม่ ลงสารวจ พ้นื ผวิ ดาวอังคารทันทภี ายใน 3 นาทีแรกหลงั จากยานลงแตะพื้นผวิ ดาว องั คารแล้ว

ยานอวกาศท้ัง 2 ลา ถ่ายภาพ พื้นผิวดาวอังคารบริเวณที่ลงจอด ส่งกลับมายังโลกหลายหมื่นภาพ พบว่าสภาพภูมิประเทศบนดาว อังคารคล้ายกบั โลก รูปยานโซเจอร์เนอร์ที่ต้องทนความหนาวจดั อณุ หภมู ิ -100 องศาเซลเซียส บนดาวอังคาร

15 ตลุ าคม ค.ศ.1997 (พ.ศ.2540) ยานสารวจอวกาศแคสซนี ี-ฮอยเกนส์ ( Cassini–Huygens) Spacecraft to Discover 3 New Moons of Saturn in 2004 ยานอวกาศทีค่ ้นพบ ดวงจันทร์ใหม่อีก 3 ดวง ของดาวเสาร์ ในปี 2004

7 กุมภาพนั ธ์ ค.ศ.1999 (พ.ศ.2542) สตาร์ดสั ท์ (Stardust) First Sample Return Mission to Collect Cosmic Dust ยานอวกาศดวงแรกทเี่ ก็บฝนุ่ คอสมคิ และสง่ ตวั อย่างกลบั มายังโลก

คาชแ้ี จง ให้กา  คาตอบท่ีถูกที่สดุ 1. ยานอวกาศทีส่ ่งไปลงบนดวงจันทร์เป็นลาแรก มีช่อื ว่าอะไร ก. สปุตนกิ ข. มาริเนอร์ ค. แลนด์แซต็ ง. อะพอลโล

2. ประเทศใดสง่ ดาวเทียมโคจรรอบโลกได้สาเรจ็ เปน็ ประเทศแรก ก. จีน ข. องั กฤษ ค. รัสเซยี ง. อเมริกา

3. ดาวเทียมไทยคม มงุ่ ใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นใด ก. การโทรคมนาคม ข. การพยากรณ์อากาศ ค. การสารวจทรัพยากร ง. การศึกษาดาวเคราะหใ์ นระบบสุรยิ ะ

4. ประเทศใดเปน็ ประเทศแรกท่สี ง่ คนไปลงบนดวงจนั ทรไ์ ดส้ าเร็จ ก. รัสเซยี ข. อังกฤษ ค. อเมรกิ า ง. เกาหลใี ต้

5. เหตกุ ารณใ์ ดถือเป็นกา้ วสาคญั ของมนษุ ยชาติในการสารวจ อวกาศ ก. พนี่ ้องตระกลู ไรทป์ ระดิษฐเ์ ครอ่ื งบนิ ข. นีล อารม์ สตรอง ลงเหยยี บบนดวงจนั ทร์ ค. องค์การนาซาสง่ ยานอวกาศโซโหสารวจดวงอาทติ ย์ ง. สหรฐั อเมริกาส่งยานอวกาศมารส์ พาธไฟน์เดอร์ สารวจ ดวงองั คาร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook