Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การผลิตภาพยนตร์สั้น (Short Narrative)

การผลิตภาพยนตร์สั้น (Short Narrative)

Published by ์Nuchsara Khongchon, 2021-10-06 03:38:38

Description: นางสาวรักชนก อิ่มจาด ปวส.1/1 สาขาการถ่ายภาพและมัลติมีเดีย

Search

Read the Text Version

ก คำนำ รายงานฉบับนี้เป็นสว่ นหน่งึ ของวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ระดบั ช้นั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ ชนั้ สูง โดยมีจุดประสงค์ เพ่ือการศึกษาความรูเ้ กย่ี วกับการสบื ค้นและจดั เก็บข้อมลู สารสนเทศ ตลอดจนการประยกุ ตใ์ ช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่อื การจดั การงานอาชพี ผู้จัดทาได้เลือกหัวขอ้ การผลิตภาพยนตรส์ ัน้ เนอื่ งมาจากเปน็ เรอื่ งทนี่ ่าสนใจ รวมถงึ เปน็ การขอขอบคุณครอู าจารยผ์ ้ใู ห้ ความรู้ และแนวทางการศกึ ษาเรียนร้ทู ี่ให้ ความช่วยเหลอื มาโดยตลอด ผ้จู ดั ทาหวังว่ารายงานฉบับนี้ จะใหค้ วามรู้ และเป็นประโยชนแ์ ก่ผู้สนใจทกุ ทา่ น รักชนก อม่ิ จาด 30 กันยายน 2564

ข หนำ้ สำรบญั ก ข เร่อื ง 1 1 คานา 2 สารบัญ 3 ความหมายของคาวา่ “ภาพยนตรส์ ัน้ ” 3 จดุ เด่นของภาพยนตรส์ ัน้ 4 ปจั จัยสาคญั ของภาพยนตร์ส้นั 5 บุคลากรสาคญั สาหรับภาพยนตร์ส้ัน 6 การหาสถานทถ่ี า่ ยทา (Location) 9 ขอ้ ควรคานึงในการหาสถานที่ถ่ายทา 11 ความเหมาะสมในแง่ศลิ ปะ การคดั เลือกผู้แสดง (Casting) บรรณานุกรม ภาคผนวก

1 กำรผลติ ภำพยนตรส์ ัน้ (Short Narrative) 1.ควำมหมำยของคำวำ่ “ภำพยนตร์สัน้ ” หนังส้นั คอื การเลา่ เรอื่ งด้วยภาพและเสียงทม่ี ปี ระเด็นเดียวสน้ั ๆ แตไ่ ด้ใจความ ศิลปะการเล่า เรอื่ ง ไมว่ า่ จะเปน็ นิทาน นิยาย ละคร หรอื ภาพยนตร์ ลว้ นแลว้ แตม่ ีรากฐานแบบเดยี วกัน นน่ั คือ การ เล่าเรื่องราวทีเ่ กิดขึ้นของมนุษย์หรอื สัตว์ หรอื แม้แต่อะไรก็ตามท่ีเกดิ ขน้ึ ชว่ งเวลาหนงึ่ เวลาใด ณ สถานที่ใดทห่ี นง่ึ เสมอ ฉะนน้ั องคป์ ระกอบที่สาคัญทข่ี าดไมไ่ ดค้ อื ตวั ละคร สถานท่ี และเวลา 2.จดุ เด่นของภำพยนตรส์ นั้ จดุ เด่นของภาพยนตร์สน้ั นัน้ ก็คือ จะมอี ิสระในการแสดงออกทงั้ เน้ือหาจะวพิ ากษ์วิจารณ์ การเมือง ศาสนา วัฒนธรรม หรอื สงั คมอยา่ งรุนแรงกไ็ ด้ เน่ืองจากภาพยนตรส์ น้ั มักจะฉายชมกนั เฉพาะกลุม่ สว่ นรูปแบบจะวิจติ รพิสดารอยา่ งไรกไ็ ด้ ดูเขา้ ใจยากก็ไดเ้ ขา้ ใจงา่ ยกไ็ ด้ ซง่ึ ตา่ งจาก ภาพยนตร์เรื่องยาวท่ีจะต้องดเู ขา้ ใจงา่ ย เป็นเรอื่ งราวท่นี ่าตดิ ตามและใชด้ ารามชี อ่ื แสดงนา สอดคลอ้ ง กับความตอ้ งการของตลาดไม่มฉี ากอันไม่เหมาะสมท่ที าให้ถูกเซนเซอร์ ภาพยนตร์สนั้ ทมี่ ีอสิ ระในการ แสดงออกนเี่ อง จึงเปน็ ภาพยนตร์ที่เป็นท่นี ยิ มของคนรกั ศลิ ปะโดยทั่วไปข้อสงั เกตทเี่ ดน่ ชัดอีกอยา่ ง หนึ่งของภาพยนตร์สัน้ นน้ั ก็คอื มกั จะมปี ระเดน็ นาเสนอไมส่ ลบั ซบั ซอ้ น มตี ัวละครหลักเพยี ง 1-2 ตัว มี ตวั ประกอบไม่มาก ภาพยนตร์ส้ันมกั ลงทนุ ไมส่ ูงนัก เนอ่ื งจากไมไ่ ด้ทาเพ่อื ฉายตามโรงภาพยนตร์ สาหรบั ในตา่ งประเทศทว่ี งการศลิ ปะเจรญิ กวา่ เมอื งไทย จะมชี อ่ งทางนาเสนอผลงานหลาย เช่น พพิ ธิ ภณั ฑ์ เทศกาลภาพยนตร์ โรงเรยี นภาพยนตร์ หอศลิ ป์ ศูนย์วฒั นธรรมตา่ ง ๆ บางครงั้ จาหนา่ ยได้ ดว้ ย เชน่ ขายใหห้ อสมุด และหอศิลป์ ทซ่ี ื้อภาพยนตร์ประเภทนส้ี ะสมไว้ สาหรับประเทศไทยโอกาส ในการแสดงฝมี ือและความคดิ ยังไม่แพรห่ ลายนัก ส่วนใหญ่จะทากนั เองดูในกลุ่มผ้สู นใจกนั แต่อยา่ งไร กต็ ามระยะหลังๆ มกี ารจดั ประกวดภาพยนตรส์ ัน้ มากข้นึ ไม่ว่าจะเปน็ ผลงานของนกั ศึกษาหรอื บัณฑิต ที่จบไปแล้ว เพอื่ เผยแพร่ผลงานเหลา่ นั้น

2 3.ปัจจัยสำคญั ของภำพยนตรส์ ั้น ความยาว (Lenght)ภาพยนตรส์ ัน้ มักมคี วามยาวตัง้ แต่ 1 – 30 นาที ข้นึ อย่กู ับความพอดีและ ลงตวั ความพอดี หรอื ความลงตวั อยู่ท่หี นงั สามารถตอบสนองเรอ่ื งราวไดอ้ ยา่ งนา่ พอใจหรอื ยงั ความ ยาวจึงขน้ึ อย่กู ับผูก้ ากบั ที่จะตัดสนิ ใจว่า การเลา่ เรื่องเกินพอดี หรอื ขาดความพอดีหรือไม่ ซ่ึงการขาด ความพอดี หรอื การเกินความพอดี จะส่งผลใหห้ นังอืดอาดยืดยาด หรือหนังเรว็ จนเรอ่ื งขาดหายไปทา ใหด้ ไู ม่รเู้ ร่ืองสาหรับหนังของมอื ใหม่มกั มีข้อบกพร่อง คอื กังวลวา่ คนดูจะไมร่ ู้เร่ือง จึงมักพูดมาก จน นา่ เบื่อ หรือความออ่ นประสบการณท์ าให้ไม่สามารถแตกชอ็ ตให้คนดูเขา้ ใจเร่ืองได้จงึ กลายเป็นหนังท่ี ห้วนและดไู ม่รู้เรอ่ื ง แก่นเรือ่ ง คือ สาระหรือจดุ เปา้ หมายที่เรากาลงั พยายามเข้าถึงแก่นเร่ือง คอื ความคิดลกึ ซึ้งทเ่ี ป็น นามธรรม หรอื ความคิดที่ยดึ โครงสรา้ งของเร่อื ง และนาเสนอผ่านตวั ละคร เป็นแอ๊กชนั่ ของการแสดง ทั้งหมด แก่นเร่อื งเป็นศูนย์กลางความคดิ หลกั ท่ีเกยี่ วกบั เรื่องท้งั หมดทผ่ี ูก้ ากบั ต้องการส่ือสารกับคนดู สาคัญมากหนงั สัน้ ควรมีความคดิ หลกั ประการเดยี ว มฉิ ะนั้นจะทาใหเ้ รอ่ื งซบั ซ้อนต้องใช้วธิ ีเลา่ เร่ือง แบบหนังทม่ี คี วามยาวท่ัวไป ความคดิ หลกั ไม่จาเป็นต้องสอดคล้องกับคนดูเสมอไป แต่ให้คนดูมีโอกาส ไตรต่ รองสารวจความคดิ ของตนเองเป็นการจดุ จินตนาการและทาใหเ้ กิดความคิดทางสติปญั ญาข้ึน ตัวละครในภาพยนตร์ คอื การแสดงของคนทม่ี บี ุคลิกลักษณะตามที่เราเลือกไว้เพอื่ วตั ถปุ ระสงค์ สาหรับการแสดงตวั ละคร คอื มมุ มอง หรือวธิ ีมองโลก (ซึง่ สามารถหมายถึง วิสยั ทัศน์) หรอื วธิ ีท่ีตวั ละครมองโลกในแงม่ ุมต่าง ๆ หนังสัน้ จะใชต้ ัวละครหลกั เพยี งตัวเดยี ว และผูเ้ ขยี นจาเปน็ ต้องสรา้ งให้ ตวั ละครใหม้ ีความนา่ สนใจ และใชต้ วั ละครหลักไปสมั พันธก์ บั ตัวละครอ่ืน หรือปัญหาอื่นแลว้ เปดิ เผย ให้คนดูเห็นบางส่งิ บางอย่างที่น่าตกใจ ความตอ้ งการของตวั ละคร คือ สิ่งทต่ี ัวละครอยากได้ อยากมี อยากเปน็ ต้องการใหไ้ ดม้ าตอ้ งการบรรลุในส่ิงใดสิ่งหนงึ่ ในระหวา่ งเน้ือหาของเร่ืองราวผู้เขียนต้อง กาหนดความต้องการของตวั ละครกอ่ นเขียนบท โดยกาหนดวา่ อะไร คอื ความต้องการของตวั ละคร ความตอ้ งการนีจ้ ะเป็นตวั ผลักดันตัวละคร ใหเ้ กิดการกระทาจากน้นั ผเู้ ขยี นตอ้ งสร้างอุปสรรคขดั ขวาง ความตอ้ งการนัน้ สาคญั มาก ความต้องการจะชว่ ยใหโ้ ครงเร่อื งพฒั นาไปอย่างมีทิศทางในหนงั ส้ันความ ตอ้ งการของตัวละครหลกั มกั มีหลายระดับ โครงสร้าง คือ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสว่ นยอ่ ยกบั ทั้งหมด ส่วนย่อยคอื แอ๊กช่นั , ตวั ละคร , ฉาก , ตอนองก์ (1,2,3) , เหตุการณ์ , สถานการณ์ , ดนตรี สถานที่ ฯลฯ ส่วนยอ่ ยทงั้ หมดล้วนสรา้ งข้นึ เพ่อื หลอมรวมเป็นเรอื่ งแลว้ โครงสรา้ งจะเปน็ ตัวยึดทกุ สิ่งทุกอย่าง เขา้ ดว้ ยกันเปน็ ภาพรวมท้งั หมดปูมหลังของเรือ่ ง คอื เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ข้ึนกอ่ นหน้าเรอ่ื งในภาพยนตร์จะ เกิดเหตุการณใ์ นอดีตจะสง่ ผลตรงกับอารมณ์ของตัวละครหลักปูมหลงั ของ

3 4.บคุ ลำกรสำคัญสำหรับภำพยนตรส์ น้ั บุคลากรท่ีจะเป็นบุคคลสาคญั ทผี่ ลิตภาพยนตร์สน้ั มีอยู่ 2 ตาแหนง่ คือ ผู้จดั การสรา้ ง (Producer) และผูก้ ากับภาพยนตร์ (Director) ผจู้ ดั การสรา้ ง (Producer) คือ ผูท้ ที่ างานบรหิ ารงานภาพยนตร์ งานสว่ นใหญ่จะเน้นหนกั ไปดา้ นวางแผนจดั การประสานงานควบคุมการผลติ และนาภาพยนตรอ์ อก ฉาย ขัน้ ตอนการทางานของผุจ้ ัดการสร้าง มดี ังน้ี 1.คิดโครงการ 2.เสนอโครงการต่อแหล่งทนุ 3.จดั หาทีมงาน 4.จดั หาและคดั เลือกผ้แู สดง 5.ควบคมุ การผลิต 6.ประสานงานการประชาสัมพันธ์ 7.ภาพยนตรอ์ อกฉาย 5.กำรหำสถำนท่ถี ำ่ ยทำ (Location) การหาสถานทถี่ ่ายทาภาพยนตรม์ ขี ้นั ตอนดังน้ี 1. แยกงานสถานทจ่ี ากบทและรวมกลุ่มสถานท่ี การเร่ิมหาสถานท่ใี หน้ าบทมาอา่ นแล้วลาดบั รายช่ือสถานทเี่ กิดข้ึนในบท จากนน้ั กม็ ารวมกลุ่มกันโดยคานึงถึงกล่มุ สถานท่ี ที่อย่ใู กลเ้ คียงกัน เพอื่ ความสะดวก เชน่ ฉากทะเล ภเู ขา หมบู่ ้าน ชาวประมง รา้ นอาหารริมทะเล หรอื บา้ นไม้ ซอยแคบ ถนนลูกรงั หรอื โรงภาพยนตร์ ซุปเปอรม์ าเกต รา้ นไอศกรีม ฯลฯ 2. ติดต่อสอบถาม เม่อื ได้รายช่อื สถานทีแ่ ลว้ ให้ติดต่อสอบถามแหล่งตา่ ง ๆ เชน่ จากเพ่อื น ผูช้ ว่ ยผกู้ ากบั กองถา่ ยอนื่ เจ้าหนา้ ทปี่ ระชาสมั พันธ์ตามสถานท่ตี า่ ง ๆ ดูจากนิตยสารการท่องเที่ยว โปสการด์ แผน่ พับ เพ่อื ให้ได้ข้อมลู ขนั้ ต้น ไม่ใช่ออกหาสถานทีเ่ ลย เพราะจะประหยดั เวลา คา่ เดินทาง คา่ ทีพ่ ัก และคา่ อาหารได้มาก 3. บรหิ ารการเดินทาง การออกหาสถานทถ่ี า่ ยทา หากเช่ารถแล้วควรเร่มิ ออกแตเ่ ชา้ ตรู่ บคุ คล ท่ีไปหาไมค่ วรเกิน 2 คน คือ ฝ่ายธุรกจิ หนึง่ และผ้ชู ว่ ยฝา่ ยศลิ ปห์ น่งึ ฝ่ายธรุ กิจดแู ลการจัดการ เชน่ ระยะทาง ค่าเชา่ ทีพ่ กั การติดตอ่ ขออนุมตั ิ ส่วนฝา่ ยศลิ ปะดูความสวยงามทางศิลปะทส่ี อดคล้องกับบท ใชก้ ล้องและฟลิ ม์ ราคาถูกถา่ ยภาพมมุ ต่าง ๆ ทีเ่ ห็นเหมาะ บางสถานทข่ี อภาพถ่ายที่เขามีอยแู่ ลว้ หรอื ขอแผ่นพบั โฆษณาก็ได้ ในขณะเดียวกันร่างแผนทแ่ี ละแผนผังพนื้ ท่ีมาด้วย 4. นาภาพถา่ ยเขา้ ที่ประชมุ นาภาพถา่ ยแผ่นพบั แผนผงั และข้อมลู ทไ่ี ด้มาเพื่อเขา้ ที่ประชมุ และคัดเลือก

4 5. ดสู ถานทจี่ รงิ เมือ่ คดั เลอื กสถานทข่ี ั้นตน้ ได้แลว้ ขั้นตอ่ ไปผกู้ ากบั ผกู้ ากบั ภาพ และผกู้ ากับ ฝา่ ยศิลป์ จะเดนิ ทางไปดูสถานที่จริง จะเพม่ิ เตมิ ดดั แปลงอะไร จะวางกล้องตรงไหนจะได้ปรึกษากับ ตอนน้ี เบอรโ์ ทรศพั ท์ แผนที่ วนั เวลาเปิดปดิ เง่อื นไขการเข้าสถานท่ีกย็ นื ยนั ความแนน่ อนตอนนี้ 6. ขอ้ ควรคำนึงในกำรหำสถำนทีถ่ ่ำยทำ สถานทถี่ ่ายทาท่ดี จี ะตอ้ งมคี ณุ สมบัติ 2 ประการ คอื มคี วามเหมาะสมในแงก่ ารจัดการ และมี คณุ คา่ ทางศลิ ปะ ความเหมาะสมในการจัดการ กค็ ือ 1. ใกลท้ ท่ี างาน ถา้ เป็นได้สถานทีน่ นั้ ไมค่ วรไกลจากท่ที างาน เพ่ือความสะดวกหากลืมสิง่ ของท่ี จาเป็นจะประหยดั ค่าเดินทาง 2. มคี วามหลากหลาย สถานท่ีน้ันหากไปทเ่ี ดียวแล้วถา่ ยไดห้ ลายฉาก จะเปน็ สถานทีถ่ า่ ยทาทดี่ ี มาก เราจะไม่ต้องเคลื่อนยา้ ยกองถา่ ยบอ่ ย ๆ เช่น ไปหมูบ่ า้ นจดั สรรก็จะได้รา้ นค้า บ้าน สวนสาธารณะ โรงเรียนอนุบาล สนามเด็กเลน่ สนามกอล์ฟ คลับ ห้องอาหาร สระว่ายนา้ ถนนใน หมบู่ า้ น ฯลฯ จะมคี วามสะดวกในการถา่ ยทา เวลาจะยา้ ยกองถา่ ยกย็ า้ ยกองถา่ ยใกล้ๆ ประหยดั เวลา และค่าใช้จ่ายได้มาก 3. มีความสะดวกในการถา่ ยทา คือ มีโทรศัพทต์ ิดต่อ มีท่จี อดรถสะดวก ห้องน้ามีหลายหอ้ ง มี พนื้ ที่ว่างสาหรบั แต่งกายและแตง่ หนา้ มีความสงู ของเพดานสาหรับติดตง้ั ดวงไฟ มีพืน้ ท่ีสาหรบั เก็บพกั อปุ กรณ์ถา่ ยทา มพี ้นื ทสี่ าหรบั จัดส่วนรบั ประทานอาหารของกองถา่ ย ไม่มีเจ้าถ่ินท่คี อยรบกวน 4.ราคาไมแ่ พง สถานท่ีควรเกบ็ คา่ เช่าไม่แพงนัก หากไม่เสียเลยได้ยิ่งดี เพยี งแต่เสียคา่ แมบ่ ้าน ทาความสะอาด หรอื ช่วยคา่ น้าค่าไฟบ้างเท่าน้ัน เช่น บา้ นเพอ่ื น หนว่ ยราชการ สถานท่เี พื่อการกุศล สถานทที่ าการบริการ หากแลกเปลยี่ นกับการขึ้นไตเตลิ ให้ได้ประโยชน์ทั้ง 2 ฝา่ ย การหาสถานที่ที่ขาย บริการ เช่น รา้ นอาหาร ไนท์คลับ โรงแรม สวนสนกุ ควรหาที่ท่ีเปดิ กจิ กรรมใหมๆ่ จะไม่เสียคา่ ใชจ้ ่าย เพราะกิจการเหลา่ นัน้ จะอยู่ในชว่ งประชาสมั พนั ธแ์ ละส่งเสรมิ การขาย 5. ไมม่ ีสง่ิ ท่จี ะเสียหายงา่ ย ควรหาสถานท่ถี ่ายทาทจ่ี ะเสี่ยงตอ่ การชดใชข้ องเสยี หายนอ้ ยทส่ี ุด เช่น สถานทท่ี ่ีมีของราคาแพง เชน่ พรม เครือ่ งลายคราม เครือ่ งแก้ว ไมป้ ระดบั ราคาสงู เพราะหาก หาย หรอื เสียหายข้ึนมาจะยุ่งยากตอ่ การชดใช้ 6. เงียบสงบ ไม่มเี สยี งรบกวนใด ๆ ทจ่ี ะทาให้บนั ทึกเสยี งไมไ่ ด้ เช่น สถานทีม่ ีเสียงเครอื่ งจกั ร เสียงอ่ซู ่อมจกั รยานยนต์ เสยี งเดก็ อ่อน บา้ นทเ่ี ลี้ยงสนุ ขั ถนนที่มีรถเสยี งดังว่ิงผ่าน โครงการก่อสร้าง 7. มีความสะดวกในการจัดฉาก การจดั ฉากภาพยนตร์ไม่เหมือนละครเวที มกี ารเปล่ยี นแปลง ทุกวินาทีแลว้ แต่สถานการณ์ บางคร้งั ต้องย้ายมมุ กล้อง หรอื ผ้กู ากบั นึกภาพออกมาอย่างกระทันหัน สถานทที่ ด่ี ีควรจะมีอปุ กรณป์ ระกอบฉากอย่ใู นบริเวณใกลเ้ คยี ง ทจ่ี ะหยิบยมื นามาจัดฉากไดง้ า่ ย เช่น โตะ๊ ต้นไม้ กระถาง รปู ภาพ แจกัน เครือ่ งเรือนชุดสนามท่สี ามารถยกมาจดั แต่งเพมิ่ เตมิ ไดท้ ันที

5 7. ควำมเหมำะสมในแง่ศลิ ปะ 1. ถูกตอ้ งตามขอ้ เท็จจริง สถานท่นี น้ั จะต้องสมจรงิ ตรงตามบท ไมม่ ีจุดออ่ นทจ่ี ะจบั ผิดได้ สอดคลอ้ งกบั รปู แบบ และยคุ สมยั ตามท้องเรอ่ื ง 2. ได้บรรยากาศและความรสู้ ึก สถานที่จะต้องมบี รรยากาศ มโี ครงสใี หค้ วามรสู้ กึ ท่ีดี เชน่ ใน บทบอกว่าชาวนากาลังมีความรัก ก็จะเป็นท้องนาเหลอื งอรา่ ม น้าเปีย่ มคลอง หรอื ในบทบอกว่า นางเอกเดนิ เศร้าคิดถึงพระเอก ก็ควรจะเป็นฉากท่ีพน้ื สเี ทา (ลานดิน ลานซีเมนต)์ มีเสาไฟฟ้าโดดเดี่ยว หรอื มตี ้นไมแ้ หง้ ใบโกรน๋ หรอื นางเอกอย่ใู นภาวะอนั ตราย เชน่ ทางเดนิ ในซอกตกึ แคบ ๆ ทผ่ี นังตกึ บีบ ทาให้รสู้ ึกอึดอดั ดงั นเ้ี ปน็ ตน้ โครงสขี องสถานทีม่ สี ่วนสรา้ งอารมณ์ความร้สู กึ ได้มาก สถานทท่ี ี่มโี ครงสี โทนใดโทนหนงึ่ เคร่ืองแตง่ กายและอุปกรณป์ ระกอบฉากก็จะต้องออกแบบสีใหม้ ศี ลิ ปะ เช่น นางเอก ไปวดั ผ่านท่งุ นาสีเขยี วเหลอื ง เคร่อื งแตง่ กายและรม่ อาจจะเปน็ สแี ดงสดใส เปน็ ตน้ การออกแบบสีจะ ทาให้ภาพมชี วี ติ ชีวา โดยเฉพาะโครงสีทีใ่ ห้อารมณเ์ ดน่ ชดั เช่น เทา ม่วง ให้อารมณ์เหงา , ชมพู เหลือง ฟ้า ให้อารมณ์สดใส 3. มีพ้ืนทแ่ี ละหลบื สลับซบั ซ้อน สถานทีถ่ า่ ยทาไมค่ วรจะมฉี ากหลงั แบนทีด่ แู ล้วทึบตนั เชน่ ถนน ตรอก ซอย ควรจะลกึ สดุ สายตา มมุ ตกึ ควรจะมีหลบื และซอกตา่ ง ๆ เพราะเมื่อจดั แสง ภาพจะ เกดิ น้าหนกั สวยงาม อกี ทั้งระยะลกึ จะทาใหเ้ ห็นมีส่ิงตา่ ง ๆ หลากหลาย เช่น ฉากตรอกซอยลกึ เราจะ ไดร้ า้ นคา้ รถตุ๊กตกุ๊ กองขยะ ลังไม้ รถเขน็ เด็กเลน่ แบดมินตนั ซงึ่ จะทาให้ภาพดมู ีชีวิตชวี า 4. มีความหมายเชงิ นยั นะ การหาสถานท่ีถา่ ยทาในบางคร้ัง อาจจะหาสถานทที่ ม่ี ีความหมาย เชงิ นยั ยะ หมายถงึ สถานทม่ี บี างสง่ิ บางอย่างทเี่ ปน็ นัยของความรสู้ กึ เช่น โบสถท์ ม่ี ีเงาไม้กางเขนทาบ ลงบนพ้ืน แล้วเราใช้สถานทน่ี นั้ ในฉากทต่ี วั ละครตายแลว้ มีเงาพาดผ่าน ทุ่งดอกไมส้ ชี มพู เมื่อพระเอก นางเอกพบรกั กัน หรือหนา้ ผาสูงทีต่ วั ละครทะเลาะกนั จะเกดิ ความรู้สกึ หม่ินเหม่เหมือนจะตกหน้าผา ไดค้ วามรู้สึกของความสัมพันธ์ขาดสะบ้ันลง หรือฉากที่มพี น้ื กระเบอื้ งยางตารางหมากรุกดาและขาวก็ จะเปน็ ความรู้สกึ ขัดแยง้ กนั หรือฉากเดก็ เล็กทีก่ าลังจะถกู ลกั พาตัว แล้วถกู อุ้มว่ิงผา่ นสวน กระบองเพชร จะทาใหไ้ ด้อารมณค์ วามรสู้ กึ ของสถานทีเ่ หล่านอ้ี ยทู่ ่กี ารตีความของผู้กากบั ท่ีจะเลือก สถานท่ีได้ความร้สู กึ และความหมายทางศลิ ปะ

6 8. กำรคดั เลอื กผู้แสดง (Casting) การหาผแู้ สดง มีแหล่งทีห่ าไดด้ งั นี้ ชมรมละครและการแสดงตามมหาวทิ ยาลยั บริษัทจัดหานายแบบ และนางแบบ (modeling agency) โรงเรยี นการแสดงและภาพยนตร์ ชมรมเชียรล์ ดี เดอร์ สนามกฬี าและสถานทเี พาะกาย สถานที่บันเทิง เดนิ หาในรปู แบบแมวมอง การประกาศหานกั แสดง 1.ชมรมละครและการแสดงตามมหาวิทยาลัย ทน่ี ่ีจะเปน็ ศนู ยร์ วมของหนมุ่ สาวหนา้ ตาดี มี ความสนใจในการแสดงและมีความสามารถระดบั หนง่ึ หากชมรมมผี ลงานแสดงบนเวที เรากจ็ ะเห็น ความสามารถของนกั แสดงจริง ๆ หากไมม่ กี ารแสดงก็อาจจะขอดเู ทปบนั ทึกการแสดงคร้ังก่อนๆ 2.บริษทั จดั หานายแบบและนางแบบ บรษิ ทั เหล่านจี้ ะมีแฟ้มภาพถา่ ยของนายแบบนางแบบ โดยมภี าพใบหน้า ภาพถ่ายด้านหน้า เตม็ ตัว ใหเ้ ลอื กพรอ้ มบอกความสามารถพเิ ศษอืน่ ๆ เชน่ เล่น ฉากบตู๊ ลี ังกาได้ ร้องเพลงได้ เต้นราได้ เปน็ ต้น 3.โรงเรียนการแสดงและภาพยนตร์ แผนกภาพยนตร์บางแหง่ จะมสี าขาการแสดงการขบั รอ้ ง นาฎศลิ ป์ จึงเป็นแหลง่ ท่รี วมนกั แสดงไว้มาก 4.ชมรมเชยี รล์ ดี เดอร์ เปน็ อกี แห่งหนงึ่ ท่จี ะหานักแสดงได้ โดยเฉพาะคนทีม่ รี ปู ร่างดี 5.สนามกฬี าและสถานเพาะกาย สถานท่ีเหลา่ นจี้ ะมเี ดก็ หนุม่ รูปร่างดแี ละหนา้ ตาดี มี บุคลิกภาพและความคลอ่ งตวั ใหเ้ ลือกมาก 6. สถานบนั เทิง เจ้าของกจิ การบันเทิงมักจะหาเด็กสาว และเด็กหนุ่มหน้าตาดไี ว้ทางาน เชน่ พนกั งานเสริ ์ฟในภัตตาคาร เจ้าหน้าท่ีเคาน์เตอรต์ อ้ นรับ แผนกขาย แผนกบริการลูกคา้ ฯลฯ 7. เดินหาในรปู แบบของแมวมอง การหาวิธนี ีค้ ือการลงพืน้ ทต่ี ามแหล่งต่างๆ ทม่ี ีผคู้ นมากมาย เช่น สถานขี นสง่ ศูนยก์ ารค้า การแสดงคอนเสิรต์ ปา้ ยรถเมล์ เห็นใครบคุ ลิกดกี ต็ ดิ ตอ่ ขอชือ่ เบอร์ โทรศพั ท์ วธิ นี ี้บางคร้ังจะไดผ้ ู้แสดงดีๆ อยา่ งคาดไมถ่ งึ เวลาแสดงจะแลดูเป็นธรรมชาติ (เนอ่ื งจากไมใ่ ช่ นักแสดงอาชพี อย่างผทู้ ่มี าจากโมเดลล่ิง เอเจนซี) เขาจะเปน็ ผทู้ เี่ ล่นภาพยนตรข์ องเราครั้งแรกจงึ ไม่ติด บท และมาดเกา่ ๆ ท่เี คยแสดงมากอ่ น 8. การประกาศหานักแสดง วิธนี ีก้ ค็ ือการจัดทาโปสเตอรไ์ ปตดิ ท่ีต่าง ๆ หรือประกาศทางหน้า หนังสือพิมพ์ บอกบคุ ลกิ ลกั ษณะทต่ี ้องการพร้อมสถานที่ตดิ ตอ่

7 จากข้อ 8 ขอ้ ขา้ งต้นทเ่ี ป็นแหล่งหานกั แสดง ก็เชิญมาทาการคดั เลือกโดยสถานที่คัดเลอื กควรเป็นห้อง ทีเ่ งยี บสงบ ในหอ้ งนน้ั จะมผี ู้กากบั ผจู้ ดั การสร้าง และช่างภาพนิ่ง และวิดโี อ วิธีคัดเลอื กกค็ ือ นาบทให้ อา่ นอาจจะเปน็ บททเี่ ราจะถา่ ยทา หรือเป็นบทภาพยนตร์เก่าๆ กไ็ ด้ บรรยากาศในห้องตอ้ งทาให้ผู้มา คดั เลือกผอ่ นคลายสบายใจ สัมภาษณเ์ ขาอยา่ งเป็นกันเอง อย่าให้เขาอึดอัดและเป็นกังวล เราจึงจะ เห็นความรูส้ ึกของเขาไดช้ ดั เจน ผมู้ าคัดเลอื กจะอ่านบทช้า ๆ แลว้ จะคอ่ ยๆ เขา้ ถงึ บททีละนอ้ ย ๆ ผู้ กากับจะสังเกตดูท่สี ีหนา้ และแววตา จากน้ันให้ลองอา่ นบทอกี ครงั้ โดยตีความบททแี่ ตกต่างจากครั้ง แรก ข้ันตอนนส้ี าคัญมาก เราจะรวู้ า่ ผแู้ สดงมคี วามสามารถมากน้อยเพยี งใด กจ็ ากนา้ เสยี งความร้สู ึก และความเขา้ ใจในตัวละคร จากนนั้ ก็ให้คะแนนไวพ้ รอ้ ม จดบนั ทึกข้อบกพรอ่ งตา่ ง ๆ เช่น เสียงแหบ หรือดวงตากระพรบิ ถ่ี เปน็ ต้น ขน้ั ตอนต่อไป คอื ให้พดู เด่ยี ว เนือ้ หาอะไรก็ได้อยากเล่าเรอื่ งทางบ้าน เพอื่ นสนิท ประสบการณ์ในอดตี กใ็ ห้พูดออกมา เรากจ็ ะเห็นแววนกั แสดงได้ในช่วงน้ี จากนนั้ กใ็ ช้ เทคนคิ แสดงสดท่ีเรียกวา่ improvisation โดยให้คิดเหตุการณ์เหตกุ ารณห์ นงึ่ ขึ้นมา แลว้ ลองใหแ้ สดง โดยอาจจะมผี ู้แสดงรว่ มดว้ ย เช่น ฉากแยง่ แหวนทองทเี่ กบ็ ได้ การแสดงสดนจี้ ะทาใหส้ ามารถค้นหา แววนกั แสดงไดเ้ ชน่ กัน อกี เทคนิคหน่ึงกค็ อื การให้เล่นละครใบ้ (pantomine) เชน่ ลองใหท้ ามือทาไม้ ในการชงกาแฟโดยไม่มถี ว้ ยกาแฟ ซักผา้ ตากผา้ กบั อากาศเปล่าๆ การแสดงละครใบ้นชี้ ่วยให้เราเหน็ วา่ ผแู้ สดงมจี นิ ตนาการสงู ตา่ เพียงใด ระหวา่ งท่คี ัดเลอื กจะมีการถา่ ยภาพนิง่ และวดิ โี อไว้ เพอ่ื นามา พิจารณาอกี ครง้ั ในทป่ี ระชมุ เมือ่ ไดผ้ ู้แสดงแล้วกอ็ ยา่ ลมื โทรศพั ทป์ ฏิเสธผ้ไู มถ่ กู เลอื กอยา่ งสภุ าพ เผอ่ื โอกาสในการคดั เลือกในเรื่องหน้า การกากับภาพยนตร์ (Film Directing) การกากบั ภาพยนตร์ คือ การควบคุมงานศลิ ปะต่าง ๆ ของภาพยนตรใ์ ห้ไปในทิศทาง (direction) ท่ผี ู้ กากับภาพยนตรต์ ้องการ ผู้กากับภาพยนตร์ (Director) คอื ผู้ทคี่ วบคุมสว่ นประกอบทกุ สว่ นท่ีปรากฏ หน้ากล้องถ่ายภาพ เป็นผู้ถอดบทภาพยนตร์ใหอ้ อกมาเป็นภาพ โดยประสานสว่ นประกอบต่าง ๆ เข้า ดว้ ยกันได้อย่างลงตัวและมีศลิ ปะ สว่ นประกอบของภาพยนตร์ เช่น ผู้แสดง ภาพ ฉาก แสง เสยี ง ฯลฯ ซ่งึ เม่ือรวมกันแลว้ สามารถทาใหผ้ ู้ชมประทบั ใจ อกี ทั้งเข้าใจแก่นเรื่อง (theme) หรือแนวความคิด หลกั ของเรอ่ื งนั้นไดผ้ กู้ ากับภาพยนตร์จะตอ้ งทางานประสานกับบคุ ลากรในกองถ่ายแผนกตา่ ง ๆ เชน่ ผ้กู ากบั ภาพ ผกู้ ากบั ฝา่ ยศลิ ป์ ผจู้ ดั การกองถา่ ย ฯลฯ เพอ่ื ให้ชว่ ยสรา้ งภาพท่ฝี ันให้เป็นตามจนิ ตนาการ ทตี่ นเองต้องการในการทางานก่อนการถา่ ยทา ผู้กากับมลี าดับการทางานดังน้ี เข้าใจบทอย่างแตกฉาน (ตบี ทแตก) วเิ คราะห์ภูมหิ ลงั ตวั ละคร แบง่ บทเปน็ ชว่ ง ๆ (dramatic beat) กาหนดรปู แบบของงาน กาหนดจังหวะและระดับความรสู้ กึ (rhythm and tone) ร่างผังการถา่ ย และทาสตอรี่บอร์ด ทารายการถ่าย (shotlist)

8 เขา้ ใจบทอย่างแตกฉาน (ตีบทแตก) ผูก้ ากบั ภาพยนตร์จะอ่านบทหลายๆ ครั้ง ตรงไหนทีไ่ มเ่ ข้าใจ ก็ถามคนเขียนบท ตอ้ งมีความรูก้ วา้ งขวาง และลกึ ซง้ึ ต่องานทีต่ นเองจะกากับ เชน่ ถา้ ภาพยนตรเ์ ร่อื ง นน้ั เปน็ เรอ่ื งเก่ียวกบั วยั รนุ่ กต็ อ้ งหาหนงั สอื จติ วทิ ยาวยั รนุ่ มาอา่ น หรอื พดู คยุ สมั ภาษณว์ ยั รนุ่ ผกู้ ากบั ภาพยนตร์ตอ้ งรู้จงั หวะของเร่ืองวา่ จะมีลีลาอยา่ งไร เห็นภาพในสมองแจม่ ชดั สามารถทจี่ ะจา รายละเอยี ดในบทไดเ้ กือบท้งั หมด ท้ังนีห้ ากว่าทมี งานหรือนกั แสดงถาม เขาจะใหค้ าตอบได้ วเิ คราะห์ภมู หิ ลงั ตวั ละคร ผูก้ ากับภาพยนตร์ต้องเข้าใจตวั ละครเสมือนเป็นญาติสนิท รูว้ า่ เขาและเธอมี ภมู หิ ลังอย่างไร นิสยั อย่างไร ต้องขุดลกึ และรู้พฤติกรรมนั้น ๆ ว่า ทาไมเขาจึงเปน็ เชน่ นนั้ และกระทา สิ่งเหลา่ น้ันเพราะอะไร ถ้าเหตุการณ์หนงึ่ เกิดขน้ึ เขาจะทาอยา่ งไร เพื่อเม่ือเวลากากับจะกากบั ไดค้ ล่อง อีก ทง้ั ยงั จะทาให้ตัวละครมีความนา่ สนใจและสมจริง

บรรณำนกุ รม

10 บรรณำนุกรม การผลติ ภาพยนตรส์ ัน้ http://www.chakkham.ac.th/~krunatcha/shortfilm/ สืบค้นวนั ที่ 17 กันยายน 2564

ภำคผนวก

12 ประวตั ผิ จู้ ดั ทำ ช่อื -สกุล รักชนก อมิ่ จาด วนั เดอื น ปเี กิด 5 พฤศจิกายน พ.ศ.2545 ทีอ่ ยปู่ ัจจบุ ัน 534/9 หมู9่ อ.เมือง ตาบลนครสวรรคต์ กจ.นครสวรรค6์ 0000 ประวัตกิ ารศึกษา สาเรจ็ การศกึ ษาระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) สาขาแอนิเมชัน่ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษานครสวรรค์ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ปจั จบุ ันกาลังศึกษา ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) สาขาการถ่ายภาพและ มัลตมิ ีเดยี วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษานครสวรรค์ อาเภอเมือง จังหวดั นครสวรรค์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook