Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสถิติประจำปี ปีงบประมาณ 2560

รายงานสถิติประจำปี ปีงบประมาณ 2560

Published by Chalisara Faidum, 2020-12-17 08:13:33

Description: 60

Search

Read the Text Version

รายงานสถติ ปิ ระจำปี ปีงบประมาณ 2560 กลมุ งานสารสนเทศทางการแพทย กลุม ภารกิจดานพฒั นาระบบบรกิ ารและสนับสนุนบริการสุขภาพ

คำนำ ในสถานการณ์ปัจจุบัน ข้อมูลและสถิติ มีประโยชน์กับชีวิตประจาวันมากขึ้นเรื่อย ๆ สถิติเป็นเคร่ืองมือ สาคัญท่ีถูกนามาใช้ในทุกองค์กร ครัวเรือน หรือแม้แต่ตัวเราเอง เพื่อจดหรือบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ให้อยู่ใน รูปแบบตัวเลข ไว้สาหรับใช้ในการเปรียบเทียบ การวัด การประมาณค่าต่าง ๆ ด้วยเหตุน้ีจึงมีการนา “สถิติ” มาใช้ในด้านต่าง ๆ มากมาย เพ่ือใช้วางแผนการทางานในอนาคต, การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาแนวทางแก้ไข, การวิจัย, การทาวิทยานิพนธ์ ทางคณะผู้จัดทาเห็นความสาคัญน้ี จึงได้จัดทาหนังสือ เล่มน้ีข้ึนมา หนงั สอื รายงานสถติ ิประจาปี 2560 ฉบับนี้ กลุ่มงานสารสนเทศทางการแพทย์ ได้รวบรวมสถิติและข้อมูล จากผลการดาเนินงานของแตล่ ะกลุ่มงานภายในโรงพยาบาลขอนแก่น จัดทาขึ้นเพ่ือเป็นอีกหน่ึงช่องทางในการ สนับสนุนให้ทุกฝ่าย/กลุ่มงาน สามารถนาสถิติและข้อมูลไปใช้อ้างอิงในการวางแผนและพัฒนาระบบบริการ สขุ ภาพ ให้บรรลุผลตามเป้าหมาย หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานสถิติประจาปี 2560 ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อทุกหน่วยงานและผู้ท่ี เกี่ยวข้อง หากพบข้อผิดพลาดประการใด โปรดแจ้งและช้ีแนะได้ท่ีกลุ่มงานสารสนเทศทางการแพทย์ ภายใต้ กลุ่มงานภารกิจด้านพัฒนาระบบบริการและสนับสุนบริการสุขภาพ (พรส.) คณะผู้จัดทายินดีรับคาช้ีแนะเพื่อ นาไปแก้ไขปรับปรงุ ให้มีคณุ ภาพมากขน้ึ และขอขอบพระคุณทุกกลุ่มงานภายในโรงพยาบาลขอนแก่นและผู้ที่มี ส่วนเก่ยี วข้องทุกทา่ น ที่รว่ มกันจดั ทารายงานฉบบั นี้ ใหส้ าเรจ็ ลุล่วงไปไดด้ ้วยดี กลมุ่ งานสารสนเทศทางการแพทย์ เมษายน 2561

ก ก ค สารบญั ช 1 คานา 1 สารบัญ 1 สารบญั ตาราง 1 สารบญั ภาพ 1 ขอ้ มูลทั่วไปของจงั หวดั ขอนแก่น 2 2 ตราประจาจงั หวดั 2 ทต่ี ้ังและภูมปิ ระเทศ 3 อาณาเขตตดิ ต่อ 3 ภาพรวมด้านทาเลทีต่ ้ัง 3 การปกครอง 4 จานวนประชากร 6 เส้นทางคมนาคม 7 ภมู อิ ากาศ 7 สภาพเศรษฐกจิ 8 ดา้ นการทอ่ งเทีย่ ว 10 ดา้ นเกษตรกรรม 10 ด้านแรงงาน 11 ดา้ นการมงี านทา 11 ด้านการจดั หางานในประเทศ 11 ดา้ นการศึกษา 12 ข้อมูลท่ัวไปโรงพยาบาลขอนแกน่ 12 ประวัติโรงพยาบาลขอนแกน่ 13 วิสยั ทัศน์ (Vision) 13 พนั ธกิจ (Mission) 14 สมรรถนะหลักขององคก์ ร (Core competency) 15 อตั ลกั ษณ์ หรือ ค่านยิ ม (Core value) 16 ความท้าท้ายเชงิ กลยุทธ์ 73 ประเด็นยุทธศาสตร์ 73 รายนามผู้อานวยการโรงพยาบาลขอนแก่นอดตี - ปัจจบุ นั 74 บคุ ลากรโรงพยาบาลขอนแกน่ 75 สถิตปิ ระชากร 76 สถติ ิผู้ปว่ ยทั่วไป สถติ ริ ายงานอนั ดับโรค สถติ อิ ันดบั โรคทพ่ี บบ่อย ตามกลุ่มโรคผ้ปู ว่ ยนอก สถิติอันดับโรคสาเหตุการปว่ ยของผ้ปู ่วยนอก 10 อนั ดบั แรก สถติ อิ นั ดบั โรคมะเรง็ ผปู้ ว่ ยนอก สถติ ิอันดบั โรคที่พบบอ่ ย จาแนกตามแผนกโรค ผูป้ ว่ ยนอก

ข 85 86 สารบัญ (ต่อ) 88 89 สถติ อิ นั ดบั หัตถการ (ICD 9) ผ้ปู ่วยนอก 91 สถิติอนั ดับโรคท่ีพบบอ่ ย ตามกลุ่มโรค (รง.505) ผูป้ ว่ ยใน 100 สถิติอันดับโรคที่พบบ่อย ตามกลุ่มโรคย่อย ผ้ปู ว่ ยใน 101 สถิติอนั ดบั โรคมะเร็ง ผ้ปู ว่ ยใน 102 สถติ ิอันดบั โรคท่ีพบบ่อย จาแนกตามแผนก ผ้ปู ่วยใน 103 สถิตอิ ันดบั โรคการเสียชีวติ ผู้ป่วยใน 104 สถติ ิอนั ดบั หัตถการ (ICD 9) ผู้ปว่ ยใน 105 สถิติอนั ดับโรคผูป้ ว่ ยนอกท่ีรับ refer จากสถานพยาบาลอื่น สถิติอันดับโรคผู้ป่วยในทรี่ บั refer จากสถานพยาบาลอื่น สถติ ิอนั ดับโรคผปู้ ว่ ยที่สง่ ต่อ ไปสถานพยาบาลทีศ่ ักยภาพสงู กว่า (Refer out) สถติ ิอนั ดับโรคผู้ปว่ ยที่สง่ ต่อ ไปสถานพยาบาลท่ศี ักยภาพสงู กว่า (Refer out) จาแนกตามแผนก .

ค สารบญั ตาราง ตารางที่ เนอ้ื ทป่ี ลูกอ้อยโรงงาน ผลผลติ รวม และผลผลิตเฉลยี่ ตอ่ ไร่ ปี 2554 – 2558 หน้า 1 เน้อื ทป่ี ลกู ข้าวนาปี เนอ้ื ทเ่ี ก็บเก่ียว ผลผลิตรวม และผลผลติ เฉลย่ี ตอ่ ไร่ ปี 2554 -2558 4 2 เนื้อทป่ี ลกู มันสาปะหลงั เนื้อท่ีเก็บเกีย่ ว ผลผลิตรวม และผลผลิตเฉลยี่ ต่อไร่ ปี 2554 - 2558 5 3 จานวนนักเรียน นิสิต นักศึกษา ในระบบโรงเรียน จาแนกระดับการศึกษาและเพศปีการศึกษา 2558 6 4 (ภาคเรยี นท่ี 1) 8 จานวนผ้เู รียน/นักศกึ ษา สังกัดสานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 5 ปงี บประมาณ 2558 8 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET)ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2558 6 8 7 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน ( O-NET ) ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 9 ปีการศกึ ษา 2555 - 2558 8 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน ( O-NET ) ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6 9 ปกี ารศึกษา 2555 – 2558 9 จานวนบคุ ลากร โรงพยาบาลขอนแก่น ปงี บประมาณ 2560 14 10 เปรียบเทียบอัตรา กาลงั บุคลากร โรงพยาบาลขอนแก่น 14 11 จานวนประชากรแยกตามสทิ ธปิ ระกันสุขภาพ 15 12 จานวนการบริการผูป้ ่วยนอกและผปู้ ่วยใน 16 13 จานวนผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในจาแนกตามสิทธกิ ารรักษา ปีงบประมาณ 2560 17 14 จานวนผปู้ ว่ ยนอก จาแนกตามประเภทสิทธิ(สถานพยาบาลหลกั 10670) ปีงบประมาณ 2560 17 15 จานวนการรบั – ส่งต่อผปู้ ว่ ย 18 16 จานวนการส่งตอ่ (Refer Out) ผ้ปู ่วยโรงพยาบาลขอนแก่น 19 17 ผ้ปู ว่ ยท่ีมกี ารรับส่งต่อสถานพยาบาลอน่ื จาแนกตามสทิ ธิการรกั ษา 19 18 รอ้ ยละของการรับ – สง่ ต่อผู้ปว่ ยโรงพยาบาลขอนแกน่ 20 19 จานวนผปู้ ่วยใน แยกตามกลมุ่ งาน ท่ีรบั Refer จาแนกตามประเภทค่า AdjRW 20 20 จานวนผูป้ ว่ ยทีร่ บั ไว้รกั ษา แยกตามกลุ่มงาน จาแนกตามประเภทค่า AdjRW 21 21 จานวนผ้ปู ่วยใน ค่า AdjRw และคา่ CMI จาแนกรายกลมุ่ งาน ปีงบประมาณ2560 22 22 แสดงการเปรยี บเทยี บดชั นี Case Mix Index (CMI) จาแนกรายกลมุ่ งาน 23 23 จานวนการใหบ้ รกิ ารผู้ปว่ ยในแยกตามประเภทกล่มุ งาน 23 24 แสดงการใหบ้ ริการผูป้ ว่ ยนอกแยกตามแผนกมาตรฐาน 24 25 การใหบ้ รกิ ารผูป้ ว่ ยนอกแยกตามหอ้ งตรวจและคลนิ กิ พเิ ศษ 25 26 สถิติชีพ และสถิตจิ ากห้องคลอด 29 27 สถิติการใช้ยาระงับความรสู้ ึก 30 28 สถิตกิ ารให้บริการกลมุ่ งานพยาธวิ ทิ ยา 31 29 สถิตกิ ารให้บริการกลุ่มงานเทคนคิ การแพทย์ 31 30 สถิติการใหบ้ ริการรังสีวิทยา 31 31 จานวนการผ่าตดั ใหญแ่ ละจานวนเฉล่ียตอ่ วัน จาแนกตามสาขาการผา่ ตัด 32 32 แสดงจานวนการผา่ ตดั ใหญ่ จาแนกในเวลาและนอกเวลา 33 33 แสดงจานวนการผา่ ตดั เลก็ จาแนกในเวลาและนอกเวลา 34 34 ผู้ป่วยห้องอุบัตเิ หตุ – ฉกุ เฉนิ 35

ง สารบญั ตาราง (ตอ่ ) ตารางที่ สาเหตุการเจบ็ ป่วย – การเสียชีวิต อุบัติเหตุและฉุกเฉนิ หนา้ 35 จานวนผู้บาดเจ็บจาแนกตามสาเหตกุ ารบาดเจ็บ 36 36 สถติ ิงานเภสัชกรรมบรกิ ารปีงบประมาณ 2556 - 2560 37 37 ตัวชี้วัดคุณภาพทางเภสชั กรรม ปีงบประมาณ 2556 – 2560 37 38 สถติ กิ ารใหบ้ ริการทางทันตกรรม ปีงบประมาณ 2559-2560 38 39 สถติ กิ ารใหบ้ ริการศนู ยเ์ ชย่ี วชาญระดบั สูงสาขาทารกแรกเกิด 38 40 ตัวช้วี ัดคณุ ภาพการดแู ลรักษากลุม่ งานกุมารเวชกรรม 39 41 ตัวชวี้ ัดการดาเนนิ การ การดูแลทารกแรกเกิด ตาม Service Plan 40 42 ตัวชว้ี ดั การดาเนินการ Referral System 41 43 ตวั ชว้ี ดั การดาเนนิ การ Birth asphyxia 42 44 ตัวชวี้ ดั Referral System (เฉพาะ fast track) 42 45 ตัวชี้วดั การพัฒนาระบบบริการ (รอ้ ยละ) 43 46 สรปุ ผลการดาเนินการตามตวั ชีว้ ัดองคก์ ร THIP II 43 47 สถิตกิ ารใหบ้ ริการผู้ปว่ ยของศูนย์เช่ียวชาญระดับสูง สาขามะเร็ง 43 48 จานวนผู้ปว่ ยมะเรง็ รายใหม่ จาแนกตามวิธกี ารรักษาหลัก ปี 2554 – 2558 44 49 ลักษณะระยะของมะเรง็ ในผูป้ ่วยมะเรง็ รายใหม่ ปี2558 44 50 อันดบั โรคมะเรง็ รายใหมท่ ่ีเสียชวี ติ มากที่สุด 10 อนั ดบั แรก 44 51 ท้งั เพศชายและเพศหญิงปี 2558 45 จานวนและร้อยละการเสยี ชวี ติ ของผ้ปู ่วยมะเรง็ รายใหม่ แยกตามอายแุ ละเพศ ปี 2558 52 จานวนกลุ่มเปา้ หมายท่ีมารับบรกิ ารในกลุ่มงานสังคมสงเคราะห์ ปีงบประมาณ 2560 45 53 รายงานสภาพปัญหาทางสังคมของผูท้ ม่ี ารับบริการในกลุ่มงานสงั คมสงเคราะห์ ปีงบประมาณ 2560 46 54 การประเมินความพรอ้ มของครอบครัวผทู้ ่มี ารับบริการในกลมุ่ งานสงั คมสงเคราะห์ 46 55 ปีงบประมาณ 2560 47 การบาบดั ทางสังคมและการเสริมพลงั อานาจ 56 การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสงั คม (Social Rehabilitation) 50 57 การคุ้มครองสิทธ์ิทางสงั คม และการจดั การทรัพยากรทางสงั คม 51 58 (Social Resources Management) 52 การบรกิ ารทางสงั คม 59 บรกิ ารสงั คมสงเคราะห์ทางการแพทย์แกผ่ ูป้ ่วยพิการและแนะนาการจดทะเบียน 52 60 ผู้พกิ าร ปีงบประมาณ 2560 53 สถติ ิการใหบ้ ริการคลนิ ิคสงเคราะหท์ างการแพทย์(รหสั 33) ระบุ ตาม ICD 10 ปีงบประมาณ 2560 61 สรปุ รายงานใหบ้ รกิ ารผ้ทู ี่ถูกกระทารุนแรงทเี่ ขา้ รบั บริการในศูนย์พงึ่ ได้ ปงี บประมาณ 2560 53 62 สถิตกิ ารให้การสงเคราะห์ดา้ นการรกั ษาพยาบาล ผู้ป่วยใน ปงี บประมาณ 2560 54 63 สถติ ิการให้การสงเคราะหด์ า้ นการรักษาพยาบาล ผู้ปว่ ยนอก ปงี บประมาณ 2560 57 64 แบบสรปุ รายงานใหบ้ ริการผู้ท่ีตั้งครรภ์ไม่พงึ ประสงคท์ ีเ่ ขา้ รับบรกิ ารในศนู ย์พ่งึ ได้ ปงี บประมาณ 2560 57 65 สถิติการให้บริการห้องตรวจสวนหวั ใจและหลอดเลอื ด (Cath lab) แยกตามประเภทการมา 58 66 ปงี บประมาณ 2560 60

จ สารบญั ตาราง (ตอ่ ) ตารางที่ สถติ กิ ารใหบ้ ริการหอ้ งตรวจสวนหวั ใจและหลอดเลอื ด (Cath lab) ปีงบประมาณ 2560 หนา้ 67 สถิตกิ ารให้บริการหอ้ งตรวจพิเศษทางหวั ใจ ( Echo ) ปงี บประมาณ 2558 – 2560 60 68 สถติ ิการให้บริการ สรุปผลการ Conference ปีงบประมาณ 2560 60 69 สถิตกิ ารนดั ผู้ปว่ ยตรวจพิเศษทางหัวใจ แบบ Online ปงี บประมาณ 2560 61 70 สถิติการให้บริการงานผ่าตดั หัวใจ ปงี บประมาณ 2560 61 71 สถิติการให้บริการหอผูป้ ว่ ยหนักโรคหวั ใจ (CCU) ปงี บประมาณ 2560 61 72 ค่าดชั นี CMI ของโรงพยาบาลขอนแกน่ แยกตามกลุ่มวินจิ ฉัยโรคหลัก (MDC) 62 73 ค่าดชั นี CMI ของโรงพยาบาลขอนแกน่ แยกตามกลุ่มวินจิ ฉยั โรคหลกั (MDC) 62 74 รักษาโดยการผา่ ตัด 63 ค่าดัชนี CMI ของโรงพยาบาลขอนแกน่ แยกตามกลุ่มวนิ จิ ฉัยโรคหลัก (MDC) 75 รกั ษาโดยการไมผ่ ่าตัด 64 สถานการณ์การเงินโรงพยาบาลขอนแกน่ 76 อตั ราการครองเตยี ง อตั ราตาย แยกตามประเภทหอผปู้ ว่ ย ปีงบประมาณ 2560 66 77 สถิติรายงานอันดบั โรค กลุม่ งานกายภาพบาบัด ผปู้ ว่ ยใน ปงี บประมาณ 2558 - 2560 67 78 สถิตริ ายงานอนั ดับโรค กลมุ่ งานกายภาพบาบัด ผู้ปว่ ยนอก ปีงบประมาณ 2558 - 2560 70 79 สถติ ผิ ู้ป่วยนอก – ใน กลมุ่ งานกายภาพบาบดั ปงี บประมาณ 2558 - 2560 70 80 สถติ ผิ ปู้ ่วยนอก ท่สี ่งปรึกษากายภาพบาบัด ปงี บประมาณ 2558 - 2560 70 81 สถิติผู้ปว่ ยผู้ป่วยท่มี ารับบรกิ ารทางกายภาพบาบดั แยกตามสิทธิ ปงี บประมาณ 2558 - 2560 71 82 จานวนเงนิ ค่าบรกิ ารเรียกเก็บ ผปู้ ่วยนอก ท่มี ารับบริการทางกายภาพบาบัด ปงี บประมาณ 71 83 2558 - 2560 72 จานวนเงนิ คา่ บริการเรียกเกบ็ ผูป้ ่วยใน ทมี่ ารับบรกิ ารทางกายภาพบาบดั ปีงบประมาณ 84 2558 - 2560 72 อันดบั โรคท่ีพบบ่อยตามกลุ่มโรค ผู้ป่วยนอก (OPD) 85 สาเหตุการป่วยจาแนกรายโรคของผปู้ ว่ ยนอก 10 อนั ดับแรก 73 86 สาเหตุการปว่ ยของผู้ป่วยนอกโรคมะเรง็ 10 อันดบั แรก 74 87 สาเหตกุ ารป่วยของผู้ป่วยนอก หอ้ งตรวจอายุรกรรม 10 อันดบั แรก 75 88 สาเหตุการปว่ ยของผปู้ ว่ ยนอก ห้องตรวจศัลยกรรม 10 อนั ดับแรก 76 89 สาเหตุการปว่ ยของผูป้ ่วยนอก หอ้ งตรวจศัลยกรรมกระดูกและข้อ 10 อันดับแรก 77 90 สาเหตกุ ารป่วยของผู้ป่วยนอก ห้องตรวจกมุ ารเวชกรรม 10 อันดับแรก 78 91 สาเหตุการป่วยของผปู้ ว่ ยนอก ห้องตรวจนรีเวชกรรม 10 อันดบั แรก 79 92 สาเหตุการป่วยของผปู้ ่วยนอก ห้องตรวจสูติกรรม 10 อนั ดับแรก 80 93 สาเหตกุ ารป่วยของผปู้ ว่ ยนอก ห้องตรวจโสต ศอ นาสกิ 10 อันดับแรก 81 94 สาเหตกุ ารปว่ ยของผู้ปว่ ยนอก หอ้ งตรวจจักษุ 10 อนั ดบั แรก 82 95 สาเหตกุ ารป่วยของผปู้ ่วยนอก ห้องตรวจจิตเวช 10 อันดับแรก 83 96 สถิตหิ ัตถการ (ICD 9) ผู้ปว่ ยนอก 10 อันดับแรก 84 97 สถติ ิอันดบั สาเหตุการป่วยของผูป้ ่วยใน ตามกล่มุ โรค (รง.505) 85 98 สาเหตกุ ารป่วยของผู้ป่วยใน จาแนกรายโรค 10 อนั ดับแรก 86 99 88

ฉ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ สาเหตุการป่วยของผู้ปว่ ยในโรคมะเรง็ 10 อันดบั แรก หนา้ 100 89 สาเหตกุ ารป่วยของผู้ปว่ ยในโรคมะเร็ง ที่รกั ษาโดยการผ่าตัด 10 อนั ดบั แรก 101 90 สาเหตกุ ารปว่ ยของผปู้ ว่ ยใน กลุ่มงานอายุรกรรม 10 อนั ดับแรก 102 91 สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยใน กล่มุ งานศลั ยกรรม 10 อันดับแรก 103 92 สาเหตกุ ารป่วยของผปู้ ว่ ยใน กล่มุ งานศลั ยกรรมกระดูกและข้อ 10 อนั ดบั แรก 104 93 สาเหตุการปว่ ยของผปู้ ่วยใน กลมุ่ งานกุมารเวชกรรม 10 อันดบั แรก 105 94 สาเหตกุ ารป่วยของผู้ปว่ ยใน กลมุ่ งานสูติกรรม 10 อนั ดับแรก 106 สาเหตุการปว่ ยของผปู้ ว่ ยใน กลุ่มงานนรเี วชกรรม 10 อันดับแรก 95 107 สาเหตกุ ารป่วยของผู้ปว่ ยใน กลมุ่ งานโสต ศอ นาสิก 10 อันดับแรก 97 108 สาเหตุการปว่ ยของผู้ปว่ ยใน กลมุ่ งานจักษุ 10 อนั ดับแรก 98 109 สาเหตุการเสียชวี ิตของผู้ปว่ ยใน 10 อนั ดบั แรก 99 110 สถิติการผา่ ตดั ผปู้ ว่ ยใน 10 อันดบั แรก 100 111 สถติ ิอนั ดบั โรคผ้ปู ว่ ยนอกท่ีรับ refer จากสถานพยาบาลอ่นื 10 อันดบั แรก 101 112 สถิติอนั ดับโรคผปู้ ่วยในที่รับ refer จากสถานพยาบาลอืน่ 10 อนั ดับแรก 102 113 สถิตอิ ันดับโรคผปู้ ่วยท่สี ่งต่อ ไปสถานพยาบาลทศ่ี ักยภาพสงู กว่า 103 114 (Refer out) 10 อันดับแรก 104 สถติ ิอันดบั โรคทสี่ ง่ ตอ่ ไปโรงพยาบาลทีศ่ กั ยภาพสูงกวา่ แผนกอายุรกรรม 115 สถติ ิอนั ดบั โรคที่สง่ ต่อไปโรงพยาบาลท่ีศกั ยภาพสงู กว่า แผนกศัลยกรรม 105 116 สถติ ิอนั ดับโรคที่ส่งต่อไปโรงพยาบาลทศี่ ักยภาพสูงกวา่ แผนกสตู ิ -นรีเวชกรรม 106 117 สถิตอิ นั ดับโรคทส่ี ง่ ต่อไปโรงพยาบาลทศ่ี ักยภาพสูงกว่า แผนกกุมารเวชกรรม 107 118 สถติ อิ ันดับโรคทส่ี ง่ ตอ่ ไปโรงพยาบาลทศ่ี กั ยภาพสูงกวา่ แผนกโสต ศอ นาสิก 108 119 สถิติอนั ดบั โรคทีส่ ่งต่อไปโรงพยาบาลทศี่ กั ยภาพสูงกวา่ แผนกจักษุ 109 120 สถติ ิอนั ดับโรคท่ีสง่ ตอ่ ไปโรงพยาบาลที่ศักยภาพสงู กว่า แผนกศลั ยกรรมกระดูกและข้อ 110 121 สถติ ิอันดบั โรคที่สง่ ตอ่ ไปโรงพยาบาลทศ่ี ักยภาพสูงกว่า แผนกจิตเวช 111 122 112

ช หนา้ 1 สารบัญภาพ 3 4 ภาพท่ี 7 1 ตราประจาจงั หวดั ขอนแกน่ 13 2 สถติ ิจานวนผู้มาเย่ยี มเยอื น จังหวัดขอนแก่น ปี 2556 - 2559 15 3 สถติ ิรายไดจ้ ากการทอ่ งเทย่ี ว จงั หวดั ขอนแกน่ ปี 2556 – 2559 16 4 รอ้ ยละของผมู้ ีงานทา จาแนกตามประเภทอุตสาหกรรม 17 5 ประเด็นยุทธศาสตร์โรงพยาบาลขอนแกน่ 18 6 อตั ราประชากรทีเ่ ลือกสิทธิในโรงพยาบาลขอนแก่น 24 7 สถติ ิการบริการผปู้ ่วยนอก – ใน ปงี บประมาณ 2557 - 2560 25 8 จานวนผ้ปู ว่ ยนอก แยกในเครือขา่ ยและนอกเครือข่าย ปีงบประมาณ 2560 32 9 จานวนการรบั – ส่งต่อผู้ป่วย 33 10 จานวนการใหบ้ ริการผ้ปู ่วยในแยกตามประเภทกลุ่มงาน 34 11 จานวนผปู้ ว่ ยนอก แยกตามแผนกมาตรฐาน 36 12 สถติ ิการผ่าตดั ใหญ่ ปงี บประมาณ 2558 – 2560 39 13 จานวนการผา่ ตดั ใหญ่ จาแนกในเวลาและนอกเวลา 44 14 จานวนการผา่ ตัดเล็ก จาแนกในเวลาและนอกเวลา 70 15 เปรยี บเทียบสาเหตกุ ารบาดเจ็บ 5 อันดับแรก จาแนกตามปีงบประมาณ 72 16 จานวนการเกิดมชี ีพตอ่ ปี เปรียบเทยี บรายปปี ระมาณ 2558 - 2560 17 เปรยี บเทียบจานวนผู้ปว่ ยมะเรง็ รายใหม่ ปี 2550 – 2558 72 18 เปรียบเทียบสถติ ิผูป้ ว่ ยนอก – ใน กล่มุ งานกายภาพบาบดั ปงี บประมาณ 2558 – 2560 19 เปรยี บเทยี บค่าบริการเรยี กเก็บ ผู้ป่วยนอก ที่มารับบริการทางกายภาพบาบดั ปงี บประมาณ 2558 - 2560 20 เปรียบเทยี บค่าบริการเรียกเก็บ ผ้ปู ่วยใน ทมี่ ารบั บริการทางกายภาพบาบัด ปงี บประมาณ 2558 - 2560

ข้อมูลท่วั ไปของจงั หวดั ขอนแก่น 1. ตราประจาจงั หวดั ภาพที่ 1 ตราประจาจงั หวัดขอนแก่น เปน็ รูปเจดียเ์ ก่าครอบต้นมะขาม เรียกวา่ เจดียข์ ามแกน่ ซ่งึ เปน็ ปชู นยี สถานทส่ี าคญั แหง่ หนงึ่ ของจังหวดั มเี รื่องเล่าต่อ กนั มาว่าคร้ังหนึง่ ตน้ มะขามใหญถ่ ูกตดั โคน่ ลงไว้หลายปกี ลับงอกงามมีกงิ่ ก้านสาขาขนึ้ อีก ประชาชนถือว่าเปน็ สิ่งมหัศจรรยจ์ ึงพา กันสร้างเจดยี ์ครอบตน้ มะขามนั้นไวเ้ รียกว่า เจดีย์ขามแก่น และถือเปน็ ปชู นยี สถาน เคารพกราบไหว้ตัง้ แตน่ ้นั มาจนถงึ ปัจจบุ นั จึงได้นามาเปน็ ตราประจาจังหวดั ต่อมาคาวา่ ขามแกน่ กเ็ พยี้ นเปน็ ขอนแกน่ 2.ทีต่ ั้งและภมู ิประเทศ จงั หวดั ขอนแก่น ตั้งอยู่ระหวา่ งเสน้ รงุ้ ท่ี 15 - 17 องศาเหนอื และเส้นแวงที่ 101 - 103 องศาตะวันออก ซึ่งอยู่บริเวณ ตอนกลางของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือหา่ งจากกรุงเทพมหานคร 445 กิโลเมตร มีพื้นที่ 10,885.99 ตารางกโิ ลเมตรหรอื ประมาณ 6.8 ล้านไร่ ภมู ิประเทศเป็นพื้นทรี่ าบ มลี กั ษณะสูงตา่ สลับเปน็ ลกู คลน่ื ลาดเทไปทางทิศตะวันออกและทิศใต้ มที ร่ี าบ ล่มุ แถบลุ่มน้าชีและลมุ่ น้าพอง พืน้ ทสี่ งู กวา่ ระดบั นา้ ทะเลปานกลางเฉลย่ี 100 - 200 เมตร 3.อาณาเขตติดตอ่ จังหวัดขอนแกน่ มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคยี งดงั ต่อไปน้ี ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กบั จงั หวัดอุดรธานี จังหวดั เลย และจังหวัดหนองบัวลาภู ทศิ ใต้ ติดตอ่ กบั จงั หวดั นครราชสมี า และจงั หวัดบรุ รี ัมย์ ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับ จังหวัดขอนแก่นกาฬสินธ์ุ และจังหวดั มหาสารคาม ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กับ จงั หวดั ชัยภมู ิ และจงั หวดั เพชรบูรณ์ 4.ภาพรวมด้านทาเลทตี่ ั้ง  มีทตี่ ัง้ ไดเ้ ปรียบทางด้านภูมิ - รัฐศาสตร์ ทาเลที่ตั้งอยู่กึ่งกลางของภูมิภาค เปน็ ศนู ยก์ ลางของการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกจิ ที่สาคญั เชน่ ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ ของกลมุ่ ประเทศ ในอนุภูมิภาคลมุ่ แมน่ า้ โขง ( Greater Mekong Sub - region Economic Cooperation หรือ GMS ) ซึง่ ประกอบดว้ ยประเทศในลุ่มแม่น้าโขง 6 ประเทศ ได้แก่ ไทย พม่า ลาว กัมพชู า เวยี ดนาม และจีนตอนใต้ (มณฑลยนู นาน) รายงานสถติ ปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 1

 เปน็ เมืองเศรษฐกิจขนาดใหญ่ โดยเปน็ ศนู ย์กลางทางการคา้ การลงทุน และการบริการ  เป็นพ้ืนท่ยี ุทธศาสตร์ตามแนวระเบียงเศรษฐกจิ ตะวันออก – ตะวันตก หรือ East West Economic Corridor หรือ EWEC และระเบยี งเศรษฐกิจแนวเหนือ - ใต้ ( North – South Economic Corridor : NSEC )  เปน็ ท่ีตั้งศูนย์กลางการบริหารและบรกิ ารของหนว่ ยงานภาครัฐระดับภาค มีหน่วยงานภาครฐั สว่ นกลางในระดบั ภูมภิ าค ประมาณ 260 หน่วยงาน ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อภาคเอกชนของไทย และต่างประเทศ ด้านการติดต่อประสานงานกับหน่วยงาน ภาครฐั ให้เป็นไปอยา่ งสะดวก  เปน็ ทตี่ ้ังของสถานกงสุลใหญ่สาธารณรัฐประชาชนจีน ประจาจังหวัดขอนแกน่ , สาธารณรัฐสังคมนิยมเวยี ดนาม ประจา จงั หวดั ขอนแกน่ , สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ประจาประเทศไทย ณ ขอนแก่น และสาธารณรัฐเปรู ประจาจงั หวัด ขอนแกน่ 5. การปกครอง การปกครอง แบ่งเขตการปกครองเป็น 26 อาเภอ 198 ตาบล 2,331 หม่บู ้าน 389 ชุมชน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ 225 แหง่ ประกอบด้วย องค์การบริหารสว่ นจังหวัด 1 แห่ง เทศบาล 85 แหง่ ( เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 6 แห่ง และเทศบาลตาบล 78 แหง่ ) และองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล 139 แห่ง ราชการส่วนภมู ภิ าค 36 ส่วนราชการ และราชการ ส่วนกลางและรัฐวิสาหกิจ 227 หน่วยงาน 6. จานวนประชากร จานวนประชากร ( ข้อมูลกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ เดือนธันวาคม 2558 ) รวม 1,798,014 คน แยกเป็น ชาย 888,499 คน หญงิ 909,515 คน ความหนาแนน่ ของประชากร 165.17 คน/ตารางกิโลเมตร 7. เสน้ ทางคมนาคม  ทางรถยนต์ มที างหลวงแผน่ ดินผา่ นพื้นที่จานวน 7 สาย ไดแ้ ก่ ทางหลวงหมายเลข 2 : สระบรุ ี – นครราชสมี า – ขอนแกน่ – อดุ รธานี - หนองคาย ทางหลวงหมายเลข 12 : ขอนแกน่ - เพชรบรู ณ์ ทางหลวงหมายเลข 23 : แยกจากทางหลวงหมายเลข 2 ผา่ นอาเภอบ้านไผ่ (ขอนแกน่ ) – มหาสารคาม ทางหลวงหมายเลข 201 : ขอนแก่น – ชัยภูมิ - เลย ทางหลวงหมายเลข 207 : ขอนแกน่ - บรุ ีรมั ย์ ทางหลวงหมายเลข 208 : ขอนแก่น - มหาสารคาม ทางหลวงหมายเลข 209 : ขอนแกน่ - กาฬสนิ ธุ์  ทางรถไฟ เส้นทางจาก กรุงเทพ - หนองคาย ขนานกบั ทางหลวงหมายเลข 2 หรอื ถนนมติ รภาพ ผ่านอาเภอในเขต พื้นท่ี คือ อาเภอพล บา้ นไผ่ บ้านแฮด เมืองขอนแก่น นา้ พอง และเขาสวนกวาง  ทางเครื่องบิน มีทา่ อากาศยานพาณิชย์ 1 แห่ง หา่ งจากตวั เมือง 8 กิโลเมตร เส้นทางกรงุ เทพ – ขอนแกน่ - กรงุ เทพ ใช้เวลาเดินทางประมาณ 55 นาที วนั ละ 6 เท่ยี วบนิ รายงานสถิติประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 2

8.ภมู อิ ากาศ สภาพภูมอิ ากาศของขอนแก่น โดยท่ัวไปเป็นแบบทุง่ หญา้ ในเขตร้อน คอื มฝี นตกสลับกับแหง้ แลง้ ไดร้ บั อิทธิพลจากลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือ โดยมีอุณหภูมสิ งู สุดโดยเฉล่ยี 36.35 องศาเซลเซยี ส และมี 3 ฤดู คือ ฤดู รอ้ น เรม่ิ ตง้ั แตเ่ ดอื นกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนจัดในชว่ งเดือนเมษายนของทุกปี ฤดฝู นเริ่มต้ังแต่เดือนพฤษภาคม ถงึ เดือนตุลาคม โดยจะมฝี นตกชุกในช่วงเดือนสิงหาคมของทกุ ปี และฤดูหนาวเร่ิมตั้งแต่เดอื นตุลาคม ถึงเดือนกมุ ภาพันธ์ สภาพ อากาศจะหนาวเย็น โดยท่ัวไปจะหนาวจัดในชว่ งเดือนธันวาคม จนถงึ เดือนมกราคมของทุกปี อุณหภูมิต่าสุดเฉลี่ย 15.4 องศา เซลเซียส 9.สภาพเศรษฐกจิ - จงั หวดั ขอนแก่น มมี ูลค่าผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวดั ( Gross Provincial Product : GPP ) ปี 2558 จานวน 187,271 ล้านบาท เป็นลาดบั ที่ 17 ของประเทศ และเป็นลาดับท่ี 2 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - รายไดเ้ ฉลี่ยต่อหัวประชากร ( Per Capita GPP ) ของจงั หวัดขอนแกน่ ปี 2558 คอื 107,607 บาท อยใู่ นอันดับท่ี 1 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเปน็ อนั ดบั ที่ 30 ของประเทศ - สาขาการผลติ ท่ีสร้างรายได้ให้กับจงั หวัดขอนแก่น ในปี 2558 คอื สาขานอกภาคเกษตร มมี ลู ค่า 163,644 ลา้ นบาท โดยสาขาภาคเกษตรมีมลู ค่า 23,704 ลา้ นบาท - สาขานอกภาคเกษตร มลู ค่าอนั ดับ 1 คอื ผลิตอุตสาหกรรม มีมลู ค่า 68,532 ล้านบาท รองลงมาคือ การศึกษา มมี ูลค่า 22,696 ลา้ นบาท และการขายสง่ ขายปลกี ซอ่ มแซมยานยนต์ มีมลู ค่า 20,263 ล้านบาท 10.ดา้ นการทอ่ งเที่ยว ศกั ยภาพของจงั หวัดขอนแก่นด้านการท่องเท่ียว อยู่ทก่ี ารเป็นตลาดการประชมุ สัมมนา ทาใหม้ นี ักท่องเทีย่ วและรายได้ จากการท่องเที่ยว ปี 2556 - 2559 เพ่มิ ข้นึ อยา่ งต่อเน่ือง ปี 2559 มจี านวนนักท่องเที่ยว 4,801,642 คน รายได้จากการ ท่องเที่ยว 13,770.36 ล้านบาท เพิ่มขึน้ จากปี 2558 ร้อยละ 28.02 โดยสานกั งานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (สสปน. หรอื TCEB) ไดล้ งนาม MOU กับจังหวัดขอนแก่นใหข้ อนแกน่ เปน็ MICE City แหง่ ท่ี 5 ของประเทศเมื่อวนั ท่ี 29 กรกฎาคม 2556 และในปี พ.ศ. 2559 จงั หวัดขอนแก่นได้รับคดั เลือกให้เป็นเจ้าภาพ การจัดกิจกรรมวนั ท่องเทย่ี วโลก ระหว่าง วันที่ 28 - 29 กนั ยายน 2559 ต้อนรบั นักท่องเทย่ี วจากท่ัวโลกกว่า 157 ประเทศ สถิติจานวนผูเ้ ยยี่ มเยอื น จังหวดั ขอนแก่น ปี 2556 - 2559 ภาพท่ี 2 สถติ จิ านวนผู้มาเยยี่ มเยอื น จังหวัดขอนแกน่ ปี 2556 - 2559 รายงานสถิติประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 3

สถติ ริ ายไดจ้ ากการท่องเท่ียว จังหวดั ขอนแก่น ปี 2556-2559 ภาพที่ 3 สถิติรายได้จากการท่องเทย่ี ว จงั หวดั ขอนแกน่ ปี 2556 – 2559 11.ด้านเกษตรกรรม จงั หวดั ขอนแก่นมีพนื้ ที่การเกษตร 4,369,043 ไร่ ( ร้อยละ 64.19 ของพื้นทีจ่ งั หวัด ) โดยอยูใ่ นเขตชลประทาน 592,240 ไร่ ( ร้อยละ 14.3 ของพนื้ ท่ีการเกษตร หรือร้อยละ 8.7 ของพืน้ ที่จงั หวัด ) มปี ระชากรเกษตรกร 1,579,527 คนพืชเศรษฐกิจท่ี สาคัญของจงั หวัดขอนแก่น ทท่ี ารายไดห้ ลักให้เกษตรกร คอื ข้าวนาปี อ้อยโรงงาน และมันสาปะหลัง พนื้ ท่ีปลกู อ้อยโรงงาน จานวน 924,020 ไร่ ผลผลิต 6,880,851 ตัน ผลผลติ เฉล่ยี 12,591 กิโลกรัม/ไร่ ซึง่ สงู กวา่ ผลผลติ เฉลีย่ ออ้ ยโรงงานระดบั ประเทศซึ่งเทา่ กบั 12,118 กโิ ลกรัม/ไร่ ตารางที่ 1 : เนอ้ื ทป่ี ลกู อ้อยโรงงาน ผลผลติ รวม และผลผลติ เฉล่ยี ต่อไร่ ปี 2554 – 2558 รายการ ปเี พาะปลกู ขอนแก่น จานวน รวมทั้งประเทศ เนอื้ ท่ีเก็บเกีย่ ว (ไร)่ 573,067 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 7,870,253 2554 562,286 8,013,011 ผลผลติ รวม (ตัน) 2555 575,671 3,208,248 8,259,969 2556 585,694 3,239,958 8,456,409 ผลผลติ ต่อไร่ (กก./ไร่) 2557 924,020 3,554,780 9,108,359 2558 3,780,963 95,950,416 ทม่ี า : สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร 2554 7,262,936 4,380,950 98,400,465 2555 7,140,891 38,177,111 2556 7,248,278 37,209,173 100,095,580 2557 7,455,854 40,267,762 103,697,005 2558 6,880,851 43,613,650 106,984,120 2554 45,110,950 2555 12,674 12,192 2556 12,700 11,900 12,280 2557 12,591 11,484 12,118 2558 12,730 11,328 12,263 12,591 11,535 12,118 11,529 รายงานสถิตปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 4

พน้ื ทปี่ ลูกข้าวนาปี จานวน 2,598,353 ไร่ ผลผลิต 902,545.326 ตนั ผลผลติ เฉลี่ย 401.44 กิโลกรัม/ไร่ พบว่าผลผลิต เ ฉ ล่ี ย ข้ า ว น า ปี ข อ ง จั ง ห วั ด ข อ น แ ก่ น น้ อ ย ก ว่ า ผ ล ผ ลิ ต เ ฉ ล่ี ย ร ะ ดั บ ป ร ะ เ ท ศ ซึ่ ง เ ท่ า กั บ 433 กิ โ ล ก รั ม ต่ อ ไ ร่ ตารางที่ 2 : เนื้อที่ปลูกข้าวนาปี เนือ้ ทีเ่ กบ็ เกยี่ ว ผลผลิตรวม และผลผลติ เฉล่ียต่อไร่ ปี 2554 -2558 รายการ ปีเพาะปลกู ขอนแก่น จานวน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งประเทศ เนอ้ื ทเี่ พาะปลูก (ไร)่ 2554 2,583,310 39,565,392 65,303,711 2555 2,574,947 39,487,220 64,950,593 2556 2,487,781 37,066,629 62,079,904 2557 2,469,680 36,885,831 61,739,500 2558 2,598,353 36,908,650 61,728,500 เนอื้ ทเี่ ก็บเกี่ยว (ไร่) 2554 2,275,675 35,476,307 56,752,413 2555 2,107,302 33,852,006 58,766,481 2556 2,095,587 33,750,137 58,135,809 2557 2,222,713 34,702,469 59,058,850 2558 2,389,350 34,608,450 59,639,300 ผลผลิตรวม (ตนั ) 2554 784,686 13,452,032 25,867,373 2555 706,209 12,303,561 27,233,903 2556 709,128 12,295,137 27,090,184 2557 754,505 12,296,339 27,106,445 2558 902,545 13,286,430 27,306,490 2554 345 379 456 ผลผลิตต่อไร่ (กก./ไร)่ 2555 338 363 463 2556 339 364 466 2557 339 354 459 2558 401 398 433 ทีม่ า : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 398 433 พื้นทปี่ ลูกมนั สาปะหลงั จานวน 228,310.50 ไร่ ผลผลิต จานวน 592,156.853 ตัน ผลผลิตเฉล่ีย 3,284.80 กิโลกรัม/ ไร่ ซ่ึงน้อยกวา่ ผลผลิตเฉล่ยี มนั สาปะหลงั ระดับประเทศ ซงึ่ เท่ากับ 3,492 กโิ ลกรัม/ไร่ (ชว่ งเวลา ต.ค. 2557 – ก.ย. 58) รายงานสถติ ิประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 5

ตารางที่ 3 : เน้อื ทปี่ ลูกมนั สาปะหลงั เนือ้ ท่ีเก็บเก่ียว ผลผลิตรวม และผลผลติ เฉลยี่ ต่อไร่ ปี 2554 - 2558 รายการ ปีเพาะปลูก จานวน ขอนแก่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งประเทศ 2554 226,594 3,930,283 7,400,148 2555 238,182 4,926,913 9,242,398 เนื้อที่เพาะปลูก (ไร)่ 2556 199,463 4,714,713 9,037,273 2557 182,658 4,604,972 8,975,865 2558 228,310 4,758,720 9,051,205 2554 223,548 3,793,027 7,096,173 2555 211,673 4,491,099 8,513,242 เนื้อทเี่ ก็บเกีย่ ว (ไร่) 2556 197,079 4,493,264 8,656,942 2557 180,138 4,359,677 8,435,227 2558 226,810 4,738,790 9,051,205 2554 683,386 11,654,780 21,912,416 2555 663,595 15,641,373 29,848,491 ผลผลติ รวม (ตนั ) 2556 624,636 15,387,256 30,227,542 2557 577,221 15,465,916 30,022,052 2558 592,156 15,495,950 30,075,050 2554 3,057 3,073 3,088 2555 3,135 3,483 3,506 ผลผลติ ตอ่ ไร่ (กก.) 2556 3,169 3,425 3,492 2557 3,204 3,547 3,561 2558 3,284 3,545 3,492 ท่ีมา : สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร 12.ด้านแรงงาน จากผลสารวจภาวะการทางานของประชากร ไตรมาส 1/2559 (มกราคม-มนี าคม) พบว่ามีประชากรรวมทง้ั สิ้น 1,798,014 คน เป็นผูม้ อี ายุ 15 ปีขนึ้ ไป จานวน 1,445,524 คน คิดเป็นร้อยละ 80.40 ของประชากรรวมทั้งหมด เป็นผู้ที่อยู่ในกาลัง แรงงานมีจานวน 949,434 คน คดิ เป็นร้อยละ 65.68 ของผมู้ ีอายุ 15 ปีข้ึนไป โดยแบ่งเป็นผมู้ งี านทาจานวน 909,558 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 95.80 ผวู้ า่ งงานจานวน 13,492 คน คดิ เปน็ ร้อยละ1.42 และผู้ทีร่ อฤดูกาลจานวน 26,384 คน คิดเป็นร้อยละ 2.78 ของผอู้ ยูใ่ นกาลงั แรงงาน สว่ นผมู้ อี ายุ 15 ปีขน้ึ ไป ท่ีไม่อย่ใู นกาลงั แรงงานมจี านวน 496,090 คน คดิ เป็นร้อยละ 34.32 ของผมู้ ีอายุ 15 ปีข้นึ ไป แบง่ เป็นกลุ่มทางานบ้านจานวน 130,159 คน คิดเปน็ ร้อยละ 26.24 เรยี นหนังสือจานวน 175,720 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 35.42 และอืน่ ๆ จานวน 190,211 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 38.34 ของผูไ้ มอ่ ยู่ในกาลงั แรงงาน สว่ นผู้มีอายทุ ่ีตา่ กวา่ 15 ปี มีจานวน 352,490 คน คิดเปน็ ร้อยละ 19.60 ของประชากรรวมท้ังหมด รายงานสถิติประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 6

13.ด้านการมีงานทา จากจานวนผูม้ ีงานทาท้ังสิน้ 909,558 คน เปน็ ชายจานวน 502,316 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 55.23 หญิงจานวน 407,242 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 44.77 เมื่อพิจารณาตามประเภทอตุ สาหกรรม พบวา่ ส่วนใหญเ่ ป็นผู้ทางานในสาขาเกษตรกรรม การปุาไม้ และ การประมง มจี านวน 344,605 คน คิดเป็นร้อยละ 37.89 ของประชากรอายุ 15 ปีข้นึ ไปท่มี ีงานทา รองลงมาคือ การขายส่ง ขายปลีก การซ่อมแซมยานยนตแ์ ละรถจักรยานยนต์ มจี านวน 163,643 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17.99 การก่อสรา้ ง มจี านวน 77,450คิดเป็นร้อยละ 8.52 การผลิต มีจานวน 69,889 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 7.68 กจิ กรรมโรงแรมและการบรกิ ารด้านอาหาร มี จานวน 68,427 คน คิดเปน็ ร้อยละ 7.52 ทม่ี า : สานกั งานสถติ จิ ังหวัดขอนแก่น รอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามประเภทอตุ สาหกรรม (5 อนั ดบั แรก) ประเภทอุตสาหกรรม 7.52 37.89 7.68 กิจกรรมโรงแรมและการบริการด้านอาหาร 8.52 4ร0้อยละ การผลติ 17.99 การกอ่ สร้าง การขายส่ง ขายปลกี การซ่อมแซมยานยนต์และรถจกั รยานยนต์ 10 20 30 เกษตรกรรม การปาุ ไม้และการประมง 0 ภาพที่ 4 รอ้ ยละของผู้มีงานทา จาแนกตามประเภทอตุ สาหกรรม 14.ด้านการจัดหางานในประเทศ มีผขู้ น้ึ ทะเบยี นสมัครงานทง้ั สิ้น 3,990 คน ตาแหนง่ งานวา่ ง 3,129 อตั รา ผขู้ ึ้นทะเบยี นหางานทาไดร้ ับการบรรจงุ าน จานวน 3,344 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 83.80 ของผขู้ ้นึ ทะเบียนทงั้ หมด มีผ้ลู งทะเบียนสมคั รงานมจี านวนทง้ั สน้ิ 3,990 คน ส่วนใหญ่มีการศึกษาอยใู่ นระดับมัธยมศึกษาจานวน 1,354 คน คิด เปน็ รอ้ ยละ 33.93 รองลงมาคือปรญิ ญาตรี จานวน 1,223 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 30.65 ประถมศกึ ษาจานวน 684 คน คิด เปน็ รอ้ ยละ 17.14 ระดับปวส. จานวน 442 คน คิดเป็นร้อยละ 11.08 ระดบั ปวช. จานวน 259 คน คิดเป็นร้อยละ 6.49 ระดบั อนปุ ริญญา จานวน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.15 และระดับอื่นๆ จานวน 22 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.55 ที่มา : สานกั งานจัดหางานจังหวัดขอนแก่น แรงงานตา่ งด้าว จงั หวัดขอนแก่นมี แรงงานตา่ งดา้ วทไ่ี ดร้ บั อนุญาตใหท้ างาน ในปี 2558 รวมทั้งสิ้น 3, 058 คน แยก เป็นแรงงานต่างด้าวท่ีเข้ามาในราชอาณาจักรว่าด้วยกฎหมายคนเข้าเมืองและคนต่างด้าวบนพื้นท่ีสูง มีจานวนท้ังส้ิน 853 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเภทช่ัวคราว จานวน 761 คนคิดเป็นร้อยละ 89.21 และรองลงมาเป็นการส่งเสริมการลงทุน จานวน 65 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ7.62 สว่ นคนต่างด้าวมาตรา 12 จานวน 27 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 3.17 หมายเหตุ คนต่างด้าว (MOU) หมายถงึ คนตา่ งด้าวท่ไี ด้รบั อนุญาตให้เข้ามาในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยคน เข้าเมือง ภายใต้ข้อตกลงวา่ ด้วยการจา้ งแรงงานระหว่างรฐั บาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรฐั บาลแหง่ ชาติอ่นื รายงานสถิตปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 7

การจัดหางานตา่ งประเทศ จังหวดั ขอนแกน่ มีจานวนแรงงานที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปทางานต่างประเทศปี 2558 จานวนท้ังส้ิน 776 คน แยกเป็นนายจ้างพาไปทางาน จานวน 313 คนคิดเป็นร้อยละ 40.34 บริษัทจัดหางานจัดส่ง จานวน 238 คน คิดเปน็ ร้อยละ 30.67 เดินทางด้วยตนเองจานวน 148 คน คิดเป็นร้อยละ 19.07 กรมการจัดหางานจัดส่ง 60 คน คิด เป็นรอ้ ยละ 7.73 และฝกึ งาน 17 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.19 ที่มา : สานกั งานจัดหางานจงั หวดั ขอนแก่น 15.ด้านการศึกษา ในปี พ.ศ. 2558 จังหวัดขอนแกน่ โรงเรยี น จานวน 1,121 แห่ง แยกเป็นสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน จานวน 1,091 แหง่ และสงั กดั กรมสง่ เสริมการปกครองส่วนท้องถน่ิ จานวน 30 แหง่ ตารางท่ี 4 : จานวนนกั เรยี น นสิ ติ นักศึกษา ในระบบโรงเรียน จาแนกระดบั การศึกษาและเพศปกี ารศึกษา 2558 (ภาคเรยี นท่ี 1) ระดับการศกึ ษา เพศ ต่ากว่า ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษา มัธยมศึกษา ปวช./ปวส. ปริญญา สูงกวา่ รวม ประถมศึกษา ตอนต้น ตอนปลาย ตรี ปรญิ าตรี 4,007 178,746 ชาย 22,740 62,069 33,501 17,424 21,154 17,851 178,700 5,539 357,446 หญงิ 21,520 58,036 31,021 24,505 13,196 24,883 9,546 รวม 44,260 120,105 64,522 41,929 34,350 42,734 ท่มี า : กระทรวงศึกษาธกิ าร ตารางท่ี 5 : จานวนผูเ้ รียน/นักศกึ ษา สงั กัดสานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ปีงบประมาณ 2558 ระดบั การศกึ ษา ชาย หญงิ รวม การสง่ เสริมการเรยี นรูห้ นงั สือ 69,594 73,198 142,792 การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน 29,660 38,550 68,210 การศึกษาเพือ่ พฒั นาอาชพี ทักษะชวี ติ และสังคม 5,463 8,642 14,105 ท่มี า : สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดขอนแก่น ตารางท่ี 6 : ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พน้ื ฐาน (O-NET)ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2558 ระดับ วิชา ภาษาไทย สังคมศึกษา ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ จังหวัดขอนแก่น 47.81 41.04 41.12 46.89 37.74 ที่มา : สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแกน่ เขต 1 รายงานสถติ ิประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 8

ตารางที่ 7 : ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพืน้ ฐาน ( O-NET ) ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2555 - 2558 ปกี ารศกึ ษา ภาษาไทย สงั คมศกึ ษา วชิ า คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษองั กฤษ จงั หวดั ขอนแก่น 53.33 46.20 25.91 34.34 ปกี ารศกึ ษา 2555 42.90 38.43 27.92 24.46 37.17 34.58 45.55 2 9.25 28.49 37.47 ปีการศึกษา 2556 42.12 44.89 26.79 31.05 36.44 29.28 ปกี ารศกึ ษา 2557 ปีการศึกษา 2558 ทม่ี า : สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 25 ตารางที่ 8 : ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพ้นื ฐาน ( O-NET ) ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2555 – 2558 ปีการศกึ ษา ภาษาไทย สังคมศึกษา วิชา คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษอังกฤษ จงั หวัดขอนแกน่ 45.63 36.25 21.19 33.00 ปกี ารศกึ ษา 2555 48.11 32.91 20.47 19.06 29.72 ปีการศึกษา 2556 50.16 35.75 23.66 20.27 31.86 ปีการศกึ ษา 2557 47.82 39.03 21.75 25.03 32.91 ปกี ารศึกษา 2558 23.11 ท่ีมา : สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 25 รายงานสถติ ปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 9

ข้อมูลทั่วไปโรงพยาบาลขอนแกน่ 1.ประวัติโรงพยาบาลขอนแก่น โรงพยาบาลขอนแก่น เรมิ่ กอ่ ต้งั ปี พ.ศ. 2490 โดยความร่วมมือของคณะกรรมการอาเภอ คณะกรรมการจงั หวดั และบรรดาพ่อค้าประชาชนในจงั หวัดขอนแกน่ ในการจดั งานประจาปี โดยผวู้ า่ ราชการจังหวดั ขอนแกน่ (ขุนบารุงรัตนบุรี) เป็น ประธานจดั งานเพือ่ หาเงนิ สมทบกบั ทางราชการจดั ซ้ือทดี่ ินสาหรบั ปลูกสร้างโรงพยาบาลจานวน 29 ไร่เศษ ตอ่ มาได้ทาพธิ วี าง ศลิ าฤกษอ์ าคารอานวยการหลงั แรก เม่ือวันท่ี 29 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2491 (วนั ก่อตง้ั โรงพยาบาล) โดยมผี ู้วา่ ราชการจงั หวดั ภาค 3 (หลวงววิ ธิ สุรการ) เป็นประธานในการก่อสร้าง และไดเ้ ปิดใหบ้ รกิ ารอย่างเปน็ ทางการใน วนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2494 มเี ตยี ง รับผปู้ ุวย 25 เตยี ง มีแพทย์จานวน 2 คน และมีพยาบาลวิชาชีพ จานวน 2 คน โดยมี นายแพทยจ์ าลอง มุ่งการดี เปน็ ผู้อานวยการ โรงพยาบาลขอนแก่น ตงั้ อยู่เลขท่ี 54, 56 หม่ทู ี่ 4 ถนนศรจี ันทร์ อาเภอเมืองขอนแกน่ จงั หวัดขอนแกน่ มเี น้อื ทที่ ้งั หมด ประมาณ 49 ไร่ 2 งาน และปัจจุบันขยายเน้ือทเี่ ปน็ 56 ไร่ 3 งาน 23.2 ตารางวา (ณ วันที่ 16 ตุลาคม 2557) เป็น โรงพยาบาลศูนย์ สังกดั สานกั งานปลัดกระทรวงกระทรวงสาธารณสขุ ใหบ้ รกิ ารด้านสขุ ภาพอนามยั แก่ประชาชนในจังหวัด ขอนแกน่ และจังหวัดใกลเ้ คียง ท้ังในดา้ นการส่งเสริมสุขภาพการปูองกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟสู ภาพ ตลอดจนเผยแพร่ข้อมลู ขา่ วสาร ความรู้ ดา้ นสขุ ภาพอนามัยแกผ่ ู้ปวุ ย ผู้รบั บริการ และประชาชนทัว่ ไป นอกจากการให้บริการด้านสขุ ภาพอนามัยท้ังในดา้ นการส่งเสริมสุขภาพ การปูองกันโรค การรักษาพยาบาล การฟ้ืนฟู สภาพแกผ่ ้ปู ุวยประชาชนและผรู้ บั บรกิ ารแลว้ โรงพยาบาลขอนแก่นยังเป็นสถานทใ่ี ห้การศึกษา และฝึกอบรมแก่นักศึกษา แพทย์ นักศึกษาพยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ทกุ สาขากว่า 10 สถาบนั และหลักสูตรต่างประเทศ 3 สถาบนั รวมทงั้ เปน็ ศูนยแ์ พทยศาสตร์ศึกษาชัน้ คลนิ กิ ( เป็น 1 ใน 14 ของศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาของกระทรวงสาธารสุข รว่ มกบั มหาวิทยาลัย ต่าง ๆ ท้ังประเทศ ) ตลอดจนให้ความรว่ มมือกับหน่วยงานอน่ื ตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย นอกจากน้ีโรงพยาบาล ยงั ได้สนับสนุน ใหม้ กี ารศึกษาวจิ ยั เพื่อพฒั นาอย่างต่อเนอื่ ง โดยใช้เทคนคิ กระบวนการ และเคร่ืองมอื ท่ีทนั สมัยเพื่อพัฒนาศักยภาพ ใน การบรกิ ารอนั จะเกดิ ประโยชนส์ ูงสุดแกป่ ระชาชนผูร้ ับบรกิ ารและเกดิ ความพงึ พอใจในการรบั บรกิ าร ตลอดระยะเวลา 65 ปีทีผ่ า่ นมา โรงพยาบาลขอนแกน่ มีการเปลี่ยนแปลง และพฒั นาอยา่ งต่อเน่ืองทง้ั ในดา้ นบริหาร บรกิ าร วชิ าการ อาคารสถานที่ และสงิ่ แวดล้อม ขณะเดียวกันได้มีการพัฒนากระบวนการโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพควบคกู่ นั ไปด้วย ซ่งึ ได้มีการพัฒนาระบบบรกิ ารอย่างผสมผสานท่ีมีคุณภาพท้ังในเชงิ รุกและเชิงรับ รวมถึงการสร้างเครือข่ายบริการท่ี ครอบคลุมในระดบั ชุมชน โรงพยาบาลขอนแกน่ ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ( HA ) ครัง้ ที่ 1 ( 16 กรกฎาคม 2545 ถึง 15 กรกฎาคม 2548 ) คร้ังที่ 2 ( 15 ธนั วาคม 2547 ถงึ 14 ธันวาคม 2550 ) ครั้งท่ี 3 ( 27 กมุ ภาพันธ์ 2552 ถงึ 26 กมุ ภาพนั ธ์ 2555 ) ครัง้ ท่ี 4 ( 24 กมภาพันธ์ 2555 ถึง 23 กมุ ภาพันธ์ 2558 ) ครั้งที่ 5 ( 27 กุมภาพนั ธ์ 2558 ถงึ 26 กุมภาพันธ์ 2561 ) ครัง้ ท่ี 6 (27 กุมภาพันธ์ 2561 – 26 กุมภาพนั ธ์ 2564) และรบั รองเปน็ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพ (Health Promoting Hospital : HPH) ครง้ั แรกปี พ.ศ.2546 จากสถาบนั รับรองคุณภาพโรงพยาบาล(สรพ.) และในปี พ.ศ. 2549 โรงพยาบาลขอนแก่นไดร้ บั คัดเลอื กให้เปน็ สถาบนั ในดวงใจ และสถานพยาบาลทใ่ี ห้ความร่วมมอื ด้านการส่งเสริมสขุ ภาพ จากสานักงานประกันสงั คมกระทรวงแรงงาน ปัจจบุ ัน โรงพยาบาลขอนแกน่ มีจานวนเตยี ง 1,000 เตยี ง มีหอผปู้ วุ ย 41 หอผ้ปู วุ ย ได้รับการจดั ระดบั ขดี ความสามารถเป็นโรงพยาบาลศูนย์ ระดบั A ( Advance- Level Referral Hospital ) ใหบ้ ริการระดบั ตติยภูมิ มคี วาม เช่ียวชาญในสาขายอ่ ย ( Subspecialty – Level Referral Hospital ) และ มศี นู ย์ความเชยี่ วชาญ 5 สาขาหลกั ได้แก่ สาขา อุบัตเิ หตุ สาขามะเร็ง สาขาหัวใจ สาขาทารกแรกเกิด และสาขารับบรจิ าคและปลกู ถ่ายอวัยวะ เปน็ โรงพยาบาลศูนย์ทีส่ ามารถ รองรบั ผปู้ ุวยสง่ ต่อจากระดับตตยิ ภมู ิภายในเขต/เขตใกลเ้ คียง รายงานสถิติประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 10

2.วิสัยทัศน์(Vision) คาสาคญั นิยาม โรงพยาบาลศูนย์ชน้ั นา คณุ ภาพ (Quality) หมายถึง โรงพยาบาลขอนแก่นจัดอยู่อันดับ 1 ใน 5 เม่ือเทียบ (Benchmarking) หรือจัดอันดับ (Ranking) กับโรงพยาบาลศนู ยส์ ังกัดกระทรวงสาธารณสุข (33 แห่ง) จากการ คุณธรรม (virtue) ขับเคล่ือนประเด็นยุทธศาสตร์ สามารถเป็นต้นแบบหรือเป็นสถานท่ีศึกษาดูงาน ระดบั ประเทศอยา่ งนอ้ ย 5 ดา้ น หมายถึง การดาเนนิ งานทม่ี ปี ระสิทธภิ าพเป็นไปตามมาตรฐาน มีต้นทุนการดาเนินงาน ท่ีเหมาะสม และลูกคา้ มีความพึงพอใจ  ประเด็นยทุ ธศาสตร์ทวี่ ัด“คณุ ภาพ” (ตวั ชีว้ ัด 16 ตัว) ไดแ้ ก่ o ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 Prevention & Promotion Excellence (PPE) o ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 2 Service Excellence (SE)  ค่านิยมทบี่ ่งบอกถึงคณุ ภาพ ไดแ้ ก่ “บริการดี” ความหมายตามพจนานุกรมว่า \"สภาพคุณงามความดี\" หมายถึง หลักของความดี ความงาม ความถูกต้อง ซ่ึงจะแสดงออกมาโดยการกระทา ทางกาย วาจาและจิตใจของแต่ ละบุคคล ซึ่งเปน็ หลักประจาใจในการประพฤตปิ ฏบิ ัตจิ นเกดิ เปน็ นิสยั เป็นสงิ่ ทมี่ ปี ระโยชน์ต่อ ตนเอง ผู้อื่น และสังคม  ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ทว่ี ัด“คุณธรรม” (ตวั ชว้ี ดั 14 ตวั ) ได้แก่ o ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 People Excellence (PE) o ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 4 Governance Excellence (GE)  ค่านิยมท่บี ง่ บอกถึง คุณธรรม ไดแ้ ก่ “สามัคคี ซือ่ สตั ย์” 3.พนั ธกิจ (Mission)  บรกิ ารดา้ นสาธารณสุขทุกระดบั ต้งั แตร่ ะดับปฐมภูมิ ทตุ ิยภมู ิ ตตยิ ภูมิ และความเชยี่ วชาญระดับสูง  พฒั นาระบบบริการสุขภาพระดับตตยิ ภูมิและความเช่ียวชาญระดบั สูงใหเ้ ป็นแม่ขา่ ยเขตสุขภาพ  พัฒนาระบบบริหารจดั การทรพั ยากรด้านสาธารณสขุ ให้มีประสทิ ธภิ าพ  รว่ มผลติ และพัฒนาบุคลากรด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุข 4.สมรรถนะหลักขององค์กร (Core competency)  สมรรถนะในด้านบริการระดบั ตติยภูมคิ รอบคลุมทกุ สาขาและความเช่ยี วชาญระดับสงู 5 สาขาไดแ้ ก่ สาขาอบุ ตั เิ หตุ สาขามะเร็ง สาขาหวั ใจ สาขาทารกแรกเกิด และสาขารับบรจิ าคและปลกู ถา่ ยอวยั วะ เป็นที่พง่ึ ของเขตสุขภาพที่ 7  มสี มรรถนะดา้ นการบรหิ ารจดั การและพฒั นาระบบบริการปฐมภูมเิ ช่อื มโยงกับระดบั ตตยิ ภมู ิในเครือขา่ ยบริการ  มสี มรรถนะดา้ นการศึกษาวิจัย การเรยี นรู้ สร้างนวตั กรรม ทางด้านสาธารณสขุ และถ่ายทอดองค์ความร้ดู ้านการส่งเสริม สขุ ภาพ ควบคุมปูองกันโรค รักษาพยาบาล และฟืน้ ฟูสภาพ แกบ่ คุ ลากรทางการแพทย์ การสาธารณสขุ และประชาชน  มสี มรรถนะด้านการเรียนการสอนแพทยศาสตรศกึ ษา ร่วมผลติ และพฒั นาท้ังแพทย์และบุคลากรสาธารณสุขหลายสาขา รายงานสถิตปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 11

5.อตั ลกั ษณ์ หรือ ค่านิยม (Core value) คา่ นยิ ม (Core value) Mastery Originality People centered Humility กระทรวงสาธารณสุข เป็นนายตวั เอง เร่งสรา้ งสิง่ ใหม่ approach “MOPH” ใสใ่ จประชาชน ถ่อมตนอ่อนน้อม คา ค่านิยม (Core value) โรงพยาบาลขอนแกน่ “บรกิ ารดี สามัคคี ซ่ือสัตย์” บรกิ ารดี สามัคคี ความหมาย ซอ่ื สัตย์ หมายถงึ การให้บริการภายใต้จติ สานึก 1) ดา้ นพฤติกรรมบริการ : ดูแลผ้ปู ุวยดุจญาตพิ นี่ ้องใชว้ าจาไพเราะ ใหค้ าแนะนาท่ีถูกต้องเหมาะสม ให้ความสะดวกแก่ผมู้ าใช้บริการทาใหผ้ ปู้ วุ ยและญาติมีความพงึ พอใจ 2) ด้านมาตรฐานวิชาชพี : ดูแลผปู้ ุวยตามมาตรฐานวิชาชีพ การบันทกึ เวชระเบียน ใหบ้ รกิ ารแบบองค์รวม โดยคานึงถึงร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสงั คมของผปู้ วุ ย หมายถงึ ทางานเปน็ ทมี สหสาขาวชิ าชีพด้วยความรักและสามัคคีนาความรู้ ทักษะ และความสามารถ เฉพาะดา้ นท่ีแตกตา่ งกนั มาทางานรว่ มกัน เพื่อมงุ่ แก้ไขปัญหาร่วมกันอย่างมรี ะบบและเป็นกระบวนการ โดยอยบู่ นพน้ื ฐานของเปาู หมาย และวตั ถปุ ระสงคเ์ ดียวกนั ในการปฏิบตั งิ านมีการติดต่อส่อื สารระหว่าง กันอย่างตอ่ เน่ือง และมคี วามรับผดิ ชอบร่วมกัน หมายถึง ซื่อสัตย์ต่อการงาน และซ่ือสัตย์ต่อหนา้ ที่ 1) ซ่ือสัตย์ต่อการงาน หมายถงึ ตรงต่อเวลา ปฏิบตั ิงานตามเวลาราชการทก่ี าหนด ทางานดว้ ย ความตั้งใจจริง มุง่ ใหง้ านสาเรจ็ เกิดประโยชน์ตอ่ ส่วนรวมและรกั ษาผลประโยชน์ทางราชการ มีความ สจุ รติ โปรง่ ใสตรวจสอบได้ 2) ซ่อื สัตยต์ ่อหนา้ ท่ี หมายถงึ รู้บทบาทหน้าที่ของตนตามวชิ าชีพและในงานท่ีรับผิดชอบหรอื ได้รับมอบหมาย และทาตามหน้าท่ใี หด้ ีที่สุด ตอ้ งเอาใจใส่หนา้ ที่จนงานสาเร็จเกดิ ผลดี ไม่ละท้งิ ภาระหน้าท่กี ลางคนั หรอื ทิ้งภาระให้คนอื่น 6.ความทา้ ทา้ ยเชิงกลยุทธ์  การยกระดบั ศักยภาพของศนู ย์ความเชยี่ วชาญระดับสงู และตติยภมู ขิ ้นั สูงทุกสาขาให้เข็มแข็ง มีคุณภาพไดม้ าตรฐาน สามารถรองรับผปู้ วุ ยของเครือข่ายในเขตสุขภาพ  การการสร้างความเขม็ แขง็ ใหโ้ รงพยาบาลเครือข่าย โดยเฉพาะ Node เพื่อให้ส่งต่อผู้ปุวยไดเ้ หมาะสม การพฒั นาระบบ ส่งตอ่ ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ เชอ่ื มโยงทกุ ระดบั อยา่ งไรร้ อยตอ่  เสรมิ สรา้ งพลงั ใหห้ นว่ ยบริการปฐมภมู แิ ละชุมชนใหเ้ ขม็ แข็งสามารถพ่ึงตนเองได้ สามารถดแู ลประชาชนได้ทุกกลุม่ วัย อยา่ งมีคณุ ภาพ  การพัฒนาระบบบริหารจดั การทมี่ ีธรรมาภบิ าล และมีประสทิ ธภิ าพ  การจดั การทรัพยากรขั้นพ้ืนฐานขององคก์ รใหเ้ ขม็ แข็ง บคุ ลากรมีศักยภาพ เครือ่ งมือเพียงพอพร้อมใช้วางแผนและ บรหิ ารอตั รากาลังให้มปี ระสทิ ธิภาพ และพัฒนาศักยภาพบุคลากร สามารถให้บริการได้ตามมาตรฐานวิชาชีพ รายงานสถติ ปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 12

7.ประเด็นยุทธศาสตร์  Prevention & Promotion Excellence (PPE) “สร้างความเข้มแข็งระบบบริการปฐมภมู ิมุ่งให้บริการแบบใกลบ้ ้าน ใกล้ใจ” (Empowerment of Primary Care)  Service Excellence (SE) “ยกระดบั บริการส่คู วามเป็นเลศิ ประชาชนเข้าถึงบริการ เปน็ ที่พ่งึ ของเขตสขุ ภาพ” (Service Excellence Care Upgrading to Better Service)  สรา้ ง People Excellence (PE) “คนเก่ง ดี มคี วามสขุ ” (People Excellence)  Governance Excellence (GE) “บริหารจดั การท่ีเป็นเลิศและมีธรรมาภิบาล” (Governance Excellence) ภาพที่ 5 ประเด็นยทุ ธศาสตรโ์ รงพยาบาลขอนแก่น 8.รายนามผู้อานวยการโรงพยาบาลขอนแกน่ อดตี – ปัจจุบัน คนท่ี ชื่อ – สกลุ ระยะเวลาดารงตาแหนง่ 1 นายแพทย์จาลอง มุง่ การดี ปี พ.ศ. 2492 – 2506 ปี พ.ศ. 2506 – 2517 2 นายแพทยป์ ระมุข จนั ทวมิ ล ปี พ.ศ. 2517 – 2519 ปี พ.ศ. 2519 – 2529 3 นายแพทย์สุจนิ ต์ ผลากรกลุ ปี พ.ศ. 2529 – 2532 ปี พ.ศ. 2532 – 2536 4 นายแพทย์ประสาน ธรรมธารนิ ปี พ.ศ. 2536 – 2540 ปี พ.ศ. 2540 – 2544 5 นายแพทยช์ าตรี สเุ มธวานชิ ย์ ปี พ.ศ. 2544 – 2550 ปี พ.ศ. 2550 – 2557 6 นายแพทย์จรลั ตฤณวฒุ พิ งษ์ ปี พ.ศ. 2557 – 2558 ปี พ.ศ. 2558 – ปจั จุบัน 7 นายแพทยส์ มหมาย ศรมี หาวงษ์ 8 นายแพทยช์ ยั ณรงค์ เชษฐโชติศกั ด์ิ 9 นายแพทย์วทิ ยา จารพุ ูนผล 10 นายแพทยว์ ีระพันธ์ สพุ รรณไชยมาตย์ 11 นายแพทย์ธรรมนญู วสิ ฐิ ธนวรรธ 12 นายแพทยช์ าญชัย จนั ทร์วรชัยกุล รายงานสถิตปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 13

9.บคุ ลากรโรงพยาบาลขอนแก่น ตารางที่ 9 : จานวนบุคลากร โรงพยาบาลขอนแก่น ปีงบประมาณ 2560 กรณีการสูญเสยี ประเภท จานวน โอน ไปชว่ ย ใหอ้ อก รวม ร้อยละ อัตรา บุคลากร ย้าย ราชการ ลาออก จาก การ การคง สูญเสีย อยู่ ราชการ 98.72 99.91 ขา้ ราชการ 1,415 25 0 0 16 0 41 1.28 99.94 ลกู จ้างประจา 205 0 0 0 3 0 3 0.09 98.04 พนกั งานราชการ 73 0 0 0 2 0 2 0.06 98.97 พนักงานกระทรวง 1,284 0 0 0 63 0 63 1.96 95.58 สาธารณสุข ลกู จ้างช่ัวคราว 233 0 0 0 33 0 33 1.04 เงินบารุง รวม 3,210 25 0 0 117 0 142 4.42 หมายเหตุ : การสญู เสียกรณีการลาออก นบั เฉพาะการลาออกและพ้นไปจากโรงพยาบาลเทา่ นั้น ไม่นับรวมกรณลี าออกเพือ่ บรรจุเข้ารบั ราชการ สงั กัดโรงพยาบาลขอนแกน่ ท่ีมา : กล่มุ งานทรพั ยากรบุคคล จากตารางที่ 9 ปีงบประมาณ 2560 โรงพยาบาลขอนแก่น มอี ตั รากาลงั ในภาพรวม ณ วันที่ 1 ตลุ าคม 2559 จานวน 3,210 คน โดยต้ังแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2559 ถงึ วันท่ี 30 กนั ยายน 2560 มีการสญู เสยี บคุ ลากร จานวน 142 คน คิดเปน็ ร้อยละ 4.42 มีอตั ราการคงอยู่ รอ้ ยละ 95.58 ตารางที่ 10 : เปรียบเทียบอัตรา กาลงั บคุ ลากร โรงพยาบาลขอนแกน่ 1 ต.ค.59 1 ต.ค.60 การสูญเสยี ไตรมาสแรก(1 ต.ค. 2560 - 31 ธ.ค. 2560) ประเภท บุคลากร สูญเสีย บคุ ลากร เพ่มิ ข้ึน/ จานวน จานวน จานวน ลดลง ยา้ ย ลาออก รวม รอ้ ยละ อตั รา 1,540 125 การสญู เสีย คงอยู่ ขา้ ราชการ 1,415 41 175 -30 3 4 4 8 0.25 99.75 ลูกจ้างประจา 205 2 86 13 0 1 1 0.03 99.97 0 2 2 0.06 99.94 พนักงานราชการ 73 63 1,169 -115 0 9 9 0.28 99.72 พนกั งานกระทรวง 1,284 33 213 -20 สาธารณสุข 142 3,183 -27 0 6 6 0.19 99.81 4 22 26 0.82 99.18 ลูกจา้ งชั่วคราวเงินบารุง 233 รวม 3,210 ท่มี า : กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล จากตารางที่ 10 ปีงบประมาณ 2561 อัตรากาลงั ในภาพรวมลดลงจากปี 2560 จานวน 27 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 0.84 รายงานสถิตปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 14

10.สถิติประชากร ตารางที่ 11 : จานวนประชากรแยกตามสทิ ธิประกนั สุขภาพ ประชากรท่ีมีสทิ ธิ ประชากรท่ี กลมุ่ ประชากร ทั้งหมดในจังหวัด รอ้ ยละ เลือกใช้สทิ ธิใน รอ้ ยละ ขอนแก่น รพ.ขอนแก่น บัตรประกนั สขุ ภาพถ้วนหนา้ 1,204,818 68.05 253,689 54.24 ประกันสงั คม 398,852 22.53 153,028 32.72 ข้าราชการ/อปท. 157,481 8.89 56,293 12.04 แรงงานตา่ งดา้ วทข่ี ึน้ ทะเบยี น 3,233 0.18 2,228 0.48 สิทธวิ า่ งรอพสิ ูจน์หลกั ฐาน 815 0.05 309 0.07 สิทธิอนื่ ๆ 5,266 0.30 2,148 0.46 รวม 1,770,465 100 467,695 100 หมายเหตุ : จานวนประชากรที่มาใชส้ ทิ ธทิ ั้งหมดในจังหวดั ขอนแก่นรวมประชากรจังหวัดอ่นื ที่มาลงใช้สิทธิด้วย * จานวนประชากรในจังหวัดขอนแกน่ ทเ่ี ลอื กใช้สถานพยาบาลในจงั หวดั อื่น จานวน 208,706 ราย เป็นประชากรจงั หวัดอนื่ มา เลอื กสถานพยาบาลในจงั หวดั ขอนแก่น จานวน 59,115 ราย ทมี่ า : กลุ่มงานประกนั สขุ ภาพ ขอ้ มลู ณ กันยายน 2560 อตั ราประชากรทเี่ ลือกสิทธใิ นโรงพยาบาลขอนแกน่ 0.48 % 0.07 % 12.04 % 0.46 % 32.72 % ประกันสุขภาพถ้วนหนา้ ประกันสังคม 54.24 % ขา้ ราชการ/อปท. แรงงานต่างด้าว สิทธิวา่ ง สิทธอิ ืน่ ๆ ภาพที่ 6 อตั ราประชากรทีเ่ ลอื กสทิ ธิในโรงพยาบาลขอนแก่น รายงานสถติ ิประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 15

สถิติผู้ปว่ ยทว่ั ไป ตารางท่ี 12 : จานวนการบรกิ ารผปู้ ว่ ยนอกและผู้ป่วยใน การบริการ 2557 ปีงบประมาณ 2560 867 2558 2559 1,000 1. จานวนเตียง (ไมร่ วมเตียงผู้ปุวยหนกั ) 105.01 1.1 อัตราการครองเตยี ง 117.42 867 867 118.16 120.06 1,023,078 2.ผู้ปุวยนอก (ราย) 889,007 4,038 2.1 เฉลีย่ ต่อวนั 3,570 914,879 961,164 6.44 2.2 อตั ราเพมิ่ ข้นึ ของปีก่อนหน้า 4.34 3,633 3,815 2.91 5.06 79,521 3.ผปู้ ุวยใน 76,506 -1.85 3.1 อตั ราเพ่มิ ขน้ึ ของปกี ่อนหนา้ 0.83 78,266 81,018 3.2 จานวนวนั นอน 2.30 3.52 383,281 3.3 ผู้ปวุ ยนอนรกั ษาใน รพ. ตอ่ วนั 371,586 1,050 3.4 วนั นอนเฉลีย่ ต่อคน 1,018 373,926 380,977 4.82 3.5 อตั ราส่วนผปู้ วุ ยนอก/ผู้ปุวยใน 4.86 1,024 1,041 13 : 1 12 : 1 4.78 4.70 4.ผปู้ ุวยเสยี ชวี ติ (ผ้ปู วุ ยใน) 12 : 1 12 : 1 1,633 4.1 อตั ราการเสยี ชวี ติ ผู้ปุวยใน 1,763 2.05 2.30 1,749 1,875 ทีม่ า : งานจัดการสารสนเทศ, กลมุ่ งานสารสนเทศทางการแพทย์ 2.23 2.31 สถติ ิการบรกิ ารผปู้ ่วยนอก สถิตกิ ารบรกิ ารผูป้ ว่ ยใน 1,200,000 1,023,078 90,000 76,506 78,266 81,018 79,521 1,000,000 889,007 914,879 961,164 80,000 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 70,000 800,000 60,000 50,000 600,000 40,000 30,000 400,000 20,000 10,000 200,000 0 0 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ภาพท่ี 7 สถติ ิการบริการผปู้ ุวยนอก – ใน ปีงบประมาณ 2557 - 2560 รายงานสถิติประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 16

ตารางที่ 13 : จานวนผปู้ ่วยนอกและผ้ปู ่วยในจาแนกตามสิทธิการรกั ษา ปงี บประมาณ 2560 ผ้ปู ่วยนอก ผูป้ ่วยใน สทิ ธกิ ารรักษา ร้อยละ ร้อยละ รอ้ ยละ คน (คน) ครง้ั (ครัง้ ) คน (คน) ครั้ง รอ้ ยละ (ครง้ั ) UC 131,964 54.40 552,220 58.42 44,554 74.00 60,092 ข้าราชการ 29,316 12.09 158,942 16.81 4,834 8.03 6,444 75.57 ประกนั สังคม 30,995 12.78 134,346 14.21 6,381 10.60 8,042 8.10 ชาระเงิน 48,363 19.94 93,603 9.90 1,577 2.62 1,762 10.11 อ่นื ๆ 1,922 0.79 6,189 0.65 2,862 4.75 3,181 2.22 4.00 รวม 242,560 100 945,300 100 60,208 100 79,521 100 หมายเหตุ : จากจานวนผู้ปวุ ยนอกท้ังหมด 242,560 คน มารบั บริการ 945,300 ครงั้ (ตดั ไมร่ อตรวจและไมม่ าตามนัด) จากจานวนผู้ปุวยในทง้ั หมด 60,208 คน มารับบริการ 79,521 ครง้ั ทีม่ า : งานจัดการสารสนเทศ กลุ่มงานสารสนเทศทางการแพทย์ ตารางท่ี 14 : จานวนผูป้ ว่ ยนอก จาแนกตามประเภทสทิ ธ(ิ สถานพยาบาลหลกั 10670) ปีงบประมาณ 2560 สิทธิการรักษา ในเครอื ขา่ ย (รพ.ขอนแกน่ ) นอกเครือข่าย (รพ.ขอนแก่น) คน รอ้ ยละ ครง้ั ร้อยละ คน รอ้ ยละ ครัง้ รอ้ ยละ (คน) (คร้งั ) (คน) (ครั้ง) UC 55,358 22.82 241,376 25.53 76,606 31.58 310,844 32.88 8,254 0.87 ขา้ ราชการ 27,121 11.18 150,688 15.94 2,195 0.90 9,880 1.05 ประกันสงั คม 28,117 11.59 124,466 13.17 2,878 1.19 หมายเหตุ : จากจานวนผปู้ ุวยนอกทั้งหมด 242,560 คน มารับบริการ 945,300 ครง้ั (ตดั ไมร่ อตรวจและไมม่ าตามนัด) ทมี่ า : งานจดั การสารสนเทศ กลุม่ งานสารสนเทศทางการแพทย์ 350,000 310,844 300,000 241,376 250,000 200,000 150,688 124,466 ในเครือข่าย 150,000 นอกเครอื ข่าย 100,000 50,000 8,254 9,880 0 UC ขา้ ราชการ ประกนั สังคม ภาพที่ 8 จานวนผ้ปู วุ ยนอก แยกในเครือขา่ ยและนอกเครือข่าย ปีงบประมาณ 2560 รายงานสถติ ปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 17

ตารางที่ 15 : จานวนการรบั – สง่ ต่อผู้ป่วย 2557 ปีงบประมาณ 2560 71,007 2558 2559 88,189 Refer 26.48 -2.80 74,237 69,727 30,077 1. การรับ refer 29,137 4.54 -6.08 23,953 อัตราเปรยี บเทียบปกี ่อนหน้า (ร้อยละ) 24,766 6,124 4,371 30,220 31,050 58,112 1.1 รับเป็นผูป้ ุวยใน (IPD) 41,870 24,987 25,052 5,338 - รบั จาก ER 4,651 5,233 5,998 52,774 - รับจาก OPD 37,219 44,017 38,667 71,162 1.2 รบั เป็นผู้ปวุ ยนอก (OPD) 54,611 4,535 3,865 28.66 - รบั จาก ER 39,482 34,802 1,511 - รับจาก OPD -1.99 55,952 55,310 33.72 2. การรับ refer ผู้ปวุ ยภายในจงั หวดั ขอนแก่น 1,717 26.72 2.45 -1.15 อัตราเปรียบเทียบปกี ่อนหนา้ (รอ้ ยละ) 1,722 1,130 3. การส่งต่อ (Refer Out) 0.29 -34.38 อตั ราเปรียบเทยี บปกี ่อนหน้า (ร้อยละ) อตั ราเปรยี บเทยี บปีก่อนหน้า (รอ้ ยละ) จานวนการรับ refer ผูป้ ว่ ย โรงพยาบาลขอนแกน่ จำนวนกำร refer out ผู้ปว่ ย โรงพยำบำลขอนแก่น 105,000 2,000 70,000 88,189 1,722 1,717 1,511 71,007 69,727 1,500 1,130 74,237 1,000 35,000 500 0 0 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ภาพท่ี 9 จานวนการรับ – สง่ ต่อผู้ปุวย รายงานสถติ ปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 18

ตารางท่ี 16 : จานวนการสง่ ต่อ (Refer Out) ผู้ป่วยโรงพยาบาลขอนแก่น สถานบริการ 2557 ปงี บประมาณ 2560 จานวนการสง่ ตอ่ ผู้ปุวย 1,717 2558 2559 1,511 1,722 1,130 33.72 * อัตราเปรียบเทียบกับปกี ่อนหนา้ (%) 26.72 0.29 -34.38 1,494 1,706 1,121 33.27 1) ส่งตอ่ ในจงั หวัดขอนแก่น 1,661 2.71 -34.29 1,148 1,383 852 253 *อัตราเปรียบเทียบกบั ปีก่อนหน้า(%) 27.38 61 229 77 173 21 1.1 รพ.ศรนี ครนิ ทร์ 1,477 0 00 16 1.2 ศูนยห์ วั ใจสิรกิ ติ ์ิ 89 89 19 0 00 1.3 จิตเวชราชนครินทร์ 45 NA NA NA 1.4 รพช.จานวน 21 แหง่ 0 0 53 1.5 อ่นื ๆ (รพ.สต.ตา่ งอาเภอ/เอกชน/รพ.ค่าย) 50 -100 -88.89 -40 2) สง่ ต่อในเขตบรกิ ารสขุ ภาพที่ 7 0 15 11 6 *อตั ราเปรียบเทยี บกบั ปีก่อนหนา้ (%) NA >100 0 -45.45 3) สง่ ต่อนอกเขตบริการสุขภาพที่ 7 45 *อตั ราเปรียบเทียบกบั ปีก่อนหน้า(%) -2.17 1.4) ส่งตอ่ กทม.และปริมณฑล 11 *อตั ราเปรยี บเทยี บกบั ปีกอ่ นหน้า(%) >100 หมายเหตุ : Refer Out หมายถึง ผู้ปุวยส่งต่อไปรกั ษาที่เกินศักยภาพของ รพ.ขอนแก่น ตารางที่ 17 : ผู้ป่วยท่ีมีการรับส่งตอ่ สถานพยาบาลอ่นื จาแนกตามสทิ ธกิ ารรกั ษา สทิ ธิ ปีงบประมาณ 2560 2557 2558 2559 1,511 ส่งตอ่ ทง้ั หมด (Refer Out) 1,717 1,722 1,130 33.72 *อัตราเปรยี บเทียบกบั ปีกอ่ นหน้า (ร้อยละ) 1,292 26.72 0.29 -34.38 สทิ ธิประกันสุขภาพถ้วนหนา้ 31.03 *อัตราเปรียบเทยี บกับปีกอ่ นหนา้ (รอ้ ยละ) 1,103 1,427 986 157 สิทธิประกนั สงั คม 57 *อัตราเปรยี บเทียบกบั ปีกอ่ นหน้า (รอ้ ยละ) 4.15 29.37 -30.90 21 สทิ ธิขา้ ราชการ/รัฐวสิ าหกจิ -16 *อัตราเปรียบเทียบกับปีกอ่ นหน้า (รอ้ ยละ) 205 198 100 41 สทิ ธิอืน่ ๆ >100 *อัตราเปรยี บเทยี บกับปีก่อนหน้า (ร้อยละ) 12.02 -3.41 -49.49 ท่ีมา : ศูนยส์ ง่ ต่อ โรงพยาบาลขอนแก่น 45 30 25 80 -33.33 -16.67 364 67 19 >100 -81.59 -71.64 รายงานสถติ ปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 19

ตารางท่ี 18 : รอ้ ยละของการรบั – ส่งตอ่ ผู้ป่วยโรงพยาบาลขอนแก่น อตั ราการรับ - สง่ ต่อผ้ปู ่วย 2557 ปงี บประมาณ 2560 1. อัตราการรับผปู้ ุวย Refer แล้ว Admit 41.03% 2558 2559 34.11% 2. อตั ราผู้ปวุ ยในทงั้ หมดท่ีมาจากการรับ Refer 38.08% 40.70% 44.53% 37.82% 38.61% 38.32% ที่มา : ศูนย์สง่ ตอ่ โรงพยาบาลขอนแกน่ ตารางท่ี 19 : จานวนผู้ป่วยใน แยกตามกลุ่มงาน ที่รับ Refer จาแนกตามประเภทค่า AdjRW ค่า AdjRW ปงี บประมาณ 2558 ปงี บประมาณ 2559 ปีงบประมาณ 2560 1. AdjRW ตา่ กว่า 0.5 จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ อายุรกรรม 1,200 4.01 1,494 5.00 1,517 5.05 ศัลยกรรม 792 2.65 796 2.67 790 2.63 ศัลยกรรมออร์โธปิดกิ ส์ 343 1.15 337 1.13 318 1.06 สูตกิ รรม 639 2.14 579 1.94 642 2.14 จักษุวทิ ยา 96 0.32 101 0.34 88 0.29 หูคอจมูก 44 0.15 78 0.26 38 0.13 นรีเวช 86 0.29 118 0.40 111 0.37 กมุ ารเวชกรรม 437 1.46 610 2.04 514 1.71 รวม AdjRW ต่ากวา่ 0.5 3,637 12.16 4,113 13.78 4,018 13.37 2. AdjRW 0.5-0.9 2,992 10.01 3,374 11.30 3,710 12.34 อายรุ กรรม ศลั ยกรรม 1,342 4.49 1,358 4.55 1,160 3.86 ศัลยกรรมออรโ์ ธปดิ กิ ส์ 713 2.38 717 2.40 726 2.42 สตู ิกรรม 310 1.04 352 1.18 291 0.97 จกั ษวุ ิทยา 111 0.37 100 0.33 123 0.41 หูคอจมูก 102 0.34 52 0.17 109 0.36 นรเี วช 237 0.79 272 0.91 292 0.97 กุมารเวชกรรม 437 1.46 533 1.79 426 1.42 รวม AdjRW 0.5-0.9 6,244 20.88 6,758 22.63 6,837 22.75 3. AdjRW 1-1.9 2,903 9.71 3,141 10.52 3,114 10.36 อายรุ กรรม ศัลยกรรม 3,339 11.17 3,288 11.01 3,156 10.50 ศลั ยกรรมออร์โธปดิ กิ ส์ 784 2.62 742 2.49 1,028 3.42 สูติกรรม 770 2.57 700 2.34 570 1.90 จักษวุ ทิ ยา 126 0.42 131 0.44 225 0.75 หคู อจมูก 150 0.50 162 0.54 175 0.58 นรเี วช 156 0.52 182 0.61 163 0.54 กุมารเวชกรรม 241 0.81 228 0.76 225 0.75 รวม AdjRW 1-1.9 8,469 28.32 8,574 28.72 8,656 28.80 รายงานสถติ ิประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 20

ตารางที่ 19 : จานวนผปู้ ว่ ยใน แยกตามกลุ่มงาน ที่รบั Refer จาแนกตามประเภทคา่ AdjRW (ต่อ) ค่า AdjRW ปีงบประมาณ 2558 ปงี บประมาณ 2559 ปีงบประมาณ 2560 4. AdjRW 2 ขนึ้ ไป จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ อายรุ กรรม 4,959 16.58 4,901 16.41 4,639 15.43 ศัลยกรรม 4,356 14.57 3,318 11.11 3,681 12.25 ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ 1,619 5.41 1,415 4.74 1,550 5.16 สูตกิ รรม 6 0.02 5 0.02 5 0.02 จักษุวทิ ยา 16 0.05 22 0.07 24 0.08 หูคอจมูก 83 0.28 79 0.26 122 0.41 นรีเวช 156 0.52 133 0.45 156 0.52 กมุ ารเวชกรรม 359 1.20 539 1.81 369 1.23 รวม AdjRW 2 ขึ้นไป 11,554 38.64 10,412 34.87 10,546 35.09 รวมทง้ั หมด 29,904 100.00 29,857 100.00 30,057 100.00 หมายเหตุ : ข้อมลู ที่นามาสรปุ สถิติไมน่ ับรวม Re2c9o,r9d0ท4ค่ี ่า RW = 0 (ตดั ขอ้ มูล ERROR ออก) ที่มา : งานจัดการสารสนเทศ, กลุ่มงานสารสนเทศทางการแพทย์, สรุปข้อมลู ณ 27 ต.ค.60 ตารางท่ี 20 : จานวนผู้ปว่ ยทร่ี ับไว้รกั ษา แยกตามกลุ่มงาน จาแนกตามประเภทค่า AdjRW ค่า AdjRW ปีงบประมาณ 2558 ปงี บประมาณ 2559 ปงี บประมาณ 2560 1. AdjRW ตา่ กว่า 0.5 จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ อายุรกรรม 2,946 3.77 3,432 4.24 3,469 4.37 ศลั ยกรรม 1,857 2.38 1,974 2.44 2,002 2.52 ศัลยกรรมออรโ์ ธปดิ ิกส์ 585 0.75 635 0.78 607 0.76 สตู กิ รรม 3,292 4.22 3,392 4.19 3,263 4.11 284 0.36 จกั ษุวิทยา 298 0.38 316 0.39 160 0.20 448 0.56 หูคอจมูก 144 0.18 138 0.17 7,266 9.15 17,499 22.03 นรเี วช 336 0.43 424 0.52 กมุ ารเวชกรรม 8,005 10.25 7,983 9.86 7,591 9.56 2,912 3.67 รวม AdjRW ต่ากว่า 0.5 17,463 22.36 18,294 22.60 1,400 1.76 2. AdjRW 0.5-0.9 - 1,384 1.74 อายรุ กรรม 6,174 7.91 7,092 8.76 421 0.53 325 0.41 ศลั ยกรรม 3,047 3.90 3,135 3.87 1,018 1.28 ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ 1,289 1.65 1,368 1.69 2,236 2.82 สูตกิ รรม 1,291 1.65 1,403 1.73 17,287 21.77 จักษุวิทยา 389 0.50 487 0.60 หูคอจมูก 334 0.43 311 0.38 นรเี วช 911 1.17 940 1.16 กุมารเวชกรรม 1,808 2.32 2,244 2.77 รวม AdjRW 0.5-0.9 15,243 19.52 16,980 20.98 รายงานสถิติประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 21

ตารางที่ 20 : จานวนผูป้ ว่ ยที่รับไว้รกั ษา แยกตามกลุ่มงาน จาแนกตามประเภทคา่ AdjRW (ตอ่ ) ค่า AdjRW ปีงบประมาณ 2558 ปีงบประมาณ 2559 ปงี บประมาณ 2560 จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ 3. AdjRW 1-1.9 อายรุ กรรม 5,556 7.12 5,715 7.06 5,602 7.05 ศัลยกรรม 6,076 7.78 6,292 7.77 6,071 7.64 ศัลยกรรมออร์โธปดิ กิ ส์ 1,883 2.41 1,864 2.30 1,996 2.51 สูติกรรม 2,808 3.60 2,560 3.16 2,542 3.20 จักษวุ ทิ ยา 2,474 3.17 2,344 2.90 2,316 2.92 หคู อจมูก 887 1.14 1,162 1.44 1,034 1.30 นรเี วช 1,220 1.56 1,285 1.59 1,084 1.36 กมุ ารเวชกรรม 1,182 1.51 1,226 1.51 1,291 1.63 27.73 21,936 27.62 รวม AdjRW 1-1.9 22,086 28.29 22,448 4. AdjRW 2 ขนึ้ ไป 10.76 8,323 10.48 อายรุ กรรม 8,923 11.43 8,710 10.60 8,482 10.68 3.33 2,782 3.50 ศัลยกรรม 8,496 10.88 8,576 0.02 13 0.02 ศัลยกรรมออร์โธปิดกิ ส์ 2,892 3.70 2,692 0.08 94 0.12 13 0.02 16 0.47 420 0.53 สตู กิ รรม 1.79 1,108 1.40 1.64 1,386 1.75 จักษวุ ทิ ยา 68 0.09 66 28.69 22,697 28.58 100.00 79,419 100.00 หูคอจมูก 296 0.38 380 นรีเวช 1,366 1.75 1,450 กุมารเวชกรรม 1,237 1.58 1,331 รวม AdjRW 2 ข้นึ ไป 23,291 29.83 23,221 รวมทั้งหมด 78,083 100.00 80,943 ทม่ี า : งานจดั การสารสนเทศ, กลุ่มงานสารสนเทศทางการแพทย์, ณ วนั ที่ 27 ต.ค.60 ตารางท่ี 21 : จานวนผปู้ ่วยใน คา่ AdjRw และคา่ CMI จาแนกรายกลุ่มงาน ปงี บประมาณ 2560 ลาดับ กลุ่มงาน จานวน (ราย) คา่ AdjRW CMI 2.69 1 ศัลยกรรม 19,467 52,358.5907 2.19 2 อายุรกรรม 24,985 54,616.7035 2.21 1.68 3 ศลั ยกรรมออรโ์ ธปิดิกส์ 6,874 15,218.6671 1.68 4 ทันตกรรม 414 695.2563 1.53 5 นรีเวชกรรม 3,658 6,133.3095 1.26 6 โสต ศอ นาสิก 1,525 2,333.1014 1.19 7 กมุ ารเวชกรรม 12,179 15,300.9024 0.79 1.97 8 จักษุ 3,115 3,709.7010 9 สตู กิ รรม 7,202 5,704.4007 รวม 79,419 156,070.6326 ที่มา : งานจดั การสารสนเทศ, กลมุ่ งานสารสนเทศทางการแพทย์, ณ วนั ที่ 27 ต.ค.60 รายงานสถิตปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 22

ตารางท่ี 22 : แสดงการเปรยี บเทยี บดชั นี Case Mix Index (CMI) จาแนกรายกลมุ่ งาน ลาดบั แผนก CMI 2556 2557 2558 2559 2560 1 ศลั ยกรรม 2.57 2.69 2.68 2.66 2.69 2 อายรุ กรรม 2.10 2.36 2.42 2.26 2.19 3 ศัลยกรรมออรโ์ ธปดิ ิกส์ 2.35 2.35 2.31 2.20 2.21 4 นรเี วช 1.78 1.84 1.78 1.77 1.68 5 ทนั ตกรรม 1.57 1.51 1.46 1.84 1.68 6 โสต ศอ นาสกิ 1.47 1.44 1.47 1.57 1.53 7 กมุ ารเวชกรรม 1.21 1.25 1.20 1.20 1.26 8 จกั ษุ 1.19 1.21 1.19 1.17 1.19 9 สตู กิ รรม 0.78 0.81 0.82 0.79 0.79 CMI ท้งั หมด 1.90 2.02 2.03 1.97 1.97 ทมี่ า : งานจดั การสารสนเทศ, กลมุ่ งานสารสนเทศทางการแพทย์, ณ วันที่ 27 ต.ค.60 ตารางท่ี 23 : จานวนการใหบ้ รกิ ารผู้ป่วยในแยกตามประเภทกลุม่ งาน ลาดบั กลุ่มงาน ปีงบประมาณ 1 อายรุ กรรม อัตราเปรียบเทยี บปีก่อนหนา้ (ร้อยละ) 2557 2558 2559 2560 2 ศลั ยกรรม 22,976 25,002 อตั ราเปรียบเทยี บปกี ่อนหน้า (ร้อยละ) 23,628 24,948 3 กมุ ารเวชกรรม 2.02 2.84 5.59 0.22 อัตราเปรียบเทยี บปีก่อนหนา้ (ร้อยละ) 18,564 19,530 20,001 19,521 4 สตู กิ รรม 5.20 2.41 อัตราเปรียบเทยี บปกี ่อนหนา้ (รอ้ ยละ) 1.19 12,296 12,806 -2.40 5 ศัลยกรรมออรโ์ ธปิดิกส์ 12,233 0.52 4.15 12,189 อัตราเปรียบเทยี บปกี ่อนหน้า (ร้อยละ) 7,419 7,391 6 นรเี วชกรรม -3.78 0.72 -0.38 -4.82 อัตราเปรียบเทยี บปีก่อนหนา้ (รอ้ ยละ) 7,366 6,663 6,565 7,209 7 จกั ษุ 4.79 0.05 -1.47 -2.46 อตั ราเปรยี บเทยี บปกี ่อนหนา้ (ร้อยละ) 6,660 3,840 4,101 6,885 8 โสต ศอ นาสกิ 2.29 6.22 6.80 6,48.857 อัตราเปรยี บเทียบปีก่อนหนา้ (ร้อยละ) 3,615 3,229 3,214 3,658 9 ทันตกรรม 0.81 -7.58 -0.46 -10.80 อตั ราเปรียบเทยี บปกี ่อนหน้า (รอ้ ยละ) 3,494 1,304 1,665 3,118 รวม 1.36 8.58 27.68 -2.99 อตั ราเปรียบเทียบรอ้ ยละปกี ่อนหน้า (รอ้ ยละ) 1,201 357 327 1,525 -15.00 -10.08 -8.40 -8.41 ที่มา : งานจัดการสารสนเทศ, กลมุ่ งานสารสนเทศทางการแพทย์ 78,266 81,018 397 2.30 3.52 414 28.48 26.61 76,506 79,521 0.83 -1.85 รายงานสถิตปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 23

จากตารางที่ 23 พบวา่ ผู้ปวุ ยในท่ีรับไวร้ ักษา ปีงบประมาณ 2560 ส่วนใหญ่ มารับบริการท่ีกล่มุ งานอายุรกรรม รองลงมาคือ ศลั ยกรรม กุมารเวชกรรม สตู ิกรรม ศลั ยกรรมออร์โธปดิ ิกส์ นรเี วชกรรม จกั ษุ โสตศอนาสกิ และทนั ตกรรม ตามลาดับ 30000 20000 ปี 2557 10000 ปี 2558 ปี 2559 0 ปี 2560 ภาพท่ี 10 จานวนการให้บรกิ ารผปู้ ุวยในแยกตามประเภทกลุ่มงาน ตารางท่ี 24 : แสดงการใหบ้ ริการผ้ปู ว่ ยนอกแยกตามแผนกมาตรฐาน ลาดบั แผนก 2557 ปงี บประมาณ 2560 217,382 2558 2559 298,016 1 อายุรกรรม 115,986 233,152 261,860 121,863 2 ศลั ยกรรม 63,786 75,336 3 จกั ษุ 121,387 123,974 63,097 64,117 70,095 68,996 4 ศลั ยกรรมออร์โธปิดิกส์ 51,523 54,499 5 กุมารเวชกรรม 47,267 65,469 66,113 48,176 6 เวชกรรมฟื้นฟู 46,846 44,818 7 ทนั ตกรรม 39,646 50,906 56,569 37,877 8 สูติกรรม 37,020 39,611 9 นรเี วชกรรม 34,060 50,978 48,335 35,792 10 โสต ศอ นาสิก 9,994 1,076 11 เวชปฏบิ ัตทิ ัว่ ไป 162,400 44,428 46,226 197,018 12 อนื่ ๆ 889,007 39,990 38,706 1,023,078 38,717 39,320 รวม 4.34 6.44 อตั ราเปรยี บเทียบปกี ่อนหน้า (รอ้ ยละ) 33,560 34,860 ทมี่ า : งานจัดการสารสนเทศ, กล่มุ งานสารสนเทศทางการแพทย์ 7,176 3,210 164,999 171,896 914,879 961,164 2.91 5.06 รายงานสถิติประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 24

จากตารางที่ 24 พบว่า ผู้ปวุ ยทมี่ ารบั บริการผปู้ ุวยนอก ปงี บประมาณ 2560 ส่วนใหญ่ มารับบริการแผนกอายุรกรรม รองลงมาคอื ศัลยกรรม จกั ษุ ศลั ยกรรมออรโ์ ธปิดิกส์ กุมารเวชกรรม และเวชกรรมฟืน้ ฟู ตามลาดับ 350,000 ปี 2557 300,000 ปี 2558 250,000 ปี 2559 200,000 ปี 2560 150,000 100,000 50,000 0 ภาพท่ี 11 จานวนผ้ปู วุ ยนอก แยกตามแผนกมาตรฐาน ตารางท่ี 25 : การให้บรกิ ารผปู้ ่วยนอกแยกตามห้องตรวจและคลนิ กิ พิเศษ ที่ คลินกิ ปงี บ 57 จานวนผรู้ ับบรกิ าร(ครั้ง) ปงี บ 60 68,649 74,413 อายรุ กรรมท่วั ไป 539* ปีงบ 58 ปีงบ 59 1.1) ผิวหนงั 2,761 72,849 72,834 - 1.2) คลินิกหอบหืด 1,764 80* 1* 3,491 1.3) เน้ืองอกทว่ั ไป 2,582 2,727 3,147 1.4) ผสู้ ูงอายุ 2,054 883 344 4 1.5) โรคไขขอ้ 5,150 120 2 - 1.6) ระบบทางเดนิ อาหาร 4,364 2,567 3,718 5,085 1 1.7) ระบบประสาท 903 5,941 7,544 4,936 1.8) ระบบทรวงอก 7,954 3,886 4,401 5,689 1.9) โรคหวั ใจ 4,546 1,000 1,501 1,474 1.10) โรคเลอื ด 5,221 8,555 8,139 8,206 1.11) โรคไต 1,037 5,072 6,770 8,264 1.12) คลินิกชะลอไตเสอ่ื ม 408 5,689 5,956 2,989 1.13) วัณโรคดอ้ื ยา 6,145 1,114 1,191 1,475 1.14) อายุรกรรมท่วั ไปนอกเวลา 422 593 603 1.15) โรคคอพอก 1,486 6,479 6,436 8,879 1.16) โรคเรือ้ รงั (DM/HT) 560 1.17) ห้องปรึกษาเบาหวานความดนั 40 1,379 1,422 1,728 1.18) โรคภาวะหวั ใจล้มเหลว 179 862 675 947 81 46 1 172 186 151 รายงานสถติ ิประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 25

ตารางท่ี 25 : การใหบ้ ริการผ้ปู ว่ ยนอกแยกตามห้องตรวจและคลนิ กิ พิเศษ (ต่อ) ที่ คลินิก จานวนผูร้ ับบรกิ าร(คร้ัง) ปีงบ 57 ปีงบ 58 ปีงบ 59 ปงี บ 60 - 1.19) CAPD Clinic 250 4 - 162 1.20) คลนิ กิ รอปลกู ถ่ายไต - 73 161 1.21) Oncomed รังสีรักษา 1,198 3,976 5,886 8,277 1.22) Cath Lab - 28 10 49 1.23) เวชปฏบิ ตั ทิ ่ัวไป (TB) - - 1,302 1,692 1.24) PALLIATIVE OPD - -9 4 1.25) คลนิ ิกเบาหวานอายรุ กรรม1 - - 2,110 4,777 13,034 กมุ ารเวชกรรมท่วั ไป 14,219 12,634 14,344 1,102 342 2.1) Well baby clinic 2,160 2,028 1,739 1,111 2.2) คลินิกเด็ก GI 594 317 308 1,363 2.3) พฤติกรรมเด็ก 869 871 1,014 6,256 2,306 2.4) โรคหัวใจ 1,788 1,547 1,673 2,873 1,946 2.5) Hemato clinic 5,444 5,869 6,001 1,113 1,658 2.6) Nephrot clinic 1,719 1,906 2,396 2,238 2.7) Neuro 2,439 2,459 2,481 1,529 1,335 2.8) ทารกแรกคลอด 1,436 1,610 2,237 2.9) ต่อมไร้ท่อในเด็ก 905 829 976 640 2 2.10) พฒั นาการเดก็ 1,358 1,011 1,302 258 2,929 2.11) Respiratory clinic 2,215 1,977 2,008 622 2.12) โรคติดเชอื้ 1,266 1,255 1,337 2.13) กมุ ารเวชกรรมทั่วไปนอกเวลา 2,174 1,894 1,827 1,608 2.14) ผวิ หนงั เด็ก 722 713 631 273 2.15) คลนิ ิกโภชนาการเด็ก 28 257 304 2.16) คลนิ ิกฝึกพูด 1,247 2,605 2,742 32,160 7,311 2.17) คลินกิ ฝกึ พูดนอกเวลา 367 769 968 1,265 2.18) คลนิ ิกภมู ิแพ้/ภูมิคุ้มกนั 302 1,120 1,409 1,716 3,700 2.19) โรคข้อและรูมาติสซม่ั ในเด็ก - - 30 10,383 ศัลยกรรมทั่วไป 50,516 52,831 52,458 3.1) OR เลก็ ศลั ยกรรม 6,556 7,232 7,519 725 3.2) ศลั ยกรรมอบุ ตั เิ หตุ 1,088 1,081 956 3,048 3.3) ศลั ยกรรมเด็ก 2,450 2,188 2,010 370 3 3.4) ศัลยกรรมตกแต่ง 3,368 3,530 3,767 3.5) ศัลยกรรมUro 8,738 8,413 9,976 3.6) คลนิ กิ ศลั ย์เต้านม 347 582 453 3.7) ศัลยกรรมระบบประสาท 2,264 2,532 2,850 3.8) ศลั ยกรรมทวั่ ไปนอกเวลา 1,431 1,021 484 รายงานสถิติประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 26

ตารางที่ 25 : การให้บริการผู้ปว่ ยนอกแยกตามห้องตรวจและคลินิกพิเศษ (ต่อ) ท่ี คลินิก ปงี บ 57 จานวนผรู้ ับบรกิ าร(คร้ัง) ปงี บ 60 3.9) ศัลยกรรมUro นอกเวลา 982 ปงี บ 58 ปีงบ 59 1,013 3.10) ต่อมลกู หมาก 1,908 1,024 855 35 1,139 164 3,040 3.11) คลนิ กิ ศลั ยกรรมทรวงอก 1,559 2,359 3,045 220 2,595 3.12) ศัลยกรรม [ว.] 1,387 1,445 926 389 444 3.13) ศัลยกรรมหลอดเลือด 6 1,269 1,976 2,156 1,634 3.14) Burn unit - - 275 4,080 3.15) ห้องตรวจคลนื่ สมองไฟฟูา (EEG) - - 326 3,363 3.16) ศัลยกรรม (3/1) - - 450 5,523 3.17) ศัลยกรรม (3/2) - - 193 1,916 3.18) ศัลยกรรม (3/3) - - 611 2,706 3.19) ศัลยกรรม (3/4) - - 632 - 3.20) ศัลยกรรม (3/5) - - 851 8,458 3.21) ศลั ยกรรม (3/6) - - 343 398 3.22) ศลั ยกรรม (3/7) - - 402 16,645 3.23) โครงการมะเรง็ ท่อนา้ ดี - - 583 32,786 4 ศนู ย์ไตเทียม 9,407 9,430 8,891 1,742 11 5 เคมบี าบดั 5,097 622 309 1 6 จติ เวช 10,459 13,257 12,972 25,255 30,694 30,445 30,865 10,249 โสต ศอ นาสกิ 1,771 1,535 2,208 7 7.1) โสต ศอ นาสิก นอกเวลา - 300 185 11,856 - 61 7.2) SPEECH 9,199 7.3) AUDIO จกั ษุ 26,594 24,111 25,230 14,144 625 8.1) จกั ษุนอกเวลา 5,695 6,618 8,478 2,658 8.2) จักษุ (8/2) 9,094 8,828 10,422 - 8 8.3) จักษุ (8/3) 13,275 10,559 7,428 42,161 8.4) Minor/Laser (8/10) 1,421 8.5) OR ตา 5,745 12,163 12,920 944 8.6) จักษุ (8/7) เลเซอรไ์ มเนอร์ 205 355 390 32,328 - 493 1,467 27 8.7) จักษุ (8/9) - - 2,574 4,531 251 ทนั ตกรรม 47,550 46,333 44,431 9 9.1) ทนั ตกรรมอาคารรังสีรกั ษา 527 1,406 1,314 9.2) ทันตกรรมจัดฟัน - 530 1,254 สตู กิ รรม 33,996 34,691 33,092 10 10.1) คลนิ กิ วันรุน่ - - 29 11 วางแผนครอบครัว 5,707 5,051 4,545 11.1) คลนิ ิกมบี ตุ รยาก 34 130 135 รายงานสถติ ิประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 27

ตารางท่ี 25 : การใหบ้ ริการผปู้ ว่ ยนอกแยกตามห้องตรวจและคลินิกพเิ ศษ (ตอ่ ) ท่ี คลินกิ จานวนผรู้ ับบรกิ าร(ครง้ั ) 11.2) คลินิกวัยทอง ปีงบ 57 ปงี บ 58 ปีงบ 59 ปีงบ 60 - - 34 303 นรีเวชกรรมทวั่ ไป 28,580 30,296 31,131 31,286 1,462 12 12.1) นรเี วชกรรมทั่วไปนอกเวลา 1,592 1,724 1,553 - 12.2) มะเรง็ นรเี วช 32- 2 54,144 12.3) นรีเวชรังสี - 98 211 4,088 ศัลยกรรมกระดูกและขอ้ ทว่ั ไป 50,722 53,104 53,527 - - 13.1) ศัลยกรรมกระดูกและข้อนอกเวลา 3,838 3,461 3,191 - - 13 13.2) Spine clinic - 24 32 - 7 13.3) Sport clinic - 31 -, 40 74 13.4) Hand clinic - 7 20 53 94 13.5) Trauma clinic -1- 113 72 13.6) Arthoplasty - 51 - 15,564 13.7) Clubfoot - 30 120 2,878 13.8) กระดกู และข้อ (5/1) - -2 9,946 903 13.9) กระดกู และข้อ (5/2) - - 47 13,615 56 13.10) กระดกู และข้อ (5/3) --- - 317** 13.11) กระดกู และขอ้ (5/4) - - 74 26,806 1,525 13.12) กระดกู และขอ้ (5/5) - - 65 13.13) กระดูกและข้อ (5/6) - - 72 13.14) กระดูกและขอ้ (5/7) --- 14 หอ้ งฉีดยา-ทาแผล 15,880 16,315 14,027 14.1) ห้องฉดี ยา – ทาแผล (นอกเวลา) - - 2,498 15 ประกนั สงั คม 18,224 21,562 16,143 16 คาปรึกษาสุขภาพ 958 890 1,014 16.1 ARV 10,320 11,582 13,528 17 เวชปฏิบตั ทิ ่ัวไป 92** 31** 47** 17.1 เวชปฏิบตั ิท่ัวไปTB 743 1,071 - 18 นอกเวลาทวั่ ไป 502** 533** 406** 19 รงั สรี ักษา 1,335 10,349 22,643 20 ORเลก็ MED - - 1,453 หมายเหตุ : *แพทย์ผิวหนงั ลาศึกษาต่อ ** มกี ารยกเลิกห้องตรวจเวชปฏิบัติท่ัวไป และห้องตรวจนอกเวลาท่ัวไป เพื่อกระจายผ้ปู วุ ยสศู่ ูนยแ์ พทย์ลดความแออดั ภายในโรงพยาบาล, ปงี บประมาณ 2558 – ปัจจบุ ัน ได้กลับมาเปดิ บริการเฉพาะวนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ ที่มา : งานจดั การสารสนเทศ, กลมุ่ งานสารสนเทศทางการแพทย์ รายงานสถิตปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 28

ตารางท่ี 26 : สถิตชิ พี และสถติ จิ ากห้องคลอด สถิติการคลอด 2557 ปงี บประมาณ 2560 1. มารดาคลอดท้ังหมด 5,847 2558 2559 5,574 5,817 5,741 5,645 2. วิธกี ารคลอดทั้งหมด 5,940 5,900 5,757 3,033 2,963 3,103 2,502 2.1. คลอดปกติ 3,038 2,937 2,607 2,360 2,740 2,417 84 2.2. คลอดผดิ ปกติ 2,902 167 178 10 9 4 2.2.1. C/S 2,661 20 15 20 5,900 5,814 5,628 2.2.2. V/E 214 5,856 5,767 5,592 44 47 36 2.2.3. F/E 8 49 52 58 65 60 78 2.2.4. Breech 19 87 83 107 1 3. ทารกคลอดทั้งหมด 5,940 34 0 3.1. เกิดมชี ีพ 5,903 00 4,634 3.2. เกิดไรช้ ีพ 37 940 68 3,524 4,713 1,146 4. ทารกอายุ 0 - 7 วนั เสียชวี ิต** 2,293 1,028 4,426 702 728 712 5. ทารกอายุต่ากวา่ 28 วัน เสยี ชวี ติ ** 78 5,115 5,017 23 710 730 20 6. ทารกอายุต่ากว่า 1 ปี เสยี ชวี ิต** 109 27 39 839 332 393 7. มารดาเสียชีวิต 1 1,042 905 99.36 6.39 7.1 มารดาเสยี ชวี ติ (ฝากครรภท์ ่ีรพ.ขอนแก่น) 0 99.25 99.19 10.32 7.46 8.08 13.88 8. จานวนผู้คลอดในเครือข่าย (จังหวัดขอนแก่น) 4,784 8.31 8.95 4.09 11.02 10.33 19.05 9. จานวนผคู้ ลอดนอกเครือข่าย(จงั หวัดขอนแกน่ ) 1,063 4.58 6.72 17.88 14.76 14.29 10. มารดาท่ีคลอดก่อนกาหนด (< 37 wks) 580 51.23 69.38 หนา้ 29 11. มารดาท่ีคลอดครบกาหนด (> 37 wks) 5,267 12. ทารกคลอดน้าหนกั น้อย (<2,500 g) ไม่รวมตาย 781 13. ทารกคลอดนา้ หนักน้อย (<2,500 g ) ตาย 28 14. แท้ง**(< 28 wks) 343 15. จานวนผคู้ ลอดอายตุ า่ กว่า 20 ปี 1,117 16. สถิติชีพ 16.1 อัตราการเกิดมชี ีพ (ร้อยละ) 99.38 16.2 อตั ราเกิดไรช้ พี (ต่อการคลอดพนั คน) 6.23 16.3 อตั ราตายปริกาเนิด (<7 วัน)(ตอ่ การคลอดพนั คน)** 11.45 16.4 อตั ราตายทารกแรกคลอด< 28 วัน(ต่อการคลอดพันคน) 13.13 16.5 อัตราตายทารกที่มนี ้าหนัก< 2,500 g ต่อการคลอดพนั คน) 4.71 16.6 ออัตัตรราา(ตกตาา่อรยกตขาาอรยงคขทลอาองรดมกพา(รันด1คานป(ต)ี)*่อ(*ตแ่อสกนากราครลเกอิดดมพีชนั ีพค)น**)** 18.35 16.7 16.94 หมายเหตุ : ** ขอ้ มลู จากงานจัดการสารสนเทศ กล่มุ งานสารสนเทศทางการแพทย์ โรงพยาบาลขอนแก่น ทีม่ า : ข้อมลู จากห้องคลอด โรงพยาบาลขอนแก่น สรุปข้อมูล ณ วันที่ 30 ตุลาคม 2560 (มีการปรับแกข้ ้อมูลย้อนหลังต้ังแต่ปงี บประมาณ 2557) รายงานสถติ ปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 |

ตารางที่ 27 : สถติ ิการใชย้ าระงับความรูส้ ึก ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 12,468 12,931 13,099 13,115 ชนิดของการใช้ยาระงับความรสู้ กึ 380 406 428 399 General anesthesia Tube balance 266 283 277 241 140 111 104 Mask 4,584 85 4,861 5,078 TIVA 5,224 146 LMA 82 109 87 1,053 Regional anesthesia Spinal block 1,005 1,037 981 307 Epidural block 98 304 304 987 Brachial block 965 950 1,021 Ankle block 6,399 MAC 6,963 6,953 3,485 5,285 ประเภทของผปู้ ่วย 4,909 5,046 4,965 906 ศัลยกรรมทัว่ ไป 666 777 896 783 ศลั ยกรรมออรโ์ ธปิดกิ ส์ 605 618 658 343 ศัลยกรรมประสาท 128 142 358 1,129 ศัลยกรรมระบบทางเดนิ ปสั สาวะ 1,018 987 1,026 548 จักษุ 686 594 613 4,344 โสต ศอ นาสิก 3,535 4,722 4,517 489 ศัลยกรรมเด็ก 432 488 491 14 สตู ิ-นรีเวชกรรม 59 12 418 ศลั ยกรรมตกแตง่ 395 9 423 235 อายรุ กรรม 454 392 133 8,286 ศัลยกรรมช่องปากและใบหน้า 11,349 208 11,475 12,576 วิสัญญีวิทยา 9,081 11,966 9,136 นอกเวลาราชการ 8,947 ในเวลาราชการ ท่ีมา : กลมุ่ งานวสิ ัญญี โรงพยาบาลขอนแก่น รายงานสถิติประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 30

ตารางที่ 28 : สถติ ิการใหบ้ ริการกลมุ่ งานพยาธิวิทยา ปีงบประมาณ ลาดับ งานบริการ 2557 2558 2559 2560 80 1 ตรวจชน้ิ เน้ือได้ผลทันทีขณะผ่าตัด (ราย) 59 93 73 9,362 2 ตรวจชิ้นเนื้อจากผ้ปู วุ ยภายในรพ. (IPD) (ราย) 5,006 3 ตรวจชิ้นเนื้อจากผู้ปวุ ยภายนอกรพ. (OPD) (ราย) 9,410 9,292 9,621 315 4 ตรวจชิ้นเนือ้ จากผ้ปู วุ ยโรงพยาบาลอน่ื ๆ (ราย) 56,748 5 ตรวจสไลดย์ ้อมสีธรรมดา (H&E Stain) (แผ่น) 4,366 4,301 4,773 352 6 ตรวจสไลด์ย้อมสีพิเศษ ( Special stains ) (ราย) 627 7 ตรวจสไลดย์ ้อมสีพเิ ศษ ( Special stains ) (แผน่ ) 548 562 665 1,405 8 ตรวจสไลด์ย้อมสี Immunohistochemical stains (ราย) 6,960 9 ตรวจสไลด์ย้อมสี Immunohistochemical stains (แผน่ ) 55,182 53,366 56,203 1,159 10 ตรวจชน้ิ เน้อื AUTOPSY (แผน่ ) 606 373 464 ทมี่ า : กลุ่มงานพยาธวิ ิทยา โรงพยาบาลขอนแก่น 935 614 800 1,162 1,227 1,400 5,526 6,212 6,699 - 1,944 1,482 ตารางที่ 29 : สถติ ิการให้บริการกล่มุ งานเทคนคิ การแพทย์ การให้บริการ หน่วยนบั 2556 2557 ปีงบประมาณ 2559 2560 278,556 2558 319,969 351,193 โลหติ วทิ ยา รายการทดสอบ 253,382 103,423 274,040 119,739 133,198 1,429,646 135,044 1,699,703 1,850,039 จลุ ทรรศน์ศาสตร์ รายการทดสอบ 66,981 167,040 201,241 204,534 105,892 1,495,180 เคมคี ลนิ ิก รายการทดสอบ 1,311,929 204,615 135,324 141,353 2,084,557 ภมู คิ ุม้ กนั วทิ ยา รายการทดสอบ 157,092 99,693 6,144 10,686 2,482,120 2,691,003 จลุ ชวี วิทยา รายการทดสอบ 95,143 3,240 2,214,370 อืน่ ๆ (OUT LAB) รายการทดสอบ รวม 1,884,527 ทีม่ า : กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์ โรงพยาบาลขอนแก่น ตารางท่ี 30 : สถติ กิ ารใหบ้ ริการรังสวี ิทยา ลักษณะสาคญั ของงานบรกิ าร 2556 2557 ปงี บประมาณ 2559 2560 114,389 122,695 2558 136,429 145,833 Genera (Plain Film) (ราย) 3,094 2,981 134,410 2,490 2,136 Case พเิ ศษ (IPV + Flu.) (ราย) 20,967 22,976 2,743 25,861 28,280 Portable (ราย) 8,435 9,014 25,659 11,002 12,501 CT (ราย) 9,970 10,000 10,032 13,159 13,679 U/S (ราย) 1,090 1,306 9,300 1,435 Mammogram (ราย) 10,210 13,067 1,158 923 13,350 บริการรถเอกซเรย์ตรวจสุขภาพ 168,155 182,039 14,063 12,420 217,214 197,365 202,284 รวม ท่มี า : กลมุ่ งานรงั สวี ิทยา โรงพยาบาลขอนแกน่ รายงานสถิติประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 31

ตารางท่ี 31 : จานวนการผา่ ตดั ใหญ่และจานวนเฉลย่ี ต่อวัน จาแนกตามสาขาการผา่ ตดั สาขาการผา่ ตัด จานวนผา่ ตัดใหญ่ 2558 เฉล่ียตอ่ วนั 2560 2558 2559 2560 2559 16.06 ศัลยกรรมท่ัวไป 6,188 6,021 5,861 16.95 16.45 1.43 1.48 1.78 ศลั ยกรรมตกแต่ง 530 540 522 1.45 1.93 1.92 2.48 0.003 ศลั ยกรรมกุมาร 731 707 648 2.00 0.04 2.32 2.19 16.27 ศลั ยกรรมระบบทางเดนิ ปสั สาวะ 1,032 906 701 2.83 15.20 7.41 ศัลยกรรมทรวงอก 7.93 3.17 ศัลยกรรมระบบประสาท 23 15 1 0.06 2.91 12.04 ศลั ยกรรมออรโ์ ธปดิ ิกส์ 12.59 722 802 846 1.98 1.07 1.02 5,426 5,563 5,937 14.87 0.15 0.10 0.46 ศลั ยกรรมจักษุ 2,961 2,902 2,706 8.11 0.27 0.83 1.08 1.12 ศลั ยกรรมโสต ศอ นาสิก 1,013 1,064 1,157 2.78 1.08 1.16 0.66 67.18 ศลั ยกรรมสูติ – นรเี วชกรรม 4,720 4,608 4,394 12.93 67.40 ศัลยกรรมช่องปากและ 382 374 389 1.05 แมกซิโลเฟเซยี ล อายุรกรรม 34 36 56 0.09 วิสญั ญีวิทยา 91 97 169 0.25 ศัลยกรรมอุบัติเหตุ 578 395 304 1.58 ศัลยกรรมหวั ใจและหลอดเลอื ด 306 397 407 0.84 ศัลยกรรมหลอดเลือด 0 243 424 0 รวม 24,737 24,670 24,522 67.77 อตั ราเปรียบเทียบปีก่อนหนา้ 0.52 -0.27 -0.60 0.52 -0.27 -0.60 ท่มี า : ห้องผ่าตดั โรงพยาบาลขอนแกน่ , เฉลีย่ ต่อวนั จาก 365 วนั ในปงี บประมาณ 2558, 2560 และ 366 วัน ในปงี บประมาณ 2559 จากตารางท่ี 31 พบว่าจานวนการผ่าตัดใหญป่ ี 2558 - 2560 มแี นวโนม้ ลดลงเล็กน้อย โดยมีผู้ปวุ ยผ่าตดั ใหญเ่ ฉล่ียวันละ 67 รายตอ่ วัน สาขาการผ่าตัดท่มี มี ากสดุ คือ ศลั ยกรรมทัว่ ไป โดยรบั บริการห้องผ่าตัด เฉลยี่ วนั ละ 17 ราย 24,737 24,670 24,522 30,000 20,000 10,000 0 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ภาพท่ี 12 สถติ กิ ารผา่ ตดั ใหญ่ ปงี บประมาณ 2558 – 2560 รายงานสถติ ิประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 32

ตารางท่ี 32 : แสดงจานวนการผา่ ตัดใหญ่ จาแนกในเวลาและนอกเวลา สาขาการผา่ ตดั ผา่ ตดั ใหญ่ในเวลาราชการ ผ่าตัดใหญน่ อกเวลาราชการ ศัลยกรรมทัว่ ไป 2558 2559 2560 2558 2559 2560 ศัลยกรรมตกแต่ง 2,911 2,858 2,685 3,277 3,163 3,176 ศลั ยกรรมกุมาร ศัลยกรรมระบบทางเดนิ ปสั สาวะ 477 485 460 53 55 62 ศลั ยกรรมทรวงอก ศัลยกรรมระบบประสาท 475 480 463 256 227 185 ศัลยกรรมออรโ์ ธปดิ ิกส์ ศลั ยกรรมจักษุ 994 865 666 38 41 35 ศัลยกรรมโสต ศอ นาสิก 14 10 0 ศลั ยกรรมสูติ – นรเี วชกรรม 331 381 404 95 1 2,756 2,766 2,912 2,883 2,747 2,571 391 421 442 930 976 1,067 2,670 2,797 3,025 3,113 3,076 3,025 78 155 135 83 88 90 1,607 1,532 1,369 ศัลยกรรมชอ่ งปากและ 333 305 310 49 69 79 แมกซโิ ลเฟเซยี ล 17 28 44 17 8 12 อายรุ กรรม 10 19 43 วิสญั ญวี ทิ ยา 81 78 126 274 216 182 ศัลยกรรมอุบตั เิ หตุ 304 179 122 74 103 92 ศลั ยกรรมหวั ใจและหลอดเลือด 232 294 315 0 92 168 ศัลยกรรมหลอดเลือด 0 151 256 8,886 8,991 9,096 5.80 1.18 1.17 รวม 15,851 15,679 15,426 อัตราเปรยี บเทียบปกี ่อนหนา้ -2.21 -1.09 -1.61 ทีม่ า : หอ้ งผ่าตัด โรงพยาบาลขอนแก่น 20,000 15,851 15,679 15,426 ผ่าตดั ใหญใ่ นเวลา 15,000 8,886 8,991 9,096 ผา่ ตัดใหญน่ อกเวลา 10,000 5,000 0 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ภาพที่ 13 จานวนการผา่ ตัดใหญ่ จาแนกในเวลาและนอกเวลา รายงานสถิติประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 33

ตารางที่ 33 : แสดงจานวนการผ่าตดั เล็ก จาแนกในเวลาและนอกเวลา สาขาการผ่าตัด ผ่าตัดเล็กในเวลาราชการ ผา่ ตัดเล็กนอกเวลาราชการ 2558 2559 2560 2558 2559 2560 ศลั ยกรรมทั่วไป 6,070 5,482 4,831 515 565 348 ศัลยกรรมตกแต่ง 653 719 766 64 87 85 ศลั ยกรรมกุมาร 23 19 32 ศลั ยกรรมระบบทางเดนิ ปัสสาวะ 3,719 4,026 4,148 795 ศัลยกรรมทรวงอก 9 22 8 ศัลยกรรมระบบประสาท 100 000 ศัลยกรรมกระดกู และข้อ 4 10 5 011 ศัลยกรรมจักษุ 397 398 460 416 274 313 ศัลยกรรมโสต ศอ นาสกิ 174 261 611 5 13 20 ศัลยกรรมสูติ – นรีเวชกรรม 747 210 10 17 15 340 ศัลยกรรมชอ่ งปากและ แมกซิโลเฟเซยี ล 413 052 อายรุ กรรม 166 429 511 211 วสิ ัญญวี ิทยา 44 48 76 011 ศลั ยกรรมอุบัตเิ หตุ 18 7 2 403 ศลั ยกรรมหวั ใจและหลอดเลือด ศลั ยกรรมหลอดเลือด 14 20 26 341 0 108 311 0 54 85 รวม 11,304 11,549 11,804 1,030 1,041 873 อตั ราเปรียบเทียบปกี ่อนหนา้ 16.70 2.17 2.21 5.42 1.07 -16.14 ที่มา : หอ้ งผา่ ตัด โรงพยาบาลขอนแก่น 15,000 11,304 11,549 11,804 ผา่ ตัดเล็กในเวลา 10,000 1,030 1,041 873 ผ่าตัดเล็กนอกเวลา 5,000 0 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ภาพท่ี 14 จานวนการผา่ ตดั เล็ก จาแนกในเวลาและนอกเวลา รายงานสถติ ปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 34

ตารางที่ 34 : ผูป้ ่วยห้องอุบัตเิ หตุ – ฉกุ เฉนิ 2557 ปงี บประมาณ 2560 111,253 2558 2559 112,157 ห้องอบุ ัติเหตุ ฉุกเฉิน -2.60 112,018 112,352 -0.17 0.68 0.29 1. จานวนผู้ปุวยท้ังหมด 305 307 1.1 อัตราเพมิ่ ขน้ึ ของปีก่อนหน้า 39,090 307 308 40,533 51,643 39,490 40,365 50,403 2. จานวนผู้ปุวยเฉล่ยี ตอ่ วนั 20,520 51,672 50,496 21,221 2.1 เวรเชา้ 20,856 21,491 2.2 เวรบ่าย 25,480 25,338 2.3เวรดึก 85,773 25,070 25,445 86,819 86,948 86,907 3. ประเภทผู้ปุวยที่มารบั บรกิ าร 7,816 9,335 30,893 8,495 9,223 38,244 3.1 อุบัตเิ หตุ (Trauma) 32,183 31,075 34,152 31,546 3.2 ฉกุ เฉิน (Non-Trauma) 28,921 32,668 29,477 26,492 4. ระดบั ความรุนแรง 11,440 27,865 33,710 6,540 4.1 Resustitative 11,068 5,790 4.2 Emergent 71,071 68,406 4.5 Urgent 40,182 69,450 67,600 43,751 4.6 Less-Urgent 356 42,568 44,752 395 4.7 Non - Urgent 248 312 165 547 5. ประเภทการจาหนา่ ยห้องฉุกเฉิน 292 156 232 415 5.1 ตรวจ-กลบั 185 110 22993,,4441177 29,291 5.2 รบั ไวใ้ นโรงพยาบาล 10 22995,,5542222 28,917 42 179 18 60 21 5.3 ปฏิเสธการรกั ษา 192 21 200 5.4 ไมร่ อตรวจ 45 209 5.5 หนกี ลบั 109 47 6. สง่ ต่อ (Refer) 118 46 47 123 6.1 Refer in 88 110 116 152 6.2 Refer back 37 117 118 136 6.3 R5e.6fe.1r oRuetfer in 84 86 94 7. เสยี ชวี ิตในตกึ อบุ ตั ิเหตุ 37 57 8.ระยะเวลาเฉลย่ี ในการตรวจรกั ษาหอ้ งอุบตั ิเหตุ-ฉกุ เฉิน(นาที) 8.1 Resuscitation (ผปู้ วุ ยวกิ ฤต) 8.2 Emergent (เจบ็ ปวุ ยรุนแรง) 8.3 Urgent (เจ็บปุวยปานกลาง) 8.4 Less-Urgent (เจ็บปุวยเล็กนอ้ ย) 8.5 Non-Urgent (เจ็บปุวยทว่ั ไป) ทมี่ า : กล่มุ งานเวชศาสตรฉ์ ุกเฉนิ โรงพยาบาลขอนแก่น รายงานสถติ ปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 35

ตารางท่ี 35 : สาเหตุการเจ็บปว่ ย – การเสยี ชีวิต อุบตั ิเหตแุ ละฉุกเฉิน สาเหตกุ ารบาดเจ็บ, การเสียชีวิต 2556 2557 ปงี บประมาณ 2560 อบุ ัติเหตแุ ละฉุกเฉิน 5 อันดับแรก 2558 2559 9,287 9,452 9,336 สาเหตุการบาดเจบ็ 4,520 4,412 9,130 9,044 4,005 1. อุบัติเหตุการขนสง่ ทางบก 3,903 4,019 4,114 3,848 3,938 2. สัมผสั กบั แรงเชงิ กลวตั ถุส่งิ ของ 2,465 2,550 4,124 3,911 2,385 3. พลดั ตก หรือหกลม้ 2,056 1,928 2,302 2,270 1,950 4. สมั ผัสกบั แรงเชงิ กลของสัตว์/คน 1,952 1,807 5. ถกู ทารา้ ยด้วยวิธตี า่ ง ๆ 223 228 163 สาเหตุการเสียชวี ติ 43 49 218 239 27 1. อุบตั ิเหตุการขนสง่ ทางบก 23 27 50 32 15 2. พลดั ตก หรือหกลม้ 14 13 31 21 19 3. ถูกทาร้ายดว้ ยวธิ ตี า่ ง ๆ 85 14 15 2 4. ทารา้ ยตัวเองดว้ ยวิธตี ่าง ๆ 11 4 5. สมั ผัสแรงเชิงกลวัตถุสง่ิ ของ ทม่ี า : ศูนย์อบุ ัติเหตแุ ละวิกฤตบาบดั โรงพยาบาลขอนแก่น 10000 9000 8000 7000 6000 5000 4000 3000 2000 1000 0 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ภาพที่ 15 เปรยี บเทยี บสาเหตกุ ารบาดเจ็บ 5 อนั ดบั แรก จาแนกตามปงี บประมาณ รายงานสถิตปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 36

ตารางท่ี 36 : จานวนผบู้ าดเจ็บจาแนกตามสาเหตุการบาดเจบ็ สาเหตุการบาดเจบ็ จานวนการบาดเจ็บ จานวนการเสยี ชีวติ 2558 2559 2560 2558 2559 2560 อบุ ัติเหตุการขนสง่ ทางบก 9,130 9,044 9,336 218 239 163 พลดั ตก หรอื หกลม้ 4,124 3,911 3,938 50 32 27 สมั ผัสกับแรงเชงิ กลวัตถสุ ง่ิ ของ 4,114 3,848 4,005 11 4 2 สมั ผสั กบั แรงเชงิ กลของสตั ว/์ คน 2,302 2,270 2,385 11 1 การตกน้า จมนา้ 12 20 18 15 3 คุกคามการหายใจ 001 00 0 สมั ผัสกระแสไฟฟาู รงั สีและอุณหภูมิ 96 79 83 56 4 สัมผัสควันไฟ และเปลวไฟ 29 36 33 45 2 สัมผัสความรอ้ น ของรอ้ น 123 91 102 00 0 สัมผัสพิษจากสตั ว์หรือพชื 686 574 617 00 0 สมั ผสั พลงั งานจากธรรมชาติ 414 10 0 สมั ผสั พษิ และสารอ่ืนๆ 65 77 47 01 1 การออกแรงเกิน 165 156 152 00 0 สัมผัสกับสิง่ ทไี่ ม่ทราบแน่ชัด 010 00 0 ทารา้ ยตัวเองด้วยวธิ ีต่างๆ 286 265 251 14 15 19 ถูกทารา้ ยด้วยวิธตี า่ งๆ 1,952 1,807 1,650 31 21 15 บาดเจบ็ โดยไมท่ ราบเจตนา 64 75 47 7 14 3 ดาเนนิ การทางกฎหมายหรือสงคราม 100 00 0 ไม่ทราบท้ังสาเหตแุ ละเจตนา 0 39 1 00 0 รวม 23,153 22,294 22,670 343 343 240 ทีม่ า : ศูนยอ์ ุบัติเหตแุ ละวกิ ฤตบาบัด โรงพยาบาลขอนแก่น ตารางที่ 37 : สถติ ิงานเภสัชกรรมบรกิ ารปงี บประมาณ 2556 - 2560 ลักษณะสาคัญของงานบรกิ าร ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 งานเภสัชกรรมบริการผปู้ ุวยนอก 1,235 1,436 1,478 1,509 2,765 2,988 3,305 3,650 จานวนใบส่งั ยา/วัน 1,108 1,584 2,077 1,654 1,746 จานวนขนานยา/วัน 2,665 8,766 7,745 9,560 9,950 งานเภสชั กรรมบรกิ ารผปู้ ุวยใน จานวนใบสง่ั ยา/วัน 1,040 จานวนขนานยา/วัน 7,543 ที่มา : กลมุ่ งานเภสชั กรรม โรงพยาบาลขอนแก่น, ณ วันท่ี 15 มกราคม 2561 รายงานสถิติประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 37

ตารางที่ 38 : ตวั ชี้วดั คุณภาพทางเภสชั กรรม ปงี บประมาณ 2556 – 2560 ตวั ช้วี ัด ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 1.20 0.59 0.65 อตั ราความคลาดเคล่ือนในการสั่งยา 3.56 1.97 prescription error (ครง้ั /1000 วนั นอน) 0.71 0.41 1.25 อัตราความคลาดเคล่ือนในการจา่ ยยา 0.92 0.55 1.29 0.59 1.84 dispensing error (ครง้ั /1000 วันนอน) 0.14 0.04 0.28 อัตราความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา 0.34 0.12 3 2 0 administration error (คร้ัง/1000 วนั นอน) 97.34 93.80 95.70 17.16 16.84 16.40 อตั ราความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคาส่ังTranscribing 0.24 0.12 1.07 1.11 1.17 error (คร้งั /1000 วนั นอน) การแพ้ยาซา้ ในระบบโรงพยาบาล (คร้ัง) 00 ร้อยละความสมเหตุสมผลในการใช้ยาปฏิชีวนะทตี่ ้อง 96.11 96.17 ประเมนิ (ร้อยละ) 17.09 18.24 ระยะเวลารอคอยเฉล่ยี (นาที) 1.23 1.16 จานวนเดอื นสารองคลงั (เดือน) ทม่ี า : กลุม่ งานเภสชั กรรม โรงพยาบาลขอนแก่น, ณ วันที่ 15 มกราคม 2561 ตารางที่ 39 : สถิติการให้บริการทางทนั ตกรรม ปงี บประมาณ 2559 - 2560 สถิตกิ ารให้บริการทันตกรรม ปีงบประมาณ 2559 ปงี บประมาณ 2560 ผลการปฏิบัตงิ านทนั ตสาธารณสขุ ผูป้ ุวยนอก คร้ัง ซ่ี คร้ัง ซี่ งานทวั่ ไป 7,136 9,181 7,738 9,580 1. ถอนฟัน 7,281 10,361 7,256 9,951 2. อุดฟนั 3,283 - 3,339 3. ขูดหินปนู 10,959 - งานเฉพาะสาขา 10,366 - 1,513 499 1. ศลั ยกรรมช่องปาก 1,511 541 7,668 - 2. รักษาคลองรากฟัน 6,083 - 2,602 - 3. ปริทันต์ 2,622 - 2,532 1,370(ชนิ้ ) 4. ทันตกรรมสาหรบั เดก็ 2,693 707(ชิ้น) 3,648 - 5. ทนั ตกรรมประดิษฐ์ 3,760 - 7 (คน) 16 6. ทนั ตกรรมจดั ฟนั 1,580 - 1,441 - 7. ทนั ตกรรมรากเทยี ม 4 (คน) 8 12,4641 622 งานส่งเสริมทันตสขุ ภาพและทนั ตกรรมปูองกัน 1,935 - 696 - 1.ตรวจสุขภาพชอ่ งปากหญิงตัง้ ครรภ์ 52 70 2.ตรวจสขุ ภาพช่องปากผปู้ ุวยเบาหวาน 1,500 - 3. Sealant ผปู้ ุวยอายุไมเ่ กนิ 15 ปี 236 455 4. ฟลอู อไรด์ ผูป้ ุวยอายไุ ม่เกิน 15 ปี 731 - 5. PRR ผปู้ ุวยอายไุ มเ่ กนิ 15 ปี 77 96 ที่มา : กล่มุ งานทันตกรรม โรงพยาบาลขอนแกน่ , ณ วนั ที่ 31 ตลุ าคม 2560 รายงานสถติ ปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 38

ตารางท่ี 40 : สถติ กิ ารให้บริการศูนยเ์ ชี่ยวชาญระดบั สูงสาขาทารกแรกเกิด สถติ กิ ารให้บรกิ าร 2558 ปงี บประมาณ 2560 5,812 2559 5,593 การเกดิ มชี พี ต่อปี (คน) 274 5,743 230 สถติ ิ Asphyxia (คน) 595 327 703 สถิติ LBW (คน) 83 644 101 สถติ ิ VLBW(คน) 31 67 37 สถติ ิ Extremely LBW (คน) 153.92 29 108.10 อตั ราครองเตยี ง SNB (%) 98.91 129.32 96.21 อตั ราครองเตยี ง NICU (%) 1,072 92.64 1,249 จานวนทารกแรกเกิดปุวยทัง้ หมด (คน) 755 1,289 936 ทารกแรกเกดิ ทป่ี วุ ย (รวมทุก ward) ทค่ี ลอดในโรงพยาบาล (คน) 304 894 478 จานวนทารกแรกเกดิ ระยะวิกฤตที่รับไว้รักษาใน NICU (คน) 317 484 313 สถิติการรับการสง่ ตอ่ ผู้ปวุ ยทารกแรกเกิดจากสถานบริการอ่ืน 395 (Refer in) (คน) 252 260 จานวนทารกแรกเกดิ ทสี่ ่งตัวมาจากโรงพยาบาลชุมชนในจงั หวดั 286 ขอนแกน่ (คน) 49 46 จานวนทารกแรกเกดิ ทส่ี ง่ ตัวมาจากโรงพยาบาลในเขต (คน) 16 77 7 จานวนทารกแรกเกดิ ทส่ี ่งตวั มาจากโรงพยาบาลนอกเขต (คน) 18 32 13 ทารกแรกเกดิ ท่สี ่งตอ่ ไปรักษาในโรงพยาบาลที่ศักยภาพสูงกว่า (Refer 18 out) ทง้ั ในเขตและนอกเขต (คน) 53 58 ทารกแรกเกิดท่ีส่งกลับไปรกั ษาในโรงพยาบาลในโรงพยาบาลใกลบ้ า้ น 92 (refer back) (คน) 16.72 18.53 ร้อยละการ refer back (เปูาหมายเพิม่ ร้อยละ 5 ต่อป)ี 1,257 23.29 1,258 จานวนผูป้ วุ ยนอกของทารกแรกเกิด (คน) 1,717 ทมี่ า : ศูนย์ทารกแรกเกิด โรงพยาบาลขอนแกน่ 7500 5,743 5,593 6000 4500 5,812 ปี 2559 ปี 2560 3000 1500 0 ปี 2558 ภาพท่ี 16 จานวนการเกดิ มีชพี ตอ่ ปี เปรียบเทยี บรายปปี ระมาณ 2558 - 2560 รายงานสถิติประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หน้า 39

ตารางที่ 41 : ตวั ชี้วัดคุณภาพการดแู ลรักษากลมุ่ งานกมุ ารเวชกรรม ตวั ชีว้ ดั หนว่ ยวดั เป้า ปงี บประมาณ หมาย 2557 2558 2559 2560 อัตราตายทารกแรกเกดิ ภายใน 1 : 1,000 LB 4.0 6.80 7.70 12.20 13.30 28 วนั รวมทารกทสี่ ่งตัวมารักษา 1 : 1,000 LB 4.0 9.87 6.55 7.66 7.69 อัตราตายทารกแรกเกดิ ภายใน <8 10.30 7.30 8.16 6.07 28 วนั เฉพาะคลอดโรงพยาบาลขอนแก่น ร้อยละ <8 5.70 4.82 2.70 5.02 อตั ราตายของทารกเกดิ ก่อนกาหนด รอ้ ยละ <25 33.80 24.60 21.90 23.19 (ตาม GA) <10 23.37 24.01 15.88 17.99 อัตราตายของทารกเกิดก่อนกาหนด ร้อยละ ≤21 13.50 39.83 27.78 14.38 (สาเหตุการตาย) รอ้ ยละ <7 12.55 14.72 13.80 14.86 อตั ราตายทารกแรกเกดิ น้าหนักตวั 47.64 74.75* 29.30 6.29 < 1,500 กรมั วนั 5 5.71 11.95 6.85 10.86** วัน <7.3 อัตราตายทารกแรกเกิดใน NICU ครง้ั /1,000 2.04 8.05 4.41 0.30 วนั นอน <2.3 จานวนวันนอนทารกเกิดก่อนกาหนด ร้อยละ 2.04 3.13 2.27 2.90 จานวนวันนอนทารกแรกเกิด <5 ร้อยละ 19.60 17.50 21.77 17.03 อตั ราการเกิดอุณหภมู กิ ายตา่ ใน <20 ทารกแรกเกดิ ร้อยละ อัตราการเกิดภาวะปอดเรื้อรงั (BPD) ใน ทารกแรกเกิด นาที อัตราการเกดิ ภาวะจอประสาทตาผดิ ปกติ (ROP) ระยะ 3-5 ในทารกแรกเกดิ ท่ีได้รบั การคดั กรองภาวะจอประสาทตา อัตราการเกดิ IVH ในทารกแรกเกดิ ที่ได้รับ การตรวจคดั กรองอลั ตร้าซาวน์สมอง ระยะเวลาเฉล่ยี การส่งตอ่ ทารกดว้ ยระบบ Fast track ต้ังแต่มาถึงห้องฉุกเฉนิ จนกระท่งั ไดร้ บั การดูแลรักษาจากทีม กมุ ารแพทย์ ณ หอผู้ปุวย ทีม่ า : ศนู ย์ทารกแรกเกดิ โรงพยาบาลขอนแกน่ รายงานสถิตปิ ระจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 40

ตารางท่ี 42 : ตัวช้ีวดั การดาเนินการ การดแู ลทารกแรกเกดิ ตาม Service Plan ที่ รายการ เปา้ หมาย 2557 ปีงบประมาณ 2560 2558 2559 15.27 1 อตั ราการเกดิ ก่อนกาหนด <12 หรือ 9.47 7.30 10.67 (คลอดใน รพ.) (รอ้ ยละ) แนวโนม้ ลดลง 13.35 11.42 12.81 2 อตั ราการเกิดทารกน้าหนัก <7 หรอื ลดลง 11.24 83.89 <2,500 กรมั (ร้อยละ) รอ้ ยละ 5 ต่อปี 60.33 70.72 13.3 อตั ราการให้ Antenatal steroid อย่างน้อย 7.7 12.2 62.16 3 2 doses ก่อนการคลอดในมารดา GA 24 - >70 52.94 41.94 41.18 8.91 16.87 13.75 3.41 34 wks. (ร้อยละ) 3.19 3.28 100 4 อตั ราตายทารกแรกเกิดอายุ <28 วัน รวม < 4:1,000 6.8 100 100 100 ทารกทส่ี ง่ ตวั มารักษา การเกดิ มชี พี 100 100 100 5 อัตราตายทารกแรกเกดิ (แยกตามนา้ หนกั ) (รอ้ ยละ) 100 100 100 92.75 100 BW <1,000 กรัม <50 69.05 100 100 100 100 BW 1,000-1,499 กรมั <10 19.00 100 100 35.14 BW 1,500-2,499 กรมั <2 3.44 70 27.59 34.78 47.22 31.17 6 การคัดกรองในทารกแรกเกิดน้าหนกั <1,500 กรัม (ร้อยละ) 11.11 20 0 7.25 7.25 1.09 6.1 ROP screening 5.56 6.90 0 2.90 2.90 2.17 BW<1,000 กรมั 100 100 00 0 BW 1,000-1,499 กรัม 100 100 00 0 6.2 IVH screening BW<1,000 กรัม 70 100 BW 1,000-1,499 กรัม 70 85.19 6.3 OAE (Hearing test) screening BW <1,000 กรัม 100 100 BW 1,000 -1,499 กรัม 100 100 7 อตั ราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในทารกแรกเกิดตามน้าหนัก (รอ้ ยละ) BPD/CLD BW <1,000 กรมั <26 69.23 BPD/CLD BW 1,000 -1,499 กรัม <26 39.29 ROP stage 3-5 BW<1,000 กรมั <8 7.69 ROP stage 3-5 BW 1,000 -1,499 กรมั <8 1.23 IVH grade 3-4 BW<1,000 กรัม <7 7.69 IVH grade 3-4 BW 1,000 -1,499 กรมั <7 1.23 Hearing impairment (by OAE/ABR)***(รอ้ ยละ) BW<1,000 กรัม <5 0 BW 1,000 -1,499 กรัม <5 6.17 รายงานสถติ ิประจาปี ปีงบประมาณ 2560 | หนา้ 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook