การจัดการและแนวความคิดทางการจัดการ (Management & Management Thought)
การบริหาร VS การจัดการ (Administration VS Management) การบริหาร (Administration) เป็นกระบวนการทเี่กย่ี วขอ้ งกบั การกาํ หนดนโยบายและ แผนงาน ตลอดจนการกาํ กบั ดูแลเพอ่ื ใหแ้ นใ่ จว่า ความสาํ เรจ็ ทเี่กดิ ขน้ึ สอดคลอ้ งกบั นโยบายและแผนทวี่ างไว้
การจัดการ (Management) เป็นกระบวนการของการนาํ เอานโยบายและแผนงานไปปฏบิ ตั ิ ใหบ้ รรลุตามเป้าหมายทกี่ าํ หนดในขน้ั ของการบรหิ าร
ผูบ้ ริหาร Top Manager ผูจ้ ัดการ Middle Manager หัวหน้าคนงาน First Line Manager ลาํ ดับช้ันของการจัดการ
ความหมายของการจัดการ Mary Parker Follett “การจดั การเป็นเทคนคิ การทาํ งานใหส้ าํ เรจ็ โดยอาศยั ผูอ้ น่ื ” Ernest Dale “การจดั การ คอื กระบวนการการจดั องค์การ และ การใช้ ทรพั ยากรต่างๆ เพอื่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ทก่ี าํ หนดขน้ึ ไว้ลว่ งหนา้ ”
สมพงษ์ เกษมสิน “การจดั การเป็นการใชศ้ าสตร์และศลิ ปะนาํ เอา ทรพั ยากรการบรหิ าร มาประกอบตามกระบวนการ บรหิ ารเพอื่ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ”
การจดั การ ทรพั ยากร การ การจดั เป้ าหมาย ทางการบริหาร วางแผน องคก์ าร ของ - คน การ การจดั องคก์ าร - เงิน ควบคมุ คนเขา้ - วสั ดุ ทํางาน - วิธีการ - เครื่องจกั ร การสง่ั การ กระบวนการทางการจัดการ
ทรัพยากรทางการจัดการ (Management Resources) •คน (Man) •เงนิ (Money) •วสั ดุ (Materials) •วธิ กี ารบรหิ าร(Management or Method) •เครอ่ื งจกั ร (Machine) •ตลาด (Market)
การจัดการเป็ นศาสตร์ (Science) หรือศิลป์ (Art) ? การจดั การเป็นทง้ั ศลิ ป์ (Art) และศาสตร์ (Science)
แนวความคิด ทางการจัดการ (Management Thought)
ยุคที่ 1 ยุคก่อนการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Pre-scientific Management Period) ก่อนปี ค.ศ. 1880
การจดั การยุคน้ี อาศยั อาํ นาจหรอื การบงั คบั เป็นปจั จยั ทางการบรหิ ารทส่ี าํ คญั ทส่ี ุด วธิ กี ารใชอ้ าํ นาจ ได้แก่ การใชแ้ ส้ โซ่ตรวน การจาํ คุก ฯลฯ มนุษย์ในยุคนย้ี อมทาํ งาน เพราะกลวั การลงโทษ ถูกบงั คบั ด้วยความจาํ ใจ ความสมั พนั ธ์ภายในหนว่ ยงานมลี กั ษณะเป็นนายกบั บา่ ว กษตั รยิ ์กบั ทาส ฯลฯ
นายกบั บ่าว กษตั รยิ ์กบั ทาส
ยุคที่ 2 ยุคการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) บุคคลทม่ี ชี อ่ื เสยี งในการบรหิ ารงานยุคน้ี มี 3 คน • Robert Owen, • Frederick W.Taylor • Henri Fayol
Robert Owen ใหค้ วามเหน็ ว่าการปรบั ปรุงสภาพของ พนกั งานหรอื คนงานใหด้ ขี น้ึ จะส่งผลไปสู่การเพมิ่ การผลติ และผลกาํ ไร
Frederick Winslow Taylor (The Father of Scientific Management)
The Midvale Steel Company ในเมอื ง Bethlehem มลรฐั เพนซลิ วาเนยี Taylor คดั ค้านการบรหิ ารงานแบบเก่าทใ่ีช้ “อาํ นาจ” (Power) Taylor ไมพ่ อใจในการบรหิ ารงานทขี่ าดประสทิ ธภิ าพ
Taylor ได้เสนอวธิ แี สวงหาหลกั เกณฑ์ทดี่ ไีว้ ดงั น้ี 1. ศกึ ษาว่างานแต่ละขนั้ ตอนนนั้ ต้องใชเ้ วลา (Time) อย่างนอ้ ยทสี่ ุดเท่าไร จงึ จะสามารถทาํ ใหส้ าํ เรจ็ ลงได้ 2. ศกึ ษาเกยี่ วกบั การเคลอื่ นไหว (Motion) ในการทาํ งาน แต่ละขน้ั เพอื่ ปรบั ปรุงวธิ กี ารทาํ งาน เพอ่ื หาทางทาํ งานให้ สาํ เรจ็ โดยใชพ้ ลงั งานใหป้ ระหยดั ทสี่ ุดเท่าทจี่ ะทาํ ได้ 3. แบ่งงานออกตามขน้ั ตอน เพอ่ื ใหค้ นงานได้ทาํ งานในขนั้ ตอนท่ี เขาสามารถทาํ ได้ดที สี่ ุดมากทสี่ ุด ฯลฯ
การจดั การจงึ ควรต้องเนน้ ทก่ี ารปรบั ปรุงระบบการผลติ ทผ่ี ูบ้ รหิ ารควรจะต้องปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1.วางวธิ กี ารทาํ งานของแต่ละคนด้วยหลกั เกณฑ์ทท่ี ดลอง แลว้ ว่า เป็นวธิ ที ดี่ ที ส่ี ุด (One best way) 2.มรี ะบบการคดั เลอื กบุคคลและจดั บรรจุบุคคลเขา้ วทิ ยาศาสตร์สมยั ใหม่
3.ใหค้ วามร่วมมอื กบั คนงานเสมอและคาํ นงึ ถงึ ว่าการทาํ งาน ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ 4. ผูบ้ รหิ ารจะต้องรบั ผดิ ชอบงานด้านการวางแผนงาน
A Piece Rate System หลกั การของการกาํ หนดค่าจา้ งตามวธิ กี ารนไ้ีด้แบง่ อตั รา ค่าจา้ งเป็น 2 แบบ คอื 1. อตั ราหนง่ึ ใชส้ าํ หรบั ผลผลติ ทย่ี งั ไมถ่ งึ มาตรฐาน 2. อกี อตั ราหนง่ึ จะใชก้ บั ระดบั ผลผลติ ทเ่ีท่ากบั หรอื สูงกว่ามาตรฐาน
ค.ศ. 1903 Taylor ได้เขยี นหนงั สอื เรอื่ ง “Shop Management” ปี ค.ศ. 1910 ได้เขยี นหนงั สอื ซง่ึ ได้รบั ความนยิ มสูงสุด ของเขาคอื “The Principles of Scientific Management”
ตัวอย่างการศึกษาถึงหลักการบริหารตามหลัก วิทยาศาสตร์ของ Taylor 1. การขนแร่เหล็ก 2. การทดลองตักวัตถุ
การขนแร่เหล็ก การทดลองของ Taylor เป็นเรอ่ื ง ของการขนแร่เหลก็ ทอ่ี อกจากเตาหลอมไปยงั รถบรรทุกท่ี บรษิ ทั Bethlehem Steel
การทดลองตักวัตถุ การทดลองนน้ี าํ ชอื่ เสยี งมาใหแ้ ก่ Taylor อย่างมาก เมอื่ Taylor เขา้ มาทาํ งานที่ บรษิ ทั Bethlehem Steel
ผูส้ นับสนนุ แนวความคิดของ Taylor บุคคลสาํ คญั ทส่ี นบั สนุนแนวความคดิ ของ Taylor กค็ อื Hary L. Gantt และสองสามภี รรยา Frank Bunker Gilbreth and Lillian Moller Gilbreth
Henry L. Gantt ควรมกี ารกาํ หนดผลประโยชนต์ อบแทนพเิศษในรูปของโบนสั สาํ หรบั คนงานทส่ี ามารถทาํ งานได้ตามทม่ี อบหมายในแต่ละวนั
Frank Bunker Gilbreth & Lillian Moller Gilbreth จดั ทาํ ภาพยนตร์แสดงการเคลอ่ื นไหวของคนงาน เพอื่ ชใ้ีหแ้ สดงถงึ การเคลอ่ื นไหวทส่ี ูญเปลา่ และไมม่ ผี ลทางการ ผลติ และเคลอื่ นไหวทจ่ี าํ เป็นในการทาํ งาน โดยเรยี ก ความเคลอ่ื นไหวพน้ื ฐานนว้ี ่า Therblig
Henri J. Fayol Fayol มุง่ สนใจทผี่ ูบ้ รหิ ารหรอื ผูจ้ ดั การระดบั สูงขององค์การ Taylor มุง่ ศกึ ษาโดยเนน้ ความสนใจทผี่ ูบ้ รหิ ารระดบั ต่าํ หรอื คนงาน
Fayol ได้แบง่ งานด้านอุตสาหกรรมเป็น 6 กลุม่ คอื 1. Technical (Production) 2. Commercial (Buying, Selling, and Exchange) 3. Financial (Serch for and Optimum use of persons) 4. Security (Protection of property and persons) 5. Accounting (including statistics) 6. Managerial (planning organizing commanding coordinating and controlling)
Fayol ใหค้ วามสนใจในกลุม่ ที่ 6 เกย่ี วกบั เรอ่ื งการจดั การทงั้ น้ี เนอื่ งจากได้มผี ูก้ ลา่ วถงึ 5 กลุม่ แรกกนั มากแลว้ และเขากไ็ด้เนน้ ถงึ คุณภาพ ของผูจ้ ดั การทดี่ ตี ้องมคี ุณสมบตั ดิ งั น้ี 1. ร่างกายทแี่ ขง็ แรง (มสี ุขภาพอนามยั ด)ี 2. มสี ตปิ ญั ญา (มคี วามสามารถเขา้ ใจ เรยี นรู้ รเิรม่ิ ตดั สนิ ใจและปรบั ตวั ) 3. มจี รยิ ธรรม (มคี วามซอื่ สตั ย์ รบั ผดิ ชอบ รู้จกั กาลเทศะ จงรกั ภกั ด)ี 4. มกี ารศกึ ษา (มคี วามรู้) 5. มคี วามสามารถและเทคนคิ วธิ กี ารในการจดั การ 6. มปี ระสบการณ์
Fayol ได้รบั การยกยอ่ งว่า เป็นผูบ้ ุกเบกิ แนวความคดิ เกยี่ วกบั การจดั การเชงิ บรหิ าร (Administrative Management)
1. หน้าที่ของนักบริหาร (Management Functions) 1.1 การวางแผน (Planning) 1.2 การจัดองค์การ (Organizing) 1.3 การส่ังการ (Directing) 1.4 การประสานงาน (Coordination) 1.5 การควบคมุ (Controlling)
2.หลักการบริหาร (Management Principle) Fayol วางหลกั การบรหิ ารงาน14 ขอ้ ดงั ต่อไปน้ี 1. Division of Work 2. Authority
3. Discipline 4. Unity of Command 5. Unity of Direction 6. Subordination of Individual Interest to the General Interest
7. Remuneration of Personnel 8. Centralization 9. Scalar Chain 10. Order 11. Equity 12. Stability of Tenture of Personnel
13.Initiative 14.Esprit de Corps
ยุคที่ 3 แนวความคิดของมนษุ ย์สัมพนั ธ์ (Human Relations)
George Elton Mayo Mayo เป็นนกั จติ วทิ ยาชาวออสเตรเลยี เรม่ิ งาน วชิ าชพี ในการสอนจรยิ ธรรม ปรชั ญา และตรรกวทิ ยา ทม่ี หาวทิ ยาลยั ควนี ส์แลนด์
“Hawthorne Experiment” โดยแบ่งการศกึ ษาทดลองออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คอื 1. Room studies ทาํ การทดลองระหว่างปี ค.ศ. 1924 - 1927 2. Interviewing studies ทาํ การทดลองระหว่างปี ค.ศ. 1928 - 1931 3. Observational studies ทาํ การทดลอง ระหว่างปี ค.ศ. 1931 - 1932
1.การศึกษาทดลองภายในห้อง (Room studies) 1.1 การปรบั สภาพความชน้ื ของอุณหภูมใินหอ้ งใหม้ สี ภาพต่างๆกนั 1.2 จดั ใหท้ าํ งานและหยุดเป็นระยะๆ 1.3 เปลย่ี นแปลงการทาํ งานไม่ใหท้ าํ ซ้าํ ๆซากๆในงานอย่างเดยี วกนั นานๆ 1.4 เพม่ิ ค่าจา้ งแรงงานเพอื่ เป็นเครอื่ งจูงใจ 1.5 เปลยี่ นแปลงวธิ กี ารควบคุมงาน
2. การศึกษาโดยการสัมภาษณ์ (Interviewing studies) การทดลองนไ้ีด้สมั ภาษณ์คนงานในโรงงานรวม 2,000 คน จากทุกๆ แผนกของบรษิ ทั ได้จดั โครงการทป่ี รกึ ษาพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี (Employee Counseling Program)
3. การศึกษาโดยการสังเกต (Observational studies) 1. คนงานมใิช่วตั ถุหรอื สงิ่ ของทจ่ี ะซ้อื หามาด้วยเงนิ 2. ประสทิ ธภิ าพของการทาํ งาน มไิด้ขน้ึ อยู่กบั สภาพแวดลอ้ มทด่ี แี ต่เพยี งอย่างเดยี ว 3. การแบ่งงานกนั ทาํ ตามลกั ษณะเฉพาะอย่าง (Specialization) 4. พนกั งานในระดบั สูง การจูงใจทางด้านจติ ใจ (Mental Motivation)
สรปุ ทง้ั Organization Without Man กบั Man Without Organization ต่างกม็ ี ขอ้ บกพร่องด้วยกนั ทง้ั คู่
Mary Parker Follett กลา่ วว่าในการบรหิ ารงานจาํ เป็นต้องมกี ารประสานงาน 4 ชนดิ คอื 1. ประสานงานโดยตดิ ต่อโดยตรงกบั บุคคลทรี่ บั ผดิ ชอบงานนนั้ ๆ 2. ประสานงานในระยะเรมิ่ แรกหรอื ในขน้ั วางแผนกจิ กรรมต่างๆ 3. ประสานงานทเ่ีป็นการเสรมิ สร้างความสมั พนั ธ์ซง่ึ กนั และกนั ใน กจิ กรรมทุกอย่างทกี่ ระทาํ 4. ประสานงานเป็นกระบวนการทตี่ ่อเนอ่ื ง
Chester Irving Barnard เป็นบุคคลแรกทเ่ีขยี นเกย่ี วกบั ความสมั พนั ธ์ระหว่างวตั ถุ ประสงค์ของตวั บุคคล และวตั ถุ-ประสงค์ขององค์การ
Abraham Harold Maslow อธบิ ายได้ว่าเมอื่ ความต้องการนน้ั ได้รบั การ ตอบสนองแลว้ ความต้องการของมนุษย์กจ็ ะเลอื่ น ขน้ึ ไปอกี เป็นขนั้ ๆ
Douglas Mcgregor แบ่งพฤตกิ รรมของบุคคลออกเป็น 2 ด้านทแี่ ตกต่างกนั หรอื ทร่ี ู้จกั กนั ในนามของทฤษฏี X และ ทฤษฏี Y
ทฤษฏี X (Theory X) ทฤษฏี Y (Theory Y) 1. ต้องมคี นคอยควบคุมจงึ จะ 1. โดยธรรมชาตพิ นกั งานชอบ ทาํ งาน ทจี่ ะทาํ งาน 2. พนกั งานมคี วามทะเยอทะยาน 2. พนกั งานมเีป้าหมายและความ นอ้ ยและไม่รบั ผดิ ชอบ กระตอื รอื ร้น 3. พนกั งานมกั จะต่อต้านการ 3. พนกั งานมคี วามเตม็ ใจที่ เปลย่ี นแปลง รบั ผดิ ชอบ 4. สามารถทคี่ วบคุมตนเองได้
Search