Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง

ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง

Published by I ron Van, 2019-10-18 14:29:57

Description: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ถอดบทเรียนชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงบ้านติ้วน้อย หมู่ที่ 5 ตำบลนาโป่ง อำเภอเมือง จังหวัดเลย

Search

Read the Text Version

ก คำนำ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง เ ป็ น ห ลั ก ป รั ช ญ า ท่ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรง พระราชทานให้กับคนไทยทุกคน เพื่อเป็นหลักในการ ดาเนินชีวิต ใหม้ ีความพอมี พอกิน ไม่เบียดเบียนตนเอง และผ้อู ื่น ให้สามารถพง่ึ พาตนเองได้ ปัจจุบัน ในแต่ละชุมชนได้มีการนาเอาหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดาเนิน ชีวิต รวมไปถึงชุมชนบ้านติ้วน้อย ตาบลนาโป่ง อาเภอ เมืองเลย จังหวัดเลย ซึ่งได้นาหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงเข้ามาใช้ นาโดยนายประวิทย์ รามศิริ กานัน ตาบลนาโป่ง บ้านต้ิวน้อย หมู่ที่ 4 เป็นผู้ผลักดัน ส่งเสริม และให้ความรู้แก่ชาวบ้าน ทั้งน้ีความสาเร็จในการเป็น ชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง นั้นเกิดจากความ ร่วมมือของคนในชุมชน ความสามัคคี และเป็นผลจาก การนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาใช้ และการ นาองค์ความรู้มาต่อยอดจนสามารถ สร้างรายได้และ พงึ่ พาตนเองได้ในท่ีสดุ นกั ศึกษาสาขาวชิ าสังคมศกึ ษา 10 ตลุ าคม 2562

สำรบัญ ข เรอ่ื ง หน้ำ คำนำ ก สำรบัญ ข ขอ้ มลู ทว่ั ไปของชุมชน................................................................................1 คาขวัญ.............................................................................................1 ความเป็นมา....................................................................................3 ประชากร.........................................................................................4 สภาพเศรษฐกจิ ..............................................................................5 สภาพภมู ศิ าสตร์.............................................................................6 ฤดูกาล..............................................................................................7 สภาพทางสงั คม..............................................................................8 หลกั ปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพยี ง................................................................9 ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง............................................9 ความพอเพียงในแตล่ ะระดับ.....................................................11 ความเปน็ มาของเศรษฐกจิ พอเพียง.........................................13 หลกั การเศรษฐกจิ พอเพียง........................................................14 ตวั อยำ่ งเกษตรกรต้นแบบในชุมชนบ้ำนต้วิ น้อย...............................17 ปัจจัยนำไปสูช่ มุ ชนต้นแบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง..................................25 ผลลัพธ์ทเ่ี กดิ ขนึ้ กับชุมชน.........................................................................27 บทสรปุ ............................................................................................................31 บรรณำนุกรม.................................................................................................32

1 ขอ้ มลู ทั่วไปของชมุ ชน ชอ่ื หมบู่ ้ำน บา้ นติ้วน้อย หมทู่ ่ี 5 ตำบล นาโป่ง อำเภอ เมืองเลย คำขวญั จงั หวดั เลย วัดโพธ์งิ ามเดน่ เน้นอารยธรรม โรงเรยี นนาวถิ ีพทุ ธ สวยสดุ ฝายนาลน้ ผคู้ นเบิกบาน นมสั การพระบรม สารรี กิ ธาตุ

2 ต้ิว หมายถึง ช่ือของไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ล า ต้ น เ ป็ น ห น า ม เ ล็ ก น้ อ ย มี ย า ง สีเหลือง เหนียวมาก สูงประมาณ 10 - 15 เมตร ข้ึนอยู่หมู่บ้านในอดีตเป็นจานวนมาก จึงเรียกชื่อ หมูบ่ ้านวา่ “บ้านตวิ้ ” ตอ่ มาได้เปล่ียนช่ือเป็นบา้ น ตวิ้ น้อย

3 ควำมเป็นมำ บ้านติ้วน้อย เดิมช่ือ กลุ่มท่ี 1 นายต้น ภักมี หมู่บ้านคัดทนาม ต้ังอยู่ริมน้าฮวย ย้ายไปต้ังหมู่บ้านอยู่บ้านน้อยดงบัง ใกล้กับกุดช้างน้า ต่อมาได้เกิด (บา้ นผกั แพรวในปัจจบุ นั ) อาเพศภัยต่าง ๆ เช่น โรคอหิวาต์ โรคฝีดาษ ระบาดจนชาวบ้าน กลุ่มท่ี 2 นายปี ย้ายไป เจ็บป่วยล้มตายเป็นจานวนมาก ตั้งหมู่บ้านอยู่ท่ีตาแหน่ง เรียก ท า ใ ห้ ช า ว บ้ า น ที่ อ ยู่ อ า ศั ย ไ ม่ มี หมบู่ า้ นนอ้ ยชาแหนง่ ความสุข จึงได้อพยพครอบครัว ยา้ ยไปอยตู่ ามทีต่ ่าง ๆ ดังนี้ กลมุ่ ท่ี 3 พอ่ หมอ ย้ายไป ตง้ั หมบู่ า้ นอยูท่ ี่บ้านนาหวาย กลุ่มที่ 4 แม่โช้นขาโค้ง ย้ายไปตัง้ หมู่บา้ นอยู่เหล่ากกตาล

4 ประชำกร บ้านติ้วน้อย มีจานวนราษฎรท่ีอาศัย อยู่จริงทั้งหมด 105 ครัวเรือน จานวน ประชากร แยกเป็น ชาย 267 คน หญิง 275 คน รวม ท้ังส้นิ 542 คน

5 สภำพเศรษฐกจิ ประชาชนส่วนใหญ่ของบ้านติ้วน้อย ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ค้าขาย รับ ราชการ และรับจ้างท่ัวไป ผลผลิตส่วนใหญ่ ได้แก่ ขา้ วเหนียว ขา้ วโพดเลย้ี งสตั ว์ มนั สาปะหลัง ยางพารา

6 สภำพภมู ศิ ำสตร์ ลักษณะภูมิประเทศโดยท่ัวไปของ บ้านต้ิวน้อยมีลักษณะเป็นภูเขาสลับกับท่ี ราบเชิงเขา โดยมีลักษณะภูมิประเทศเป็น ภเู ขากวา่ ร้อยละ ๗๐ ของพน้ื ทีท่ ัง้ หมด บา้ นติ้วน้อย อยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุม ต ะ วั น ต ก เ ฉี ย ง ใ ต้ ล ม ม ร สุ ม ตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบกับภูมิ ประเทศเต็มไปดว้ ยภูเขา ทาให้มีอากาศร้อน จัดในฤดูร้อน และหนาวจัดในฤดูหนาว พ้ืนที่เป็น ภูเขาสูง จึงทาให้อุณหภูมิ เปลี่ยนแปลงง่าย อุณหภูมิเฉลี่ยท้ังปี ประมาณ ๒๘ องศาเซลเซยี ส

7 ฤดูกำล ฤดรู ้อน เริ่มจาก เดือนมีนาคม – เดอื นพฤษภาคม ฤดูฝน เรมิ่ จาก เดือนพฤษภาคม - ปลายเดอื นกนั ยายน ฤดหู นาว เริ่มจากกลางเดอื น ตุลาคม – ปลายเดือนกมุ ภาพนั ธ์

8 สภำพทำงสังคม บ้านต้ิวน้อย ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพทุ ธ และยดึ มนั่ ในขนบธรรม เนียมประเพณีโดยเฉพาะใน วันพระ 8 ค่า 14 หรือ 15 ค่า มักจะถือศีล เข้าวัดฟังเทศน์ฟังธรรม และละเว้น จากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต คนส่วนใหญ่ จะถือเอาวันพระเป็นวันหยุดจากการ ทางาน

9 หลกั ปรชั ญำ เศรษฐกจิ พอเพียง ควำมหมำยของเศรษฐกิจพอเพยี ง บุญเสริม บุญเจริญผล (2543: 4) ได อธิบายความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงไว วา เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดาเนินการ เล้ียงชีวิตแบบรู้จักพอ ด้วยความพยายาม ผลิตสินคาข้ึนมาเอง ให้พอเพียงสาหรับคน ในครอบครวั กินและใช้ หากผลิตไดเหลือกิน เหลือใช้จึงขาย หากผลิตได้ไม่พอก็ต้องซ้ือ บ้าง มิไดมุ่งผลิตเพื่อขายเพียงอย่างเดียว โดยไมนามาบริโภคด้วย นอกจากน้ัน การ ผลิตและการบริโภคต้องอยู ในหลักของ ความพอดีรจู ักพอในการผลิตและบรโิ ภค

10 อี ก แ ล ะ ใ น ส่ ว น ข อ ง ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พิ เ ศ ษ เ พื่ อ ป ร ะ ส า น ง า น โ ค ร ง ก า ร อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ด า ริ (2548: 1) ได้ให้ความหมายของเศรษฐกิจ พอเพียงไว้ว่า เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่สามารถอุ้มชูตวั เองได้ ใหม้ ีความ พอเพยี งกับตัวเอง (Self Sufficiency) อยู่ ได้โดยไม่ต้องเดือดร้อน โดยต้องสร้าง พ้ื น ฐ า น ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ต น เ อ ง ใ ห้ ดี เสียก่อน คือ ต้ังตัวให้มีความพอกินพอใช้ ไมใ่ ชม่ งุ่ หวงั แตจ่ ะทุ่มเทสรา้ งความเจริญ

11 ควำมพอเพียงในแตล่ ะระดับ ความพอเพียงในระดับชุมชน เกิดขึ้น จากการที่สมาชิกจากแต่ละครอบครัวใน ชุมชนมีความพอเพียงในระดับครอบครัว ก่อนท่ีจะรูจักรวมกลุ่มกันทาประโยชนเพ่ือ ส่วนรวม เช่น บริหารจัดการปัจจัยต่าง ๆ เช่น ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน หรือศักยภาพของสมาชิกในท้องถิ่น ท่ีมีอยู่ ให้สามารถนาไปใช้ในการดาเนินชีวิตไดอย่าง ถูกต้องและสมดุล เพ่ือให้เกิดความเป็นอยู่ท่ี พอเพยี งของชมุ ชนโดยรวมในที่สุด

12 ค ว า ม พ อ เ พี ย ง ใ น ร ะ ดั บ สั ง ค ม เกิดข้ึนจากการรวมกลุ่มของชุมชนหลายๆ แ ห่ ง ท่ี มี ค ว า ม พ อ เ พี ย ง ม า ร่ ว ม กั น แลกเปล่ียนความรู้ สบื ทอดภูมิปัญญา และ ร่ ว ม กั น พั ฒ น า ต า ม แ น ว ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พอเพียง เพ่ือสร้างเป็นเครือข่ายเชื่อมโยง ระหว่างชมชนให้เกิดเป็นสังคมแห่งความ พอเพียงในทส่ี ดุ

13 ควำมเป็นมำของเศรษฐกิจพอเพยี ง พระบรมราโชวาทและพระราชดารัส ของพระสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 นับตั้งแต่ปี 2517 เป็นต้นมาจะพบว่า พระองค์ท่านได ทรงเน้นย้าแนวทางการ พัฒนาบนหลักแนวคิดพึ่งตนเอง เพ่ือให้เกิด ความพอมพี อกนิ พอมีพอใช้ ของคนสว่ นใหญ่ โดยใช้หลักความพอประมาณ การคานึงถึง ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว และทรงเตือนสติชาวประชาชนคนไทยไมให้ ประมาทตระหนักถึงการพัฒนาอย่างเป็นขั้น เป็นตอนท่ีถูกต้องตามหลักวิชา และการมี คุณธรรมเป็นกรอบในการปฏิบัติและการ ดารงชีวติ

14 หลกั กำรเศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบ แนวคิด ซ่ึงมุ่งให้ทุกคนสามารถพึ่งพาตัวเอง ได้ รวมถึงการพัฒนาให้ดียิ่งข้ึน จนเกิด ความยั่งยืน คาว่า พอเพียง คือ การดาเนิน ชีวิตแบบทางสายกลาง โดยต้ังอยู่บนหลัก สาคัญสามประการ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกันที่ดี และ ภายใต้ 2 เงื่อนไขในการตัดสินใจและการ ดาเนินชีวิต คือ ความรู้และคุณธรรม หรือ ทีน่ ิยมเรียกว่า 3 ห่วง 2 เงือ่ นไข

15

16

17 ตวั อย่ำงเกษตรกรต้นแบบ ในชุมชนบ้ำนติว้ น้อย นำยประวทิ ย์ รำมศริ ิ (กำนนั ) อำยุ 55 ปี

18 แรงบันดาลใจในการนาหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการ ประกอบอาชีพเกษตรกร เนื่องมาจากการได้เป็นผู้นาชุมชน และ ได้ทาอาชีพเกษตรกรอยู่แล้ว จาเป็นที่จะตอ้ ง ทาตนให้เป็นแบบอย่างแก่คนในชุมชน โดย ทาการเกษตรท่ีนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี งมาเปน็ แนวทางในการทาการเกษตร

19 กำรจัดสรรพ้ืนท่ีในทำกำรเกษตร ทด่ี นิ 10 ไร่ โดยมกี ารจดั การดังนี้ ปลูกพืชผักสวนครวั และไมย้ ืนตน้ 3 ไร่ ทอี่ ยู่อาศัย 1 ไร่ ทานา 3 ไร่ เล้ยี งสัตว์ ขดุ สระเลี้ยงปลา 3 ไร่

20 รายได้มาจาก การขายไก่พันธุ์ พื้นเมือง การขายพืชผักสวนครัว เฉลี่ย แลว้ เดือนละ 5,000 บาท

21 ตวั อย่ำงเกษตรกรต้นแบบ ในชุมชนบ้ำนติว้ นอ้ ย นำงสำววรำทิพย์ ภักมี อำยุ 36 ปี

22 แรงบันดาลใจในการนาหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการ ประกอบอาชีพเกษตรกร จ า ก เ ดิ ม เ ป็ น พ นั ก ง า น บ ริ ษั ท อ ยู่ ท่ี กรุงเทพฯ ต่อมาเห็นว่าเห็นว่าไม่ยั่งยืนและ อ ย า ก ก ลั บ ม า อ ยู่ กั บ ค ร อ บ ค รั ว ท่ี บ้ า น จึ ง กลับมาทาอาชีพเกษตรกร และด้วยการ ชักชวนของนายประวิทย์ (กานัน) จึงได้เข้า อบรมในโครงการ young smart famer และนากลับมาพัฒนาอาชีพของตนโดย ประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใน การประกอบอาชีพ

23 พชื ผักสวนครวั อนิ ทรยี ์ และกำรเลี้ยงใส้เดอื น

24 รายได้มาจาก การขายพืชผัก สวนครัวอินทรีย์ และการเลี้ยงใส้ เดือน เฉล่ียแล้วเดือนละ 10,000 บาท

25 ปัจจยั นำไปสู่ ชมุ ชนต้นแบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง การมีผนู้ ำชมุ ชนท่ีเข้มแข็งและมีวิสยั ทัศน์ ผู้นาชุมชนประพฤติและปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างให้แก่คนในชุมชนได้เห็นแล้วประสบ ความสาเร็จ จากนั้นจึงทาให้คนในชุมชนเช่ือถือ และปฏิบัติตนตามผูน้ าชมุ ชน

26 การศกึ ษำ ปัจจัยสาคัญอีกประการคือการให้ คนในชุมชนได้รับความรู้ ซ่ึงจะทาให้คนใน ชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเองได้ ซ่ึงกานัน ประวิทย์ได้สนับสนุนให้คนในชุมชนเข้า อบรมในโครงการต่าง ๆ ของภาครัฐอยู่ เสมอ เช่น โครงการ young smart famer ซ่ึงเกษตรกรหลายคนอบรมแล้วนาองค์ ความรู้มาต่อยอดจนสามารถ สร้างรายได้ และพึง่ พาตนเองไดใ้ นทส่ี ุด

27 ผลลัพธ์ท่เี กดิ ขนึ้ กับชุมชน การที่ได้รับรางวัลในการประกวดชุมชน ต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง เช่น ได้รับรางวัลสิงห์ทอง ปี 2560 จากกระทรวงมหาดไทย ในการเป็นศูนย์ เรียนรู้ชุมชน ในการพัฒนาหมู่บ้านดีเด่น ระดบั จังหวดั

28 เกิดการรวมกลุ่มของคนในชุมชนเป็นกลุ่ม เกษตรกร มีการยกระดับรายได้และวางแผนใน การผลิตภายในกลุ่ม โดยแบ่งเป็น รายได้ รายวัน เช่น การขายพืชผักสวนครัว รายได้ รายสัปดาห์ เช่น หน่อไม้ มะลิ รายได้ราย เดือน เชน่ การขายไก่ เปด็ ปลา สกุ ร รายได้ รายปี เช่น ข้าว มีการวางแผนการผลิตและ การหาตลาดอยา่ งเป็นระบบภายในกล่มุ

29 เกิดความยงั่ ยืนในอาชีพ การทาการเกษตรแบบผสมผสาน ประกอบไปด้วย การปลูกพืชและการเลี้ยง สัตว์ มีการผสมผสานเก้ือกูลกัน มีการนา วัสดุในแปลงมาทาให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การทาปุ๋ยหมักจากมูลสัตว์ เกิดการใช้ ทรัพยากรให้คุ้มค่าที่สุด ทาให้เกษตรกรใน ชมุ ชน ลดรายจา่ ยและสร้างรายได้ เป็นการ พง่ึ พาตนเองอยา่ งยัง่ ยืน

30 ทาใหช้ ุมชนเป็นศูนย์เรียนรู้ ชุมชนเป็นศูนย์เรียนรู้ เพื่อศึกษา ดูงาน โดยในปัจจุบัน มีผู้มาศึกษาดูงาน อยู่เปน็ ประจา ทาให้ชุมชนเป็นท่ีรู้จกั และ สามารถขายสินค้าหรือพืชผักแก่ผู้มา ศึกษาดูงานเป็นการสร้างรายได้อีกทาง หนงึ่

31 บทสรปุ ความสาเร็จของชุมชนบ้านต้ิวน้อย หมู่ที่ 5 ตาบลนาโป่ง อาเภอเมอื ง จงั หวดั เลย ในการเป็นชมุ ชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพยี ง ชุมชนบ้านติ้วน้อย หมู่ท่ี 5 ตาบลนาโป่ง อาเภอเมือง จังหวัดเลย เป็นชุมชนที่ทาการเกษตรในการดารงชีวิตประจาวัน เช่น ปลูกข้าว ข้าวโพด ยางพารา ถ่ัวเหลือง และพืชผักสวนครัว โดยใช้ปุ๋ย ชวี ภาพในการดแู ล มีการดูแลรกั ษาพืชผลโดยวธิ ธี รรมชาติ จากการท่ีภาครัฐเข้ามาให้ความรู้ในเรื่องของหลักของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและยังเพิ่มเติมด้วยการปลูกพืชพันธ์เกษตร อินทรีย์ เช่น ผักสลัด ผักสวนครัว แปลงสมุนไพร รวมไปถึงการ รวมกลุ่มเพ่ือสร้างรายได้จากการเล้ียงไก่ ไส้เดือนดิน สร้างรายได้ ให้กับชุมชนอย่างต่อเนื่องตลอดท้ังปี จึงส่งผลให้ บ้านติ้วน้อย หมู่ที่ 5 ตาบลนาโป่ง อาเภอเมือง จังหวัดเลย ได้รับรางวัลชุมชนต้นแบบ เศรษฐกจิ พอเพียง ความสาเร็จร่วมกันของคนในชุมชนท่ีมีความสามัคคีใน การจัดการปัญหาร่วมกัน โดยยึดถือหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมจัดการ ร่วมสร้าง ด้วยรักสามัคคี มีความเป็นอยู่ที่ดีข้ึนความ เข้มแข็งของชมุ ชน จะนามาซ่ึงความสุขอย่างยั่งยนื ตอ่ ไป

32 บรรณำนุกรม บญุ เสรมิ บุญเจรญิ ผล. (2542). แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง. กรงุ เทพฯ : คณะเศรษฐศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั เกรกิ . คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอนั เนือ่ งมาจาก พระราชดาริ. (2542). แนวพระรำชดำริ. สบื คน้ เมื่อ 15 ตลุ าตม 2562, จาก http://www.rdpb.go.th/th/Sufficiency


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook