Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1520414596_example

1520414596_example

Published by Bank supachaii, 2021-05-13 16:53:49

Description: 1520414596_example

Search

Read the Text Version

สังคมศกึ ษาหนงั สอื เรยี นร​ายวชิ าพนื้ ฐาน​ ป. 1 ศาสนา และวฒั นธรรม ชั้นประถมศกึ ษาปท​ี่ 1 ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วดั ​สาระภูมศิ าสตร​์ (ฉบับปรบั ปรงุ ​พ.ศ.​2560) กลมุ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศ​ ึกษา​ศาสนา​และว​ัฒนธรรม ตามหลกั สตู รแกนก​ ลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน​พทุ ธศักราช​2551 ผ้เู รยี บเรยี ง สมพร ออ่ นนอ้ ม พธ.บ. (เกียรตินยิ ม), นศ.บ. กสุ มุ าวด ี ชยั ชโู ชติ ศ.บ., ศ.ม. พงษ์ศกั ดิ์ แคลว้ เครือ ศศ.บ. (เกียรตนิ ิยม), ร.ม. จลุ พงษ์ อดุ มพรพบิ ลู  วท.บ., วท.ม. บญุ รัตน์ รอดตา ศษ.บ ผ้ตู รวจ รศ. ดร.ไพฑรู ย ์ มีกศุ ล กศ.บ., กศ.ม., M.A., Ph.D. ดร.สริ ริ ัตน์ พงศ์พพิ ฒั นพนั ธ ์ุ ศศ.บ., กศ.ม., วท.ด. สายพณิ  ตนั สริ  ิ กศ.บ., ค.ม. บรรณาธิการ สุระ ดามาพงษ ์ กศ.บ., กศ.ม. ประจวบ ตรภี ักด์ ิ พธ.บ., สส.ม. นฤชภรณ ์ กมลนฤเมธ ศศ.บ.

2 ป. 1 หนงั สอื เรียนร​ายวิชาพน้ื ฐาน​ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 1 ตามมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้วี ัด สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลมุ สาระการเรียนรูสังคมศ​ กึ ษา ศาสนา​และว​ัฒนธรรม ตามหลักสตู รแกนก​ ลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 B สงวนลิขสิทธติ์ ามกฎหมาย หามละเมิด ทำ�ซ​ ้ำ� ดัดแปลง เผยแพร สว นห​ นึ่งส​ วนใ​ด เวน แตจ​ ะไ​ด​รบั ​อนญุ าต ผ้เู รียบเรยี ง สมพร ออ่ นน้อม กสุ มุ าวด ี ชยั ชโู ชติ พงษศ์ กั ด์ิ แคล้วเครือ จลุ พงษ์ อดุ มพรพบิ ลู บญุ รัตน์ รอดตา ผูตรวจ รศ. ดร.ไพฑูรย์ มีกุศล ดร.สิริรัตน์ พงศ์พิพัฒนพันธ์ุ สายพิณ ตนั สิริ บรรณาธกิ าร สรุ ะ ดามาพงษ์ ประจวบ ตรีภักดิ์ นฤชภรณ์ กมลนฤเมธ ปที พ่ี ิมพ์ พ.ศ. 2561 พมิ พ์ครงั้ ที่ 1 จ�ำ นวน 30,000 เลม่ ISBN 978-974-18-7426-2 พมิ พท์ ่ี บริษทั โรงพมิ พ์วฒั นาพานิช จำ�กดั นายเริงชัย จงพิพัฒนสุข กรรมการผ้จู ดั การ

คํานํา หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพนื้ ฐาน สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 1 เลม นี้ จัดทำขึน้ ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภูมศิ าสตร (ฉบับ ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) กลุมสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โดยมเี ปา หมายใหน้ กั เรยี นและครใู ชเ้ ปน สอื่ ในการ จดั การเรยี นรู้ เพอ่ื พฒั นานกั เรยี นใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั ทหี่ ลกั สตู รกำหนด พฒั นานกั เรยี นใหม้ สี มรรถนะตามทต่ี อ้ งการทง้ั ดา้ นการสอ่ื สาร การคดิ การแกป้ ญ หา การใชท้ กั ษะชวี ติ และการใชเ้ ทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนานักเรยี นให้มีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค เพือ่ ให้สามารถอยู รว มกบั ผู้อื่นในสงั คมไทยและสงั คมโลกได้อยา งมีความสุข ในการจัดทำหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานเลมนี้ คณะผู้จัดทำซึ่งเปนผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชา และการพัฒนาส่ือการเรียนรู้ได้ศึกษาหลักสูตรอยางลึกซึ้ง ทั้งด้านวิสัยทัศน หลักการ จุดหมาย สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั สาระ การเรียนรแู้ กนกลาง แนวทางการจดั การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ รวมท้ังเอกสาร หลักสูตรอ่ืน ๆ แล้วจึงออกแบบหนวยการเรียนรู้ แตละหนวยการเรียนรู้ประกอบด้วยตัวชี้วัด ช้ันป ผังมโนทัศนสาระการเรียนรู้ ประโยชนจากการเรียนรู้ คำถามนำ เนื้อหาสาระแตละเรื่อง แตละหวั ขอ้ คำสำคัญ เร่ืองนา รู้ แหลงสบื คน้ ความรู้ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ บทสรปุ กิจกรรม เสนอแนะ โครงงาน การประยกุ ตใ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั คำถามทบทวน และทา้ ยเลม ยงั มบี รรณานกุ รม และอภธิ านศัพท ซึง่ องคป ระกอบของหนังสือเรียนเหลาน้ีจะชว ยสงเสริมใหน้ ักเรยี นเกิดการเรียนรู้ อยางครบถว้ นตามหลักสตู ร การเสนอเนอ้ื หา กจิ กรรม และองคป ระกอบอน่ื ๆ ในหนงั สอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานเลม นมี้ งุ เนน้ ผู้เรียนเปนสำคญั โดยคำนงึ ถงึ ศกั ยภาพของนักเรียน เนน้ การเรยี นรู้แบบองคร วมบนพน้ื ฐานของ การบูรณาการแนวคิดทางการเรียนรู้อยางหลากหลาย จัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการเนน้ ใหน้ ักเรยี น สร้างองคความรู้ด้วยตนเอง มุงพัฒนาการคิด และพัฒนาการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการ ทางสมองของนกั เรยี น อนั จะชว ยใหน้ กั เรยี นเกดิ การเรยี นรอู้ ยา งสมบรู ณแ ละสามารถนำไปประยกุ ต ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ หวังเปนอยางย่ิงวา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 เลมน้ี จะชวยพฒั นาการเรยี นรขู้ องนักเรียนตามหลกั สตู รได้เปนอยา งดี คณะผูจดั ทำ

คาํ ช้แี จง หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 เลมนี้ ไดอ้ อกแบบเปนหนว ยการเรียนรู้ แตละหนว ยการเรียนรู้ประกอบดว้ ย 1. ตวั ช้วี ัดช้นั ป ระบตุ วั ชว้ี ดั ท่สี อดคล้องกบั เน้อื หา 2. ผงั มโนทศั นส์ าระการเรยี นรู แสดงขอบขา ยเน้ือหา ในหนวยการเรยี นรู้ ในหนว ยการเรียนรู้ 3. ประโยชนจ์ ากการเรียนรู สรุปประโยชนท่ีได้จาก 4. คาํ ถามนาํ เปน คําถามทีก่ ระตนุ้ ให้นักเรียนเกิด การเรียนรู้หนว ยการเรยี นรเู้ ปน ประเด็นส้นั ๆ ความสนใจตอ้ งการท่จี ะค้นหาคาํ ตอบ 5. เนือ้ หา แบง เปนหัวเรื่องหลกั หัวเรอื่ งรอง และหวั เรื่องยอ ย ตรงตามตัวชี้วัดชนั้ ป มกี ิจกรรมพัฒนาการเรยี นร้แู ทรกเปน ชว ง ๆ เนือ้ หาบางตอนอาจนําเสนอดว้ ยภาพประกอบ ตาราง แผนภมู ิ แผนทีค่ วามคดิ และประกอบด้วยสว นอนื่ ๆ ดังน้ี 5.1 คําสําคัญ ระบุคําสําคัญท่ีแทรกอยูในเนื้อหาโดยการเน้นสีของคําไว้ตางจากตัวพื้น คําสําคัญนี้จะใช้ตัวเน้น เฉพาะคําทป่ี รากฏคาํ แรกในเนอ้ื หา ไมเนน้ คําทเี่ ปน หวั ข้อ 5.2 ภาพประกอบ พรอ้ มคาํ บรรยายสอดคลอ้ งกบั เนื้อหา 5.3 แผนภมู ิ ตาราง แผนที่ แผนทค่ี วามคิด สอดคล้องกับเนอ้ื หา 5.4 เรอื่ งนา รู เปน ความรเู้ พมิ่ เตมิ เกย่ี วกบั เรอื่ งทไี่ ดศ้ กึ ษาในหนว ยการเรยี นรนู้ นั้ ๆ โดยคดั สรรเฉพาะเรอ่ื งทนี่ กั เรยี น ควรรู้ 6. กจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรู เปนกจิ กรรมทก่ี าํ หนดใหท้ าํ 7. บทสรปุ เปน การสรปุ เนอื้ หาหลังจากจบเนอ้ื หาและ เมื่อจบเนื้อหาท่ีแบงให้เหมาะสมสําหรับการเรียนแตละ กิจกรรมของแตล ะหนว ยการเรยี นรู้ ครงั้ เปน กิจกรรมทีห่ ลากหลาย ใช้แนวคิดทฤษฎีตาง ๆ ให้สอดคล้องกับเนอ้ื หา เหมาะสมกบั วัย สะดวกในการ 8. กิจกรรมเสนอแนะ เปนกิจกรรมบูรณาการทักษะ ปฏบิ ัติ กระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นไดค้ ดิ และสง เสรมิ การศกึ ษา ท่รี วบรวมหลกั การและความคดิ รวบยอดในเรื่องตาง ๆ ค้นคว้า ทน่ี กั เรยี นไดเ้ รยี นรมู้ าไปประยกุ ตใ นการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 9. การประยกุ ตใ์ ชใ นชวี ติ ประจาํ วนั เปน ตวั อยา งสถานการณ 10. คําถามทบทวน เปนคําถามแบบอตั นัยท่ีมุง ถาม การประยุกตใช้ความรู้ท่ีได้เรียนรู้มาให้นักเรียนนําไป เพอ่ื ทบทวนผลการเรยี นรขู้ องนกั เรียน ประยุกตใช้ในชีวิตประจําวัน ซึ่งมีกิจกรรมหรือคําถาม ให้นกั เรียนทาํ 11. ทา ยเลม ประกอบด้วยบรรณานกุ รมและอภธิ านศัพท 11.1 บรรณานุกรม เปนรายชื่อหนังสือ เอกสาร เว็บไซต ทใ่ี ชป้ ระกอบการเขียน 11.2 อภธิ านศพั ท์ เปน การนาํ คําสําคญั ทแี่ ทรกอยูในเน้อื หามาอธบิ ายและจัดเรียงตามลาํ ดบั ตวั อักษรเพือ่ สะดวก ในการค้นควา้

สารบญั หนวยการเรียนรทู ี่ 1 พระพทุ ธ................ 1 หนวยการเรยี นรทู ่ี 5 ครอบครัวของฉัน...... 58 1. พุทธประวตั ิ ................................... 2 1. โครงสรางของครอบครัว.................... 59 2. ชาดก .......................................... 6 2. บทบาท สิทธิ และหนา ท่ี J บทสรุป .............................................. 10 J กจิ กรรมเสนอแนะ .............................. 11 ของสมาชิกในครอบครัว .................... 62 J การประยกุ ตใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ............. 11 3. การเปน สมาชิกทดี่ ีของครอบครัว.......... 64 J คำถามทบทวน ................................... 11 4. ความสามารถและการทำความดี หนว ยการเรยี นรทู ่ี 2 พระธรรม ............... 12 1. พระรัตนตรยั ................................. 13 ในครอบครวั .................................. 66 2. หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ............ 14 5. ประชาธิปไตยในครอบครวั ................. 68 3. พุทธศาสนสภุ าษติ ........................... 22 J บทสรปุ .............................................. 69 J บทสรุป .............................................. 24 J กิจกรรมเสนอแนะ .............................. 70 J กจิ กรรมเสนอแนะ .............................. 24 J การประยุกตใ ช้ในชีวิตประจำวนั ............. 70 J การประยุกตใ ช้ในชีวติ ประจำวัน............. 25 J คำถามทบทวน ................................... 70 J คำถามทบทวน ................................... 25 หนวยการเรียนรทู ่ี 6 โรงเรียนของฉนั ....... 71 หนวยการเรียนรทู ่ี 3 พระสงฆ์ ................ 26 1. โครงสรางของโรงเรยี น ..................... 72 1. พุทธสาวก ..................................... 27 2. บทบาท สิทธิ และหนา ที่ 2. ชาวพทุ ธตวั อยาง ............................. 30 J บทสรปุ .............................................. 38 ของสมาชกิ ในโรงเรยี น ..................... 74 J กิจกรรมเสนอแนะ .............................. 38 3. การเปน สมาชิกท่ดี ขี องโรงเรียน ........... 77 J การประยกุ ตใช้ในชีวติ ประจำวัน............. 39 4. ความสามารถและการทำความดี J คำถามทบทวน ................................... 39 ในโรงเรยี น ................................... 79 หนวยการเรียนรทู ี่ 4 การปฏิบัตติ นดี ........ 40 5. ประชาธิปไตยในโรงเรียน .................. 81 1. หนาทช่ี าวพุทธ.............................. 41 J บทสรุป .............................................. 83 2. วนั สำคัญทางพระพทุ ธศาสนา J กจิ กรรมเสนอแนะ .............................. 83 J การประยกุ ตใ ช้ในชวี ิตประจำวนั ............. 84 และศาสนพธิ ี ............................... 46 J คำถามทบทวน ................................... 84 3. การบรหิ ารจิตและการเจริญป˜ญญา ....... 52 หนว ยการเรียนรทู ี่ 7 สินคาและบรกิ าร ...... 85 J บทสรปุ .............................................. 56 1. สนิ คาและบรกิ ารที่ใชประโยชน์ J กิจกรรมเสนอแนะ .............................. 56 J การประยุกตใช้ในชวี ิตประจำวัน............. 57 ในชีวติ ประจำวนั ............................. 86 J คำถามทบทวน ................................... 57 2. การใชท รัพยากรในชวี ิตประจำวนั อยา งประหยดั ................................. 90 J บทสรปุ .............................................. 92

6 หนวย​การเ​รียนร​ูท่ี 11 ชาต​ิไทย.............. 129 J กิจกรรมเ​สนอแนะ................................ 93 1. สญั ลักษณส​ำ�คญั ข​องช​าติ​ไทย1����������� 130 J การป​ ระยกุ ต​ใ ชใ​น​ชีวติ ป​ ระจำ�วัน............. 93 2. แหลง ​วฒั นธรรมใ​นช​ุมชน................. 134 J คำ�ถ​ ามท​ บทวน������������������������������������� 93 3. ส่งิ ท​ ่เี​ราร​ักแ​ ละภ​ าคภมู ิใจใ​นท​ อ งถ่ิน...... 136 หนว ย​การเ​รียนรทู​ ี่ 8 การใ​ชจา ย J บทสรปุ ............................................. 138 และ​การออม............. 94 J กจิ กรรมเ​สนอแนะ ............................. 139 1. การท​ ำ�งาน​สจุ รติ ............................... 95 J การป​ ระยุกตใ​ ชใ​นช​ีวิต​ประจำ�วนั 1����������� 139 2. การใ​ชจ า ยแ​ ละ​เก็บออ​ม...................... 99 J คำ�ถ​ าม​ทบทวน1����������������������������������� 139 J บทสรุป............................................... 102 หนวย​การ​เรยี นรู​ท่ี 12 สิ่งแวดลอม.​....... 140 J กจิ กรรมเ​สนอแนะ.............................. 103 1. สิง่ ต่าง ๆ รอบตวั เรา....................... 141 J การป​ ระยุกตใ​ ชใ​นช​ีวิตป​ ระจำ�วัน.............1 103 2. ความสมั พนั ธข์ องตำ�แหนง่ ระยะ J คำ�ถ​ าม​ทบทวน1������������������������������������� 103 และทศิ ของส่ิงตา่ ง ๆ....................... 144 หนว ย​การเ​รียนรท​ู ่ี 9 เวลา​และก​ าร​ลำ�ดบั ​ 3. การเปลยี่ นแปลงของสภาพอากาศ เหตุการณ.............. 104 ในรอบวนั .................................... 148 1. การน​ ับวนั เดือน ป​ตามป​ ฏทิ ิน........... 105 J บทสรปุ ............................................. 151 2. การใชเ้ วลาในปฏิทนิ J กิจกรรมเ​สนอแนะ.............................. 152 บอกเล่าเรื่องราว............................. 110 J การ​ประยุกตใ​ชใ​นช​ีวติ ​ประจำ�วัน1����������� 152 3. การลำ�ดบั เหตุการณ์1����������������������� 110 J คำ�ถ​ าม​ทบทวน1����������������������������������� 152 4. ประวตั ข​ิ อง​ตน​เองแ​ ละ​ครอบครวั ......... 113 หนว ย​การ​เรียนรูท​ ี่ 13 ​สง่ิ แวดลอ ม J บทสรปุ ............................................. 117 กบั ​ต​ ัวเรา............ 153 J กจิ กรรม​เสนอแนะ.............................. 117 1. สิ่งแวดลอ มทางกายภาพกบั มนษุ ย.์...... 154 J การป​ ระยุกตใ​ ชใ​นช​วี ติ ​ประจำ�วัน1����������� 118 2. การเ​ปลีย่ นแปลงข​องส​ง่ิ แวดลอ ม​ J คำ�ถ​ าม​ทบทวน1����������������������������������� 118 รอบตัวเรา.................................... 159 หนว ย​การเ​รยี นรทู​ ี่ 10 สมยั ข​องเ​รา​ 3. การ​ดูแลสิง่ แวดล้อมในบ้าน กับสมัยกอ น........ 119 และช​น้ั เรียน................................. 163 1. สภาพแวดลอ้ มสมยั ของเรา J บทสรุป............................................. 165 กับสมัยก่อน.................................. 120 J กจิ กรรมเ​สนอแนะ ............................. 166 2. ส่ิงของ​เครื่องใช​ส มัยข​องเ​รา​ J การ​ประยุกตใ​ชใ​น​ชวี ติ ​ประจำ�วัน1����������� 166 กับส​มยั กอน.................................. 123 J คำ�ถ​ าม​ทบทวน1����������������������������������� 166 3. การ​ดำ�เนิน​ชวี ิต​สมัยของเ​รา​ v บรรณานกุ รม................................ 167 กับ​สมยั กอ น.................................. 125 v อภิธาน​ศัพท.................................. 168 4. ผลกระทบจากเหตุการณใ์ นอดตี ......... 127 J บทสรุป............................................. 128 J กิจกรรม​เสนอแนะ.............................. 128 J การ​ประยกุ ตใ​ชใ​นช​ีวติ ป​ ระจำ�วนั 1����������� 128 J คำ�ถ​ าม​ทบทวน1����������������������������������� 128

1หน่วยการเรียนรทู้ ่ี พระพทุ ธ ตวั ชว้ี ัดชั้นปี 1. บอกพทุ ธประวตั ิหรอื ประวตั ิของศาสดาทีต่ นนับถือโดยสงั เขป (ส 1.1 ป. 1/1) 2. ช่ืนชมและบอกแบบอยางการดำ�เนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลา และ ศาสนิกชนตวั อยา งตามทกี่ ำ�หนด (ส 1.1 ป. 1/2) ผังมโนทศั น์สาระการเรียนรู้ ตรัสรู้ ประสูติ พทุ ธประวัติ ปรินพิ พาน พระพทุ ธ สวุ ณั ณสามชาดก: ชาดก วณั ณปุ ถชาดก: ความกตัญญูกตเวที ความเพยี รกลางทะเลทราย ประโยชนจ ากการเรยี นรู ค�ำ ถามน�ำ ไดแบบอยางการดำ�เนินชีวิตและขอคิด เจ้าชายสิทธัตถะเป็นพระราชโอรสของ จากพทุ ธประวัติและชาดก กษตั รยิ ์ แตท่ ำ� ไมพระองคจ์ งึ ตดั สนิ พระทยั เสด็จออกผนวชเพ่ือบ�ำเพ็ญเพียรจนตรัสรู้ เปน็ พระพุทธเจา้

2 หนังสือเ รียนรายวิชาพ้ืนฐาน สังคมศกึ ษาฯ ป. 1 ชาวพทุ ธควรเรยี นรพู้ ทุ ธประวตั แิ ละชาดกใหเ้ ขา้ ใจ เพอ่ื จะได้ ข้อคิดและแบบอยางในการด�าเนินชีวิตท่ีถูกต้องมาพัฒนาตนเอง ใหอ้ ยูรวมกับบคุ คลอื่นในสงั คมได้อยา งมีความสุข 1. พทุ ธประวตั ิ พทุ ธประวตั ิ หมายถงึ ประวตั ขิ องพระพทุ ธเจา้ ซงึ่ เปน็ ศาสดา ของพระพทุ ธศาสนา 1.1 ประสตู ิ พระพุทธเจ้ามีพระนามเดิมวา สิทธัตถะ เป็นพระราชโอรส ของพระเจา้ สทุ โธทนะ กษตั รยิ ์ เมืองกบิลพัสดุ์กับพระนาง- สริ มิ หามายา พระองคป์ ระสูติ เม่ือวนั ขึ้น 15 ค�่า เดอื น 6 กอนพุทธศักราช 80 ป ที่ ลุมพนิ วี ัน ซง่ึ อยรู ะหวา งเมอื ง กบิลพัสดุ์กับเมืองเทวทหะ ปจั จบุ นั ตง้ั อยใู นประเทศเนปาล พระนางสิรมิ หามายา ประสตู เิ จา้ ชายสทิ ธัตถะ พระเจ้าสุทโธทนะเม่ือทรงทราบขาวการประสูติก็ได้ตรัสสั่ง ให้พาพระราชโอรสเสดจ็ กลบั พระราชวัง

หนงั สอื เ รยี นรายวชิ าพนื้ ฐาน สงั คมศึกษาฯ ป. 1 3 หลังจากพระราชโอรสประสูติแล้วไดเ้ กดิ เหตุการณ์ตาง ๆ ที่ เก่ยี วขอ้ งกับพระองคม์ ากมาย ซึง่ สรุปได้ดังนี้ เมอื่ ประสตู ไิ ด ้ 3 วนั อสติ ดาบสไดเ้ ดนิ ทางมาเขา้ เยย่ี ม เม่ือเห็นพระราชโอรสมีรูปรางลักษณะตามต�ารา มหาบุรุษลักษณะได้ถวายอภิวาทแทบพระบาททั้งสอง ของพระราชโอรส เมอ่ื ประสตู ไิ ด ้ 5 วนั พระเจา้ สทุ โธทนะไดเ้ ชญิ พราหมณ ์ 108 คน มาทา� พธิ ขี นานพระนาม (ตง้ั ชอื่ ) วา สทิ ธตั ถะ ซึ่งแปลวา ส�าเร็จตามท่ีต้องการ และพราหมณ์ โกณฑัญญะได้ทา� นายพระลักษณะวาจะไดเ้ ป็นศาสดา เอกของโลก เมื่อประสูติได้ 7 วัน พระราชมารดาส้ินพระชนม์ พระองค์ทรงได้รับการเล้ียงดูจากพระนางมหาปชาบดี โคตมี น้องสาวของพระราชมารดา เมื่อพระชนมายุ 8 พรรษา ทรงได้รับการศึกษาวิชา ตาง ๆ และทรงเรียนส�าเร็จตามท่ีครูอบรมสั่งสอน ไดอ้ ยางรวดเร็ว เม่อื พระชนมาย ุ 16 พรรษา อภิเษกสมรสกบั เจ้าหญิง ยโสธรา (พิมพา) และตอมามพี ระโอรส 1 พระองค ์ พระนามวา ราหุล

4 หนังสือ เรียนรายวิชาพื้นฐาน สงั คมศึกษาฯ ป. 1 1.2 ตรสั รู เมอื่ เจ้าชายสทิ ธตั ถะมพี ระชนมายไุ ด ้ 29 พรรษา ไดเ้ สดจ็ ประพาสนอกพระราชวัง ทรงเห็น คนแก  คนเจบ็ คนตาย และสมณะ พระองคท์ รงสลดพระทยั ทท่ี รงเหน็ คนแก  คนเจบ็ และคนตาย แตท รง พอพระทยั ทที่ รงเหน็ สมณะ จากนนั้ พระองค์ได้น�าส่ิงที่ทรงเห็นมา พจิ ารณาไตรต รอง ทรงพบวา ชวี ติ น้ี มแี ตค วามทกุ ข ์ ทา� อยา งไรจงึ จะพน้ จากทุกข์ได้ จึงตดั สินพระทยั เสดจ็ เจ้าชายสิทธัตถะได้นำส่ิงท่ีทรง ออกผนวช เพอ่ื หาทางพ้นทุกข์ เหน็ คอื คนแก่ คนเจบ็ คนตาย และสมณะมาพจิ ารณาไตรต่ รอง เมอ่ื ผนวชแลว้ พระองคไ์ ดบ้ า� เพญ็ เพยี รดว้ ยวธิ กี ารตา ง ๆ เปน็ เวลา 6 ป  จนกระทง่ั พระชนมาย ุ 35 พรรษา จงึ ทรงคน้ พบหลกั ธรรม ทเ่ี ปน็ แนวทางพน้ ทกุ ข ์ ทา� ใหพ้ ระองค์ ตรสั รเู้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ ในวนั ขนึ้ 15 คา่� เดอื น 6 ทใ่ี ตต้ น้ พระศรมี หาโพธ์ิ ริมฝังแมน ้า� เนรัญชรา พระสทิ ธัตถะตรัสรู้เปนพระพทุ ธเจา้

หนังสือเ รยี นรายวิชาพ้ืนฐาน สังคมศกึ ษาฯ ป. 1 5 1.3 ปรนิ พิ พาน หลังจากตรัสรู้แล้ว พระพุทธเจ้าได้ทรงเผยแผหลักธรรม เพ่ือสั่งสอนประชาชนให้ละเว้น ความชว่ั ทา� ความด ี และทา� จติ ใจ ใหผ้ อ งใสบรสิ ทุ ธเิ์ ปน็ เวลา 45 ป พระองค์ได้เสด็จปรินิพพาน ในวันขึ้น 15 คา่� เดอื น 6 ท่ี ใต้ต้นสาละ ในสาลวโนทยาน เมืองกุสินารา ปัจจุบันอยูใน ประเทศอนิ เดยี รวมพระชนมายุ ได้ 80 พรรษา พระพุทธเจ้าเสดจ็ ปรินิพพาน เรือ่ งนา่ รู ใต้ต้นสาละ เมืองกสุ ินารา ไทยเริ่มนับปพุทธศักราช 1 หรือ พ.ศ. 1 ตอจากปที่ พระพทุ ธเจา้ เสด็จปรนิ ิพพาน กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรู วาดภาพพุทธประวัติเกี่ยวกับประสูติ ตรัสรู้ และ ปรินิพพานของพระพุทธเจ้าตอนใดตอนหน่ึงท่ีช่ืนชอบ ระบายสใี หส้ วยงาม แลว้ ผลดั กนั นำ เสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรยี น

6 หนงั สอื ​เรยี นรายวิชาพืน้ ฐาน สงั คมศกึ ษาฯ​ ป.  1 2. ชาดก ชาดก คือ เร่ืองราวของพระโพธสิ ัตว์ในชาตติ ่าง ๆ ก่อนที่จะ ประสตู แิ ละตรสั รเู้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ ในชาตสิ ดุ ทา้ ย ในชนั้ นจ้ี ะไดเ้ รยี น ชาดก 2 เรอ่ื ง คอื วัณณุปถชาดกและสวุ ณั ณสามชาดก 2.1 วัณณปุ ถชาดก: ความเพียรกลางทะเลทราย ในสมัยท่ีพระพุทธเจ้าประทับอยู่ท่ีวัดเชตวัน เมืองสาวัตถี ทรงทราบเรอื่ งทพ่ี ระสงฆร์ ปู หนงึ่ เกดิ ความทอ้ แท้ คดิ วา่ ตนเองไมม่ ี บญุ พอทจ่ี ะบรรลธุ รรมได้ จงึ ไม่ ปฏบิ ตั ธิ รรม พระพทุ ธเจา้ ทรงเลา่ ถึงความพยายามของพระองค์ นายกองเกวยี นและบริวาร ในอดีตชาติ เม่ือครั้งที่เกิดเป็น นำ�เกวียนไปค้าขายในตา่ งเมือง นายกองเกวยี นว่า กาลคร้ังหน่ึง ณ เมืองพาราณสี พระโพธิสัตว์ได้เกิดเป็น นายกองเกวียนต้องน�ำเกวียน 500 เล่ม ออกเดินทางไปกับ บริวารเพ่ือค้าขายยังต่างเมือง ระหว่างทางต้องผ่านทะเลทราย ทแ่ี ห้งแลง้ ทุรกันดาร ขบวนของ พ่อค้าจะออกเดินทางได้เฉพาะ บริวารนายกองเกวยี น กลางคืนเท่านั้น ส่วนในเวลา ช่วยกันปรุงอาหารในเวลากลางวนั

หนังสือ​เรยี นรายวิชาพื้นฐาน สงั คมศึกษาฯ​ ป.  1 7 กลางวนั จะตอ้ งหยดุ พกั ผอ่ น จนกระทงั่ เหลอื อกี เพยี งวนั เดยี วกจ็ ะ ถงึ จดุ หมายปลายทาง เหลา่ บรวิ ารตา่ งคดิ วา่ วนั รงุ่ ขนึ้ กจ็ ะถงึ ทหี่ มาย แลว้ ช่วงหยุดพักจงึ ได้ชว่ ยกนั ท�ำอาหารและใช้นํา้ จนหมดสิ้น คร้ันตกค่ําก็ออกเดินทางต่อ โดยมีผู้น�ำทางคอยดูดวงดาว บนท้องฟ้า แต่ด้วยความอ่อนเพลียผู้น�ำทางเผลอหลับไป โคจึง เดนิ ทางผดิ วกกลบั มาทเี่ ดมิ บรวิ ารทงั้ หลายรสู้ กึ ออ่ นลา้ และหวิ มาก น้ําส�ำหรับดื่มและปรุงอาหารก็ใช้ไปหมดแล้ว เพราะไม่คิดว่าจะ หลงทางเชน่ น้ี จงึ พากนั ทอ้ แท้หมดอาลัยไปตาม ๆ กัน นายกองเกวียนเห็นดังน้ัน จงึ คดิ วา่ ถา้ ตนเองละความเพยี ร เสียอีกคน หมู่คณะก็จะถึงแก่ ความตายอย่างแนน่ อน จึงออก เดนิ สำ� รวจดบู รเิ วณรอบ ๆ พบวา่ มีหญ้ากอหนึ่งงอกขึ้นบนทราย นายกองเกวยี นพบกอหญา้ กค็ ดิ วา่ หญา้ งอกขนึ้ มาไดจ้ ะตอ้ ง ก็คิดว่าต้องมนี ้ำ�อยู่ขา้ งล่าง มนี าํ้ หลอ่ เลย้ี งอยขู่ า้ งลา่ ง จงึ กลบั ไปบอกบรวิ ารใหช้ ว่ ยกนั ขดุ พน้ื ทราย ใตก้ อหญา้ นน้ั เม่อื ขุดลกึ ลงไป 60 ศอก กย็ งั ไม่พบนาํ้ พบแต่ แผน่ หนิ ขวางอยู่ ทกุ คนตา่ งกล็ ะความเพยี รและไมค่ ดิ หาหนทางอนื่ นายกองเกวียนมิได้ท้อใจลองเอาหูแนบที่แผ่นหิน ก็ได้ยิน เสยี งนำ้� ไหลอยขู่ า้ งลา่ ง จงึ บอกใหบ้ รวิ ารเอาคอ้ นทบุ แผน่ หนิ จนแตก

8 หนงั สือเ​รยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน สังคมศึกษาฯ​ ป.  1 ทันใดนั้นก็มีสายน้ําพุ่งข้ึน บรวิ ารของนายกองเกวยี น มาทุกคนต่างดีใจที่มีน้ําให้ด่ืม ชว่ ยกันทบุ แผน่ หิน และปรุงอาหารรบั ประทาน เม่อื ตกกลางคืนจึงออกเดินทางกัน อกี ครง้ั และถงึ ทห่ี มายในวนั รงุ่ ขนึ้ อย่างราบร่ืน 2.2 สุวัณณสามชาดก: ความกตัญญกู ตเวที ในสมัยท่ีพระพุทธเจ้าประทับอยู่ท่ีวัดเชตวัน เมืองสาวัตถี ทรงทราบเรื่องท่ีพระสงฆ์รูปหนึ่งบิณฑบาตเลี้ยงพ่อแม่ที่ทุกข์ยาก พระองค์ทรงสรรเสริญว่า ดีแล้ว ในอดีตเราก็เคยเลี้ยงดูพ่อแม่ เหมือนกัน แล้วได้ตรัสเล่าเรื่องเม่ือครั้งท่ีพระองค์เกิดเป็น สุวณั ณสามวา่ กาลครั้งหนึ่ง ณ ท่ีไม่ไกลจากเมืองพาราณสี มีดาบสสอง สามีภรรยาอาศัยอยู่ใน อาศรมกลางปา่ หิมพานต์ มี บุ ต ร ช า ย ค น ห นึ่ ง ชื่ อ สวุ ณั ณสาม เป็นเด็กท่ีมี เมตตากรุณาและเป็นท่ี รักใคร่ของสัตว์ทั้งหลาย ต่อมาดาบสทั้งสองถูกงู สวุ ัณณสามหานำ้ �และผลไม้ พน่ พษิ เขา้ ตา ทำ� ใหต้ าบอด ไปเลย้ี งดบู ิดามารดาทต่ี าบอด

หนังสอื เ​รียนรายวิชาพ้ืนฐาน สังคมศกึ ษาฯ​ ป.  1 9 ท้ังสองข้าง สุวัณณสามจึงต้องท�ำหน้าที่คอยดูแลปรนนิบัติรับใช้ โดยคอยจัดหานํ้าดมื่ นํ้าใช้ และผลไม้ในปา่ มาเลี้ยงดทู กุ วัน ในวันหนึ่งเจ้าเมืองพาราณสีได้เสด็จล่าสัตว์ในป่าหิมพานต์ และไดย้ งิ ลกู ศรอาบยาพษิ ถกู สวุ ณั ณสามจนเสยี ชวี ติ กอ่ นเสยี ชวี ติ สวุ ณั ณสามไดบ้ อกกบั เจา้ เมอื งพาราณสวี า่ ตนเองมพี อ่ แมต่ าบอด ที่จะต้องเลี้ยงดู ถ้าตนเองตายก็เปน็ หว่ งวา่ จะไมม่ ใี ครคอยเลี้ยงดู พอ่ แม่ เจ้าเมืองพาราณสเี มอ่ื ไดฟ้ งั เรอื่ งราวจากสุวณั ณสาม กเ็ สยี ใจกับเร่ืองที่เกดิ ข้นึ เจ้าเมืองพาราณสีเม่ือได้ฟังและเห็นถึงความกตัญญูกตเวที ของสุวัณณสามก็รู้สึกเสียใจต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น จึงรับปากว่า จะเล้ยี งดพู ่อแม่ของสวุ ณั ณสามให้ ฝ่ายดาบสเม่ือรู้ว่าสุวัณณสามเสียชีวิตก็ได้ต้ังจิตอธิษฐานว่า สุวัณณสามเป็นเด็กดี มีความเมตตากรุณา และมีความกตัญญู กตเวทีต่อบิดามารดา ขอให้ความดีนั้นช่วยบันดาลให้ยาพิษใน ร่างกายของสวุ ณั ณสามหายไปและฟ้ืนคืนชีวิต

10 หนงั สอื เ รียนรายวิชาพืน้ ฐาน สงั คมศกึ ษาฯ ป. 1 ด้วยแรงอธิษฐานดังกลาว ทา� ใหส้ วุ ณั ณสามฟน้ื คนื ชวี ติ สว น ดาบสท้ังสองก็หายจากตาบอด แล้วอยรู วมกันอยางมคี วามสุข ดาบสท้ังสองร่วมกันอธษิ ฐาน ใหส้ วุ ัณณสามฟน คนื ชวี ิต กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู รวมกันแสดงความคดิ เหน็ วา เมื่อเรียนชาดกทง้ั 2 เรื่อง จบแลว้ ไดข้ อ้ คดิ อะไรบา้ ง ครเู ขยี นสรปุ ขอ้ คดิ ลงบนกระดานดำ แลว้ ใหน้ กั เรียนเขียนบันทึกลงในสมดุ บทสรปุ พทุ ธประวตั ิ คอื ประวตั ขิ องพระพทุ ธเจา้ ศาสดาของพระพทุ ธ- ศาสนา การศกึ ษาพทุ ธประวตั ติ ง้ั แตป ระสตู ิ ตรสั ร ู้ และปรนิ พิ พาน ทา� ใหไ้ ดแ้ บบอยางในการดา� เนินชีวติ ท่ถี ูกต้อง ชาดกเป็นเรื่องราวของพระโพธิสัตว์ในชาติตาง ๆ กอนท่ี พระองคจ์ ะประสตู แิ ละตรสั รเู้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ ในชาตสิ ดุ ทา้ ย ชาดก แตล ะเรอ่ื งใหข้ อ้ คดิ ทต่ี า งกนั เชน วณั ณปุ ถชาดก ใหข้ อ้ คดิ เกย่ี วกบั ความเพยี ร สวุ ณั ณสามชาดกใหข้ อ้ คดิ เกยี่ วกบั ความกตญั ญกู ตเวที

หนงั สือเ​รยี นรายวชิ าพื้นฐาน สังคมศกึ ษาฯ​ ป.  1 11 กิจกรรมเสนอแนะ 1. แบง กลุม กลมุ ละ 4–6 คน รวบรวมภาพพุทธประวัติ แลว น�ำมาจดั ปายนเิ ทศรวมกนั 2. วาดภาพชาดกท่ีตนชื่นชอบตามจินตนาการ พรอมระบายสี ใหส วยงาม แลว ตดิ แสดงใหเ้ พื่อน ๆ ดทู ่ีปา ยนเิ ทศ การประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ถ้าต้องการเป็นเด็กดีมีความกตัญญูกตเวทีต่อบิดามารดา เหมือนกบั สวุ ณั ณสาม นกั เรียนต้องปฏิบัตติ นอย่างไร คำ�ถามทบทวน 1. พระพทุ ธเจา้ มีพระนามเดมิ ว่าอะไร 2. พระพุทธเจาประสูติ ตรสั รู และปรินิพพานในวนั ใด 3. ชาดกเกี่ยวของกบั พระพุทธเจาอยางไร 4. วัณณุปถชาดกและสุวณั ณสามชาดกใหข้ ้อคดิ ในเร่ืองใด 5. นกั เรยี นจะนำ� ขอ คดิ จากพทุ ธประวตั แิ ละชาดกไปใชอ ยา งไรบา้ ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook