Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1549867672_example

1549867672_example

Published by Bank supachaii, 2021-05-13 17:15:56

Description: 1549867672_example

Search

Read the Text Version

สงั คมศกึ ษาหนงั สือเรยี นร​ายวิชาพ้นื ฐาน​ ศาสนา และวัฒนธรรมชัน้ ประถมศึกษาปท​่ี 2 ป. 2ตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ​สาระภูมศิ าสตร​์ (ฉบับปรบั ปรงุ ​พ.ศ.​2560) กลมุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศ​ ึกษา​ศาสนา​และ​วฒั นธรรม ตามหลกั สตู รแกนก​ ลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน​พทุ ธศกั ราช​2551 ผเู้ รยี บเรยี ง สมพร อ่อนน้อม พธ.บ. (เกยี รตินิยม), นศ.บ. กุสมุ าวดี ชยั ชูโชติ ศ.บ., ศ.ม. พงษ์ศกั ด์ิ แคลว้ เครือ ศศ.บ. (เกียรตนิ ิยม), ร.ม. จลุ พงษ์ อุดมพรพบิ ูล วท.บ., วท.ม. บุญรัตน ์ รอดตา ศษ.บ ผ้ตู รวจ รศ. ดร.ไพฑรู ย์ มกี ศุ ล กศ.บ., กศ.ม., M.A., Ph.D. ดร.สริ ริ ตั น ์ พงศ์พิพัฒนพันธ์ ุ ศศ.บ., กศ.ม., วท.ด. สายพิณ ตันสริ  ิ กศ.บ., ค.ม. บรรณาธกิ าร สรุ ะ ดามาพงษ ์ กศ.บ., กศ.ม. ประจวบ ตรภี กั ดิ ์ พธ.บ., สส.ม. นฤชภรณ ์ กมลนฤเมธ ศศ.บ.

หนงั สอื เรยี น​รายวชิ าพ้นื ฐาน​ ป. 2 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 2 ตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วัด สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) กลมุ สาระการเรียนรูสังคมศ​ ึกษา ศาสนา​และว​ฒั นธรรม ตามหลกั สตู รแกนก​ ลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 B สงวนลิขสทิ ธิต์ ามกฎหมาย หามละเมิด ทำ�ซ​ ้ำ� ดัดแปลง เผยแพร สวน​หนง่ึ ​สว น​ใด เวนแตจ​ะไ​ดร​บั อ​ นุญาต ผ้เู รียบเรยี ง สมพร  อ่อนน้อม กุสมุ าวด ี ชัยชโู ชติ พงษศ์ ักด์ิ แคล้วเครอื จุลพงษ์ อุดมพรพิบูล บุญรตั น์ รอดตา ผตู รวจ รศ. ดร.ไพฑรู ย์ มีกศุ ล ดร.สิริรัตน์ พงศ์พพิ ฒั นพนั ธ์ุ สายพณิ  ตันสริ ิ บรรณาธิการ สุระ  ดามาพงษ์ ประจวบ ตรภี ักดิ์ นฤชภรณ์ กมลนฤเมธ ปีท่ีพิมพ์ พ.ศ. 2562 พิมพ์ครัง้ ที่ 1 จ�ำ นวน 30,000 เลม่ ISBN 978-974-18-7477-4 พมิ พ์ท่ี บริษทั โรงพิมพ์วฒั นาพานชิ จำ�กัด นายเริงชัย จงพิพฒั นสุข กรรมการผ้จู ดั การ

คํานํา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปท่ี 2 เลม นจี้ ัดทําขึ้นตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภูมิศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) กลมุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมีเปาหมายให้นักเรียนและครูใช้เปนส่ือ ในการจดั การเรยี นรู้ เพอื่ พฒั นานกั เรยี นใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ทห่ี ลกั สตู ร กําหนด พัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะตามท่ีต้องการทั้งด้านการส่ือสาร การคิด การแก้ปญหา การใช้ทักษะชวี ิต และการใชเ้ ทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนานักเรยี นใหม้ คี ุณลักษณะอนั พึงประสงค เพ่อื ให้สามารถอยูรวมกับผอู้ ่นื ในสงั คมไทยและสงั คมโลกไดอ้ ยางมีความสขุ ในการจัดทําหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานเลมน้ี คณะผู้จัดทําซ่ึงเปนผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชา และการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ได้ศึกษาหลักสูตรอยางลึกซ้ึง ท้ังด้านวิสัยทัศน หลักการ จุดหมาย สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง แนวทางการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รวมทั้ง เอกสารหลักสูตรอ่ืน ๆ แล้วจึงออกแบบหนวยการเรียนรู้ แตละหนวยการเรียนรู้ประกอบด้วย ผังมโนทัศนสาระการเรียนรู้ ประโยชนจากการเรียนรู้ คําถามนํา เน้ือหาสาระแตละเร่ือง แตล ะหวั ขอ้ คาํ สาํ คญั เรอื่ งนา รู้ แหลง สบื ค้นความรู้ กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรู้ บทสรุป กจิ กรรม เสนอแนะ การประยุกตใช้ในชีวิตประจําวัน คําถามทบทวน และท้ายเลมยังมีบรรณานุกรมและ อภิธานศัพท ซ่ึงองคประกอบของหนังสือเรียนเหลาน้ีจะชวยสงเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ อยางครบถ้วนตามหลักสูตร การเสนอเนอื้ หา กจิ กรรม และองคป ระกอบอนื่ ๆ ในหนงั สอื เรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานเลม นม้ี งุ เนน้ ผู้เรยี นเปน สำคัญ โดยคำนงึ ถึงศกั ยภาพของนักเรยี น เนน้ การเรยี นรู้แบบองคร วมบนพืน้ ฐานของ การบูรณาการแนวคิดทางการเรียนรู้อยา งหลากหลาย จดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการเนน้ ใหน้ ักเรยี น สร้างองคความรู้ด้วยตนเอง มุงพัฒนาการคิด และพัฒนาการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับพัฒนาการ ทางสมองของนกั เรยี น อนั จะชว ยใหน้ กั เรยี นเกดิ การเรยี นรอู้ ยา งสมบรู ณแ ละสามารถนำไปประยกุ ต ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ หวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 2 เลม นี้ จะชว ยพฒั นาการเรยี นร้ขู องนักเรียนตามหลักสูตรไดเ้ ปน อยา งดี คณะผูจดั ทำ

คาํ ช้ีแจง หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 เลมน้ี ได้ออกแบบเปนหนวยการเรยี นรู้ แตล ะหนวยการเรยี นรปู้ ระกอบด้วย 1. ผงั มโนทศั น์สาระการเรยี นรู แสดงขอบขา ยเนือ้ หา ในหนวยการเรียนรู้ 2. ประโยชน์จากการเรยี นรู สรปุ ประโยชนท ีไ่ ดจ้ าก 3. คําถามนาํ เปน คาํ ถามท่ีกระต้นุ ให้นกั เรยี นเกดิ การเรยี นรใู้ นหนว ยการเรียนรเู้ ปนประเด็นส้นั ๆ ความสนใจตอ้ งการที่จะคน้ หาคาํ ตอบ 4. เนื้อหา แบงเปนหัวเร่ืองหลัก หัวเร่ืองรอง และหัวข้อยอย ตรงตามตัวชี้วัดชั้นป มีกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้แทรก เปน ชว ง ๆ เนอ้ื หาบางตอนอาจนาํ เสนอดว้ ยภาพประกอบ ตาราง แผนภมู ิ แผนทคี่ วามคดิ และประกอบดว้ ยสว นอน่ื ๆ ดงั นี้ 4.1 คําสําคัญ ระบุคําสําคัญท่ีแทรกอยูในเน้ือหาโดยการเน้นสีของคําไว้ตางจากตัวพื้น คําสําคัญนี้จะใช้ตัวเน้น เฉพาะคําท่ีปรากฏคาํ แรกในเนอ้ื หา ไมเ นน้ คาํ ที่เปน หวั ขอ้ 4.2 ภาพประกอบ พรอ้ มคําบรรยายสอดคลอ้ งกับเนอื้ หา 4.3 แผนภูมิ ตาราง แผนที่ แผนทคี่ วามคิด สอดคล้องกบั เนอ้ื หา 4.4 เรอื่ งนา รู เปน ความรเู้ พม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั เรอ่ื งทไ่ี ดศ้ กึ ษาในหนว ยการเรยี นรนู้ น้ั ๆ โดยคดั สรรเฉพาะเรอื่ งทน่ี กั เรยี น ควรรู้ 5. กจิ กรรมพฒั นาการเรียนรู เปนกจิ กรรมท่ีกําหนดใหท้ าํ 6. บทสรุป เปนการสรปุ เน้อื หาหลังจากจบเนื้อหาและ เมื่อจบเนื้อหาท่ีแบงให้เหมาะสมสําหรับการเรียนแตละ กิจกรรมของแตล ะหนว ยการเรียนรู้ ครั้ง เปน กจิ กรรมท่หี ลากหลาย ใช้แนวคดิ ทฤษฎตี าง ๆ ให้สอดคลอ้ งกับเนื้อหา เหมาะสมกับวัย สะดวกในการ 7. กิจกรรมเสนอแนะ เปนกิจกรรมบูรณาการทักษะ ปฏิบัติ กระตนุ้ ให้นักเรยี นได้คิด และสง เสริมการศึกษา ทีร่ วบรวมหลักการและความคิดรวบยอดในเร่อื งตา ง ๆ คน้ ควา้ ทน่ี กั เรยี นไดเ้ รยี นรมู้ าไปประยกุ ตใ นการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 8. การประยกุ ตใ์ ชใ นชวี ติ ประจาํ วนั เปน ตวั อยา งสถานการณ 9. คาํ ถามทบทวน เปนคาํ ถามแบบอัตนยั ทีม่ งุ ถาม การประยุกตใช้ความรู้ที่ได้เรียนรู้มาให้นักเรียนนําไป เพอื่ ทบทวนผลการเรียนรู้ของนกั เรียน ประยุกตใช้ในชีวิตประจําวัน ซ่ึงมีกิจกรรมหรือคําถาม ให้นกั เรียนทํา 10. ทา ยเลม ประกอบดว้ ยบรรณานกุ รมและอภิธานศพั ท 10.1 บรรณานกุ รม เปนรายช่อื หนังสอื เอกสาร เวบ็ ไซต ทใ่ี ช้ประกอบการเขียน 10.2 อภิธานศัพท์ เปนการนาํ คําสําคัญที่แทรกอยใู นเนือ้ หามาอธบิ ายและจดั เรียงตามลาํ ดับตวั อกั ษรเพ่ือสะดวก ในการค้นควา้

สารบญั หนว ยการเรียนรูท่ี 1 พระพุทธ.................. 1 J บทสรุป................................................55 1. ความสำคัญของพระพุทธศาสนา............ 2 J กิจกรรมเสนอแนะ ................................56 2. พทุ ธประวตั ิ ..................................... 4 J การประยุกตใช้ในชีวิตประจำวัน..............56 3. ชาดก ............................................. 9 J คำถามทบทวน......................................56 J บทสรุป................................................13 หนวยการเรียนรูท ี่ 5 พลเมืองดี............... 57 J กิจกรรมเสนอแนะ ................................14 1. การปฏิบัตติ นเปน พลเมืองดี ............... 58 J การประยุกตใ ช้ในชวี ิตประจำวัน..............14 2. มารยาทไทย................................... 60 J คำถามทบทวน......................................14 3. ความสมั พันธร์ ะหวางตัวเราและสมาชกิ หนว ยการเรียนรูท่ี 2 พระธรรม ............... 15 1. พระรัตนตรยั ................................. 16 ในครอบครวั กบั ชุมชน ...................... 62 2. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ............ 17 J บทสรุป................................................63 3. พทุ ธศาสนสภุ าษติ ........................... 23 J กจิ กรรมเสนอแนะ ................................63 4. การกระทำความดขี องตนเองและบุคคล J การประยุกตใ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั ..............64 J คำถามทบทวน......................................64 ในครอบครวั และโรงเรียน………………. 24 หนวยการเรียนรทู ่ี 6 สิทธิ เสรภี าพ .......... 65 5. ศาสดาและคมั ภรี ์ของศาสนาตา ง ๆ....... 27 1. สิทธิและเสรภี าพสวนบุคคล................ 66 J บทสรุป................................................29 2. การยอมรับความแตกตา งของบุคคล...... 68 J กจิ กรรมเสนอแนะ ................................30 3. บทบาทและอำนาจในการตดั สินใจ........ 70 J การประยกุ ตใ ชใ้ นชีวิตประจำวัน..............30 J บทสรปุ ................................................71 J คำถามทบทวน......................................30 J กิจกรรมเสนอแนะ ................................71 หนว ยการเรยี นรูท่ี 3 พระสงฆ์ ................ 31 J การประยกุ ตใชใ้ นชวี ิตประจำวัน..............72 1. พุทธสาวก ..................................... 32 J คำถามทบทวน......................................72 2. ชาวพทุ ธตวั อยาง ............................. 35 หนวยการเรยี นรทู ี่ 7 การซ้ือและการขาย ... 73 J บทสรุป................................................39 1. ทรัพยากรทน่ี ำมาใชใ นการผลติ สนิ คา J กิจกรรมเสนอแนะ ................................39 J การประยกุ ตใชใ้ นชีวิตประจำวัน..............40 และบรกิ าร .................................... 74 J คำถามทบทวน......................................40 2. การแลกเปลย่ี นและซอื้ ขายสนิ คา หนวยการเรียนรทู ่ี 4 การปฏิบตั ติ นดี ........ 41 1. มารยาทชาวพทุ ธ ............................. 42 และบรกิ าร .................................... 78 2. ศาสนพธิ ี....................................... 47 3. ผูซ้อื และผขู าย................................ 79 3. การทำจติ ใจใหผ อ งใสบรสิ ทุ ธ…ิ์ …………….50 J บทสรุป................................................81 J กิจกรรมเสนอแนะ ................................82 J การประยกุ ตใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน..............82 J คำถามทบทวน......................................82

หนว ยก​าร​เรยี นรท​ู ่ี 8 รายไดแ้ ละรายจา่ ยของ 3. วฒั นธรรมและประเพณีไทย............. 115 ตนเองและครอบครวั .…83 4. ภมู ิปัญญาไทย............................... 117 J บทสรปุ ..............................................120 1. รายไดท้ ส่ี จุ รติ และการใชจ้ า่ ยทเ่ี หมาะสม....84 J กิจกรรมเ​สนอแนะ...............................120 2. รายได้และรายจา่ ยของครอบครัว.......... 85 J การป​ ระยกุ ตใ​ชใ​นช​ีวติ ป​ ระจำ�วัน1������������120 3. รายได้และรายจ่ายของตนเอง.............. 87 J คำ�ถ​ ามท​ บทวน1������������������������������������120 4. รายการของรายรบั และรายจา่ ยทเ่ี หมาะสม และไม่เหมาะสม.............................. 89 หนวยก​ ารเ​รียนรูท​ ่ี 12 เครอื่ งมอื 5. การออม........................................ 90 ทางภูมิศาสตร.์ ..... 121 J บทสรปุ ................................................92 J กิจกรรมเ​สนอแนะ.................................92 1. แผนผัง……………………………………122 J การป​ ระยกุ ตใ​ชใ​นช​ีวิตป​ ระจำ�วัน9��������������92 2. แผนท่ี........................................ 124 J คำ�ถ​ ามท​ บทวน9��������������������������������������92 3. รปู ถา่ ย........................................ 126 หนว ยก​ ารเ​รียนรูท​ ่ี 9 เวลาและการศกึ ษา 4. ลกู โลก........................................ 127 ประวัตติ นเองและ J บทสรปุ ..............................................129 ครอบครัว................ 93 J กิจกรรมเ​สนอแนะ...............................129 1. อดีต ปจั จบุ นั และอนาคต.................. 94 J การป​ ระยกุ ตใ​ชใ​นช​วี ิตป​ ระจำ�วัน1������������130 2. วนั สำ�คัญ9��������������������������������������� 95 J คำ�ถ​ ามท​ บทวน1������������������������������������130 3. การศกึ ษาประวตั ติ นเองและครอบครัว... 97 หนว ย​การเ​รียนรู​ที่ 13 ปรากฏการณ์ 4. เสน้ เวลา...................................... 100 J บทสรุป..............................................101 ทางธรรมชาต.ิ ...... 131 J กิจกรรมเ​สนอแนะ...............................102 1. การเกดิ ฤดู................................... 132 J การป​ ระยุกตใ​ชใ​นช​ีวิตป​ ระจำ�วัน1������������102 2. กลางวนั กลางคืน.......................... 133 J คำ�ถ​ ามท​ บทวน1������������������������������������102 3. นำ้ �ข้ึน นำ้ �ลง3�������������������������������� 135 หนวยก​ าร​เรยี นร​ทู ี่ 10 วิถีชวี ติ ของคน 4. ข้างข้นึ ข้างแรม............................ 136 ในชมุ ชน............ 103 5. สรุ ยิ ุปราคา จันทรปุ ราคา.................. 137 1. การเปลีย่ นแปลงวถิ ีชีวติ ของคน J บทสรปุ ..............................................139 ในชุมชน..................................... 104 J กจิ กรรมเ​สนอแนะ...............................139 2. ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลง J การ​ประยกุ ตใ​ ชใ​น​ชีวิต​ประจำ�วนั 1������������140 ที่มีตอ่ วิถชี ีวิตของคนในชมุ ชน........... 108 J คำ�ถ​ ามท​ บทวน1������������������������������������140 J บทสรปุ ..............................................109 หนว ยก​ าร​เรยี นรทู​ ่ี 14 สง่ิ แวดลอ้ มและ J กจิ กรรมเ​สนอแนะ...............................110 J การป​ ระยกุ ตใ​ชใ​นช​วี ิตป​ ระจำ�วนั 1������������110 ทรพั ยากรธรรมชาต.ิ .141 J คำ�ถ​ ามท​ บทวน1������������������������������������110 1. สิง่ แวดล้อม.................................. 142 หนวยก​ ารเ​รยี นรูท​ ่ี 11 ชาตไิ​ทย............. 111 2. ทรพั ยากรธรรมชาติ........................ 144 1. ตัวอย่างบุคคลสำ�คญั ในทอ้ งถ่นิ 1���������� 112 3. การจดั การสิ่งแวดลอ้ มในโรงเรยี น...... 147 2. ตัวอยา่ งบุคคลสำ�คญั ของชาติไทย1������� 113 J บทสรปุ ..............................................148 J กิจกรรม​เสนอแนะ...............................149 J การ​ประยกุ ต​ใ ชใ​น​ชวี ิตป​ ระจำ�วัน1������������149 J คำ�ถ​ าม​ทบทวน1������������������������������������149 v บรรณานุกรม................................ 150 v อภธิ าน​ศพั ท. ................................ 151

1หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี พระพทุ ธ พระพุทธศาสนาก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่บุคคลที่ปฏิบัติตนตามหลักธรรม และกอ่ ให้เกิดประโยชนส์ ุขแกส่ ังคมสว่ นรวม เราจงึ ควรเรียนรเู้ กีย่ วกบั พระพุทธ- ศาสนาทง้ั ในเรอ่ื งความสำ� คัญ พทุ ธประวตั ิ และชาดก ผงั มโนทศั นส์ าระการเรียนรู้ ดา้ นนิสัยใจคอ ดา้ นวัฒนธรรมและประเพณี ดา้ นวถิ ีชวี ติ ความส�ำ คัญของพระพุทธศาสนา ประสูติ วานรนิ ทชาดก: พทุ ธประวตั ิ พญาลงิ เจา้ ปญั ญา ชาดก พระพทุ ธ วรุณชาดก: เหตกุ ารณห์ ลังประสูติ ชายหนมุ่ ผเู้ กียจคร้าน ประโยชนจากการเรยี นรู คำ�ถามน�ำ 1. เห็นความสำ�คัญของศาสนาและปฏิบัติ ศาสนาทุกศาสนามีความส�ำคัญต่อผู้ท่ี ตนตามหลักธรรมของศาสนาทต่ี นนับถอื นับถือ ลองส�ำรวจดูว่าการนับถือศาสนา 2. ปฏบิ ตั ติ นตามแบบอยา่ งการดำ�เนนิ ชวี ติ มีผลดีต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม และข้อคิดทีไ่ ด้จากพทุ ธประวตั แิ ละชาดก อยา่ งไร

2 หนงั สอื เ​รียนรายวชิ าพนื้ ฐาน สงั คมศึกษาฯ​ ป.  2 1. ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา การด�ำเนินชีวิตของคนไทยมีความผูกพันเก่ียวเนื่องกับพระพุทธ- ศาสนามาชา้ นาน จนกล่าวได้วา่ พระพทุ ธศาสนาเป็นบอ่ เกิดเอกลักษณ์ ของชาติไทย เอกลกั ษณ์ หมายถงึ ลกั ษณะทค่ี นสว่ นใหญม่ เี หมอื นกนั มรี ว่ มกนั การทพี่ ระพทุ ธศาสนาเปน็ บอ่ เกดิ เอกลกั ษณข์ องชาตไิ ทยนน้ั พจิ ารณาได้ จากดา้ นตา่ ง ๆ ดังน้ี 1.1 ดา้ นวัฒนธรรมและประเพณี 1. ดา้ นวัฒนธรรม เช่น การไหว้ การกราบ เปน็ การแสดงความ เคารพนอบนอ้ มตอ่ พระรตั นตรัยของชาวพุทธ และเปน็ การแสดงความ เคารพตอ่ กันของคนไทย การไหวเ้ ป็นวัฒนธรรมทีเ่ กดิ จากพระพทุ ธศาสนา

หนังสอื ​เรียนรายวชิ าพืน้ ฐาน สงั คมศกึ ษาฯ​ ป.  2 3 2. ดา้ นประเพณี เชน่ การบวช การแหเ่ ทยี นพรรษา การตกั บาตร เทโวโรหณะ เป็นประเพณี ท่ีเกี่ยวข้องกับพระพุทธ- ศาสนาทัง้ สน้ิ ประเพณแี ห่เทียนพรรษา 1.2 ด้านนสิ ัยใจคอ ประเทศไทยได้ช่ือว่า สยามเมืองยิ้ม ในสายตาของชาวต่างชาติ เพราะคนไทยเปน็ คนอารมณด์ ี ยม้ิ งา่ ย และมคี วามเปน็ มติ รกบั คนทว่ั ไป เน่ืองจากได้น�ำหลักค�ำสอนของพระพุทธศาสนามาปฏิบัติตนจนกลาย เป็นเอกลกั ษณ์ของคนไทย 1.3 ด้านวิถชี ีวติ การด�ำเนินชีวิตของคนไทยที่ ชาวพุทธร่วมประกอบพธิ กี รรม นับถือพระพุทธศาสนามีพิธีกรรม ทางพระพุทธศาสนา ทางพระพุทธศาสนาสอดแทรกอยู่ ด้วยเสมอ เชน่ การแตง่ งาน การ ขึ้นบ้านใหม่ จะนิมนต์พระสงฆ์มา ประกอบพธิ กี รรมทบ่ี า้ น การปฏบิ ตั นิ ้ี ได้เป็นเอกลักษณ์ของคนไทยใน ปัจจุบัน

4 หนังสอื เ รียนรายวิชาพ้ืนฐาน สงั คมศึกษาฯ ป. 2 กิจกรรมพัฒนาการเรยี นรู้ สอบถามพระสงฆ์ พ่อแม่ หรือผู้รู้ว่า ชุมชนของนักเรียนมี ประเพณแี ละวฒั นธรรมใดบา้ งทเ่ี กดิ จากการนบั ถอื พระพทุ ธศาสนา บนั ทกึ ผล แล้วผลดั กนั นำ เสนอหน้าช้นั เรียน 2. พทุ ธประวตั ิ พุทธประวัติ คือ ประวัติของพระพุทธเจ้า เริ่มตั้งแต่ประสูติ ตรัสรู้ จนถึงเสด็จปรินิพพาน ชาวพุทธควรศึกษาพุทธประวัติให้เข้าใจ เพ่ือจะได้เกิดศรัทธาในคุณของพระพุทธเจ้า และน�ามาเป็นแบบอย่าง ในการดา� เนินชวี ติ 2.1 ประสตู ิ เจ้าชายสิทธัตถะเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ กษัตริย์ เมืองกบิลพัสดุ์กับพระนางสิริ- มหามายา เม่ือพระนางสิริมหามายาทรง พระครรภ์จวนประสูติ พระนาง ได้เสด็จไปประสูติยังเมืองเทวทหะ ถิ่นก�าเนิดของพระนางตามโบราณ ราชประเพณ ี ครนั้ เสดจ็ ถงึ ลมุ พนิ วี นั ซึ่งต้ังอยู่ระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์กับ เมืองเทวทหะ พระนางได้ประสูติ พระนางสิริมหามายาประสูติ พระราชโอรสทล่ี มุ พินีวัน

หนังสอื เ รียนรายวิชาพน้ื ฐาน สงั คมศึกษา ฯ ป. 2 5 พระราชโอรสทน่ี น่ั ตรงกบั วนั ขน้ึ 15 คา่� เดอื น 6 กอ่ นพทุ ธศกั ราช 80 ป ี หลงั จากน้ันพระนางได้เสดจ็ กลบั เมืองกบลิ พัสดพุ์ รอ้ มพระราชโอรส หลงั ประสตู ไิ ด ้ 3 วนั อสติ ดาบสซงึ่ เปน็ ทนี่ บั ถอื ของพระเจา้ สทุ โธทนะ เมื่อทราบข่าวก็มาเข้าเฝ้า และท�านายพระลักษณะของพระราชโอรสว่า ถ้าอยูค่ รองเรอื นจะได้เปน็ จักรพรรดผิ ยู้ งิ่ ใหญ ่ ถ้าเสด็จออกผนวชจะได้ เป็นศาสดาเอกของโลก อสติ ดาบสมาเข้าเฝาพระราชโอรส หลังจากประสูติได้ 5 วัน พระเจ้าสุทโธทนะได้เชิญพราหมณ์ 108 คน มาร่วมพิธีขนานพระนามพระราชโอรส พราหมณ์ 8 คน ที่ได้รับเลือกให้เป็นผู้แทนพราหมณ์ท้ังหมดได้ท�านายพระลักษณะของ พระราชโอรสอีกครั้งหน่ึง พราหมณ ์ 7 คนแรก เม่ือตรวจดพู ระลกั ษณะ ของพระราชโอรสต่างก็ชูนิว้ ข้นึ 2 นิว้ แลว้ ท�านายวา่ ถา้ พระราชโอรส อยู่ครองเรือนจะได้เป็นจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ ถ้าเสด็จออกผนวชจะได้ เป็นศาสดาเอกของโลก มีเพียงโกณฑัญญพราหมณ์คนเดียวเท่านั้น ที่ชูนิ้วเดียว แล้วท�านายว่า พระราชโอรสจะเสด็จออกผนวชและ จะไดเ้ ปน็ ศาสดาเอกของโลก

6 หนงั สือเ​รยี นรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษาฯ​ ป.  2 ครนั้ ท�ำนายพระลกั ษณะเสร็จแลว้ พราหมณท์ ง้ั 8 คนได้รว่ มกนั ขนานพระนามพระราชโอรสวา่ สทิ ธัตถะ แปลวา่ ส�ำเร็จตามท่ตี อ้ งการ เมอ่ื ประสตู ไิ ด้ 7 วนั พระราชมารดาสนิ้ พระชนม์ พระเจา้ สทุ โธทนะ ทรงมอบให้พระนางมหาปชาบดี โคตมี พระขนิษฐา (น้องสาว) ของพระนางสริ มิ หามายาทำ� หนา้ ท่ี ดูแลพระราชโอรสตอ่ มา พระนางมหาปชาบดีโคตมี ดแู ลพระราชโอรสดว้ ยความรัก 2.2 เหตุการณ์หลังประสูติ 1. แรกนาขวญั วันหน่งึ เปน็ วันพระราชพธิ วี ปั ปมงคลแรกนาขวญั พระเจ้าสุทโธทนะเสด็จไปทรงแรกนาขวัญ ในงานพระราชพิธีน้ัน ได้โปรดเกล้าฯ ให้พระราชโอรสเสด็จไปด้วย ครั้นถึงเวลาแรกนาขวัญ พระพเ่ี ลยี้ งตา่ งพากนั ออกไปดพู ระราชพธิ กี นั หมด ปลอ่ ยใหพ้ ระราชโอรส อยู่เพียงล�ำพังพระองค์เดียวใต้ต้นหว้า ขณะน้ันบรรยากาศเงียบสงัด พระราชโอรสจงึ ทรงนงั่ ขดั สมาธิ กำ� หนดลมหายใจเขา้ –ออก จนไดบ้ รรลุ ปฐมฌาน วันน้ันแม้พระอาทิตย์จะบ่ายคล้อยไปแล้ว ร่มเงาของต้นไม้ อื่นได้ทอดไปตามแสงพระอาทิตย์ แต่ร่มเงาของต้นหว้าที่พระราชโอรส ประทบั นง่ั อยนู่ น้ั กลบั หยดุ ตรงอยเู่ หมอื นเวลาเทย่ี ง เมอื่ พระพเี่ ลย้ี งกลบั มาเหน็ ปาฏหิ ารยิ น์ นั้ จงึ รบี ไปกราบทลู พระเจา้ สทุ โธทนะ พระเจา้ สทุ โธทนะ

หนังสอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐาน สงั คมศึกษา ฯ ป. 2 7 เมื่อทรงสดับก็เสด็จมาโดยเร็ว ครั้นทรงเห็นความอัศจรรย์เช่นน้ัน จึงทรงยกพระหตั ถถ์ วายอภิวาทแด่พระราชโอรส 2. การศกึ ษา เมื่อมีพระชนมายุ 8 พรรษา ทรงได้รับการศึกษา ในส�านักของครูวิศวามิตร ด้วยสติปัญญาและความเพียรพยายาม พระราชโอรสจงึ ทรงเรยี นจบศลิ ปศาสตร ์ 18 ประการ ในเวลาอนั รวดเรว็ 3. การอภิเษกสมรส เมื่อมีพระชนมายุ 16 พรรษา พระเจ้า สุทโธทนะโปรดเกล้าฯ ให้สร้างปราสาท 3 องค์ ส�าหรับเป็นทป่ี ระทับ ใน 3 ฤด ู คือ ฤดรู อ้ น ฤดูฝน และฤดหู นาว จากนนั้ ไดต้ รสั ขอ เจ้าหญิงยโสธรา (พิมพา) พระราชธิดาของพระเจ้าสุปป- พุทธะกับพระนางอมิตา แห่ง เมืองเทวทหะมาอภิเษกเป็น พระชายาของเจ้าชายสทิ ธตั ถะ เจา้ ชายสทิ ธัตถะอภิเษกสมรสกบั เจา้ หญงิ ยโสธรา (พมิ พา) 4. การเห็นเทวทูต 4 เม่ือมีพระชนมายุ 29 พรรษา ได้เสด็จ ประพาสนอกพระราชวัง ทรงเหน็ คนแก ่ คนเจบ็ คนตาย และสมณะ พระองค์ทรงสลดพระทัยทีท่ รงเหน็ คนแก่ คนเจ็บ และคนตาย แต่ทรง พอพระทัยท่ีทรงเห็นสมณะ จากนั้นพระองค์ได้น�าสิ่งท่ีทรงเห็นมา

8 หนงั สือ​เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน สงั คมศกึ ษา​ฯ ป.  2 พิจารณาไตร่ตรอง ทรงพบว่าชวี ิตน้ีมแี ตค่ วามทุกข์ ท�ำอย่างไรจงึ จะพน้ จากทกุ ขไ์ ด้ พระองคจ์ งึ ทรงคดิ หาหนทางทจี่ ะชว่ ยมนษุ ยใ์ หห้ ลดุ พน้ จาก ทุกข์ เราเรียกสิ่งท่ีเจ้าชายสิทธัตถะทรงเห็น คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะวา่ เทวทตู 4 5. การออกผนวช  เจา้ ชายสทิ ธตั ถะทรงครองเรอื นกบั พระนางยโสธรา จนกระทง่ั มพี ระชนมายุ 29 พรรษา พระนางยโสธราไดป้ ระสตู พิ ระโอรส พระนามวา่ ราหลุ แตด่ ว้ ยพระประสงคท์ จี่ ะหาหนทางชว่ ยชาวโลกใหพ้ น้ จากทุกข์ พระองค์จึงทรงตัดสินพระทัยแน่วแน่ท่ีจะเสด็จออกผนวช ในกลางดึกของคืนที่พระนางยโสธราประสูติพระโอรส พระองค์ได้ทรง ม้ากัณฐกะ มีนายฉนั นะมหาดเลก็ ตามเสดจ็ ออกจากพระราชวงั เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะเสด็จถึงฝั่งแม่น้�ำอโนมาก็ทรงใช้พระขรรค์ ตัดพระเมาลี (จุกผม) ทรงเปลี่ยนเครื่องทรงมาครองผ้ากาสาวพัสตร์ แล้วทรงอธิษฐานเป็นนกั บวช เจา้ ชายสทิ ธัตถะทรงอธษิ ฐานเป็นนักบวชทีร่ ิมฝ่งั แมน่ ้ำ�อโนมา หลงั จากท่ีเสด็จออกผนวชแลว้ พระสิทธัตถะได้บำ� เพ็ญเพยี รดว้ ย วธิ ีการตา่ ง ๆ เปน็ ระยะเวลา 6 ปี จนกระท่งั พระชนมายุ 35 พรรษา กไ็ ด้ตรัสรู้เปน็ พระพทุ ธเจา้

หนงั สอื เ รยี นรายวชิ าพื้นฐาน สงั คมศกึ ษา ฯ ป. 2 9 กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ ศกึ ษาพทุ ธประวตั ใิ นบทเรยี น และตง้ั คำ ถามคนละ 3 ขอ้ ผลดั กนั ถาม–ตอบสลับไปมา 3. ชาดก ชาดก คอื เรอ่ื งราวของพระโพธสิ ตั วใ์ นชาตติ า่ ง ๆ กอ่ นทจี่ ะประสตู ิ และตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย ในช้ันน้ีจะได้เรียนชาดก 2 เรือ่ ง ดังน้ี 3.1 วรณุ ชาดก: ชายหนุ่มผ้เู กียจครา้ น ในสมัยพทุ ธกาล พระพทุ ธเจ้าประทบั อยู่ที่วัดเชตวัน เมอื งสาวัตถ ี ได้มีชาวบา้ น 30 คน มาขอบวชเป็นพระภกิ ษเุ พอ่ื ปฏิบัตธิ รรม พระภิกษุ 29 รปู ไดต้ งั้ ใจปฏบิ ตั ธิ รรมจนสา� เรจ็ เปน็ พระอรหนั ตใ์ นเวลาอนั รวดเรว็ สว่ นพระตสิ สะมนี สิ ยั เกยี จครา้ น ไมต่ ง้ั ใจปฏบิ ตั ธิ รรม จงึ ยงั ไมส่ า� เรจ็ เปน็ พระอรหันต์ เมื่อพระติสสะเห็นพระภิกษุรูปอ่ืนส�าเร็จเป็นพระอรหันต์ กอ็ ยากสา� เรจ็ บา้ ง จงึ เรง่ ปฏบิ ตั ธิ รรม ไมย่ อมหลบั ยอมนอน ตกดกึ เผลอ หลบั กลง้ิ ตกลงมากระดูกขาแตก เมอื่ พระพทุ ธเจา้ ทรงทราบ จงึ ทรงเลา่ เร่ืองในอดตี ชาตขิ องพระองคว์ ่า ในอดีตกาล เมอ่ื พระโพธิสตั ว์เกดิ เปน็ อาจารยเ์ ปดิ ส�านักสอนศิษย์ ประมาณ 500 คน วนั หนึง่ ศิษยท์ งั้ หลายพากนั ไปเก็บฟน ในป่า มศี ษิ ย์ ผู้เกียจคร้านคนหนึ่งมองเห็นต้นกุ่มบกต้นหน่ึงเข้าใจว่าเป็นต้นไม้แห้ง หมายตาไว้ว่าจะเก็บไปท�าฟน จึงคิดว่านอนพักก่อนดีกว่า ต่ืนข้ึนมา

10 หนงั สอื เ รยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน สงั คมศกึ ษาฯ ป. 2 ค่อยปีนขึ้นหักกิ่งเอาไปท�าฟน จึงปูผ้านอนท่ีโคนต้นกุ่มบกนั้นอย่าง สขุ สบาย ฝ่ายเพ่อื น ๆ เมื่อเก็บฟนได้แล้วกแ็ บกกลบั สา� นกั เพ่ือนคนหนงึ่ เดนิ มาเหน็ ศษิ ยผ์ เู้ กยี จครา้ นนอนหลบั อย ู่ ดว้ ยความเปน็ หว่ งจงึ ปลกุ ใหต้ น่ื ศษิ ยผ เู้ กยี จคร้านนอนหลบั ใต้ต้นกุ่มบก ศิษย์ผู้เกียจคร้านเมื่อตื่นข้ึนมาก็รีบปีนขึ้นต้นกุ่มบกเพื่อหักก่ิงไป ทา� ฟน เขาเหนย่ี วกงิ่ ลงมาตรงหนา้ แลว้ หกั เตม็ แรง ปลายไมท้ เ่ี หลอื ไดด้ ดี ถกู ตาขา้ งหนงึ่ บอด เขาตอ้ งใชม้ อื ขา้ งหนง่ึ ปดิ ตาไว ้ และใชม้ อื อกี ขา้ งหนง่ึ หกั กงิ่ ไมส้ ด เมอ่ื ลงมาจากตน้ กมุ่ บกแลว้ รบี มดั ฟน แบกกลบั สา� นกั เขาได้ นา� ฟน ไปวางไว้บนมดั ฟนไม้แหง้ ที่ศษิ ยค์ นอนื่ ๆ วางกองไวก้ ่อนแล้ว เย็นวันน้ันมีคนมาเชิญให้ไปท�าพิธีพราหมณ์ที่บ้านของเขาใน วันรงุ่ ข้ึน อาจารย์จึงบอกศษิ ยท์ ง้ั หลายว่า “วนั พรงุ่ นพ้ี วกเธอต้องไปทา� พธิ พี ราหมณท์ หี่ มบู่ า้ น แตต่ อ้ งรบั ประทานอาหารเชา้ กอ่ นจะออกเดนิ ทาง” หลังจากน้ันอาจารยก์ ส็ งั่ คนรบั ใช้ให้ตม้ ข้าวต้มแต่เชา้ มดื คนรับใช้ลุกข้ึนต้มข้าวต้ม แต่เพราะความมืดจึงหยิบฟนก่ิงไม้สด มาก่อไฟ แมจ้ ะพยายามอยา่ งไรไฟกไ็ มต่ ดิ

หนงั สือ​เรยี นรายวิชาพน้ื ฐาน สงั คมศึกษา​ฯ ป.  2 11 ศษิ ยท์ จ่ี ะเดนิ ทางไปท�ำพธิ พี ราหมณ์ ซงึ่ รอรบั ประทานอาหารเชา้ อยู่ ได้เล่าให้อาจารย์ฟังถึงเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน อาจารย์ได้กล่าวต�ำหนิ ศิษย์ผู้เกียจคร้านว่า ความผิดในคร้ังน้ีเป็นเพราะการกระท�ำของคนโง่ แลว้ กลา่ วค�ำท่ีเป็นคตสิ อนใจบทหน่ึงว่า “งานใดมคี วามจำ� เปน็ รบี ดว่ นตอ้ งทำ� เสยี กอ่ น คนใดเกบ็ งานนนั้ ไว้ กระท�ำในภายหลัง คนนนั้ ยอ่ มประสบกับความเดือดร้อนเสยี หาย” 3.2 วานรินทชาดก: พญาลิงเจ้าปญั ญา ในสมยั พทุ ธกาล พระพทุ ธเจ้าประทับอยู่ทีว่ ดั เชตวนั เมอื งสาวัตถี พระองค์ทรงได้ยินพระภิกษุสนทนากันถึงเรื่องท่ีพระเทวทัตพยายาม จะท�ำร้ายพระองค์ด้วยวิธีต่าง ๆ แต่ไม่ประสบความส�ำเร็จ พระองค์ จึงทรงเล่าอดีตชาติเมอ่ื คร้งั เกิดเปน็ พญาลงิ ว่า ในอดีตกาล เม่ือพระโพธิสัตว์เกิดเป็นพญาลิงชื่อ วานรินทร ์ มีรา่ งกายสมบูรณแ์ ขง็ แรง อาศยั อย่ใู นปา่ ตามล�ำพัง ใกลก้ บั ปา่ มแี มน่ ำ�้ ใหญไ่ หลผา่ นและมเี กาะอยเู่ กาะหนง่ึ เตม็ ไปดว้ ย ตน้ ไมน้ อ้ ยใหญ่ บางวนั พญาลงิ จะไปหากนิ ทเ่ี กาะนน้ั โดยกระโดดเหยยี บ กอ้ นหนิ กลางน้�ำขา้ มไปมาระหว่างฝ่งั แมน่ �้ำกบั เกาะ เกาะแห่งนม้ี จี ระเข้ใหญ่ 2 ตัวผัวเมียอาศยั อยู่ เม่อื จระเขต้ วั เมยี เห็นพญาลิงกอ็ ยากกินหวั ใจของพญาลงิ จึงบอกกับจระเข้ตวั ผู้คู่ของตน จระเข้ตวั ผคู้ ิดหาวธิ อี ยนู่ าน เมอื่ คิดไดจ้ ึงไปนอนนิ่งอยู่บนก้อนหนิ กลางแม่น�้ำทพ่ี ญาลงิ กระโดดข้ามไปมา พญาลิงเมื่อมาถึงริมฝั่งแม่น�้ำเห็นก้อนหินมีลักษณะผิดปกติ จึงท�ำทีพูดว่า “ก้อนหิน วันน้ีท�ำไมจึงดูใหญ่โตจริง และท�ำไมไม่ ทกั ทายเรา”

12 หนงั สอื เ​รียนรายวิชาพน้ื ฐาน สงั คมศึกษาฯ​ ป.  2 พญาลงิ เจา้ ปัญญาคิดหาทางเอาตัวรอดจากจระเข้ จระเข้คิดว่า วันก่อน ๆ ก้อนหินคงจะพูดทักทายกับพญาลิง เปน็ แน่ จึงเอ่ยขึน้ วา่ “เจา้ ลงิ มีอะไรหรือ” เสียงตอบจากจระเข้ท�ำให้พญาลิงรู้ทันทีว่า อันตรายจะมาถึงตัว จงึ พยายามรวบรวมสติ ย้อนถามไปว่า “เจ้าเป็นใคร ตอ้ งการอะไร” “ข้าเป็นจระเข้ ตอ้ งการหวั ใจของเจา้ ” จระเข้ตอบ “เพือ่ นเอ๋ยเรา ยินดีให้หัวใจแก่เจ้า เจ้าจงอ้าปากรองับเราในเวลาที่เรากระโดดถึงตัว” พญาลงิ กล่าวอย่างใชป้ ัญญา “ตกลง” จระเขร้ บั คำ� พรอ้ มอา้ ปากรอ แตเ่ ปน็ ธรรมชาตขิ องจระเข้ เม่ืออ้าปากตาจะปิด พญาลิงเห็นดังนั้นจึงกระโดดเหยียบหัวจระเข้แล้ว กระโจนขน้ึ ไปอยู่บนชายฝง่ั ได้ จระเข้รู้สึกอัศจรรย์ในสติปัญญาของพญาลิง จึงกล่าวสรรเสริญ พญาลิงว่า “ทา่ นพญาลงิ คุณธรรม 4 ประการ คือ สัจจะ ทมะ ธิติ และจาคะ มีแก่บุคคลใด บุคคลนั้นย่อมพ้นภัยจากศัตรูได้ ดังเช่น

หนังสือเ รยี นรายวชิ าพนื้ ฐาน สงั คมศึกษา ฯ ป. 2 13 ท่านมีสัจจะ เม่ือพูดว่าจะกระโดดมาหาเรา ท่านก็กระโดดจริง ท่านมี ทมะ คอื พดู และทา� ตามเหตผุ ลทพ่ี จิ ารณาดว้ ยปญั ญาวา่ ควรทา� อยา่ งไร ให้พ้นภัยจากเรา ท่านมีธิติ คือมีความเพียรตั้งใจแน่วแน่ และท่าน มีจาคะ คอื ยอมสละชวี ติ ให้แกเ่ ราหากใครมคี ุณธรรมครบ 4 ประการน ้ี ศัตรูแมย้ ิ่งใหญเ่ พียงใดก็ไมอ่ าจครอบงา� และทา� อันตรายไดเ้ ลย” เม่อื กลา่ วจบจระเข้ก็วา่ ยน�า้ กลับที่อย่ขู องตน กจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรู้ เขียนบรรยายว่าจะนำ ข้อคิดจากวรุณชาดกและวานรินทชาดก ไปประยกุ ต์ใชอ้ ยา่ งไร บทสรุป คนไทยผูกพนั กับพระพุทธศาสนามาช้านาน วัฒนธรรม ประเพณี นิสัยใจคอ ตลอดจนวิถีชีวิตของคนไทยล้วนมีพระพุทธศาสนาเป็น พน้ื ฐาน พทุ ธประวัติ คอื ประวัติของพระพุทธเจ้าผกู้ อ่ ตั้งพระพุทธศาสนา การศึกษาพทุ ธประวัติท�าใหไ้ ด้แบบอย่างในการด�าเนินชีวติ ชาดก คือ เรอื่ งราวของพระพุทธเจา้ ในชาตติ ่าง ๆ ขณะทีท่ รงเปน็ พระโพธิสัตว์ พระองค์ทรงน�ามาเล่าเพื่อให้ข้อคิดในเรื่องต่าง ๆ เช่น วรณุ ชาดกใหข้ อ้ คดิ เรอื่ งการเรยี งลา� ดบั ความสา� คญั ของงาน วานรนิ ทชาดก ใหข้ อ้ คดิ เรื่องคุณธรรม 4 ประการ คือ สจั จะ ทมะ ธิติ และจาคะ

14 หนังสอื เ​รยี นรายวชิ าพื้นฐาน สังคมศึกษา​ฯ ป.  2 กิจกรรมเสนอแนะ 1. ศึกษาเอกลักษณ์ของชาติไทยท่ีเกิดจากพระพุทธศาสนา รวบรวม ข้อมลู แล้วนำ� มาเรยี นรูร้ ว่ มกนั หนา้ ชน้ั เรยี น 2. แบ่งกลุ่มนักเรียนตามความเหมาะสม แต่ละกลุ่มรวบรวมภาพ พุทธประวัติ แล้วน�ำมาจัดป้ายนิเทศเก่ียวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ กลมุ่ ละ 1 เหตุการณพ์ ร้อมตกแต่งให้สวยงาม การประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำ�วนั 1. ถ้าต้องการปฏิบัติตนเก่ียวกับประเพณีและวัฒนธรรมท่ีเกิดจาก การนบั ถอื พระพทุ ธศาสนา นกั เรียนควรปฏบิ ตั ติ นอยา่ งไร 2. นักเรียนจะน�ำข้อคิดจากพุทธประวัติและชาดกไปปฏิบัติในชีวิต ประจำ� วันอยา่ งไร คำ�ถามทบทวน 1. ประเทศไทยได้ชื่อว่า สยามเมืองยิ้ม ในสายตาของชาวต่างชาติ เพราะคนไทยมีลักษณะนิสยั อยา่ งไร 2. การศึกษาพุทธประวตั มิ ีประโยชนต์ ่อผทู้ ่ศี กึ ษาอย่างไร 3. เจา้ ชายสทิ ธตั ถะมีคณุ ลักษณะแตกต่างจากคนทว่ั ไปอย่างไร 4. ชายหนุ่มผู้เกียจคร้านในวรุณชาดกได้รับผลจากการกระท�ำของตน อย่างไร 5. ท�ำไมพญาลิงในวานรินทชาดกจึงรอดพ้นจากการเป็นอาหารของ จระเข้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook