Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมายแรงงาน

กฎหมายแรงงาน

Published by winundar, 2022-06-10 16:56:35

Description: กฎหมายแรงงาน

Search

Read the Text Version

สัญญาจ้า งแรงงาน กฎหมายแรงงาน นำเสนอ คุณครูมะลิวัลย์ ชูเกียรติศิริ จัดทำโดย นางสาววินันท์ดา รอดทอง ม.5/4-1 เลขที่ 1

กฎหมายแรงงานคืออะไร ? ความหมาย ! กฎหมายคุ้มครองแรงงาน หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่ากฎหมายแรงงาน คือ กฎหมายที่บัญญัติ ถึงสิทธิและหน้าที่ของนายจ้าง ลูกจ้างองค์การของนายจ้าง และองค์กรของลูกจ้าง รวมทั้ง มาตรการที่กำหนด ให้นายจ้าง ลูกจ้าง และ องค์กรดังกล่าวต้องปฏิบัติต่อกันและรัฐ ทั้งนี้เพื่อ ให้การจ้างงาน และการใช้งาน การประกอบกิจการ และ ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและ ลูกจ้างเป็นไปโดยเหมาะสม ต่างได้รับประโยชน์ตามสมควร

สัญญาการจ้างงาน การทำสัญญาการจ้างงาน สัญญาการจ้างงานตามกฎหมายแรงงาน คือ สัญญาการตกลงว่าจ้างงานระหว่างนายจ้างกับ ลูกจ้าง ซึ่งการตกลงด้วยวาจาหากทั้งสองฝ่ายยอมรับแล้วก็ถือเป็นสัญญาจ้างงานแล้ว และเมื่อ ลูกจ้างลงมือทำงานให้นายจ้างแล้วก็ถือว่าสัญญาเป็นอันสมบูรณ์ แต่เพื่อป้องกันข้อยุ่งยากในภาย หลังนายจ้างควรจะทำเป็นหนังสือสัญญาจ้างงาน ซึ่งระบุถึงรายละเอียดการทำงาน กฏระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ในขณะปฏิบัติงาน ซึ่งจะต้องไม่ขัดกับกฎหมายคุ้มครองแรงงานมิเช่นนั้นจะถือว่า สัญญานั้นเป็นโมฆะ โดยสัญญาจ้างงานนั้นจะมีผลตลอดอายุการทำงานของลูกจ้าง ยกเว้นกรณีที่ เป็นสัญญาจ้างชั่วคราวที่ระบุระยะเวลาทำงานที่แน่นอน จะมีผลสิ้นสุดตามระยะเวลาที่ระบุไว้

สัญญาการจ้างงาน การกำหนดระยะเวลาการทำงาน และการพักผ่อนระหว่างงานของลูกจ้าง ตามกฏหมายแรงงานกำหนดเอาไว้ว่างาน งานที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกาย ด้านพาณิชกรรม หรืองานอื่น ๆ ทั่วไประยะ ตามที่กระทรวงมหาดไทยได้กำหนดไว้ ต้อง เวลาในการทำงานวันละไม่เกิน 9 ชั่วโมง แต่ ไม่เกินสัปดาห์ละ 42 ชั่วโมง สัปดาห์หนึ่งไม่เกิน 48 ชั่วโมง ลูกจ้างต้องมีเวลาพักอย่างน้อย 1 ชั่วโมง งานด้านอุตสาหกรรมไม่เกินสัปดาห์ละ 48 ภายหลังจากที่เริ่มทำงานไปแล้วไม่เกิน 5 ชั่วโมง ชั่วโมง งานขนส่งไม่เกินวันละ 8 ชั่วโมง

สัญญาการจ้างงาน การกำหนดวันหยุดและค่าทำงานในวันหยุด ใน 1 สัปดาห์ต้องมีวันหยุดอย่างน้อย 1 วัน โดยวันหยุดต้องห่างกันไม่เกิน 6 วัน ใน 1 ปีลูกจ้างมีสิทธิหยุดตามประเพณีไม่น้อยกว่า 13 วัน ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันเป็นระยะเวลา 1 ปีมีสิทธิลาพักร้อนได้อย่างน้อย 6 วัน

สัญญาการจ้างงาน การทำงานล่วงเวลาและค่าทำงานล่วงเวลา ค่าล่วงเวลา : ลูกจ้างที่ทำงานในช่วงเวลาทำงานในวันจันทร์ – ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 17.30 / 18.00 น. (เวลาหลังเลิกงานที่แต่ละบริษัทกำหนด) เป็นต้นไป จะได้รับค่าจ้างจำนวน 1.5 เท่าของค่าจ้างเป็น รายชั่วโมง ค่าทำงานในวันหยุด : ลูกจ้างที่ทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์ หรือวันหยุดนักขัตฤกษ์ 0-8 ชั่วโมง แรก (ไม่รวมเวลาพัก 1 ชั่วโมง) จะได้รับค่าจ้างจำนวน 1 เท่าของค่าจ้างเป็นรายชั่วโมง ค่าล่วงเวลาในวันหยุด : ลูกจ้างที่ทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์ หรือวันหยุดนักขัตฤกษ์ ตั้งแต่ ชั่วโมงที่ 9 เป็นต้นไป (ไม่รวมเวลาพัก 1 ชั่วโมง) จะได้รับค่าจ้างจำนวน 3 เท่าของค่าจ้างเป็นราย ชั่วโมง

สัญญาการจ้างงาน กำหนดหลักการลาของลูกจ้าง ลูกจ้างมีสิทธิลาป่วยได้ ไม่เกิน 30 วัน โดยได้รับ ลูกจ้างมีสิทธิทำหมันและหยุดทำงานได้ตามคำ ค่าจ้างตามปกติ และหากการลาป่วยนั้นเกินกว่า วินิจฉัยของแพทย์ โดยได้รับค่าจ้างตามปกติ 3 วันนายจ้างมีสิทธิขอดูใบรับรองแพทย์จาก ลูกจ้างสามารถลากิจ เพื่อกิจธุระอันจำเป็น โดย ลูกจ้าง หากลูกจ้างไม่สามารถแสดงใบรับรอง ได้รับค่าจ้างตามปกติ แพทย์ได้ ลูกจ้างสามารถแจ้งเป็นกรณีไป ลูกจ้างที่แจ้งลาเพื่อรับราชการทหาร ไม่เกินปี ลูกจ้างที่ตั้งครรภ์สามารถลาคลอดได้ไม่เกิน 90 ละ 60 วัน โดยได้รับค่าจ้างตามปกติ วัน โดยได้รับค่าจ้างตามปกติ 45 วันและจากรับ ลูกจ้างที่แจ้งลาเพื่อฝึกอบรม สามารถทำได้ โดย จากประกันสังคมอีก 45 วัน หากลูกจ้างมา การจ่ายค่าจ้างจะเป็นไปตามเงื่อนไขที่บริษัท ทำงานก่อนกำหนดลาคลอด 90 วันในวันที่มา กำหนด ทำงานนั้นให้จ่ายค่าจ้างตามจำนวนวันที่มา ทำงาน

สัญญาการจ้างงาน สิทธิในการได้รับการคุ้มครองแรงงาน เป็นสิทธิพื้นฐานที่กระทรวงแรงงานระบุไว้เพื่อช่วยเหลือลูกจ้างตามกฏหมาย หากนายจ้างทำ ละเมิดสัญญาจ้างงานหรือขัดกับกฏหมาย รัฐสามารถแทรกแซงเอกชนเพื่อให้ความเป็นธรรมแก่ ลูกจ้างได้ ซึ่งเป็นการกำหนดอัตราการจ้างงานขั้นต่ำ ซึ่งในแต่ละพื้นที่นั้นมีอัตราการจ้างงานขั้น ต่ำที่แตกต่างกันไป สิ่งที่นายจ้างต้องทราบคือ นายจ้างไม่สามารถจ่ายค่าจ้างน้อยกว่าอัตราค่า จ้างขั้นต่ำที่กำหนดไว้ได้โดยเด็ดขาด ยกเว้น ลูกจ้างอยู่ในช่วงทดลองงาน แต่ต้องแจ้งให้ลูกจ้าง ทราบถึงอัตราค่าจ้างในระหว่างทดลองนี้เป็นลายลักษณ์อักษรด้วย

สัญญาการจ้างงาน การจ่ายเงินทดแทนให้แก่ลูกจ้าง กรณีลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาลเท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็นไม่เกิน 50,000 บาท และถ้าในกรณีที่ลูกจ้างเป็นผู้ป่วยใน มีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าห้อง ค่า อาหาร ค่าบริการพยาบาลและค่าบริการทั่วไป ให้นายจ้างจ่ายค่าใช้จ่ายดังกล่าว เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินวันละ 1,300 บาท กรณีทุพพลภาพเนื่องจากการทำงาน ลูกจ้างจะได้รับค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทนจำนวน 60% ของค่าจ้างราย เดือน ในกรณีไม่สามารถทำงานได้เกิน 3 วัน และค่าทดแทน 60% ของค่าจ้างรายเดือน กรณีทุพพลภาพเป็น เวลาไม่เกิน 15 ปี และหากจำเป็นต้องได้รับการฟื้ นฟูสมรรถภาพ จะได้รับค่าฟื้ นฟูสมรรถภาพด้วย กรณีตายหรือสูญหายจากการทำงาน เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 120 วันนับแต่วันที่เกิดเหตุ สิทธิที่ลูกจ้างจะได้ รับ คือ ค่าทำศพ จำนวน 100 เท่าของอัตราสูงสุดของค่าจ้างขั้นต่ำรายวัน ค่าทดแทนของค่าจ้างรายเดือนใน อัตรา 60% ของค่าจ้างรายเดือน มีกำหนด 8 ปี (จ่ายให้แก่ผู้มีสิทธิตามที่กฎหมายกำหนด

บรรณานุกรม JobDB. (2564). กฎหมายแรงงานที่ผู้ประกอบการมือใหม่ควรรู้. สืบค้น 28 พฤษภาคม 2565, จาก https://shorturl.asia/Ppy8D HR NOTE.asia. (2562). พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ เพิ่มสิทธิ ประโยชน์อะไรให้แก่ลูกจ้างบ้าง. สืบค้น 28 พฤษภาคม 2565, จาก https://th.hrnote.asia/personnel-management/190515- newlaborprotection/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook