Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิเคราะห์คุณค่านิราศภูเขาทอง

วิเคราะห์คุณค่านิราศภูเขาทอง

Published by Phornthip L., 2021-08-15 11:57:45

Description: วิเคราะห์คุณค่านิราศภูเขาทอง

Search

Read the Text Version

วเิ คราะห์คุณคา่ นิราศภเู ขาทอง วชิ าภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ โดย ครพู รทพิ ย์ ลาจนั ทึก

นริ าศภเู ขาทอง นริ าศ เป็นวรรณกรรมทน่ี ิยมแต่งมาตงั้ แตส่ มัยอยุธยา เดิมนยิ มแต่งเป็นโคลง ตอ่ มาในสมัยรตั นโกสนิ ทร์นยิ ม แตง่ เป็นกลอน ลกั ษณะเด่นของนิราศอย่ทู ี่ “การพรากจาก คนรัก” ซึง่ อาจจะจากกันจรงิ หรอื สมมตขิ ึ้นก็ได้ และมี “การคร่าครวญ” รวมท้ัง “การเดนิ ทาง”

เจดยี ภ์ เู ขาทอง ตั้งอยู่ในวดั ภเู ขาทองเปน็ วัดโบราณในจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ซึง่ เกี่ยวข้องกับวรรณคดนี ิราศท่ีมี ชื่อเสียงของสนุ ทรภกู่ ค็ ือ นิราศภูเขาทอง

ที่มาและจุดประสงคใ์ นการแตง่ นิราศภเู ขาทอง สนุ ทรภ่แู ต่งเรอื่ งนริ าศภเู ขาทองเม่อื ปี ๒๓๗๓ หลังจาก ที่พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั เสดจ็ สวรรคตไป แล้ว ๖ ปี (สวรรคตปี ๒๓๖๗) เพื่อเล่าเร่อื งการเดินทาง จากวดั ราชบุรณะหรือวดั เลียบไปนมสั การพระเจดียภ์ ูเขาทอง ที่จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยาหลงั จากออกพรรษาแลว้ (ท่มี า กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๕๔: ๑๓)

สนุ ทรภู่ นามเดิม ภู่ ประวตั ิสนุ ทรภู่ เกดิ ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช วนั ที่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๓๒๙ เรยี นหนงั สอื กับพระในสา่ นกั วดั ชีปะขาว ปจั จุบัน คือ วดั ศรสี ุดาราม อยู่ริมคลองบางกอกนอ้ ย

ประวัตสิ ุนทรภู่ สนุ ทรภกู่ ไ็ ด้เข้ารบั ราชการ กบั พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้า นภาลยั (รชั กาลที่ ๒) เป็นท่ีโปรดปราน มากจนไดร้ ับการแต่งตั้งให้เป็น ขนุ สนุ ทรโวหาร

ประวตั ิสนุ ทรภู่ ในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว (รชั กาลท่ี ๔) กโ็ ปรดเกลา้ ใหส้ นุ ทรภู่เขา้ รับราชการเปน็ เจ้ากรมอาลกั ษณ์ มบี รรดาศกั ด์ิเปน็ พระสุนทรโวหาร รบั ราชการเพียง ๕ ปี กถ็ งึ แก่กรรม พ.ศ. ๒๓๙๘ รวมอายไุ ด้ ๖๙ ปี

ประวัตสิ นุ ทรภู่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ในโอกาสครบรอบ วันเกดิ ๒๐๐ ปีของสุนทรภู่ องค์การ ยูเนสโกไดป้ ระกาศให้สนุ ทรภูเ่ ปน็ บุคคล ส่าคญั ของโลกทางดา้ นวรรณกรรม

ลกั ษณะค่าประพนั ธ์ นิราศภูเขาทอง แต่งด้วยคา่ ประพันธป์ ระเภทกลอน นริ าศ มีลักษณะคล้ายกลอนสภุ าพ แตกต่างกันท่ีกลอน นิราศจะขนึ้ ต้นด้วยวรรคท่ีสอง แลว้ แต่งไปเร่ือยๆ จนจบบท วรรคสุดทา้ ยจะลงท้ายดว้ ยคา่ วา่ “เอย”

แผนผงั และตัวอยา่ งกลอนนริ าศ รบั กฐินภญิ โญโมทนา เดอื นสิบเอด็ เสรจ็ ธุระพระวสา ..................................... ชลุ ลี าลงเรือเหลอื อาลยั จงรบั ทราบความจรงิ ทกุ สง่ิ สน้ิ ........................................ นกั เลงกลอนนอนเปลา่ กเ็ ศร้าใจ อย่านึกนนิ ทาแถลงแหนงไฉน จงึ ร่าไรเรอ่ื งร้างเลน่ บา้ งเอย

นริ าศภูเขาทอง เป็นนริ าศเรอ่ื งที่ส้ันท่ีสดุ ของสนุ ทรภู่ เร่ิมเร่อื งดว้ ย พูดถึงสาเหตทุ ี่ต้องออกจากวัดราชบรู ณะและ การเดินทางโดยเรอื พร้อมหนูพดั ซึง่ เป็นบุตรชาย ล่องไป ตามล่าน่้าเจ้าพระยาผา่ น พระบรมมหาราชวงั วดั ประโคน ปัก ผา่ นโรงเหลา้ บางจาก บางพลู บางพลัด บางโพ บ้าน ญวน วดั เขมา ตลาดแกว้ ตลาดขวัญ บางธรณี เกาะเกร็ด บางพดู บางเดื่อ บางหลวงเชิงราก สามโคก บา้ นง้วิ

เกาะราชคราม จนถงึ กรุงเกา่ เมอ่ื เวลาเยน็ โดยจอดเรือพัก ท่ีท่าน่้าวดั พระเมรุ คร้ันรงุ่ เช้าจึงไป นมัสการเจดียภ์ ูเขา ทอง ส่วนขากลบั สุนทรภู่กล่าวแต่เพียงว่า เมอ่ื ถึงกรุงเทพ ไดจ้ อดเรือเทียบท่ีท่าน้่าหน้าวัดอรุณราชวรารามราช วรมหาวหิ าร

คณุ ค่าของนิราศภเู ขาทอง

๑. คณุ ค่าดา้ นวรรณศลิ ป์ ๑. มสี ัมผัสนอก คอื คา่ สุดท้ายในวรรคสดบั และวรรค รองสง่ สัมผสั กับคา่ ที่ ๓ ในวรรครบั และวรรคส่งเสมอ ส่วนสมั ผสั ในจะมภี ายในวรรคทกุ วรรค ทงั้ สมั ผัสสระและ สมั ผสั อกั ษร ทา่ ให้กลอนมีความไพเราะยง่ิ ขนึ้

\"ดูน่้าวง่ิ กลิ้งเช่ยี วเป็นเกลยี วกรอก กลบั กระฉอกฉาดฉดั ฉวดั เฉวียน บา้ งพลงุ่ พลงุ่ วุ้งวนเหมือนกงเกวยี น ดเู ปลย่ี นเปลี่ยนควา้ งคว้างเป็นหวา่ งวน“ สมั ผสั ในวรรคเชน่ ว่ิง-กลงิ้ , เชยี่ ว-เกลียว, ฉอก-ฉาด-ฉัด-ฉวดั -เฉวียน, พลงุ่ -วงุ้ , ควา้ ง-หวา่ ง

๒. ใช้ถอ้ ยคา่ กระทบใจผอู้ า่ น ท่าให้ผูอ้ า่ นอารมณส์ ะเทอื นใจ รว่ มไปกบั กวี เช่น “ถงึ หนา้ วังดงั หน่ึงใจจะขาด คิดถงึ บาทบพิตรอดิศร โอ้ผา่ นเกลา้ เจ้าประคุณของสนุ ทร แตป่ างก่อนเคยเฝา้ ทุกเชา้ เยน็ พระนิพพานปานประหน่งึ ศีรษะขาด ด้วยไร้ญาตยิ ากแค้นถึงแสนเข็น ท้ังโรคซ้่ากรรมซดั วบิ ัติเป็น ไม่เลง็ เห็นที่ซ่ึงจะพึง่ พา”

๓. การเล่นค่า เลน่ ความ เปน็ กลวธิ ีใช้คา่ พอ้ งรปู พ้อง เสียง พ้องความหมาย การซา่้ คา่ ซ่้าความ ทา่ ให้ได้ ความหมายทลี่ ึกซึง้ กระทบใจ เช่น \"ถงึ บางพลัดพี่พลัดมาขัดเคอื ง ท้งั พลัดเมอื งพลดั สมรมารอ้ นรน\"

๔. การกล่าวเชิงเปรยี บเทียบ (อุปมาอปุ ไมย) ไมก่ ล่าว ตรงไปตรงมา เปน็ ความสามารถในการถ่ายทอดอารมณ์ และความรู้สกึ ของกวี เช่น การเปรียบเทียบดอกบัวกับดาว ที่พรา่ งพราว

๕. การใชค้ ่าเพ่ือสรา้ งจนิ ตภาพ เปน็ การพรรณนาความ ดว้ ยถ้อยคา่ ที่เรียบง่ายแตเ่ ห็นความชดั เจน เชน่ จนแจ่มแจง้ แสงตะวันเห็นพนั ธผ์ุ กั ดูนา่ รักบรรจงส่งเกสร เหลา่ บวั เผอ่ื นแลสล้างรมิ ทางจร ก้ามกุ้งซ้อนเสยี ดสาหรา่ ยใตค้ งคา

๒. คณุ ค่าด้านเนอื้ หา ๑) สะทอ้ นวถิ ชี วี ิตและวฒั นธรรม นิราศภูเขาทองมเี นื้อหา ที่แสดงใหเ้ ห็นถงึ สภาพบ้านเมือง สังคม วฒั นธรรม และวถิ ี ชวี ิตของผ้คู นริมฝง่ั แม่น่า้ เจ่า้ พระยาในชว่ งสมัยรัตนโกสนิ ทร์ ตอนตน้ เชน่ การตดิ ต่อคา้ ขาย ไปพ้นวดั ทศั นารมิ ทา่ น่า้ แพประจา่ จอดรายเขาขายของ มแี พรผา้ สารพดั สีมว่ งตอง ทั้งส่ิงของขาวเหลอื งเคร่ืองส่าเภา

๒) ชมุ ชนชาวต่างชาติ การต้ังบ้านเรอื นของชาวตา่ งชาตมิ มี า นานแลว้ จนชาวต่างชาติส่วนใหญก่ ลายเปน็ สว่ นหนงึ่ ของ สงั คมไทย ถึงเกรด็ ย่านบา้ นมอญแต่กอ่ นเก่า ผูห้ ญงิ เกล้ามวยงามตามภาษา เดีย๋ วนม้ี อญถอนไรจุกเหมอื นตุ๊กตา ทั้งผดั หน้าจับเขม่าเหมือนชาวไทย

๓) การละเล่นและงานมหรสพ สนุ ทรภู่ไดก้ ล่าวถึง การละเล่นงานมหรสพพืน้ บ้าน ซงึ่ เปน็ ที่นยิ มกัน ในสมัย นั้นและจัดข้ึนในเทศกาลส่าคญั ประจ่าปี เช่น งานฉลอง ผา้ ป่า มาจอดท่าหน้าวัดพระเมรขุ า้ ม รมิ อารามเรือเรยี งเคยี งขนาน บา้ งขึน้ ลอ่ งรอ้ งรา่ เล่นสา่ ราญ ทง้ั เพลงการเก้ยี วแกก้ ันแซ่เซง็ บา้ งฉลองผา้ ปา่ เสภาขับ ระนาดรัวรัวคล้ายกับนายเส็ง มโี คมรายแลอรา่ มเหมือนสามเพ็ง เม่อื คราวเครง่ กม็ ิใครจ่ ะได้ดู

๔) ตา่ นานสถานท่ี เน้อื หาของนิราศส่วนใหญ่ เป็นการ พรรณนาการเดนิ ทาง ดงั นนั้ เมอื่ กวผี ่านที่ ใดกม็ ักจะ กล่าวถงึ สถานที่นั้น เชน่ วัดประโคนปัก สนุ ทรภู่ไดบ้ อก เล่าเรื่องราวอนั เปน็ ท่ีมาของ ชอ่ื วัดน้ีว่าเหตุท่วี ดั วา่ ประโคน ปัก เน่อื งจากมกี ารเล่าสบื กนั มาว่า บรเิ วณนีเ้ ป็นทีป่ กั เสา ประโคนเพ่ือแบ่งเขตแดน

๕) ความเชอ่ื คนไทย สนุ ทรภู่ไดส้ อดแทรกความเช่ือของ คนไทย ซ่งึ สว่ นใหญม่ ักเกยี่ วเน่ืองในพระพทุ ธศาสนา โดยเฉพาะเรอ่ื ง นรก-สวรรค์ เชน่ ความเช่อื ทว่ี ่าใครคบชู้ คือ ประพฤติตนผดิ ศีลขอ้ ๓ ตามหลกั ศลี ๕ เมือ่ ตายไป ผู้นน้ั จะตกนรก เช่น งิว้ นรกสิบหกองคลุ ีแหลม ดังขวากแซมเส้ยี มแทรกแตกไสว ใครทา่ ชู้คู่ทา่ นคร้นั บรรลัย กต็ อ้ งไปปีนตน้ น่าขนพอง

๖) แงค่ ดิ เกี่ยวกบั ความจริงของชวี ิต บทประพันธ์ของสนุ ทรภู่ มกั ไดร้ บั การยกยอ่ งอยู่เสมอว่ามเี นอ้ื หาท่ีสอดแทรกขอ้ คิด คติการดา่ เนนิ ชวี ติ และช่วยยกระดับจิตใจของผอู้ ่านให้ปฏิบตั ิ ตนไปตามแนวทางที่เหมาะสม เชน่ ทงั้ องค์ฐานรานรา้ วถึงเกา้ แฉก เผยอแยกยอดทรุดก็หลดุ หัก โอเ้ จดียท์ ส่ี ร้างยังร้างรกั เสียดายนกั นึกน่าน้่าตากระเดน็ กระน้ีหรอื ช่อื เสียงเกยี รตยิ ศ จะมหิ มดล่วงหน้าทนั ตาเห็น เปน็ ผู้ดมี ีมากแล้วยากเยน็ คดิ ก็เป็นอนจิ จังเสียทง้ั นนั้

แหล่งอา้ งอิง - https://www.dltv.ac.th/teachplan/episode/10209 - https://aungsuma.wixsite.com/mysite/blank-3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook