Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สีในสื่อสิ่งพิมพ์ 63209010018 (1)

สีในสื่อสิ่งพิมพ์ 63209010018 (1)

Published by ตูน เฉยเฉย., 2021-03-04 03:41:21

Description: สีในสื่อสิ่งพิมพ์ 63209010018 (1)

Search

Read the Text Version

สใี นส่อื ส่งิ พมิ พ์

เริม่ แรกในระบบการพมิ พ์จะใช้ชา่ งศิลป์ ชา่ งทาแม่พมิ พ์ทมี่ ที กั ษะและ ความชานาญในการผลิตส่ือสิ่งพิมพ์เป็นอย่างมาก ซง่ึ ส่ิงพมิ พ์เรมิ่ แรกนัน้ เป็น การแกะสลกั ตัวอักษรลงหิน จากนัน้ ก็เขียนบนผา้ ไหม หนังสตั ว์ จากนัน้ พัฒนาการมาเป็นการเขยี นบนกระดาษโดยในปัจจบุ นั ความก้าวหนา้ ทางด้าน เทคโนโลยคี อมพวิ เตอรใ์ ห้การสรา้ งงานสงิ่ พมิ พ์งา่ ยขึ้นกอ่ นทจ่ี ะเรียนรู้ถงึ กระบวนการทาจะขอกล่าวถงึ ความหมายของสอ่ื สงิ่ พิมพ์ ประเภทของส่ือ สิง่ พิมพ์ ประเภทของโประแกรมทใ่ี ช้ในการผลติ สื่อส่งิ พมิ พ์ กระบวนการผลติ สือ่ สิ่งพิมพ์ การเตรยี มงานพิมพก์ อ่ นส่งโรงพมิ พ์ บทบาทของสิ่งพิมพ์ใน ปจั จบุ นั ความหมายและความสาคญั ของสอื่ สงิ่ พมิ พ์ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานได้ให้ความหมายคาทเี่ กยี่ วกับ “สือ่ สิง่ พิมพ”์ ไวด้ ังน้ี คาว่า “สง่ิ พิมพ์” หมายถึงสมุด แผนกระดาษหรือวตั ถุใด ๆ ท่ี พมิ พ์ขน้ึ รวมตลอดทง้ั บทเพลง แผนท่ี แผนผังภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี ใบ ประกาศ แผ่นเสียง หรอื สิ่งอ่ืนใดอันมีลกั ษณะเชน่ เดยี วกัน “สงิ่ พิมพ”์ หมายถงึ ข้อความ ขอ้ เขียน หรือภาพทีเ่ กี่ยวกับแนวความคิด ข้อมูล สารคดีบนั เทิง ซึ่งถ่ายทอดดว้ ยการพิมพ์ลงบนกระดาษ ฟิล์ม หรือวสั ดพุ น้ื เรียบ “สื่อ” หมายถงึ การตดิ ตอ่ ใหถ้ ึงกันชักนาใหร้ ้จู กั กนั หรอื ตัวกลางที่ทาการตดิ ต่อ ใหถ้ งึ กนั “พิมพ”์ หมายถึง ถา่ ยแบบ ใชเ้ ครือ่ งจักรกดตัวหนงั สอื หรือภาพ ใหต้ ดิ บนวัตถุ เชน่ แผ่นกระดาษ ผา้ ทาให้เป็นตวั หนงั สือ หรอื รูปรอยอยา่ งใด ๆ โดยการกด หรอื การใชพ้ มิ พ์ หินเครือ่ งกลวธิ เี คมหี รอื วิธอี ื่นใด อันอาจใหเ้ กิดเปน็ สงิ่ พิมพข์ ึ้น หลายสาเนา รปู ร่าง ร่างกาย แบบ ดังน้ัน “ ส่อื สิง่ พมิ พ”์ จงึ มคี วามหมายว่าจะเปน็ แผ่นกระดาษหรอื วัตถใุ ด ๆ ดว้ ย วิธีตา่ ง ๆ อนั เกดิ เป็นชน้ิ งานทีม่ ีลกั ษณะเหมือนตน้ ฉบับขน้ึ หลายสาเนา ในปริมาณ มากเพือ่ เป็นสง่ิ ทท่ี าการตดิ ต่อหรือชกั นาใหบ้ ุคคลอ่ืนให้เหน็ หรือทราบข้อมลู ตา่ ง ๆ” สง่ิ พิมพม์ หี ลายชนิด ไดแ้ ก่ เอกสารหนงั ส่อื เรยี น หนงั สือพมิ พ์ นิตยสาร วารสาร บนั ทึก รายงาน ฯลฯ

คานา หนังสอื เรียนวชิ า การผลิตสอื่ สิ่งพมิ พ์ รหัสวิชา 2204-2104 เล่มน้ี เรยี บเรยี งขึ้นเพือ่ ใช้ประกอบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคญั ตาม หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.)พทุ ธศกั ราช 2556 ของสานกั งาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เนือ้ หาของหนังสอื มดี ้วยกันทัง้ หมด 13 หนว่ ยการเรียน ประกอบด้วย ความรู้เกยี่ วกับสอ่ื สง่ิ พมิ พ์การออกแบบและกระบวนการการผลิตสื่อ สง่ิ พมิ พ์ การจดั รปู แบบและจดั หนา้ ส่ือสิ่งพมิ พ์ สีในสือ่ สงิ่ พมิ พ์ ภาพในส่ือ สงิ่ พมิ พ์ การใช้โปรแกรมสาเรจ็ รปู ผลติ สื่อสง่ิ พิมพ์ การสรา้ งไฟลแ์ ละการ จดั ไฟลง์ าน การสรา้ งและตกแตง่ ขอ้ ความ การวาดภาพการนาเขา้ ภาพ การ ทางานกบั วัตถุ การใชง้ านเลเยอร์ และหนา้ มาสเตอร์ พรอ้ มทัง้ เปิด แบบฝกึ หัด ใบงาน และแบบทดสอบก่อนเรียน –หลงั เรียนเพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนได้ ฝึกทักษะในสถานการณ์ต่างๆ มีทักษะการคดิ และแก้ปัญหา และบรู ณาการ ของการทางานตามสาขาอาชพี ตา่ งๆ ต่อไป ผเู้ รียบเรียงและฝ่ายวิชาการ ศูนย์หนังสอื เมอื งไทย หวังอย่างย่งิ ว่า หนังสือเรียนวชิ าการผลิตส่อื ส่งิ พมิ พ์เล่มน้ี จะสามารถใหค้ วามร้แู ละเกิด ประโยชนแ์ ก่ผสู้ อน ผเู้ รียน ตลอดจนผสู้ นใจศึกษาทั่วไปอยา่ งดี หากมี ขอ้ ผดิ พลาดประการใดผูเ้ รียบเรียงและฝ่ายวิชาการ ศูนย์หนังสอื เมอื งไทย ข้อน้อมรับคาตชิ มเพ่ือเป็นประโยชนใ์ นการปรับปรงุ แก้ไขในโอกาสตอ่ ไป

จดุ ประสงคร์ ายวชิ า คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั ความรู้พืน้ ฐานของสือ่ สงิ่ พิมพ์ กระบวนการพิมพ์ การออกแบบส่ือสิง่ พมิ พ์เทคนิคการใชภ้ าพถา่ ยใน สอื่ ส่ิงพิมพ์ และการใชโ้ ปรแกรมผลิตส่ือสงิ่ พิมพ์ จุดประสงคร์ ายวชิ า 1.มคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั การวเิ คราะห์และจาแนก ประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์ 2.มคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับกระบวนการพมิ พ์ 3.มีทกั ษะในการออกแบบส่อื สง่ิ พมิ พแ์ ละจัดองค์ประกอบ ศลิ ปใ์ นสือ่ สิ่งพมิ พ์ 4.ผลติ สอื่ สงิ่ พมิ พด์ ้วยโปรแกรมผลติ ส่อื สง่ิ พิมพ์ 5.มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มทดี่ ีในการใช้ คอมพวิ เตอร์ สมรรถนะรายวชิ า 1.แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั หลกั การพ้นื ฐานของสือ่ สิง่ พิมพ์ 2.การออกแบบสือ่ สิง่ พิมพ์ตามการใชง้ าน 3.ผลติ ส่อื ส่ิงพิมพ์ด้วยโปรแกรมผลติ สื่อสงิ่ พิมพ์

ประวตั สิ อื่ สงิ่ พมิ พ์ หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะไดป้ รากฏบนผนงั ถ้าอัลตามริ า (Altamira) ในสเปนและถ้าลาสควักซ์ (Lascaux) ในฝรง่ั เศส มีผลงานแกะสลกั หนิ แกะสลกั ผนัง ถ้าเป็นรูปสตั ว์ลายเส้นจงึ เป็นหลกั ฐานในการแกะพิมพ์ เปน็ ครั้งแรกของมนษุ ยห์ ลังจากนัน้ ได้มีบคุ คลคิดวธิ กี ารทากระดาษขึ้นมาจนมาเปน็ การพมิ พใ์ นปัจจุบนั นน่ั คอื ไชลนั่ ซึ่งมเี ช้ือสายจีน ชาวจีนได้ผลติ ทาหมึกแท่งซง่ึ เรียกวา่ “บ๊กั ” ประวตั กิ ารพมิ พใ์ นประเทศไทย ในสมัยสมเดจ็ พระนารายมหาราช กรงุ ศรีอยธุ ยา ไดเ้ ร่มิ แตง่ และพมิ พ์ หนังสอื คาสอนทางศาสนาครสิ ตข์ ึน้ และหลงั จากนน้ั หมอบรดั เลยเ์ ข้ามา เมอื งไทย และไดเ้ ริ่มดา้ นงานพมิ พจ์ นสนใจเปน็ ธุรกิจดา้ นการพมิ พ์ ใน เมอื งไทย พ.ศ. 2382 ได้พมิ พ์เอกสารทางราชการเป็นชิ้นแรกคอื หมาย ประกาศห้ามสบู ฝ่ิน ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงโปรดใหจ้ า้ ง พิมพจ์ านวน 9,000 ฉบับ ต่อมาเมือ่ วันท่ี 4 ก.ค. 2387 ไดอ้ อกหนังสอื่ ฉบับ แรกข้นึ คือ บางกอกรคี อร์ดเดอร์ (Bangkok Recorder) เป็นจดหมายเหตุ อย่างส้นั ออกเดือนละ 2 ฉบบั และใน 15 ม.ิ ย. พ.ศ. 2404 ไดพ้ มิ พ์หนังสอื เลม่ ออกจาหน่ายโดยซ้อื ลขิ สิทธิจ์ าก หนังสือนริ าศลอนดอนของหมอ่ มราโชทยั และไดเ้ ริม่ ตน้ การซ้ือขายลิขสิทธ์จิ าหนา่ ยในเมอื งไทย หมอบรดั เลย์ได้ถงึ แก้ กรรมในเมอื งไทย กจิ การการพิมพ์ของไทยจึงได้เริ่งเปน็ ตน้ ของไทย หลงั จาก นั้นใน พ.ศ. 2500 ประเทศไทยจึงนาเครอื่ งพมิ พแ์ บบโรตารี ออฟเซต (Rotary off set) มาใช้เป็นครั้งแรก โรงพมิ พ์ไทยวฒั นาพานิชนาเครื่องหลอ่ เรยี งพมิ พ์ (Monotype) มาใชก้ ับตัวพมิ พ์ภาษาไทยธนาคารแหง่ ประเทศไทย ไดจ้ ดั โรงพิมพธ์ นบตั รในเมอื งไทขึ้นใชเ้ อง

ประเภทของสี สี มีอยทู่ ัว่ ไปในสิง่ แวดลอ้ มรอบๆตัวเรา สีที่ปรากฏอยใู่ น โลกสามารถแบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ คอื 2.1 สีที่เกดิ ในธรรมชาติ มอี ยู่ 2 ชนดิ คอื ก. สที ่เี ปน็ แสง ( Spectrum ) คอื สีทเี่ กดิ จากการหักเห ของแสง เชน่ สีรุ้ง สีจากแทง่ แกว้ ปริซึม ข. สีทีอ่ ย่ใู นวตั ถุ หรอื เนื้อสี ( Pigment ) คอื สที ่ีมอี ยใู่ น วัตถุธรรมชาติท่ัวไป เชน่ สขี องพชื สตั ว์ หรอื แร่ธาตตุ า่ งๆ 2.2 สที ่มี นุษยส์ ร้างขน้ึ คอื สที ีไ่ ดจ้ ากการสังเคราะห์ เพ่ือใช้ ประโยชน์ในงานตา่ งๆ เช่น งานศิลปะ อตุ สาหกรรมการ พาณชิ ย์ และในชีวิตประจาวัน โดยสงั เคราะห์จากวัสดุ ธรรมชาติ และจากสารเคมี ที่เรียกว่า สีวทิ ยาศาสตร์ ซง่ึ สีท่ี ไดจ้ าก การสังเคราะห์สามารถนามาผสมกัน ให้เกิดเป็น สี ต่างๆอกี มากมาย

ความหมายของการเกิดสี คาว่า สี (Colour) ตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน หมายถงึ ลักษณะของแสง ทีป่ รากฏแก่ สายตาเรา ให้เห็นเป็น สขี าว ดา แดง เขยี วฯลฯหรอื การ สะทอ้ นรัศมขี องแสงมาสู่ตาเรา สี ท่ปี รากฏในธรรมชาติ เกิดจากการสะท้อนของแสงสว่าง ตกกระทบ กับวัตถุแล้ว เกดิ การหักเหของแสง ( Spectrum ) สเี ปน็ คลนื่ แสงชนดิ หนึง่ ซึ่งปรากฏใหเ้ หน็ เมื่อแสงผา่ นละอองไอนา้ ในอากาศ หรือ แท่งแกว้ ปริซึม ปรากฏเป็นสตี ่างๆ รวม 7 สี ไดแ้ ก่ สีแดง มว่ ง สม้ เหลอื ง นา้ เงนิ คราม และเขยี ว เรียกว่า สีร้งุ ท่ปี รากฏบน ท้องฟ้า ตามธรรมชาตใิ นแสงนัน้ มีสตี า่ งๆรวมกนั อยู่อยา่ งสมดลุ ย์ เปน็ แสงสีขาวใส เม่อื แสงกระทบ กบั สีของวัตถุ ก็จะ สะทอ้ นสีวัตถนุ นั้ ออกมาเขา้ ตาเรา วัตถสุ ีขาวจะสะท้อนได้ ทุกสี ส่วนวตั ถสุ ีดานั้น จะดูดกลืนแสงไว้ ไมส่ ะทอ้ นสีใด ออกมาเลย

4. จิตวทิ ยาสกี บั ความรสู้ กึ ( Psychology of Colour) ในดา้ นจติ วิทยา สี เปน็ ตัวกระต้นุ ความรู้สึกและมผี ลตอ่ จิตใจ ของมนษุ ย์ สตี า่ งๆจะให้ความรู้สึกท่แี ตกต่างกัน ดงั นน้ั เราจึง มกั ใชส้ เี พื่อสอ่ื ความรสู้ ึกและความหมายตา่ งๆ ได้แก่ •สแี ดง ให้ความรสู้ ึกเร่ารอ้ น รนุ แรง อันตราย ต่นื เตน้ •สเี หลอื ง ใหค้ วามรสู้ ึก สวา่ ง อบอุ่น แจม่ แจง้ รา่ เรงิ ศรทั ธา มงั่ คัง่ •สีเขียว ให้ความรสู้ กึ สดใส สดชื่น เย็น ปลอดภยั สบายตา มงุ่ หวงั •สฟี ้า ให้ความรู้สกึ ปลอดโปล่ง แจม่ ใส กว้าง ปราดเปรอื่ ง •สมี ว่ ง ให้ความรู้สกึ เศร้า หม่นหมอง ลกึ ลบั •สดี า ใหค้ วามรู้สกึ มดื มิด เศร้า น่ากลวั หนักแน่น •สีขาว ให้ความรู้สกึ บริสุทธิ์ ผุดผอ่ ง ว่างเปล่า จดื ชดื •สแี สด ให้ความรูส้ กึ สดใส ร้อนแรง เจิดจ้า มีพลัง อานาจ •สีเทา ใหค้ วามรูส้ ึก เศรา้ เงียบขรึม สงบ แก่ชรา •สนี า้ เงนิ ใหค้ วามรูส้ กึ เงียบขรมึ สงบสขุ จรงิ จงั มีสมาธิ •สนี ้าตาล ให้ความรูส้ ึก แหง้ แลง้ ไม่สดชื่น น่าเบ่อื •สชี มพู ใหค้ วามร้สู ึก อ่อนหวาน เปน็ ผหู้ ญิง ประณีต รา่ เริง •สที อง ใหค้ วามรูส้ ึก ม่งั ค่ัง อุดมสมบรู ณ์

5. คณุ ลักษณะของสี (Characteristics of Colours) ในงานศลิ ปะ สี นบั เป็นองคป์ ระกอบพ้ืนฐานทม่ี ีความสาคญั มาก โดยเฉพาะในงานจิตรกรรม สถี อื เปน็ ปัจจยั สาคญั ทชี่ ่วยให้ศลิ ปนิ สามารถสร้างสรรค์ผลงานไดต้ ามเจตนารมณ์ ซงึ่ คุณลกั ษณะของ สีในงานศลิ ปะที่ต้องนามาพิจารณามอี ยู่ 3 ประการ คือ 5.1 สีแท้ (Hue) หมายถึง ความเป็นสนี น้ั ๆ ท่ีมไิ ดม้ กี ารผสมให้เข้มขนึ้ หรอื จางลง สแี ทเ้ ป็นสใี นวงจรสี เชน่ สีแดง น้าเงนิ เหลือง สม้ เขียว มว่ ง ฯลฯ 5.2 น้าหนกั ของสี ( Value) หมายถึง คา่ ความออ่ นแก่ หรอื ความสวา่ ง และความมดื ของสี โดยแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ 5.2.1 สแี ทถ้ กู ทาใหอ้ ่อนลงโดยผสมสีขาว เรยี กวา่ สีนวล (Tint) 5.2.2 สีแทถ้ กู ทาใหเ้ ข้มข้นึ โดยผสมสีดา เรียกว่า สคี ลา้ (Shade) 5.3 ความจดั หรือความเขม้ ของสี (Intensity) หมายถึง ความสดหรือความ บริสทุ ธ์ิของสี ๆ หนง่ึ ทมี่ ไิ ดถ้ ูกผสมให้สีหมน่ หรอื ออ่ นลง หากสีน้ันอยู่ ท่ามกลางสที ีม่ นี า้ หนักต่างค่ากนั จะเหน็ สภาพสีแท้สดใสมากขึน้ เชน่ วงกลม สีแดง บนพน้ื สนี ้าเงินอมเทา

6. หน้าทขี่ องสี สีมีคณุ ประโยชน์ตอ่ โลก และ มนษุ ย์เรารูจ้ ักการใชส้ ีมาช้านาน 6.1 สีท่ีมอี ยู่ในธรรมชาติ เป็นปรากฏการณท์ ีธ่ รรมชาติสร้างขน้ึ มาเพอื่ แสดงถงึ ความเปน็ ไป ของส่ิงท่มี ีอยบู่ นโลก ซง่ึ สีจะเปน็ ตัวบง่ บอก สิ่งตา่ งๆ ได้แก่ - ความเปลีย่ นแปลง หรอื ววิ ฒั นาการ ของธรรมชาติ หรอื วตั ถธุ าตุ เมือ่ กาลเวลาเปล่ยี นไป สีอาจกลายสภาพจากสหี นึง่ ไปเปน็ อกี สีหนงึ่ เชน่ การ เปลีย่ นสขี องใบไม้ - ความแตกตา่ งของชนดิ หรอื ประเภทของวตั ถุธาตุ ได้แก่ สขี องอญั มณี เชน่ แรไ่ พลนิ มีสีนา้ เงิน แรม่ รกตมีสีเขียว แร่ทับทิมมสี ีแดง เป็นต้น - แบง่ แยกเผา่ พันธ์ขุ องส่งิ มีชวี ติ ได้แก่ สผี ิวของมนุษย์ท่ตี ่างกัน เชน่ คนยุโรป ผวิ ขาว คนเอเซยี ผวิ เหลอื ง และคนอาฟริกนั ผิวดา ดอกไม้ หรอื แมลงมีสีหลากสี ข้ึนอยู่กับชนดิ และเผา่ พันธุข์ องมัน 6.2 สใี นงานศลิ ปะ ทาหน้าท่ี เปน็ องค์ประกอบสาคญั ทท่ี าให้งานศลิ ปะช้นิ นน้ั มี คณุ คา่ ทางสนุ ทรยี ะ หน้าทหี่ ลักของสใี นงานศิลปะ คอื - ใหค้ วามแตกต่างระหว่างรูปกับพ้ืน หรอื รูปทรงกบั ทีว่ า่ ง - ใหค้ วามรู้สกึ เคลื่อนไหวดว้ ยการนาสายตาของผู้ดบู ริเวณทสี่ ตี ดั กันจะดงึ ดูด ความสนใจ - ให้ความเป็นมติ ิแกร่ ูปทรง และภาพด้วยนา้ หนักของสีท่ีตา่ งกัน - ใหอ้ ารมณ์ความรู้สึกได้ด้วยตัวมันเอง 6.3 ในดา้ นกายภาพ สมี กั นามาใชเ้ พอื่ ส่งผลตอ่ อุณหภูมิ เช่น สีดา จะดูดความรอ้ น ได้มากกวา่ สขี าว และด้านความปลอดภยั สีที่สว่างจะช่วยในเรอื่ งความปลอดภยั ได้ ดกี ว่าสมี ืด ทฤษฎสี ี ( Theory of Colour)

มนษุ ย์เราได้มกี ารศึกษาค้นคว้า และทดลองเกี่ยวกับสมี านานแลว้ เพอ่ื ค้นหาคุณสมบตั ทิ ่แี ท้จริง เพอ่ื นาสีมาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนส์ งู สุด เร่มิ ต้นจาก เมอ่ื ประมาณปี ค.ศ. 1731 เจ ซี ลี โบลน (J.C.Le Blon) ไดท้ าการศึกษาวเิ คราะห์ธรรมชาตหิ รือคุณ ลักษณะเฉพาะของสี และได้กาหนดสขี ้ันต้นเปน็ แดง เหลือง และนา้ เงนิ แล้วนาสีทั้งสามมาจับคู่ผสมซง่ึ กันและกัน ทาให้เกดิ สตี ่างๆอกี มากมาย (โกสมุ สายใจ, 2540) การค้นพบคณุ สมบัติเกยี่ วกบั สีนี้ ไดถ้ ูก กาหนดเปน็ \"ทฤษฎีสี\" ขึน้ มา และต่อมาได้มีผ้นู าหลกั ทฤษฎสี ี น้ีไป ศึกษา คน้ ควา้ ต่อ และได้คน้ พบคณุ สมบัติของสอี กี หลายประการด้วยกนั ซึ่งความรเู้ ก่ยี วกับทฤษฎสี ี สามารถนามาประยุกต์ใชใ้ ห้ เกดิ ประโยชน์ใน งานด้านตา่ งๆไดอ้ ีกมากมายตามมา 1. วงจรสี (Colour Wheel) วงจรสี คอื สีท่ีเกดิ จากการผสมกนั เป็นคู่ เริ่มต้ังแต่ แมส่ ี 3 สี แลว้ เกิด เปน็ สใี หม่ขึน้ มา จนครบวงจร จะไดส้ ีทั้งหมด 12 สี ซ่ึงแบง่ สเี ป็น 3 ข้นั คือ 1.1 สีข้ันที่ 1 (Primary Colours) คอื แม่สี 3สี ได้แก่ สีแดง เหลอื ง และน้าเงิน 1.2 สีข้ันที่ 2 (Secondary Colours) คอื สีท่เี กดิ จากการผสมกนั เปน็ คูๆ่ ระหวา่ งแมส่ ี 3 สี จะ ได้สเี พิม่ ข้ึนอีก 3สี 1.3 สีขน้ั ที่ 3 (Tertiary Colours) คือ สที เ่ี กิดจากการผสมกนั เปน็ คู่ๆ ระหวา่ งแมส่ ี 3 สี กับสขี นั้ ท่ี 2 จะได้สเี พิ่มข้นึ อกี 6สี

1.4 สกี ลาง (Neutral Colour) คือ สที ี่เกดิ การผสมสที ุกสี ในวงจรสี หรือ แม่ สี 3สี ผสมกนั จะได้สเี ทาแก่ สีทั้ง 3ขัน้ เมื่อนามาจัดอยู่เป็นวงจรจะได้ลกั ษณะเปน็ วงลอ้ สี 2. วรรณะของสี (Tone of Colour) วรรณะสี คือ ความแตกต่างของสีแตล่ ะกลุ่ม ในวงจรสโี ดยแบง่ ตามความร้สู กึ ดา้ นอุณหภูมิ โดยแบง่ ออกเปน็ 2 วรรณะ คอื 2.1 สวี รรณะรอ้ น (Warm Tone) ประกอบดว้ ยสเี หลอื ง, สม้ เหลือง, ส้ม , สม้ แดง, แดง และม่วงแดง 2.2 สวี รรณะเยน็ (Cool Tone) ประกอบด้วยสีม่วง, มว่ งน้าเงนิ , น้าเงิน , เขยี วนา้ เงิน,เขียวและเขยี วเหลอื ง 3. สีตรงข้าม (Comprementary Colour) สตี รงข้าม หมายถงึ สีทอี่ ยูใ่ นตาแหน่งตรงขา้ มกนั ในวงจรสี และมีการตดั กัน อยา่ งเด่นชัดซงึ่ จะให้ความรู้สึกทีข่ ัดแย้งกัน หากนามาผสมกันจะไดส้ กี ลาง (เทา) ซ่ึงมที ้งั หมด 6คู่ ไดแ้ ก่ - สเี หลือง ตรงข้ามกบั สมี ่วง - สีแดง ตรงขา้ มกบั สเี ขียว - สนี ้าเงิน ตรงขา้ มกบั สสี ้ม - สเี ขียวเหลอื ง ตรงข้ามกบั สีมว่ งแดง - สีส้มแดง ตรงขา้ มกับ สีเขียวนา้ เงิน - สมี ว่ งน้าเงิน ตรงขา้ มกับ สีส้มเหลือง

4. สีข้างเคยี ง ( Analogous Colour) สขี ้างเคียง หมายถึง สที อ่ี ยู่เคียงข้างกนั ทั้งซ้ายและขวาในวงจรสี มคี วาม คล้ายคลงึ กันหากนามาจดั อยู่ดว้ ยกันจะมีความกลมกลนื กัน หากอยู่หา่ งกันมาก เท่าใดความกลมกลนื ก็จะยิ่งนอ้ ยลงความขดั แยง้ ก็จะมีมากขน้ึ สว่ นใหญจ่ ะเป็น สี ในวรรณะเดยี วกัน (ภาพท่ี 6) สขี า้ งเคียงได้แก่ - สีแดง - ส้มแดง - สม้ หรือ ม่วงแดง -แดง - ส้มแดง - สีสม้ เหลือง - เหลอื ง - เขยี วเหลอื ง หรอื ส้มแดง - ส้ม - สม้ เหลือง - สเี ขียว - เขยี วนา้ เงิน - น้าเงนิ หรือ เขียวนา้ เงนิ - เขียว - เขยี ว เหลือง - สีม่วงนา้ เงิน - ม่วง - มว่ งแดง หรือ ม่วงนา้ เงิน- นา้ เงิน - เขยี วน้า เงนิ

ประวตั คิ วามเปน็ มาของสี ปเปสรปมสแเกลวสตสพสเจตสสทปกช่าะา่ีีีี้ีวงีมาขดบขธอ่่าาีล้ยรรอีย่า็นหกนาบาพนงงราัยยะะะนงาตใงววๆๆตสวโเวรขสในฟยู่.ชทกผจศทดอห21หม่ัาดตีต้ม้สในีดผา่อ้่ััาวงสสน.นน.งย.ไศนญมจิีศม่ใชาาไยหนไนมีีดดังสนใธปมส2ุาปิงษสตสึกาค่เา1ัปวชงถ่นิานีรธตๆก้ปส4เีสลีทบ5จกม้ย้นัถดกา้ปิรยรรแเิา่6วตา็นีน่ีรน0มเ์เ(คา้็อเชะมเรมรนสชนดยร5Rอรรสป่เนเน0ุวดวม้เาชีเิ่เมใขคงใผา์มOใีแัขต้็ุหาขนษน-ราหชีภยนคมมรีนยฝจีเCยเิดตศธาลส4แปยญานรท่ืยรอีากังันงานตางิKาืี0มอทพ์ล่ืสอร้ัจง็สงนหวาผห่แนภสิภงา0ี่ะะแเรงเาปีรีปสนวินนลีกเาตขนPใาเสสก้า0สใรมั้าันดชยทอพีัย้งวิพดAชารงีเีธเกีมข้เ่ือบดกุตโหกก้ขนสมศห์ขบขIปเรปอรพาปพNมิานนึ้นาน้ึาีนลตาสลรน็นงปรีญบรม่ีไาจั้รเพืนTอีเั้ทมงาเรผถสทผพคอไบปวาาแงยจจ้ืุ้นIงชี่มโฟีนแสยางัะ้กดนNใ.นด็นกนาะสตผศีชาันธจงยยตคตมGิยผนีสบื่อ่ไสิหว.ถหกรีนสก2าด่แีาิสวไคมนน)เุเรมรรร้ารมงดมอสง5้คา้คีสตีันัยา้งััมยบมือไเๆี้ัอเคยมีย1รอ้้มแนถม่กรหรกชกศจเ0กโสาื่ตเองุทข่ิา้่ื้มพล็ออา่อินบ่หอาิลกใเมงสิีใยใรตัยะงยกนปบนนใสรตนปนกปัียเงทนสหิู่ธใตส็ายกนลีทปุกกวอาเห้ันนสเีภกาามณพัมวุืาคอ่ชาก่ี่าาเารุรตโนดว็เา่ข2รแห่นชัิยดรรงวขนระนพืองพิั้ีงนียาเหพทลเมณวไปห้ีพ้ัจนเข่ืรอแขตปเดนสัตปิะึนกัังยีายมรผง์ีททบยเติอ้ีสขรยเงิกศ็ชนจใทชะแูนาปนี่ี่ทเจ่่ือสนะานุา่คน่ัาวีดสนากตลอล็ะภรนเง่ีปมๆงัทตแสโีเเิดภ้นงะนาตแวลาหสเพัดยรติเ่ีศตลอยทขขจสาพ่ปอสหีแคิละนกียสึ้ะาีรน่ยยามคพีคทมเเง็นะืื่ออดอทหสงี์คงุนเพทธารืออบ่ีไเามองชๆนงตี่รอรยใขด้ัจงียศกาใาภ4เีงชทือีาื่ยรนแชา้ะคทปงสฝ็ตค้ธาจม์ั้ห้ใงหมนเๆรส้สนีิ็นยตนรพิร้แนนอะกกีินหินบกีภเี่ัง้รพ้าอมยราเพสราด็นคขลทนขนเาตมูวมปี์อกบรมบศียาาียพืักอาัี่ตบผสาชผาเทลัตยมวสอวมนขฐลาเีย้ขนถา้าใา่ีห้ัางขีสแกียตาาสอนชุัุยงีคแยิีนดบซนลน้ทิีงถืนอต่ึงาดะสาา้ ่ี ตลอดจนสีของ ดอกไม้ ต้นไม้ พื้นดิน ท้องฟ้า นา้ ทะเล สีที่มนุษย์สร้างข้ึน หรือได้สังเคราะห์ข้ึน เช่น สีวิทยาศาสตร์ มนุษย์ได้ ทดลองจากแสงต่างๆ เช่น ไฟฟ้า นามาผสมโดยการทอแสง โปทรระทสัศานนก์ กันารนตามกาแใตช้่ปงสรถะโายนชทน่ี ์ในด้านการละคร การจัดฉากเวที แม่สี (PRIMARIES) สีต่างๆนั้นมีอยู่มากมายแหล่งกาเนิดของสีและ วิธีการผสมของสีตลอดจนรู้สึกท่ีมีต่อสีของมนุษย์แต่ละกลุ่มย่อมไม่ เหมือนกัน สตี ่างๆท่ปี รากฎนัน้ ย่อมเกิดข้นึ จากแม่สีในลักษณะท่ีแตกตา่ ง กันตามชนิดและประเภทของสนี ั้น แมส่ ี คือ สีท่ีนามาผสมกันแล้วทาให้เกดิ สีใหม่ ที่มลี กั ษณะแตกต่างไปจาก สีเดิม

วรรณะของสี ทรถสจแเนปวทอเวพงปรรอ้ะีกีมา้า้ล้งั้ังรนิ รรรสรนตอสวมะว่ะาณณะังรยกงสอาาสะกเ7ร12ลกอู่ใเีงะะกมีสส.ขนอณ.วหวบขเวตใี่วียสยีใบถกรอรนรดระนงไวี็นรลรา้ดงือรดรธนว้แกหณสณกุม่ว้อ้ณสรย้วา้็เลีใ็วยาสนรป่าเีเะะหะะทกงรสสสมวีสแ็นคสสิน้ครวแารเีเีีเชรีลีเสือีเหหหณา่วอรบายยอ้ ะสแีวสาลลลมตณ็นะน่ง็นวรมทีีใลอืือือทรยิอรดะรระีใ่งงง้อ((7ออ่รรอณหสCู้สWแนกณมอ้งสสค้มีกึะOคสลนAนเมะสีเีเวปเ่วกีะอ่ขOยีจ้Rกยีสเ้มางซสถ็็นยียนะน็M็ใLน็แีม่งึเมีหอื็นวไขสหดไแตรม2เว่า้ว้คปTว่ลูส้ังหTบก่ใงงา่นวOดเชือวกึลอOไตเ่งชา่สสปปรว้งNรทอืยน่่าNมสีรยีออ้น็ทงEงู่ท่ีรสEณดืน่นไสสส)าูส้ังสีส)ปสๆๆง-ีมเีะีววกึีเม้ทกีเสรเหร่วขรยดถาวีแรงรียลส้อน็่างัณกา้ดณือวสีนสสทหับงงะะ้มดีแใีใ่ีเนสหสรแนนรหแาลีเัก้อรเี้อลววขน็ดหะไอืนสงนงะยีถปใงลจสจสีเนแว้าขทือรรีสมีนสวลยี งสสา้มองว่ีม้าะวงีจธีจงยเว่วซแสงเระจรรใู่ง่งึชกนินีมรนึงสรแเน่ ่มา้เปสีกีเณดปเสสเชีป็นลสงงะนี็นมาุ่มินไน็ีแเต้าสอดยสตลิไไี้น็ ีปดะ้น้

ความหมายของทฤษฎสี ี สี (COLOUR) หมายถึง ลักษณะกระทบต่อสายตาให้เห็นเปน็ สีมผี ล ถงึ จติ วิทยา คอื มอี านาจใหเ้ กดิ ความเข้มของแสงท่ีอารมณแ์ ละความรสู้ ึกได้ การทไ่ี ดเ้ หน็ สีจากสายตาสายตาจะสง่ ความรูส้ ึกไปยังสมองทาใหเ้ กดิ ความรู้สกึ ตา่ งๆตามอิทธิพลของสี เชน่ สดชนื่ รอ้ น ต่นื เต้น เศร้า สีมี ความหมายอยา่ งมากเพราะศลิ ปนิ ต้องการใช้สีเปน็ สื่อสร้างความประทบั ใจ ในผลงานของศิลปะและสะท้อนความประทับใจนน้ั ให้บงั เกิดแกผ่ ูด้ มู นษุ ย์ เก่ียวข้องกบั สตี า่ งๆ อยตู่ ลอดเวลาเพราะทกุ ส่งิ ทอ่ี ย่รู อบตัวน้ันล้วนแต่มี สสี นั แตกต่างกันมากมาย สีเป็นสิ่งทคี่ วรศกึ ษาเพื่อประโยชนก์ ับตนเองและ ผู้สร้างงานจติ รกรรมเพราะ เรื่องราวองสีนัน้ มีหลักวิชาเปน็ วทิ ยาศาสตรจ์ งึ ควรทาความเข้าใจวิทยาศาสตร์ ของสีจะบรรลุผลสาเรจ็ ในงานมากขึ้น ถา้ ไม่เข้าใจเรือ่ งสีดีพอสมควร ถา้ ได้ศกึ ษาเรื่องสีดพี อแล้ว งานศลิ ปะก็จะ ประสบความสมบูรณ์เปน็ อยา่ งย่ิง

ผูจ้ ดั ทาโดย นางสาว พชิ ญส์ ินี คาสงค์ เลขท่ี 18 แผนก เทคโนโลยสี ารสนเทศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook