Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Cactus

Cactus

Published by Phuthita Buaket, 2021-12-02 05:44:06

Description: Cactus by Phuthita Buaket
ID namber 6317502
Digital Content and Media Program
Walailak University

Keywords: Cactus

Search

Read the Text Version

แคคตสั By นำ้ �หวาน พธุ ติ า CACTUS แคคตัส จัดทำ�โดย นางสาวพธุ ิตา บวั เกตุ นกั ศึกษาสาขาดจิ ทิ ลั คอนเทนตแ์ ละส่อื มหาวทิ ยาลัยวลยั ลกั ษณ์ 1 Cactus By Namwhan Phuthita

แคคตสั By น้ำ�หวาน พธุ ติ า ประวัติความเปน็ มาของแคคตัส 1 ลกั ษณะทวั่ ไปของแคคตสั 2 ตวั อยา่ งชนดิ พนั ธขุ์ องแคคตสั 3 องคป์ ระกอบในการเจรญิ เติบโตของแคคตสั 4 Cactus By Namwhan Phuthita 2

แคคตัส By น้ำ�หวาน พุธิตา ประวตั คิ วามเป็นมาของแคคตัส ป ระวตั คิ วามเปน็ มาของแคคตัส มีการสันนษิ ฐานกนั ประวตั คิ วามเปน็ มาของแคคตสั ในเม อื งไทย ไมม่ บี นั ทกึ วา่ ตน้ ตระกลู ของแคคตัสน้นั เกดิ ขึน้ ในชว่ งปลายของยคุ Mesozoic และ แนช่ ดั วา่ มกี ารนำ�แคคตสั เขา้ มาปลกู เลยี้ งในบา้ นเราตงั้ แตเ่ม อื่ ใด เดมิ ช่วงตน้ ของยุค Tertiary ซึง่ เป็นยุคสมัยท่ีพชื มีดอกไดร้ บั การพัฒนา นนั้ เราร ูจ้ กั แคคตสั แคเ่พ ยี งไมก่ ชี่ นดิ เทา่ นนั้ ทเี่หน็ อยทู่ วั่ ๆไปเชน่ มากทีส่ ดุ เช่อื กนั วา่ ในยุคสมัยน้นั แคคตสั มลี ำ�ตน้ แตกกง่ิ กา้ นสาขาผลิ เสมา โบตัน๋ และน ยิ มเร ยี กตน้ ไมก้ ลมุ่ นวี้ า่ ตะบองเพชรหร อื กระบอง ใบออกดอกตดิ ผลเหมือนต้นไมท้ ั่วไป โดยจะเห็นไดจ้ ากแคคตสั ในสกุล เพชร เน อื่ งจากลกั ษณะของตน้ ทเี่ปน็ ลำ�ส งู ยาวคลา้ ยกระบองทมี่ ี Pereskia ซง่ึ ชนดิ ทป่ี ลกู ประดับมากในไทยไดแ้ กก่ ุหลาบเมาะลำ�เลงิ และ หนามสอ่ งประกายกระทบแวววาวสวยงาม จากบทความในจลุ สารของ กุหลาบพุกามทีย่ งั คงมีลกั ษณะดงั กลา่ วอยู่ ในช่วงระยะเวลานานหลาย ชมรมกระบองเพชรแหง่ ประเทศไทยโดย “กระทอ่ มลงุ จรณ”์ กลา่ วไวว้ า่ ลา้ นปีทีส่ ภาพแวดลอ้ มของโลกเกดิ การเปลยี่ นแปลง เกิดมหาสมทุ รและ “กอ่ นป พี .ศ.2500 แคคตสั ไดถ้ กู นำ�เขา้ มาจากตา่ งประเทศโดยผ ูร้ กั ทิวเขาขึ้นมาบนพ้นื โลก โดยสว่ นใหญจ่ ะอยูท่ างแถบทิศตะวนั ตกของ ตน้ ไมส้ กลุ ‘สมบตั ศิ ริ ’ิ โดยนำ�มาเผยแพร่ในกลมุ่ เพ อื่ นฝ งู ดว้ ยความ ทวปี ตา่ งๆ ซ่ึงลมฝนไม่สามารถพัดผา่ นมาทางด้านตะวนั ออกของทิว ประทบั ในความประงดงามประหลาดตา จงึ เร มิ่ มกี ารสงั่ เขา้ มาปลกู เพ อื่ เขาได้ ทำ�ใหพ้ น้ื ทเ่ี รม่ิ แหง้ แล้งและกลายเปน็ ทะเลทราย พืชพนั ธต์ุ า่ งๆท่ี สะสมกนั มากข นึ้ ไมว่ า่ จะเปน็ คณุ สมพงษ์ เลก็ อาร ยี ์ คณุ อาร ยี ์ นาค เจริญเติบโตอยู่ในแถบน้ันจึงเริ่มปรับสภาพของตัวเองเพื่อให้สามารถ วชั ระ และคณุ บษุ บง มงุ่ การด”ี ความน ยิ มแคคตสั เร มิ่ แพรข่ ยายเปน็ ดำ�รงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้งทุรกันดารน้ันต่อไปได้แคคตัส วงกวา้ งทลี ะเลก็ ทลี ะนอ้ ย จนเกดิ รา้ น ‘471’ ของคณุ วาส สงั ขส์ วุ รรณ ได้พัฒนาโครงสร้างของตัวเองให้สามารถเก็บสะสมนำ้ �ไว้ภายในลำ�ต้น ข นึ้ ทสี่ นามหลวง ซ งึ่ ถอื วา่ เปน็ รา้ นขายแคคตสั โดยตรงเปน็ รา้ นแรก มากถึง 80–90 % ทำ�ให้ลำ�ต้นอวบอว้ นและสน้ั ลง รากส่วนมากจะอยู่ ของประเทศ จากนนั้ กม็ รี า้ น ‘ลงุ จรณ’์ ตงั้ อยรู่ มิ คลองหลอดเกดิ ข นึ้ ใกล้ผวิ ดนิ ไมห่ ยั่งลกึ ลงไปมากนักเพือ่ ดดู จับนำ้ �และความช้นื ในอากาศ ตามมาเกดิ กลมุ่ นกั เลน่ และนกั สะสมแลกเปลยี่ นพนั ธุ์ไมซ้ งึ่ กนั และกนั ไดง้ า่ ยและทส่ี ำ�คัญ คือลดขนาดใบไม้ให้เลก็ ลงและเปลี่ยนรปู ไปเป็น โดยมคี ณุ ขจ ี วสธุ าร เปน็ นกั เลน่ คนส ำ�คญั ในยคุ สมยั นนั้ ประมาณ หนามจำ�นวนมาก ช่วยพรางความรอ้ นของแสงอาทติ ย์เพือ่ ลดการสญู ป ี พ.ศ. 2519 มกี ารสงั่ ไมต้ อ่ ยอดส แี ดง เสียนำ้ �จากการคายนำ้ �ของตน้ แคคตัสสว่ นใหญ่มีถิ่นกำ�เนิดอยู่ในทวปี ย มิ โนดา่ ง และตน้ จากการเพาะเมลด็ ชนดิ อ นื่ ๆ เขา้ มาจากญปี่ นุ่ อเมรกิ าใต้ พบมากในพื้นทแี่ ถบทะเลทรายแต่ก็มีบางประเภทท่ีเติบโต อยู่ในปา่ เขตร้อนช้นื ซงึ่ แคคตสั กลุม่ นีม้ ักจะมลี ำ�ต้นแบนๆ แตกต่างจาก เปน็ จำ�นวนมาก สง่ ผลให ้ นกั เลน่ ต นื่ ตวั พวกท่ีอย่ใู นทะเลทรายท่ีมักจะมีลำ�ต้นกลมๆ ทัง้ นี้เพื่อใหม้ พี ื้นที่ในการ และใหค้ วามสนใจเร อื่ งการตอ่ ยอดแคคตสั รับแสงมากท่สี ดุ นอกจากนี้ยงั มสี ามารถพบแคคตัสเจรญิ เติบโตอยู่ มากข นึ้ เร มิ่ มกี ารเพาะเมลด็ ขยายพนั ธเุ์อง ตามบริเวณทุ่งหญ้า เกาะอาศยั อยู่กับต้นไม้ใหญใ่ นป่าชืน้ บนภเู ขา หรอื ภายในประเทศ เกดิ การพฒั นาและผลติ ตน้ แมก้ ระท่งั รมิ ทะเล ออกสตู่ ลาดไดเ้ พ ยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ ของกลมุ่ นกั เลน่ ในขณะทรี่ า้ นขายแคคตสั ใหญๆ่ ทนี่ า่ สนใจกเ็กดิ ข นึ้ ตามมาอกี หลาย รา้ น เชน่ รา้ นพศิ พรอ้ ม รา้ นยทุ ธนาแคคตสั รา้ นลนิ จง เปน็ ตน้ แค คตสั ยงั คงไดร้ บั ความน ยิ มเร อื่ ยมา มกี ารสรา้ ง Geodesic Dome จดั เปน็ สวนแคคตสั ข นึ้ ภายในสวนหลวง ร.9 มตี ำ�ราแคคตสั ภาษาไทย เลม่ แรกโดยส ำ�นกั พ มิ พบ์ า้ นและสวน มกี ลมุ่ ผ ูเ้ ลยี้ งและผ ูจ้ ำ�หนา่ ย ขยายวงกวา้ งครอบคลมุ ไปกวา่ 50 จงั หวดั ของประเทศ รวมทงั้ มกี าร พฒั นายกระดบั คณุ ภาพ เกดิ พนั ธลุ์ กู ผสมใหมๆ่ ข นึ้ เสมอ จนกลา่ ว ไดว้ า่ แคคตสั เปน็ ตน้ ไมท้ ี่ไดร้ บั ความน ยิ มมาจนทกุ วนั น ี้ 1 Cactus By Namwhan Phuthita

แคคตัส By นำ้ �หวาน พุธติ า ลกั ษณะทวั่ ไปของแคคตสั แคคตสั จดั เปน็ ไมย้ นื ตน้ และเปน็ ไมช้ นดิ อวบนำ้ �ชนดิ หนง่ึ มคี วามหมายถงึ พชื ทส่ี ามารถเกบ็ นำ้ �ไวใ้ นลำ�ตน้ ในเซลลเ์ นอ้ื เยอ่ื หรอื ในใบ สว่ นชอ่ื ทางวทิ ยาศาสตรข์ องแคคตสั นน้ั หมายถงึ ชอ่ื พชื ในวงศ ์ CACTACEAE ซง่ึ ปจั จบุ นั มอี ยรู่ าว 200 สกลุ และราว 14,000 ชนดิ ทเ่ี รารจู้ กั และสามารถอธบิ ายลกั ษณะได้ เปน็ พชื ในวงศ์ Cactaceae มอี ายยุ นื หลายปี ลำ�ตน้ อวบนำ้ � ผวิ ของลำ�ตน้ เคลอื บดว้ ยขผ้ี ง้ึ (wax) มหี นามตามลำ�ตน้ ซง่ึ เปน็ สว่ นของ ใบทล่ี ดรปู เพอ่ื ปอ้ งกนั การสญู เสยี นำ้ � และหนามนน้ั อยรู่ วมกนั เปน็ กลมุ่ บรเิ วณจดุ กำ�เนดิ ของหนาม (areole) ซง่ึ เรยี งตวั กนั อยตู่ ามแนวสนั (rib) ของลำ�ตน้ บรเิ วณจดุ กำ�เนดิ ของหนามนย้ี งั สามารถเกดิ ขนทม่ี ลี กั ษณะแขง็ กง่ิ กา้ นและตาดอกไดอ้ กี ดว้ ย สว่ นดอกของแคคตสั นน้ั เปน็ ดอกสมบรู ณ์ เพศ มกี ลบี เลย้ี งและกลบี ดอกแยกกนั มรี งั ไขอ่ ยตู่ ำ่ �กวา่ สว่ นประกอบอน่ื ๆ ของดอก (inferior ovary) ผลมลี กั ษณะนมุ่ ฉำ่ �นำ้ � (berry fruit) โดยปกตแิ ลว้ คนสว่ นใหญม่ กั คดิ วา่ ตน้ ไมท้ ม่ี หี นามมกั เปน็ แคคตสั ซง่ึ ในความเปน็ จรงิ แลว้ แคคตสั บางสกลุ เชน่ Lophophora หรอื As- trophytum บางชนดิ กไ็ มม่ หี นามแตถ่ กู จดั วา่ เปน็ แคคตสั ในขณะทไ่ี มอ้ วบนำ้ � ( succulent ) บางสกลุ เชน่ Euphobia กม็ หี นามแตก่ ไ็ มจ่ ดั วา่ เปน็ แคคตสั หลกั พฤกษศาสตรก์ ลา่ ววา่ พชื ทจ่ี ดั วา่ เปน็ แคคตสั หรอื จดั อยใู่ นวงศ์ Cactaceae นน้ั เปน็ ไมย้ นื ตน้ และจะตอ้ งมบี รเิ วณพน้ื ทท่ี เ่ี รยี กวา่ “ตมุ่ หนาม” บรเิ วณนจ้ี ะเปน็ ทท่ี พ่ี บกลมุ่ ของหนามหรอื ขนแขง็ ขน้ึ อยแู่ ละเรยี งไปตามแนวซห่ี รอื สนั สงู ของตน้ อยา่ งเปน็ ระเบยี บ อกี ทง้ั ยงั เปน็ บรเิ วณทเ่ี กดิ ตาดอกและแตกกง่ิ ใหมข่ องตน้ อกี ดว้ ย สว่ นในไมอ้ วบนำ้ �ประเภทททม่ี หี นามนน้ั หนามจะขน้ึ เดย่ี วๆ กระจดั กระจายไมเ่ ปน็ ระเบยี บไปรอบๆ ตน้ และไม่ พบบรเิ วณตมุ่ หนามเหมอื นแคคตสั อกี ทง้ั พชื ทง้ั สองกลมุ่ ทม่ี หี นามนน้ั อยกู่ นั คนละวงศ์ สง่ิ สำ�คญั คอื ในกลมุ่ ของ Cactaceae นน้ั ดอกจะมกี ลบี เลย้ี งและกลบี ดอกแยกกนั รงั ไขจ่ ะอยตู่ ำ่ �กวา่ สว่ นอน่ื ๆ สว่ นกลมุ่ Euphobiaceae ดอกจะไมม่ ที ง้ั กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกและรงั ไขจ่ ะอยเู่ หนอื สว่ น อน่ื ๆ ซง่ึ จะเหน็ ไดว้ า่ มคี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งสน้ิ เชงิ Cactus By Namwhan Phuthita 2

แคคตสั By นำ้ �หวาน พธุ ติ า ตวั อยา่ งชนดิ พนั ธขุ์ องแคคตสั ยมิ โน คาไลเซียม (Variegated Gymnocalycium) แมมขนนก (Mammillaria Plumosa) แคคตัสหกู ระตา่ ย (Opuntia) ถงั ทอง (Ferocactus) 3 Cactus By Namwhan Phuthita

แคคตัส By นำ้ �หวาน พธุ ติ า องค์ประกอบในการเจรญิ เติบโตของแคคตสั เครอื่ งปลกู เน้นท่คี วามโปร่ง เพื่อให้รากสามารถชอนไชไปไดส้ ะดวก ซง่ึ ถา้ เราสงั เกตดรู ากของแคคตสั จะเป็นฝอยเลก็ ๆ แผ่กระจายอยใู่ ต้ผิวดนิ ในระดบั ตืน้ ๆ ถา้ หากวสั ดุปลูกแนน่ เกินไปคงเป็นการยากทรี่ ากเล็กๆ เหล่านนั้ จะชอนไชได้ ระบายน้ำ�ได้ดี ไม่กักเก็บความชน้ื ไว้มาก เนือ่ งจากแคคตัสไม่ ไดต้ อ้ งการน้ำ�และความชืน้ มาก หากมีน้ำ�เยอะแลว้ ยงั ชื้นอีกจะสง่ ผลใหร้ ากเนา่ ได้ เครอื่ งปลกู จะเปน็ วสั ดหุ ลายชนิดมาผสมกนั เชน่ ทรายหยาบ ขี้เถ้าแกลบ หนิ ภเู ขาไฟ ขยุ มะพร้าว ใบก้ามปู ปุย๋ จลุ นิ ทรยี ์หมกั ตวั อย่างเครอื่ งปลกู วัสดโุ รยหนา้ ดนิ ญป่ี นุ่ หนิ โรยหนา้ วสั ดปุ ลกู ดนิ ใบปา้ มปู พตี มอสส์ ขยุ มะพร้าว เวอร์มิคไู ลท์ เพอรไ์ ลต์ หินภเู ขาไฟ วัสดรุ องกระถาง (ขนาดเลก็ ) หินภเู ขาไฟ ถา่ น กาบมะพรา้ ว 4 (ขนาดใหญ่) Cactus By Namwhan Phuthita

แคคตัส By น้ำ�หวาน พธุ ิตา นำ้ � แคคตสั ไมต่ ้อการนำ้ �มาก รดน้ำ�ประมาณสปั ดาห์ละ่ 2 ครั้ง หรอื อาจ ใช้วธิ ีลองยกกระถางข้นึ หากกระถางมนี ้ำ�หนกั เบากค็ วรรดนำ้ �ได้ หรอื ไมก่ ็ลอง ใชน้ ้ิวจ้มิ ลงในวัสดุปลกู หากรสู้ กึ วา่ แหง้ ก็ควรรดนำ้ � และหากเปน็ ชว่ งฤดูฝน ความชืน้ ในอากาศสูง ควรจะเว้นชว่ งหา่ งของการรดน้ำ�เกนิ 1 สัปดาห์ การรดนำ้ � โดยทัว่ ไปควรรดในตอนเชา้ เพือ่ ใหน้ ำ้ �ระเหยไปในระหวา่ งวัน ไม่ท้ิงความชน้ื ไว้ กับวสั ดปุ ลกู ไวจ้ นมากเกนิ ไป และควรรดเฉพาะวสั ดุปลูก ไมจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งรดให้ ตน้ เปียกไปด้วย น้ำ�ที่ใช้รด หากเป็นนำ้ �ประปาควรพกั นำ้ �ไวก้ ่อน 1 คืน เพอ่ื ลด ความเขม้ ข้นของคลอรีนลง ถ้าใช้น้ำ�จากแหล่งนำ้ �ธรรมชาติ ตอ้ งดแู ลเร่ืองความ ขุ่นของตะกอน อยา่ ให้มปี ะปนมากกบั นำ้ � เพราะเมื่อรดนำ้ �แล้วอาจจะท้ิงคราบไว้ บนผวิ ของลำ�ตน้ ได้ อากาศ แคคตัสปลกู เลีย้ งได้ในสภาพอากาศทรี่ ้อนและแหง้ อากาศถา่ ยเทสะดวก แสงแดด แสงแดดทเี่ หมาะสมอยู่ในชว่ ง 70-80 เปอร์เซ็นต์ ตลอดวัน แคคตสั บางชนดิ ถ้าได้รับแดดมากเกินไป อาจทำ�ให้สีผวิ เปลยี่ น เห่ียวแหง้ แต่ถา้ ไดร้ บั แสงมากเกินไป อาจทำ�ใหล้ ำ�ต้นยืดยาวเสยี รปู ทรง หนามอ่อนแอ และมโี อกาสท่ดี อกนัน้ จะไม่ออกเลยหรอื ออกนอ้ ย ปยุ๋ การให้ปุ๋ยควรให้ประมาณเดือนละ่ คร้ัง โดยใชป้ ุ๋ย เกลด็ ละลายน้ำ�สตู รเสมอ อันท่จี รงิ ในเคร่อื งปลกู นั้นกจ็ ะมธี าตอุ าหารเพียงพอ เพ่อื การเจรญิ เตบิ โตของแคคตสั แตก่ ารใส่ป๋ยุ เพม่ิ เข้าไปกเ็ พอ่ื ใหต้ น้ ไม้เจริญเตบิ โตสมบรู ณ์ดนี ่ันเอง คล๊กิ > มือใหม่แคคตสั : 10 คำ�แนะนำ�สำ�หรับผู้เรมิ่ ตน้ เลี้ยงแคคตัสค่ะ | Cactus Journey EP.29 5 Cactus By Namwhan Phuthita

แคคตสั By น้ำ�หวาน พุธิตา Phuthita Buaket (Namwhan) ID number 63107502 Digital Content and Media Walailak University [email protected] Phuthuita Buaket Cactus By Namwhan Phuthita 159 บาท 6


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook