Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วินัยมุขนักธรรมชั้นโท

วินัยมุขนักธรรมชั้นโท

Published by PJ-Ratchasin2, 2019-12-14 09:30:37

Description: บรรยายโดยพระครูสมุห์ไพจิต

Search

Read the Text Version

 2๒๗8๗1 วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 281

๒2๗8๘2 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ขอบขายเน้อื หา วชิ าวินยั : วินยั มุข เลมที่ ๒ 282

 2๒8๗3๙ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ สกิ ขาบทนอกพระปาติโมกข ความหมายของพระปาติโมกข ในวิชาวินัย หลักสูตรนักธรรมชั้นตรี เราไดศึกษาพระวินัยบัญญัติจากหนังสือนวโกวาท และหนังสือวินัยมุขเลม ๑ ซึ่งไดประมวลสิกขาบท ๒๒๗ สิกขาบท ท่ีเปนศีลหรือสิกขาบทของ ฝายภิกษุ และจัดเปนสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข ซึ่งเรียกวา อาทิพรหมจริยกาสิกขา มาครบถวนแลว ในวิชาวินัยหลักสูตรนักธรรมช้ันโทน้ี เราจะไดศึกษาประมวลสิกขาบท ที่ไมไดมาในพระปาติโมกข ท่ีเรียกวา อภิสมาจาริกาสิกขา (อภิสมาจารสิกขา) คือขอศึกษา เกี่ยวกับขนบธรรมเนียม และมารยาทท่ีดีงามในการอยูรวมกันของพระสงฆ หรือขอวัตรปฏิบัติที่ พระพุทธองคทรงแสดงไวในหมวดขันธกะ (พระบาลีวินัยปฎก เลม ๔ – ๗) กอนอื่นพึงทราบ ความหมายของพระปาติโมกขกอน คําวา ปาติโมกข (หรือใชวา ปาฏิโมกข) หมายถึง ประมวลบทบัญญัติ และคําสอน ทเ่ี ปน หลกั ใหญของพระพุทธเจาทกุ พระองค มี ๒ ประเภท คือ ๑. โอวาทปาตโิ มกข ประมวลหลักการสาํ คญั ทเี่ ปน ทัง้ คาํ สัง่ และคาํ สอนรวมอยูดวยกัน ท่ีทรงแสดงแกพระสาวกเพ่ือเผยแผพระศาสนา เชน ประมวลคําสอนที่เปนหลักการสําคัญ คือ การไมทําบาปทั้งปวง การทําความดีใหถึงพรอม การทําจิตของตนใหผองแผว หรือละชั่ว ประพฤติดี ทําจิตใหผ อ งใส ซงึ่ จดั เปน จาริตตศีล (หลกั ที่ควรประพฤต)ิ ๒. อาณาปาติโมกข ประมวลพระพุทธบัญญัติหรือสิกขาบทท่ีเปนคําส่ัง หรือขอหาม ในพระบาลีวินัยปฎกท้ังสิ้น (ของฝายภิกษุสงฆ ๒๒๗ สิกขาบท ของฝายภิกษุณีสงฆ ๓๑๑ สกิ ขาบท) ซ่ึงจดั เปน วารติ ตศีล (กฎท่ีเปน ขอหาม) ดังนั้น คําวา ปาติโมกข ในวิชาวินัยน้ี พึงทราบวาหมายถึงอาณาปาติโมกข ซึ่งทรงอนุญาตใหส งฆย กขน้ึ แสดงทกุ ก่งึ เดอื น แตจ ะเรยี กสนั้ ๆ วา พระปาติโมกข เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 283

2๒๘8๐4 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ความแตกตางแหง “สกิ ขา” กับ “สกิ ขาบท” คําวา สิกขา หมายถึง ขอท่ีจะตองศึกษา ขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรม มี ๓ อยาง ซึ่งเรียกวา ไตรสิกขา คอื ๑. อธิสีลสิกขา การศึกษาในศีล หมายถึง ขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรมในทางความ ประพฤติขั้นสูง ไดแก ปาติโมกขสังวรศีล ศีลคือการสํารวมในพระปาติโมกข เวนขอท่ี พระพุทธเจาทรงหาม ทําตามขอที่ทรงอนุญาต จัดเปนศีลท่ียิ่งกวาสูงกวาศีลท่ัวไป เพราะ นอกจากพระพทุ ธเจา แลว ไมมีใครสามารถบญั ญตั ไิ ด ๒. อธิจิตตสิกขา การศึกษาในอธิจิต หมายถึง ขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรมจิตเพ่ือให เกิดสมาธิชั้นสูง ไดแก การฝกอบรมจิตใหสงบจนถึงขั้นสมาบัติ ๘ อันเปนบาทฐานใหเกิด วปิ ส สนา จัดเปนสมาธทิ ีย่ ิง่ กวา สมาธิจติ ทว่ั ไปเพราะเกดิ มีเฉพาะกาลทพี่ ระพุทธเจา อบุ ตั เิ ทา น้ัน ๓. อธิปญญาสิกขา การศึกษาในอธิปญญา หมายถึง ขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรม ปญ ญาเพื่อใหเกดิ ความรแู จง อยางสูง มองเห็นสภาพของส่ิงท้ังหลายตามเปนจริงไดแก วิปสสนา ญาณ คอื ปญญาที่กําหนดรอู าการของไตรลักษณ จัดเปนปญญาขั้นสูงยิ่ง เพราะเกิดมีเฉพาะกาล ทีพ่ ระพทุ ธเจาอบุ ตั เิ ทา น้ัน สิกขาบท หมายถึง ขอที่ตองศึกษา บทแหงการศึกษา หรือแนวทางใหลุถึงสิกขา หมายถึง บทบัญญัติขอหนึ่ง ๆ ในพระวินัยที่ภิกษุพึงศึกษาปฏิบัติ ขอกําหนดหน่ึง ๆ ซ่ึงเปน ขอหา มเพ่ือการฝก ฝนตนสําหรับพระภิกษุสามเณร หรือสวนแหงขอปฏิบัติในการฝกตนแตละขอ ซ่ึงพระพุทธเจาทรงบัญญัติไว กลาวใหชัด คือ ศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ ศีล ๒๒๗ ศีล ๓๑๑ แตละขอ ๆ เรียกวาสิกขาบท เพราะเปนขอท่ีจะตองศึกษา หรือเปนบทฝกฝนอบรมตนของสาธุชน อุบาสก อุบาสิกา สามเณร ภิกษุ และภิกษุณีตามลําดับ กลาวใหชัด สิกขาบท ก็คือศีลสิกขา อันเปน สวนหนึ่งแหงสิกขา ๓ น่ันเอง โดยสรุปก็คือ สิกขา มคี วามหมายกวา งกวา สกิ ขาบท พระวินัย : สิกขาบทในและนอกพระปาตโิ มกข พระวินัย หมายถึง ประมวลกฎสําหรับฝกอบรมกาย วาจา ของภิกษุและภิกษุณี ท่ีพระพุทธองคทรงบัญญัติไว และพระอรหันตเถระรวบรวมจัดเปนหมวดหมูในคราว ปฐมสังคายนา โดยเรียกวา พระบาลีวินัยปฎก (พระไตรปฎกเลมท่ี ๑ ถึงเลมท่ี ๘) พระวินัยหรือ สิกขาบท เม่ือกลาวอีกนยั หน่งึ ก็คือ พระพุทธบญั ญัตทิ ีจ่ ําแนกเปน ๒ ประการ คือ 284

 2๒8๘5๑ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ ๑. มูลบัญญัติ พระบัญญัติเดิม คือขอท่ีทรงต้ังหรือทรงบัญญัติไวแตแรกเร่ิมหลังจาก เกิดเรอ่ื งขึ้น เชน ทรงบัญญัติปาราชิกสิกขาบทที่ ๑ เปนครั้งแรกเพียงวา ภิกษุใดเสพเมถุนธรรม เปน ปาราชกิ หาสังวาสมไิ ด ดังนีเ้ ปนตน ๒. อนุบัญญัติ พระบัญญัติเพ่ิมเติม หมายถึง บทแกไขเพ่ิมเติมท่ีพระพุทธเจา ทรงบัญญัติเสริมหรือผอนพระบัญญัติท่ีวางไวเดิม เพ่ือความเหมาะสมหรือรัดกุมยิ่งข้ึน เชน ทรงบัญญัติปาราชิกสิกขาบทท่ี ๑ เพิม่ เตมิ เปน ครั้งที่ ๒ วา อน่ึง ภิกษใุ ดเสพเมถนุ ธรรม โดยท่ีสุด แมกับสัตวเ ดรจั ฉานเพศเมีย เปน ปาราชกิ หาสงั วาสมิได พระวินัย วาโดยความหมายที่มุงถึงขอบัญญัติท่ีพระพุทธเจาทรงหาม หรือบทหนึ่ง ๆ แหงพระพุทธบัญญัติ ซ่ึงเปรียบเหมือนมาตราหนึ่ง ๆ แหงพระราชบัญญัติหรือกฎหมายทาง บา นเมือง ก็คือ สกิ ขาบท ท่จี ดั เปน ศลี สกิ ขานนั่ เอง พระวินัยหรือสกิ ขาบท มี ๒ ประเภท คอื ๑. อาทิพรหมจริยกาสิกขา ขอศึกษาอันเปนสวนเบื้องตนแหงพรหมจรรย หมายถึง หลักการศกึ ษาอบรมในฝายบทบัญญัติ หรือขอปฏิบัติที่เปนเบื้องตนของพรหมจรรย (ไตรสิกขา) สําหรับปองกันความประพฤติเสียหาย ไดแก สิกขาบทในพระปาติโมกขของสงฆทั้งสองฝายคือ ภกิ ษสุ งฆและภิกษณุ สี งฆ สิกขาบทในพระปาติโมกข หมายถึง สกิ ขาบทท่ที รงบัญญัติเปนขอหาม ปรับโทษ สาํ หรบั พระภกิ ษผุ ฝู า ฝน กระทาํ ผดิ ไวในพระปาตโิ มกข ในสิกขาบทของพระภิกษุ ๒๒๗ สิกขาบท จัดเปนสิกขาบทในพระปาติโมกข ๑๕๐ สิกขาบท คือ (๑) ปาราชิก ๔ สกิ ขาบท (๒) สังฆาทเิ สส ๑๓ สิกขาบท (๓) นสิ สคั คยิ ปาจิตตีย ๓๐ สกิ ขาบท (๔) ปาจติ ตีย ๙๒ สิกขาบท (๕) ปาฏิเทสนยี ะ ๔ สิกขาบท (๖) อธิกรณสมถะ ๗ สกิ ขาบท สวนอีก ๗๗ สิกขาบท คอื อนิยต ๒ สิกขาบท และเสขิยวัตร ๗๕ สิกขาบท จัดเปนสิกขาบทนอก พระปาติโมกข ๒. อภิสมาจาริกาสิกขา (หรือ อภิสมาจารสิกขา) ขอศึกษาอันเปนสวนอภิสมาจาร เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 285

เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 286 286

 2๒8๘7๓ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ ความผิดสถานเบาชั้นรองลงมาจากปาฏิเทสนียะ ไมปรากฏในพระพุทธบัญญัติโดยตรง เพราะ เปนอาบัติที่แฝงอยูในอาบัติอื่น ๆ โดยสวนใหญจะแฝงอยูกับบทภาชนียหรือวินีตวัตถุ (เรื่องที่ ทรงวินิจฉัย) แหงอาบัติปาราชิก สังฆาทิเสส และปาจิตตียทุกสิกขาบทและสวนที่แยกเปน แผนกหนึ่งโดยเฉพาะปรากฏอยูในเสขิยกัณฑแหงคัมภีร มหาวิภังคทุติยภาค หรือที่เรียกวา เสขิยวตั ร จาํ นวน ๗๕ สกิ ขาบท ซงึ่ เปนพระพุทธบัญญัติที่เนนการวางกิริยาทางกายและวาจาให เหมาะสมแกความเปนภิกษุ แมไมไดเปนชื่ออาบัติ แตปรับอาบัติทุกกฏจึงมีจํานวนมากมาย กาํ หนดแนนอนไมไ ด ในพระวนิ ัยปฎกทา นไมไ ดกาํ หนดนบั ไวว า มีจํานวนทั้งหมดเทาไร ขอบขา ยทกี่ ําหนดใหศ กึ ษา ในหนังสือวินัยมุขเลม ๒ ซ่ึงวาดวยสิกขาบทนอกพระปาติโมกข หรืออภิสมาจาร ที่กําหนดเปนหลักสูตรวิชาวินัย นักธรรมช้ันโท ทานแบงเนื้อหาออกเปน ๑๒ กัณฑ (บท หมวด หรอื ตอน) โดยนับตอ เน่ืองจากหนังสอื วนิ ัยมุขเลม ๑ ดังตอ ไปนี้ กณั ฑท่ี ๑๑ กายบริหาร กัณฑท ่ี ๑๒ บรขิ ารบริโภค กณั ฑท ่ี ๑๓ นสิ สัย กัณฑท ่ี ๑๔ วัตร กณั ฑท่ี ๑๕ คารวะ กณั ฑท ่ี ๑๖ จําพรรษา กณั ฑท ่ี ๑๗ อโุ บสถ ปวารณา กณั ฑท ่ี ๑๘ อุปปถกิรยิ า กัณฑท ี่ ๑๙ กาลิก ๔ กัณฑท ่ี ๒๐ ภณั ฑะตา งเจา ของ กัณฑท ่ี ๒๑ วนิ ัยกรรม กณั ฑท ี่ ๒๒ ปกิณณกะ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 287

๒2๘8๔8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 กัณฑท ่ี ๑๑ กายบริหาร กายบริหาร หมายถงึ การปฏบิ ตั ิรักษารา งกายใหสะอาดปลอดภัย มี ๑๔ ขอ ดงั น้ี ๑. อยาพึงไวผมยาว จะไวไดเ พยี ง ๒ เดือน หรอื ๒ น้ิว ๒. อยาพงึ ไวหนวดเครา ๓. อยา พึงไวเล็บยาว ๔. อยาพงึ ไวขนจมกู ยาว ๕. อยา พึงนําออกเสียซ่ึงขนในทแ่ี คบ เวนไวแ ตอ าพาธ ๖. อยา พงึ ผัดหนา ไลห นา ทาหนา ยอมหนา เจมิ หนา ยอ มตัว ๗. อยาพึงแตง เคร่ืองประดับตาง ๆ ๘. อยา พงึ สองดหู นา ในกระจกหรือวัตถุอ่นื ๙. อยา พึงเปลือยกายในท่ีไมบังควร ในเวลาไมบ งั ควร ๑๐. อยา งพึงนุงหม ผาอยางคฤหสั ถ ๑๑. เม่ือถา ยอุจจาระแลว ถามนี ํ้า ตองชาํ ระ ๑๒. อยาพงึ ใหทําสัตถกรรมและวัตถิกรรมในหรอื ใกลทแี่ คบ ๑๓. ภกิ ษตุ องใชไ มชําระฟน ๑๔. นา้ํ ที่ใชด่ืมตอ งกรองกอน ในกัณฑน้ี ทานแสดงถึงขอท่ีจะพึงปฏิบัติตอรางกายของภิกษุ เพ่ือจะรักษา รา งกายใหปราศจากโทษอันเกดิ จากความไมสะอาด และเพอ่ื สงเสรมิ ใหปฏบิ ัติตัวถกู ตอ งตามหลัก แหง สุขอนามัยวิธี ซึง่ มีอธบิ ายดงั น้ี ขอ ท่ี ๑ อยา พงึ ไวผมยาว จะไวไ ดเพยี ง ๒ เดือน หรอื ๒ นิ้ว ตอ งปลง (คือโกน) ทิ้งเสีย หมายถึง ภิกษุจะไวผมนาน และยาวเกินกวากําหนดน้ีมิได ตองปลงท้ิงเสียภายในกําหนด อน่ึง แมวายังไมถึงกําหนดเวลา ๒ เดือนก็จริง แตผมนั้นยาว ๒ น้ิว ก็จะตองปลงท้ิง หรือผมน้ัน ยาวไมถ งึ ๒ นว้ิ แตถ งึ กําหนด ๒ เดือนแลว กต็ อ งปลงทงิ้ เชนกนั ถา ไมปฏิบัติ ตองอาบตั ทิ ุกกฏ ขอที่ ๒ อยาพึงไวหนวดเครา พึงโกนท้ิงเสีย ก็เชนเดียวกับเร่ืองผม หนวด ไดแก ขน ที่ข้ึนอยูเหนือริมฝปาก ใตริมฝปาก และท่ีคาง สวนเครา ไดแก ขนที่งอกข้ึนตอจากจอนผมขางใบหู ลงมาประสานตอ กบั หนวดท่ีคาง ภิกษุบางรปู มีแตหนวด ไมม ีเครา บางรูปมที ้ังหนวดมที ้ังเครา 288

 2๒8๘9๕ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ หนวดและเคราน้ี ทานมิไดกําหนดไวแนนอนวานานเทาไร ยาวเทาไร เหมือนอยางผม แตถาปลอยไวยาวเกินไป ก็ดูจะรกรุงรัง เห็นแลวไมนาเลื่อมใส ดูคลายกับโจรผูรายมากกวา ดังน้ัน เมื่อหนวดเครายาวพอควร ตองโกนทิ้งเสีย จะถอนออกดวยแหนบก็ได แตอาจจะเกิด ความเจบ็ ปวดและทาํ ลายประสาทตาได ขอท่ี ๓ อยาพึงไวเล็บยาว พึงตัดเสียดวยมีดเล็กพอเสมอเนื้อ รวมถึงขอหามเกี่ยวกับ เร่ืองเลบ็ อืน่ ๆ เชน หามไมใหขดั เล็บใหเกล้ียงเกลา แตถาเล็บเปอน จะขัดมลทินหรือแคะมูลเล็บ กส็ ามารถทําได ขอที่ ๔ อยาพึงไวขนจมูกยาว หมายถึง ขนจมูกที่ยาวออกมานอกชองจมูกทั้ง ๒ ซ่งึ มองดแู ลวนารงั เกียจ ไมส ุภาพ ดงั นัน้ เมื่อขนจมกู ยาว พนชอ งจมูกออกมาควรตดั หรือถอนทง้ิ เสยี ขอท่ี ๕ อยา พงึ นําออกเสยี ซงึ่ ขนในท่แี คบ เวนไวแตอาพาธ หมายถึง หามไมใหตัด หรอื โกนขนที่เกดิ ข้นึ ตามฐานอนั เปนที่ตั้งแหงอวัยวะเพศและขอบทวารหนัก (ในหนังสือวินัยมุขเลม ๒ ขนในที่แคบ ทานใหความหมายวา ไดแกขนในรมผาและท่ีรักแร) เวนไวแตอาพาธ คือเปนฝ มีแผล หรือโรคผิวหนัง เปนตน ทานใหนําออกได มิฉะน้ันจะเปนอุปสรรคตอการชําระแผลใสยา หรอื ทําใหแผลหายยาก ขอที่ ๖ อยาพึงผัดหนา ไลหนา ทาหนา เจิมหนา ยอมตัว เวนไวแตอาพาธ กอนอื่น พงึ ทราบความหมายกิรยิ าอาการเก่ียวกบั การแตง หนา ดงั น้ี - การผัดหนา คอื การใชแปงหรือดินสอพองท่ีเปนผงมาผัดหรือลูบท่ีหนาเพ่ือ ทําใหใ บหนา ขาวนวลดสู วยงามขึ้น - การไลหนา คอื การใชแ ปงหรอื ดินสอพองละลายหนา ไลบริเวณใบหนา เปน การรองพ้ืนเสียคร้ังหนึ่งกอน เม่ือแหงแลวจึงนําเอาแปงผงมาผัดทับอีกครั้งหนึ่ง จะทําใหใบหนา เรียบขาวผองสวยงามยิ่งขน้ึ ปจจบุ ันมแี ปงนา้ํ สาํ หรับไลหนา รองพื้น - การทาหนา คือการใชสีทาหนา เพ่ือใหดูสวยงามขึ้น เหมือนหญิงสาวบางคนท่ี ตองการจะใหเน้ือแกมทั้งสองขางของตนอมเลือดฝาด เปนสีชมพูเร่ือ ๆ เหมือนกับสีมะปรางสุก อนั แสดงออกถึงการที่มีสุขภาพอนามัยสมบูรณ เพ่ือใหด ูสวยงามและชวนมองมากขึน้ - การเจิมหนา คือการแตมดวยแปงกระแจะท่ีศีรษะหรือท่ีหนาผากซึ่งผูใหญ ทําใหผูนอย หรือผูสูงศักดิ์ทําให เพ่ือความเปนสิริมงคล หรือการเจิมดวยมโนศิลาคือนํ้ายาหรือ สที ี่ใชเขียนรูปภาพ - การยอมตัว คือการทาตัวดวยขม้ิน เหมือนกับหญิงในครั้งโบราณ เปนตน เพ่ือทาํ ใหผิวพรรณขาวเหลืองผอ งผุดประดุจหญงิ ชาววัง เปนเหตใุ หด สู วยงามนารักยง่ิ ขน้ึ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 289

เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 290 290

 2๒9๘๗1 วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ ๒) หามมิใหสีกายดวยของมิบังควร เชน ทําไมเปนรูปมือ หรือจักเปนฟนมังกร และ เกลยี วเชือกที่คม เพราะอาจเปนอันตรายได ๓) หามมิใหผลัดกันถูตัวเหมือนชาวบาน มิใหเอาหลังตอหลังสีกัน เพราะเปนกิริยา คลา ยสตั วเ ดรัจฉาน แตใชบ ิดเปน เกลียวหรอื ฝา มอื ไมหาม ขอ ๑๐ อยา พึงนงุ หม ผาอยา งคฤหสั ถ หมายถงึ หา้ มมใิ หภ้ กิ ษุนุ่งหม่ แบบชาวบา้ น คอื นุ่งกางเกง สวมเสอื ใส่หมวก ใช้ผา้ โพก และผ้านุ่งผ้าห่มสฉี ูดฉาดต่าง ๆ หลากชนิด รวมถึง อาการนุ่งหม่ ต่าง ๆ อนั ไมใ่ ชก่ ริ ยิ าของภกิ ษุ อนงึ การนุ่งหม่ แบบคฤหสั ถน์ นั พวกภกิ ษุในฝา่ ยมหายานหรอื อาจรยิ วาท (เชน่ พระจนี ญีปุ่น) นิยมใช้อยู่ ถ้าภิกษุอาพาธ นุ่งกางเกงเพือบําบัดอาพาธได้ เช่น เป็นโรคไส้เลือน นุ่งกางเกงใน กอ็ นุโลมได้ เพราะอยใู่ นทปี กปิด มดิ ชดิ ซงึ ถา้ ไม่นุ่งกจ็ ะเป็นอนั ตรายอาพาธหนัก เพมิ ขนึ ขอ ๑๑ เม่ือถายอุจจาระแลว ถามีนํ้า ตองชําระ เว้นไว้แต่หานําไม่ได้ หรอื ไม่มี ภาชนะตกั เชน่ นจี ะเชด็ ดว้ ยไมห้ รอื ของอนื กไ็ ด้ ในขอ้ นี พระพทุ ธองคท์ รงบญั ญตั ไิ วเ้ พอื อนามยั ของภกิ ษุวา่ เมอื ถ่ายอจุ จาระแลว้ ถา้ มนี ํา ตอ้ งใชน้ ําชาํ ระ จะใชส้ งิ อนื ชาํ ระแทนไมไ่ ด้ เพราะนํานนั สามารถชาํ ระไดส้ ะอาดกวา่ ปลอดภยั กว่า อนงึ เกยี วกบั เรอื งสขุ อนามยั การถ่ายอจุ จาระ ในขทุ ทกวตั ถุขนั ธกะ จุลลวรรค ทตุ ยิ ภาค (พระไตรปิฎกเล่มที ๗) พระพทุ ธองคท์ รงวางหลกั ทเี ป็นพระพทุ ธานุญาตไวใ้ หภ้ กิ ษุปฏบิ ตั ิ ดงั นี ๑) พระพทุ ธานุญาตหลุมถายอุจจาระ มปี ฐมเหตุมาจากภกิ ษุทงั หลายถ่ายอจุ จาระ ลงในทนี ันๆ ในอาราม เป็นเหตุให้อารามสกปรก จึงทรงอนุญาตให้ถ่ายอุจจาระในทสี มควร ขา้ งหนึงของอาราม ต่อมาอารามมกี ลนิ เหมน็ กท็ รงอนุญาตใหส้ รา้ งหลุมอจุ จาระ ๒) พระพุทธานุญาตวัจกุฎีและประตูวัจกุฎี มปี ฐมเหตุมาจากภิกษุทงั หลายถ่าย อจุ จาระในทแี จง้ มคี วามลาํ บากดว้ ยรอ้ นบา้ ง หนาวบา้ ง จงึ ทรงอนุญาตใหม้ วี จั กฎุ ี เมอื วจั กฎุ ไี ม่มี บานประตู กท็ รงอนุญาตบานประตอู กี ๓) พระพุทธานุญาตเชือกหอยสําหรับเหนี่ยวถายเปนตน มปี ฐมเหตุมาจากภกิ ษุ รูปหนึงชราทุพพลภาพ ถ่ายอุจจาระแล้วลุกขนึ ล้มลง จึงทรงอนุญาตเชอื กหอ้ ยสําหรบั เหนียว ในสมัยนัน วัจกุฎียังไม่มีเครืองล้อม ภิกษุทงั หลายจึงกราบทูลให้ทรงทราบ พระพุทธองค์จึง ทรงอนุญาตใหล้ อ้ มรวั ได้ ๔) พระพุทธานุญาตหมออุจจาระเปนตน เมอื ยงั ไม่มหี มอ้ อุจจาระ กท็ รงอนุญาต หมอ้ อจุ จาระ เมอื กระบอกตกั นําชาํ ระอจุ จาระไมม่ ี กท็ รงอนุญาตกระบอกตกั นําชาํ ระอุจจาระ เมอื ภกิ ษุนงั ถ่ายลาํ บาก กท็ รงอนุญาตเขยี งรองเทา้ สาํ หรบั นงั ถ่าย เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 291

๒2๘9๘2 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ขอ ๑๒ อยาพึงใหทําสัตถกรรมและวัตถิกรรมในหรือใกลที่แคบ ในทนี ี คําว่า สัตถกรรม หมายถงึ การกระทาํ ใดๆ ในทแี คบคอื ใกลบ้ รเิ วณทวารหนัก ๒ นิว ดว้ ยการใชม้ ดี ผ่า หรอื ตดั ใชเ้ ขม็ แทง ใชห้ นามบ่ง ใชว้ ตั ถุแหลมคมต่างๆ เจาะ รวมถงึ ใชเ้ ล็บขดี ข่วน ส่วนคําว่า วตั ถกิ รรม หมายถงึ การใชห้ นงั หรอื ผา้ ผกู รดั ทที วารหนกั เพอื รดั หวั ไสห้ รอื รดิ สดี วง พระพทุ ธองคท์ รงหา้ มไมใ่ หท้ าํ สตั ถกรรม ดว้ ยทรงบญั ญตั วิ ่า “ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุไมพึง ใหทําการผาตัดในที่แคบ รูปใดใหทํา ตองอาบัติถุลลัจจัย” และทรงหา้ มไม่ใหท้ ําวตั ถกิ รรม ดว้ ย ทรงบญั ญตั วิ ่า “ภกิ ษทุ งั้ หลาย ภกิ ษไุ มพ ึงใหทําวัตถกิ รรม ในที่ประมาณ ๒ นว้ิ โดยรอบแหงที่แคบ รูปใดใหทําตอ งอาบตั ถิ ุลลัจจัย” แต่ในสมยั ปจั จุบนั วิทยาศาสตร์ทางการแพทย์เจรญิ ลําหน้าไปมาก เมอื ภิกษุเป็นโรค รดิ สดี วงทวาร กอ็ นุโลมใหแ้ พทยผ์ ชู้ าํ นาญทาํ การผา่ ตดั ได้ ขอท่ี ๑๓ ภิกษุตองใชไมชําระฟน เพราะเปนธรรมเนียมของภิกษุตองใชไมชําระฟน ท้ังนี้ สืบเน่ืองจากในสมัยหนึ่ง ภิกษุท้ังหลายไมเค้ียวไมชําระฟน ปากมีกลิ่นเหม็น ภิกษุทั้งหลาย จึงกราบทูลใหพระพุทธองคทรงทราบ พระพุทธองคจึงตรัสถึงโทษในการไมเค้ียวไมชําระฟนวา มี ๕ ประการ คือ (๑) นัยนตาไมแจมใส (๒) ปากมีกลิ่นเหม็น (๓) ลิ้นรับรสอาหารไมบริสุทธิ์ (๔) ดีและเสมหะหอหุมอาหาร (๕) ไมชอบอาหาร (คือเบื่ออาหาร เพราะฉันไมรูรส) และตรัสถึง อานสิ งส (ประโยชน หรอื ผลดี) ในการเค้ียวไมชําระฟนวามี ๕ ประการ ที่ตรงกันขาม คือ (๑) นัยนตา แจมใส (๒) ปากไมมีกลิ่นเหม็น (๓) ลิ้นรับรสอาหารบริสุทธ์ิ (๔) ดีและเสมหะไมหอหุมอาหาร (๕) ชอบอาหาร แลวทรงอนญุ าตใหภิกษใุ ชไมชําระฟน นับแตน้ันมา (ว.ิ จุล.๗/๔๐) อนึ่ง ในวินัยมุขเลม ๒ ทานกลาวถึงประโยชนจากการเค้ียวไมชําระฟนไว ๕ อยาง โดยสํานวนวา (๑) ฟนไมสกปรก (๒) ปากไมเหม็น (๓) เสนประสาทรับรสหมดจดดี (๔) เสมหะ ไมหมุ อาหาร (๕) ฉนั อาหารมรี ส (เวลาตอบขอสอบพึงใชตามวินัยมุข) ไมชําระฟนนั้น ในสมัยพุทธกาล พระพุทธองคทรงหามมิใหใชขนาดที่ยาวเกินไป หรือ สั้นเกินไป แตใหใชข นาดความยาวประมาณ ๔ น้ิว ถงึ ๘ นวิ้ ขอที่ ๑๔ น้าํ ที่ใชดมื่ ตอ งกรองกอ น ทง้ั นเ้ี พื่อปองกนั ตัวสัตว และเพื่อใหน้ําสะอาด สําหรับ ในขอน้ีทรงอนุญาตผากรองนํ้าไว จะใชผาท่ีเปนผืน หรือแผนผาเล็ก ๆ ผูกกับกระบอกไมหรือวัตถุ อยางใดอยางหนงึ่ ซ่งึ มลี กั ษณะเหมอื นกระบอกไมท เี่ รียกวา ธมกรก ก็ได เพื่อปองกันที่จะดื่มตัวสัตว เขาไป และเพ่อื ตอ งการใหภิกษุไดด่ืมนาํ้ ที่สะอาดปราศจากสิ่งท่ีอาจจะเปนอันตรายไดด วย 292

 2๒9๘3๙ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ กณั ฑท ่ี ๑๒ บรขิ ารบริโภค บรขิ ารบรโิ ภค หมายถงึ บรขิ ารเครอ่ื งใชส อยของภกิ ษุ ทา นจําแนกไว ๔ อยาง คอื เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๑.จีวร จีวร แปลวา ผา เปนผาบริขารดั้งเดิมและจําเปนอยางย่ิงของภิกษุ เพราะในการบวช เปน ภิกษุจะขาดบรขิ ารสําคัญนี้ไมไ ด โดยในพิธีอุปสมบท พระกรรมวาจาจารยผูแทนสงฆจะตอง สอบถามวา ปรปิ ุณฺณนฺเต ปตฺตจวี รํ บาตรและจวี รของเธอมคี รบบรบิ ูรณแลวหรือ ? ซึ่งถามีไมครบ สงฆจะไมย อมทําการอุปสมบทให เพราะการเปน ภกิ ษุตองมีเครอื่ งนงุ หม ปกปด รา งกายนน้ั จีวรน้ันคราวแรกคงมีเพียง ๒ ผืน คือผานุงผืนหนึ่ง ผาหมผืนหน่ึง ในคราวตอมา พระพุทธองคทรงพิจารณาจากประสบการณท่ีทรงเผชิญกับความหนาวเย็นของสภาพอากาศ ในฤดหู นาว (เดอื น ๓ – เดือน ๔ สมัยพุทธกาล) ทรงเห็นวาเครื่องนุงหมเพียง ๒ ผืนไมเพียงพอ จึงทรงอนญุ าตผา ซอนนอกเพม่ิ เตมิ ขน้ึ อกี ผืนหนึ่งเพอื่ ใชใ นฤดหู นาว จีวรอันเปนบริขารเคร่ืองนุงหมของภิกษุ จึงมี ๓ ผืน เรียกวา “ติจีวรํ” หรือ ไตรจีวร แปลวา ผา ๓ ผืน ดังน้ี 293

๒2๙9๐4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๑. อันตรวาสก แปลวา ผาที่อยูระหวางกายเบื้องตํ่า หมายถึง ผาสําหรับนุง ท่ีเรา เรยี กกันวา สบง ๒. อุตตราสงค แปลวา ผาที่เกยี่ วอยใู นสว นกายดา นบน หมายถงึ ผาสําหรับหม ที่เรา เรยี กกนั ท่ัวไปวา จวี ร ๓. สังฆาฏิ แปลวา ผาทาบซอน หมายถึง ผาทาบสําหรับหมซอนปองกันความหนาว ในฤดหู นาวที่เรารูจกั กันทุกวนั น้ี คือผา พาดหรอื ทาบไหลทบั จวี ร ประมาณหรือขนาดของไตรจีวรนั้น ทานกําหนดไววา สังฆาฏิ และอุตตราสงค ยาว ๙ คืบ กวาง ๖ คืบ โดยคืบพระสุคต สวนในเมืองไทยเราท่ีใชกันอยู สังฆาฏิและอุตราสงค ยาว ไมเกิน ๖ ศอก กวางไมเกิน ๔ ศอก สวนอันตรวาสก ยาวไมเกิน ๖ ศอก กวางไมเกิน ๒ ศอก แตก็ยังใหญยาวเกินไปตองลดลงมาใหเหมาะสมแกขนาดของบุคคล ซ่ึงไมมีกําหนดที่แนนอน สําหรับภิกษุขนาด ปานกลาง สังฆาฏิกับอุตตราสงคลดดานยาวเสีย ๑ คืบ ดานกวาง ๘ นิ้ว อันตรวาสกลดดานยาวลงเหลือเพียง ๕ ศอก ถึง ๕ ศอก ๘ นิ้ว ดานกวางเหลือเพียง ๑ ศอก ๑ คืบ ๔ นิว้ จะพอเหมาะพอดี ผาหมถา แคบหรอื ส้ันเกินไป เมื่อหมก็หลุดงายไมสวยงาม ถายาว เกินไปกจ็ ะทําใหร ุมรา ม ผา นงุ ก็เหมือนกัน 294

 2๒9๙5๑ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ พระพุทธานญุ าตผา สาํ หรบั ทาํ จวี ร ๖ ชนิด คอื เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๑. โขมะ ผา ทําดวยเปลือกไม เชน ผาลนิ ิน ๒. กปั ปาสิกะ ผา ทําดวยฝาย ๓. โกเสยยะ ผาทาํ ดวยไหม เชน ผาแพร ๔. กัมพละ ผา ทาํ ดวยขนสัตว ยกเวนผมและขนมนุษย เชน ผา สกั หลาด ๕. สาณะ ผาทําดวยเปลือกปาน ซง่ึ เปน ผาเนอ้ื สาก ๖. ภงั คะ ผาทําดวยของ ๕ อยางน้ัน อยางใดอยางหน่ึงปนกัน เชน ผาทําดวย ดายแกมไหม เคร่ืองนุงหมที่ทําดวยของอ่ืนนอกจากผา ๖ ชนิดเหลาน้ี หามมิใหใช ตามท่ีทานระบุ ไวในพระบาลี อันเปนของพวกเดียรถียใชกันอยู มี ๘ ชนิด คือ (๑) คากรอง (๒) เปลือกตนไมกรอง (๓) ผลไมกรอง (๔) ผากําพลทําดวยผมคน (๕) ผากําพลที่ทําดวยหางขนสัตว (๖) ปกนกเคา (๗) หนังเสือ (๘) ผาทําดวยปอ ภิกษุนุงหมผาที่ทําดวยของเหลาน้ีเปนวัตร ตองอาบัติถุลลัจจัย นงุ เพยี งชัว่ ครั้งชวั่ คราว ตอ งอาบัตทิ ุกกฏ พระพุทธบัญญัติหามใชจีวรที่ไมตัด : สมัยน้ัน พวกภิกษุฉัพพัคคียใชจีวรที่ไมไดตัด ใชจีวรท่ียอมนํ้าฝาดมีสีเหมือนงาชาง ชาวบานพากันเพงโทษ ติเตียน โพนทะนา ความทราบถึง พระพุทธองค จึงตรัสหามวา “ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไมพึงใชจีวรที่ไมตัด รูปใดใช ตอ งอาบตั ิทุกกฏ” ผาไตรจีวรนั้นพระพุทธองคตรัสสั่งไวใหเปนของตัด คือมิใหใชผาที่เปนแผนเดียวกัน 295

2๒๙9๒6 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ทง้ั หมดตลอดผนื ใหต ดั เปนแผนเล็กแผนใหญ และนํามาเย็บประกบกันใหเปนผืนเทาประมาณที่ ทรงบัญญัติ ครั้งแรกๆ น้ัน คงจะไมใหตัดเปนระเบียบเหมือนในปจจุบัน เพราะภิกษุเที่ยวไปหา เศษผาที่เขาท้ิงและผาหมศพ ไดผาท้ังเน้ือหยาบและละเอียดมีขนาดตาง ๆ กันมาดูแลวไมเปน ระเบียบเรียบรอย พระพุทธองคจ งึ ทรงโปรดใหพระอานนทต ัดใหเหมือนผืนนาของชาวมคธรัฐ สรุปวา จีวรนั้นมีพระพุทธบัญญัติใหตัดทําเปนกระทงมีเสนค่ัน กระทงใหญเหมือนกับ ผืนนาแปลงใหญ เรียกวา มณฑล กระทงเล็กเหมือนผืนนาแปลงเล็ก เรียกวา อัฑฒมณฑล มีเสนคั่นในระหวางดุจคันนาขวางอยู เรียกวา อัฑฒกุสิ รวมมณฑล อัฑฒมณฑล และอัฑฒกุสิ เรียกวา ขัณฑ ในระหวางขัณฑ มีเสนคั่นดุจคันนายืนหรือตั้ง แตยาวตลอดท้ังผืน เรียกวา กุสิ ดงั น้ัน จวี รผนื หน่ึงตองมีขัณฑไมนอยกวา ๕ ขัณฑ คือตองใชผาอยางนอย ๕ แถบ หรือ ๕ แผน มาเยบ็ ประกบตดิ กัน แถบหนง่ึ แบง เปน ๒ สว น คอื แถบใหญท ่ีเรยี กวา มณฑล แถบนอยท่ีเรียกวา อัฑฒมณฑล และมีกุสิค่ันอยูในระหวาง (หากจะทําใหเกินกวา ๕ ขัณฑ ก็ได แตตองทําเปน ขัณฑขอน คือขัณฑคี่ ไดแก ๗,๙,๑๑ ขัณฑ เปนตน) เฉพาะขัณฑกลาง เรียกวา วิวัฏฏะ อกี ๔ ขณั ฑ เรียกชื่อวา อนุววิ ัฏฏะ และยงั มีชอื่ เรยี กตาง ๆ กันออกไปตามสถานท่ตี ้ัง ดังตอไปนี้ (๑) อัฑฒมณฑล คีเวยยกะ (๒) มณฑล วิวฏั ฏะ (๓) อฑั ฒมณฑล ชงั เฆยยกะ (๔) มณฑล อนุวิวัฏฏะ (๕) อฑั ฒมณฑล พาหันตะ (๖) มณฑล อนวุ วิ ัฏฏะ (๗) อัฑฒกุสิ (๘) กสุ ิ (๙) อนุวาต (๑๐) รังดมุ (๑๑) ลกู ดุม เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 296

 29๒๙7๓ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ ตวั อยา งแผนทจี่ วี ร ๕ ขณั ฑ ในคัมภีรอรรถกถาวินัย (สมันตปาสาทิกา) ไดอธิบายความหมายของช่ือเรียกตาง ๆ ของจีวรท่ี ตัดเปน ๕ ขันฑ ตามลาํ ดับทพ่ี ระพทุ ธองคตรัสไว ดังน้ี ๑. กุสิ คือสวนของผาที่มีลักษณะเปนเสนค่ันยาวอยูติดขอบจีวรท้ัง ดานยาวและดานกวาง ๒. อัฑฒกสุ ิ คือสว นของผาท่เี ปนเสนคัน่ สน้ั ๆ อยูเปนตอน ๆ ในระหวางกุสิ ๓. มณฑล คือสว นของผา ทีเ่ ปน วงกวางอยใู นแตล ะขัณฑ (ตอนหรอื สวน) แหง จีวร ๕ ขัณฑ ๔. อฑั ฒมณฑล คอื สว นของผา ที่เปนวงเล็กๆ ๕. ววิ ัฏฏะ คอื สว นของผาทอ่ี ยตู รงกลางของจวี รซึ่งเย็บมณฑล และอัฑฒ- มณฑลเขาดว ยกนั ๖. อนวุ วิ ัฏฏะ คือสวนของผา สองสว นทอี่ ยูสองดานของจีวร ๗. คีเวยยกะ คอื สวนของผาทเี่ อาดายเยบ็ อยา งดีทาบเขามาทีหลังเพื่อทําให ยดึ แนนอยูบ รเิ วณจวี รทีพ่ นั รอบคอ ๘. ชงั เฆยยกะ คือสวนของผาท่ีเอาดายเย็บอยางดีทาบเขามาทีหลังอยู บริเวณจวี ร สวนทคี่ ลมุ แขง ๙. พาหันตะ คือสวนของผาท่ีเปนชายอยูสองดานของจีวร ซ่ึงเมื่อภิกษุหม จีวรไดข นาดพอดี จะมว นมาพาดอยทู แี่ ขน มดี านหนาอยูนอก เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 297

2๒๙9๔8 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 พระพทุ ธานญุ าตใหย อ มจีวรดวยของ ๖ อยาง อยางใดอยางหน่ึง คือ (๑) รากหรือเหงา (๒) ตน ไม (๓) เปลือกไม (๔) ใบไม (๕) ดอกไม (๖) ผลไม สีท่ีหามยอมจีวรมี ๗ สี คือ (๑) สีคราม (๒) สีเหลือง (๓) สีแดง (๔) สีบานเย็น (๕) สีแสด (๖) สชี มพู (๗) สดี าํ สีเหลืองเจือแดงเขมหรือสีเหลืองหมน เชน สีที่ยอมดวยแกนขนุน หรือที่เรียกวาสีกรัก เปน สที ี่รบั รองวาใชไ ด (สกี รกั เปน สีจีวรนยิ มในปจ จุบนั ) จีวรนั้น หามมิใหใชผาที่กาววาว จึงทรงหามมิใหใชจีวรที่เปนรูปลายสัตว จีวรที่เปน ลายดอกไม ผลไม เปนตน เวนไวแตจีวรมีดอกเล็กๆ ไมกาววาว เชน ดอกเมล็ดพริกไทย หรือ ท่ีเปนร้ิว เชนแพรโล ใชได เพ่ือปองกันลมพัดจีวรปลิว จึงทรงอนุญาตรังดุม (หวง) และลูกดุมสําหรับกลัดผา อตุ ตราสงค และสังฆาฏิ ซึ่งอยูท่ีชายลางแหงหนึ่งและที่ขอบอนุวาตดานบนตรงขัณฑกลางแหงหน่ึง รังดุมติดไวดานขวา ลูกดุมติดไวดานซาย ลูกดุมในพระบาลี ทรงอนุญาตใหทําดวยของเหลานี้ คือ (๑) กระดูก (๒) งา (๓) เขา (๔) ไมไผ (๕) ไมรวก (๖) ไมแกน (๗) ครั่ง (๘) กะลา (๙) โลหะ (๑๐) สังข (๑๑) ดายถัก แมลูกถวินที่ติดอยูท่ีปลายประคดเอว ก็ควรทําดวยวัตถุ ดังกลาวนี้ (แตใ นปจ จุบนั ไมนิยมแลว ) สําหรับผาอันตรวาสกนั้น เพ่ือปองกันการหลุด จึงทรงอนุญาตประคดเอวไว ๒ ชนิด คือ (๑) ประคดแผน ซึ่งใชดายหรือไหมถักเปนแผน เชน ที่ใชอยูในปจจุบันนี้ เรียกอีกอยางวา ประคดลังกา (๒) ประคดไสสุกร คือผาเย็บเปนปลอก ทรงหามใชประคดเอวท่ีถักดวยสีตาง ๆ และแบบตา ง ๆ ซงึ่ ทําใหวิจิตรกาววาว นอกจากไตรจีวร ยังมีผาที่ทรงอนุญาตใหใชเพ่ิมอีก ๖ ชนิด คือ (๑) วัสสิกสาฏิกะ ผาอาบนํ้าฝน (๒) กัณฑุปฏิจฉาทิ ผาปดฝ (๓) นิสีทนะ ผาปูน่ัง (๔) ปจจัตถรณะ ผาปูนอน (๕) มุขปุญฉนะ ผา เช็ดปาก (๖) ปริกขารโจละ ผาใชเปน บริขาร เชน ถุงบาตรและยาม ผาอาบน้ํา จํากัดประมาณ ๖ คืบ กวาง ๒ คืบคร่ึง แหงคืบพระสุคต ใหมีใชไดเพียง ผืนเดียวเทา นั้น และใชไดเฉพาะฤดฝู นเทา น้นั เม่อื หมดฤดฝู นตองเลิกใช ผาปดฝก็เชนเดียวกัน ยาว ๔ คืบ กวาง ๒ ศอก ใหมีไดผืนเดียว ในคราวอาพาธ รา งกายเปนแผล เชน ออกฝดาษ สุกใส พุพอง เม่ือหายแลว ตอ งเลิกใช ผานิสีทนะ มีจํากัดประมาณยาว ๒ คืบ กวางคืบคร่ึง ชายคืบหนึ่ง วิธีทําผานิสีทนะน้ัน มี ๓ แบบ คือ (๑) แบบของพระอรรถกถาจารย คือชายผายาว ๑ คืบครึ่ง ตัดเปน ๓ ขนาดเทากัน ทางดานกวาง กวางชายละ ๖ น้ิว ตอชายเขาแลวเปนผานิสีทนะยาว ๓ คืบ กวาง ๑ คืบคร่ึง (๒) แบบของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ คือ ชายยาว ๒ คืบ กวาง ๑ คืบ ตัดเปน ๓ ชาย ชายใหญกวาง ๖ นิ้ว ชายเล็กกวาง ๓ นิ้ว ยาวเทากัน ตอชายเขา 298

 2๒9๙9๕ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ แลว เปนผานิสีทนะยาว ๒ คืบ ๖ น้ิว กวาง ๒ คืบ (๓) แบบพิเศษ คือเอาชาย ๑ คืบจัตุรัสนั้น ตัดกลางใหเปน ๒ ชายเทากัน ชายหนึ่งๆ ยาว ๑ คืบ กวาง ๖ น้ิว เอาชายหนึ่งตัดกลางใหเปน ๒ ชายเทากัน อีกชายหน่ึงๆ กวาง ๖ น้ิวจัตุรัส เอาเพลาะติดเขากับดานสกัดของชายใหญ ดานละชาย เปนชายเดียว ยาว ๒ คืบ กวาง ๖ น้ิว เอาเพลาะติดเขากับตัวผานิสีทนะ ทางดาน ยาว เมือ่ ตอ ชายเขาแลว ผานสิ ีทนะน้นั เปนกวางยาว ๒ คืบจัตุรสั ซง่ึ จะเทากันทกุ ดา น ไตรจีวรและผาที่นอกจากไตรจีวรที่ทรงอนุญาตไวสําหรับใชสอยดังกลาวมาน้ี โปรดให อธิษฐาน คําวา อธิษฐาน ในทางพระวินัยหมายถึงการตั้งเอาไวหรือต้ังใจกําหนดเอาไว คือ ตั้งเอาไวเปนของนนั้ ๆ หรือต้ังใจกําหนดเอาไววาจะใชเปนของประจําตัวชนิดน้ันๆ เชน ไดผามา ผนื หนึ่งตง้ั ใจไววาจะใชเปนสังฆาฏิ สบง จีวร ก็อธิษฐานเปนอยางนั้นๆ เม่ืออธิษฐานแลว ผาน้ัน เรียกวาเปนผาอธิษฐาน หรือผาครอง วิธีอธิษฐานมี ๒ ลักษณะ โดยใชกายคือมือสัมผัสแลว กําหนดนึกคําอธิษฐานในใจ หรือเปลงวาจาก็ได เม่ือจะเปล่ียนใหมตองปจจุทธรณ คือถอน อธิษฐานของเดมิ กอน ผาอ่ืนนอกจากนี้มีกําหนดยาวตั้งแต ๘ น้ิว กวาง ๔ นิ้วข้ึนไป จัดเขาในอติเรกจีวร ตองวิกัปไว คําวา วิกัป หมายถึง การทําใหเปนของสองเจาของ คือขอใหภิกษุ สามเณรอ่ืน รวมเปนเจาภาพของจีวรหรือบาตรนั้นๆ ดวย ซ่ึงมีผลทําใหไมตองอาบัติเพราะเก็บอติเรกจีวร หรืออติเรกบาตรไวเกินกําหนด มี ๒ ลักษณะ (๑) สัมมุขาวิกัป วิกัปตอหนา คือการนําผาอติเรก จวี ร เขา ไปหาภิกษุทตี่ นตอ งการจะวิกัปดว ยแลว กลา วคําวิกัปตอหนา (๒) ปรัมมุขาวิกัป วิกัปลับหลัง คือการเอาอติเรกจีวรไปฝากใหภ กิ ษุรูปอนื่ ชวยวิกัปกบั ภิกษุอีกรูปหน่ึง ๒. บาตร บาตร เปนบริขารด้ังเดิมของภิกษุคูกับไตรจีวร เพราะเปนบริขารสําหรับใชบิณฑบาต เล้ียงชีพ บาตรนัน้ ทรงอนุญาตไว ๒ ชนิด คือ (๑) บาตรดินเผา (๒) บาตรเหล็ก สิง่ ท่หี า มใชแทนบาตร มี ๓ ชนดิ คอื (๑) กระทะดิน (๒) กะโหลกน้ําเตา (๓) กะโหลก หวั ผี เพราะเปน ส่งิ ไมเ หมาะสม ชนิดของบาตรทหี่ า มใช ซง่ึ ระบไุ วในพระบาลี มี ๑๑ ชนิด คือ (๑) บาตรทอง (๒) บาตรเงิน (๓) บาตรแกว มณี (๔) บาตรแกวไพฑูรย (๕) บาตรแกว ผลึก (๖) บาตรแกว หงุ (๗) บาตรทองแดง (๘) บาตรทองเหลือง (๙) บาตรดบี ุก (๑๐) บาตรสังกะสี (๑๑) บาตรไม เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 299

3๒๙0๖0 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ขนาดของบาตร ทานระบไุ ว ๓ ขนาด คอื (๑) ขนาดใหญ จุขาวสกุ แหงขาวสารก่ึงอาฬหกะ กนิ ได ๑๐ คน (๒) ขนาดกลาง จขุ า วสกุ แหงขา วสารนาฬีหน่ึง กินได ๕ คน (๓) ขนาดเลก็ จขุ าวสุกแหงขา วสารปตถะหน่ึง คอื ๒ คนกินเหลือ ๓ คน กนิ ไมพ อ บาตรน้ันทรงอนุญาตใหภิกษุอธิษฐานไวไดเพียงใบเดียว ตั้งแตใบท่ี ๒ ไปเรียกวา อติเรกบาตร ซ่ึงเก็บไวไดเพียง ๑๐ วัน ตองวิกัปไวภายในกําหนด ถาจะเปลี่ยนบาตรใหม ตอง ปจจุทธรณบาตรเดิมเสียกอนแลวจึงอธิษฐานบาตรใหมได บาตรท่ีใชไมได จําจะตองเปล่ียนใหม นน้ั ตองมรี อยราวแหงเดียวถงึ ๑๐ นิ้ว หรอื หลายแหงรวมแลว ๑๐ น้ิว เชน มีรอย ๕ แหง แหงละ ๒ นิ้ว ก็เปลี่ยนได ถายังไมถึง ๑๐ น้ิว ภิกษุขอบาตรกับคฤหัสถท่ีมิใชญาติ มิใชปวารณา (เคยเอย ปากใหข อไว) ไดม าตองนิสสัคคียปาจิตตีย หรือบาตรน้ันแตกทะลุอาหารร่ัวออกได เพราะในครั้ง พทุ ธกาล บาตรนอกจากจะใชใสอาหารสาํ หรบั ฉนั แลว ยงั ใชสาํ หรับตักหรอื ใสนํ้าดม่ื อีกดว ย ธรรมเนียมระวังรักษาบาตร ในครั้งพุทธกาล คงใชบาตรดินเผากันเปนพื้น บาตรเหล็ก คงจะมีนอย จึงมีธรรมเนียมระวังรักษาบาตรกันอยางกวดขัน หามมิใหวางบาตร เก็บบาตรในท่ี จะตกแตก หรอื ในทท่ี จ่ี ะเปนอันตรายตอ บาตร ซ่ึงในพระบาลมี ีหา มไว ดงั น้ี (๑) หามวางบาตรบนเตียง (๒) หา มวางบาตรบนตัง่ (มาหรือโตะ) (๓) หา มวางบาตรบนรม (๔) หามวางบาตรบนพนัก (๕) หามวางบาตรบนพรึง (ชานนอกพนกั ) (๖) หา มวางบาตรบนตึก (เกรงลกุ ขนึ้ ไมม สี ติ บาตรจะแตก) (๗) หามแขวนบาตร (เชนราวจวี ร) (๘) ไมใหควํา่ บาตรท่ีคมแข็ง อันจะประทุษรา ยบาตร (๙) มบี าตรอยูในมอื หา มผลักบานประตู อนึ่ง ทานใหรูจักรักษาบาตร โดยหามไมใหใชบาตรตางกระโถน จะท้ิงกางปลา กระดูก เนือ้ ลงในบาตร ไมค วร หา มลางมือ บวนปากลงในบาตร จะเอามือเปอ นจับบาตรกไ็ มควร ฉันแลว ตองลางบาตร จะเกบ็ บาตรท้งั ยงั เปย กๆ ไมได หามผึ่งบาตรท้ังยังเปยก ตองเช็ดนํ้าใหหมดกอนจึงผ่ึง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 300

 3๒0๙1๗ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ จะผึ่งไวน านก็ไมได ใหผึง่ ไวเพยี งชวั่ ครหู น่งึ นอกจากน้ี ยังทรงอนุญาตเชิงไวสําหรับรองบาตร แตหามมิใหใชของที่เปนอกัปปยะ และของท่ีวิจิตรกาววาวดวยรูปตางๆ ใหใชของเรียบๆ ปกติ จะทําดวยดีบุก หรือสังกะสี หรือไม ก็ไมได สวนฝาบาตรมีขึ้นในภายหลัง และทรงอนุญาตถุงมีสายโยคไวสําหรับใสบาตรเขาไวเพ่ือ คลอ งจะงอยบาในเวลาเดินทาง ๓. เครือ่ งอปุ โภค เครื่องอุปโภค คือสิ่งของสําหรับใชสอย เดิมทีดูเหมือนมีพระพุทธประสงคจะใหภิกษุ มบี รขิ ารเพียงเลก็ นอ ย พอติดตัวไปไหนมาไหนไดส ะดวก แตตอมาก็ทรงอนุญาตเพิ่มข้ึนเปนสิ่งๆ ไปตามความจําเปน ดงั นั้น ในทีน่ ี้บรขิ ารท่ที านจัดเปนเครอื่ งอุปโภค มี ๕ อยาง คือ (๑) กลองเข็ม (๒) เครื่องกรองน้าํ (๓) มดี โกนพรอมทั้งฝก หินสําหรับลับ และเคร่ืองสะบัด (๔) รม (๕) รองเทา แตละอยา งมีขอ หามและขอ อนุญาต ดงั นี้ ๑. กลองเข็ม หามมิใหใชของท่ีทําดวยกระดูก งา และเขา หากภิกษุทําข้ึนใชเองตอง อาบัติปาจิตตีย ใชของที่คนอ่ืนทําขึ้น ตองอาบัติทุกกฏ ตองทําลายเสียกอนจึงจะแสดงอาบัติตก กลองเข็มท่ีทําดว ยวัตถอุ ืน่ นอกจาก ๓ อยา งนี้ ทรงอนุญาตใหใชได ๒. เคร่ืองกรองนํ้า เปนผาก็มี เปนกระบอกกนผูกผาท่ีเรียกวา ธมกรก ก็มี หรือ อยางอ่ืนก็ไดเหมือนกัน โดยสามารถใชกรองนํ้าไดเพื่อใหภิกษุไดดื่มนํ้าสะอาด ภิกษุใดไมมี ผากรองน้ํา หามมิใหเดินทางไกลกวาคร่ึงโยชนข้ึนไป ถาหาอยางอ่ืนไมได ใหอธิษฐานชาย ผาสังฆาฏิ เปนผากรองนํ้า ถาภิกษุอื่นไมมีผากรองนํ้า ออกปากขอยืม หามมิใหหวง ตองใหยืม ผากรองนํ้าน้ัน ขอ นีม้ พี ระพทุ ธประสงคอ กี ประการหน่ึงกเ็ พอ่ื มิใหภ ิกษดุ มื่ น้าํ ทม่ี ตี ัวสตั วเขา ไป ๓. มีดโกน พรอมทั้งฝก หินสําหรับลับ และเคร่ืองสะบัด เปนวัตถุที่ทรงอนุญาตไว สาํ หรบั ปลงผม โกนหนวด ไมจัดวาเปนศัสตราวุธ แตสําหรับภิกษุผูที่เคยเปนชางกัลบก (ชางตัด แตงผม) มากอน หามมิใหมีมีดโกนไวสําหรับตัว ท้ังน้ีเพ่ือจะตัดมิใหใชวิชาชีพเดิมและเพื่อมิให หวนระลึกถงึ ความหลงั ซึ่งจะไดมีสมาธติ งั้ หนาบําเพญ็ สมณธรรมตอไป ๔. รม ทา นหามมิใหใชของกาววาว เชน มีสีที่ฉูดฉาด ปกดวยไหมสีตาง ๆ ใหใชแตท่ี ทาํ เรียบๆ ทรงอนุญาตใหใชไ ดเ ฉพาะในวัดและบรเิ วณใกลๆ วัด หามไมใ หก้ันรม เขา บานหรือเดิน ตามถนนหนทาง และตามละแวกบาน เวนแตอาพาธเจ็บไขไมสบาย หรือเมื่อถูกแดดถูกฝน อาพาธจะกําเริบ เชน ปวดศีรษะ เชนน้ีก้ันรมเขาบานได ทานพระอรรถกถาจารยผอนปรนใหวา ถากนั้ เพ่ือกันจีวรเปย กฝน ก้ันเพอื่ ปอ งกันภยั เพอ่ื รกั ษาตวั เชน ในคราวแดดจัด สามารถทาํ ได เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 301

๒3๙0๘2 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท ๕. รองเทา มี ๒ ชนดิ คือ (ก) ปาทกุ า เขียงเทา (ข) อุปาหนา รองเทาไมม ีสน (ก) ปาทุกา เขียงเทา นาจะไดแกรองเทามีสน มีรองเทาไมเปนตัวอยาง เหมือน รองเทาท่คี นจีนชอบสวม ท่ีเรยี กวา เกีย๊ ะ เขยี งเทา ทร่ี ะบชุ ่ือไวในพระบาลี มี ๑๕ ชนิด คอื (๑) เขยี งเทาทาํ ดว ยไม (๒) เขยี งเทา ทําดวยทอง (๓) เขยี งเทาทาํ ดว ยเงิน (๔) เขียงเทาประดับดวยแกว มณี (๕) เขียงเทา ประดบั ดวยแกวไพฑรู ย (๖) เขียงเทา ประดับดว ยแกวผลึก (๗) เขยี งเทาประดบั ดว ยทองแดง (๘) เขยี งเทา ทาํ ดว ยดีบุก (๙) เขยี งเทา ทําดวยสงั กะสี (๑๐) เขยี งเทา สานดวยใบตาล (๑๑) เขยี งเทาสานดวยตอก (๑๒)เขียงเทาทําดวยหญาตางชนิด (๑๓)เขียงเทาสานดวยใบเปง (๑๔) เขียงเทา สานดวยแฝก (๑๕)เขียงเทาถักหรือปกดวยขนเจยี ม เขียงเทาท้ัง ๑๕ อยางดังกลาวมาน้ีหามทุกอยาง แตเขียงเทาที่ทําดวยไม หาม เฉพาะสวมเดิน สวนที่ตรึงอยูกับทีถ่ า ยอจุ จาระ ปสสาวะ และเปนทีช่ ําระ ทรงอนุญาต (ข) อปุ าหนา รองเทาไมม สี น ชนิดท่ีทรงอนุญาต มี ๗ ชนดิ คอื (๑) เปนรองเทาทําดวยหนังสามัญช้ันเดียว ใชไดทั่วไป มากช้ันเปนของเกา ใชได แตถ าเปน ของใหมใชไดเ ฉพาะปจจนั ตชนบท เปน รองเทาชนดิ มสี ายใชนวิ้ คีบ (๒) เปน รองเทาไมม ีสีท่ีตองหาม แตสาํ รอกสีออกแลว ใชไ ด (๓) หูหรอื สายรัดไมมีสที ่ตี องหาม เปลี่ยนหูหรือสายรัดใหมใชได (๔) ไมข ลบิ ดวยหนังสตั วทีต่ อ งหา ม (๕) ไมป กสน ปกหลังเทา ปกแขง (๖) ไมใชพ ้นื ยัดนุน ตรงึ หรอื ประดับดวยขนนกกระทา ขนนกยูง (๗) ไมมหี เู ปน ชองดงั เขาแกะ ดงั งา มแมงปอง สีรองเทาท่ีตองหามมี ๗ อยาง คือ (๑) สีขาบ (๒) สีเหลือง (๓) สีแดง (๔) สีบานเย็น (๕) สีแสด (๖) สีชมพู (๗) สดี ํา รองเทาขลิบดวยหนังสัตวตองหามมี ๘ ชนิด คือ (๑) หนังราชสีห (๒) หนังเสือโครง (๓) หนังเสือเหลอื ง (๔) หนังชะมด (๕) หนงั นาก (๖) หนงั แมว (๗) หนังคาง (๘) หนงั นกเคา แมว รองเทาไมม ีสน ที่ทรงอนุญาตนัน้ ภกิ ษจุ ะใชใ นทีท่ ว่ั ไปไมไ ด ถาไมเจ็บเทา หามไมใหสวม เขา บา น เปนอาคันตกุ ะเขาไปวัดอืน่ ก็ตอ งถอด ภายในวดั ของตนเองหรือในปาสวมได ฝาเทาบาง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 302

 3๒0๙3๙ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ เหยียบพ้ืนท่ีแข็งไมได หรือฤดูรอน พื้นรอน เหยียบเขา เทาพองสวมเขาบานได เขาวัดอ่ืนได ในฤดูฝน ไปในทช่ี ้นื แฉะ ภกิ ษผุ ูอาพาธเปน โรคภยั สวมเพอ่ื กนั เทาเย็นได จํานวนของรองเทาน้ัน ในคัมภีรส ุมังคลวิสาลินี (อรรถกถาพระสตุ ตนั ตปฎก) ทานระบุวา ภิกษุสามารถมีรองเทาไดเพียง ๒ คู คูหนึ่งสําหรับสวมในวัด คูหน่ึงสําหรับสวมเวลาเดินปา ถา เกินกวาน้ัน ทา นใหเ สียสละใหผ ูอ ื่น เพราะจะเปนการสะสม ๔. เครอ่ื งเสนาสนะ คําวา เสนาสนะ แยกเปน ๒ คํา คือเสนะแปลวา ท่ีนอน และอาสนะ แปลวา ท่ีน่ัง รวมเปนเสนาสนะ แปลวา ท่ีนอนและที่นั่ง หมายถึง ที่อยูอาศัยของภิกษุ เชนกุฏิ วิหาร และ เครื่องใชเกยี่ วกับสถานท่ี เชน โตะ เกา อ้ี แมโ คนไม เมอ่ื ภกิ ษใุ ชเปนทอ่ี ยูอ าศยั กเ็ รียกวาเสนาสนะ ในทน่ี ้ีทา นกาํ หนดใหศกึ ษา ๘ อยาง คือ ๑. เตยี ง ทรงอนุญาตใหมีเทาสูงไดเพียง ๘ น้ิวพระสคุ ต ถา เปนของใหญหรือมีรูปสัตวราย ที่เทา เชน เตยี งจมกู สิงห ทเ่ี รียกวาบลั ลงั ก หา มใช ๒. ตั่ง คือมาสําหรับนั่งสี่เหลี่ยมรี น่ังไดสองคนก็มี ถามีเทาสูงเกิน ๘ น้ิว พระสุคต หา มใช ๓. อาสันทิ คอื มา สาํ หรับนั่งเหมือนต่ัง แตเ ปน ส่เี หลีย่ มจัตุรสั นัง่ ไดค นเดียว มี ๒ ชนิดคอื (๑) สัตตังคะ อาสนะมีองคเจ็ด คือเทา ๔ พนัก ๓ ดาน ไดแก พนักสําหรับพิง ๑ ท่วี างแขน ๒ ตรงกบั เกา อี้มแี ขน สูงกวา ๘ นิ้วก็ใชไ ด (๒) ปญจังคะ อาสนะมีองค ๕ คือ เทา ๔ พนักพิง ๑ ไดแกเกาอี้ไมมีแขน ไมได กลา วประมาณสงู ไว คงจะอนุโลมใชเหมอื นสัตตังคะ ๔. ฟูกเตียง คือที่นอน หามมิใหใชฟูกท่ียัดดวยนุนและสําลี ฟูกที่อนุญาตใหใชไดมี ๕ อยาง คือ (๑) ฟูกทย่ี ัดดวยขนแกะ ขนปกนกเคา และขนสัตว ๔ เทาอยางอ่ืนก็ใชได ยกเวน ผมและขนมนุษย (๒) ฟกู ทย่ี ัดดว ยทอนผาหรือเศษผา (๓) ฟกู ทยี่ ดั ดว ยเปลือกไม เชนเปลอื กมะพรา ว เปน ตน (๔) ฟูกทย่ี ัดดว ยหญา และฟางขาว (๕) ฟูกท่ียัดดวยใบไม ยกเวน ใบพิมเสนลวน ๆ แตถ าเจือปนกับของอ่ืน ก็อนุญาต เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 303

๓3๐0๐4 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ใหใชไ ด ๕. ฟูกต่ัง คือเบาะ หามมิใหใชท่ียัดดวยนุนและสําลี ทั้งเตียงและต่ังท่ีเปนของมีเบาะ หุมติด เชน เกาอี้เบาะ (เกาอี้นวม) ถาภายในยัดดวยของเปนกัปปยะใชได ปจจุบันน้ีใชฟองน้ํา และลวดสปรงิ เขาใจวา พออนโุ ลมใชได ไมเ ปน อาบัติ ทัง้ เตยี งและฟูก ถามีขนาดใหญ หา มมิใหใช แตจ ะใหญเ ทาไร มิไดกาํ หนดไว สันนษิ ฐานวา ใหญพอคนสองคนนอนได ซ่ึงดูจะเปนเตียงสําหรับ คูนอน อันไมเ หมาะแกภ กิ ษุ ๖. หมอนหนุนศีรษะ ทรงอนุญาตใหใชนุนยัดได ซ่ึงมีพระพุทธประสงคที่จะรักษา อวัยวะสวนสําคัญของรางกาย สวนท่ีนอนมิทรงอนุญาต เพราะเปนบอเกิดแหงกามราคะ และ ความม่ัวเมาแหงความสุขในการนอน หมอนนั้นใหมีประมาณพอศีรษะ คือเปนหมอนหนุนได เพียงคนเดียว ๗. มุง ไมไดระบุขอหามไวแตอยางใด ทรงอนุญาตเพราะในสมัยนั้นภิกษุท้ังหลาย ถูกยงุ รบกวน พระพทุ ธองคจงึ ทรงอนญุ าตใหใ ชมุง เพื่อปอ งกันยงุ ได ๘. เครื่องลาด หามมิใหใชเคร่ืองลาดที่จัดเปนของวิจิตรกาววาวท่ีระบุไวในพระบาลี ซึ่งหามใชนน้ั มี ๑๐ ชนดิ คือ (๑) ผา ขน เรียก โคณกะ มีขนยาวกวา ๔ น้วิ (๒) เคร่อื งลาดทําดว ยขนแกะ (๓) เครอื่ งลาดทท่ี อดว ยดายแกมไหม (๔) เคร่ืองลาดท่เี ปน ไหมลวน (๕) เครื่องลาดท่ที าํ ดว ยหนังสตั ว ชื่ออชนิ ะ อันมีขนออ นนมุ เชน หนงั แมวน้าํ (๖) เครื่องลาดอยางดีทําดวยหนงั ชะมด (๗) ท่ีนอน มีเพดานขางบน อาจเปนที่นอนท่ีมีมุงกางหรือจะเปนเตียงที่มีเพดาน ซง่ึ เมื่อทรงอนุญาตมุง กันยงุ แลว กอ็ นโุ ลมเปน ของท่ใี หใชไ ด (๘) เครอื่ งลาดหลังชาง (๙) เคร่อื งลาดหลังมา (๑๐) เครื่องลาดบนรถ เครื่องลาดท่ีเปนของวิจิตรแวววาวในสมัยพุทธกาลน้ัน ตกมาในสมัยปจจุบันกลายเปน ของสามัญมีอยูดาษดื่นไป เครื่องเสนาสนะอันเปนอกัปปยะที่เปนของคฤหัสถ ทรงอนุญาตใหนั่ง ทบั ได (ยกเวน บัลลงั ก) แตไมใหน อนทับ หามมใิ หภิกษุสองรูปนอนบนเตียงเดียวกัน บนเคร่ืองลาดอันเดียวกัน หรือหมผาหมผืน 304

 3๓0๐5๑ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ เดียวกนั แตไ มห ามการนง่ั บนเตียงหรือบนตั่งดวยกัน ในพระบาลีอนุญาตใหน่ังไดเฉพาะภิกษุผูมีพรรษาไลเลี่ยกัน คือแกหรือออนกวากัน ไมเกิน ๓ พรรษา ที่เรียกวา สมานาสนิก หามมิใหน่ังรวมกับภิกษุที่มีพรรษาหางกันเกินกวา ๓ พรรษา ซ่ึงเรียกวา อสมานาสนิก เชน ภิกษุผูเปนพระอุปชฌายจะนั่งบนเตียงเดียวกันกับ สัทธวิ หิ าริก นับเปนการไมส มควร อน่ึง หามมิใหนอนบนท่ีนอนอันโรยดวยดอกไม เมื่อตองการจะนอน พึงเก็บดอกไม ออกเสยี กอ น และทรงอนญุ าตใหเก็บไวข า งใดขางหนึง่ ในท่ีอยูได เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 305

๓3๐0๒6 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 กัณฑที่ ๑๓ นสิ สัย มลู เหตทุ ี่ทรงอนญุ าตใหมอี ปุ ช ฌายอาจารย ในครั้งปฐมโพธิกาล คือระยะเวลาชวงแรกหลังจากตรัสรู ซึ่งเรียกวาเปนระยะ ประดิษฐานพระพุทธศาสนา ยังไมมีภิกษุผูทําผิดกออธิกรณความเดือนรอนข้ึนในสังคมสงฆ เพราะพระภิกษุสาวกจํานวน ๕๐๐ รูป เหลาน้ันลวนแตเปนพระอริยบุคคล อยางต่ําสุดก็เปน พระโสดาบัน ดวยเหตุนี้พระพุทธองคจึงไมทรงแสดงอาณาปาติโมกขคือประมวลบทบัญญัติวา ดวยขอหามบัญญัติสิกขาบท ตอมาเมื่อภิกษุมีจํานวนมากข้ึน การปกครองก็ยากข้ึน พระพุทธองค จึงทรงบญั ญัตสิ ิกขาบทวางเปนพุทธอาณา และทรงตงั้ ขนบธรรมเนียมเปน อภสิ มาจาร เม่ือภิกษุมีมากขึ้นโดยลําดับ ภิกษุผูบวชใหมไมสามารถจะรูทั่วถึงและประพฤติ ใหถูกตองตามระเบียบโดยลําพังตนเอง ใชความสังเกตทําตามกัน จําจะตองศึกษาจึงจะรูได พระพุทธองค จึงทรงอนุญาตใหม ีพระอุปชฌายเ ปนผอู บรมสงั่ สอน คาํ วา อุปชฌาย แปลวา ผูเพง ดูอยไู มห า งซ่ึงโทษนอยใหญของสัทธิวิหาริก เปนคําเรียก ภิกษุผูรับรองกุลบุตรผูขอการอุปสมบททามกลางสงฆ โดยภิกษุผูเปนพระอุปชฌายตามท่ีวินัย กาํ หนดน้นั จะเปนทัง้ ผนู าํ สทั ธวิ ิหาริกเขา หมูสงฆ และเปนผูปกครองคอยดูแลรบั ผิดชอบ ทําหนาที่ ฝกสอนอบรม ใหการศึกษาแกสัทธวิ ิหาริกตลอดไป คําวา สัทธิวิหาริก แปลวา ผูอยูดวย หมายถึง ภิกษุผูเปนศิษยของพระอุปชฌาย กลาวคือภิกษุไดรับอุปสมบทจากพระอุปชฌายรูปใด ก็เปนสัทธิวิหาริกของพระอุปชฌายรูปน้ัน และตองถือพระอุปช ฌายนัน้ ใหเ ปนผูพ่งึ พงิ ตลอดไป คําวา นิสสัย คือกริยาท่ีพึ่งพิง ในทางพระวินัยหมายถึงการอยูในปกครองของ พระอุปชฌาย พระอาจารย หรือการขอใหทานเปนท่ีพึ่งในการศึกษาไตรสิกขาเพื่อประพฤติ พรหมจรรยย่งิ ขนึ้ ตอไป และเปนกิจเบื้องตน ในพธิ อี ปุ สมบทโดยผูอุปสมบทไดเปลงวาจาขอนิสสัย กับพระอุปชฌายแลว ในกรณีท่ีไมไดอยูในปกครองของพระอุปชฌายดวยเหตุอยางใดอยางหน่ึง เชน พระอุปช ฌายไปอยทู ่อี ่นื ตองถือนิสสยั กับภกิ ษอุ ืน่ เปน นสิ สยาจารย 306

 3๓0๐7๓ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ วิธถี อื พระอุปช ฌาย ภิกษุผูมีพรรษาหยอน ๕ คือบวชยังไมถึง ๕ พรรษา ตองถือภิกษุรูปใดรูปหน่ึงเปน พระอุปช ฌาย และตอ งอาศัยภิกษรุ ปู นน้ั อยรู บั ฟง โอวาทคําสอนของภกิ ษรุ ปู นนั้ วิธีถือพระอุปชฌายน้ัน ในพระบาลีทานวางแบบไวดังนี้ ใหภิกษุนวกะหมผาเฉวียงบา เขาไปหา กราบเทา แลวนง่ั กระโหยง (ปจจุบันนิยมนั่งคุกเขา) ประนมมือกลาววา “อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต โหหิ” แปลวา “ขอทานจงเปนอุปชฌายะของขาพเจา” วา ๓ คร้ัง เม่ือภิกษุผูถูกขอเปน พระอุปชฌายรับวา “สาธุ ดีละ” “ลหุ เบาใจเถิด” “โอปายิกํ ชอบแกอุบาย” ปฏิรูป สมควรอยู” คําใดคําหน่งึ ก็เปนอนั ถือพระอปุ ชฌายแ ลว ในกรณีน้ีภิกษุผูรับใหพ่ึงพิง ไดชื่อวาเปนพระอุปชฌาย มีหนาท่ีฝกสอนหรือดูแล และ ภิกษุผูพึ่งพิง ไดช่ือวาเปนสัทธิวิหาริก กิริยาที่พึ่งพิง เรียกวา นิสสัย สวนผูที่อุปสมบทใหมทรง อนุญาตใหถ ือพระอุปปชฌายตัง้ แตแรกทเี ดยี ว เหตุท่ีนิสสัยระงับจากพระอุปชฌาย (ไมเปนอันถือนิสสัย หมดวาระการถือนิสสัย) มี ๕ ขอ คือ (๑) พระอุปชฌายหลีกไป (๒) ลาสิกขา (๓) มรณภาพ (๔) ไปเขารีตเดียรถีย คือ ไปเขา นับถอื ศาสนาอ่ืน (๕) สง่ั บังคบั ในเหตุ ๕ ขอเหลาน้ี ยกเวนขอสั่งบังคับ นํามาปรับใชไดในฝายสิทธิวิหาริก คือ สัทธวิ ิหารกิ หลีกไปเสยี ลาสิกขา มรณภาพ ไปเขา รตี เดยี รถีย นสิ สัยกร็ ะงบั เหมือนกนั ในขอส่ังบังคับนั้น มีประเด็นพิจารณา ๒ ประเด็น คือ (๑) พระอรรถกถาจารยแกวา ไดแก การประณาม คือขบั ไลเ สยี เมอื่ พระอปุ ช ฌายอ ดโทษ (ยกโทษ) แลว นิสสัยยอ มมอี ีก (๒) พระมติ ของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรสวา ถาพระอุปชฌายเห็นสัทธิวิหาริก มีพรรษาพน ๕ แลว มีความรูพระธรรมวนิ ยั พอรักษาตวั ได กใ็ หอยูเปนนิสสัยมตุ ตกะ คือพน จาก ถอื นสิ สัย เหตุท่ีจะใหสัทธิวิหาริกซึ่งประพฤติมิชอบถูกประณาม (การขับไล) มี ๕ ขอ คือ (๑) ไมมีความรักใครในพระอุปชฌาย (๒) ไมมีความเล่ือมใสในพระอุปชฌาย (๓) ไมมีความเคารพ ในพระอปุ ช ฌาย (๔) ไมมีความยาํ เกรงในพระอุปช ฌาย (๕) ไมม คี วามหวงั ดีตอ พระอปุ ชฌาย เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 307

๓3๐0๔8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 วธิ ปี ระณามและถอนประณาม วิธีการที่พระอุปชฌายประณามสัทธิวิหาริกนั้น ทานวางหลักไวในพระบาลี ดังนี้ พึงกลาววา “ฉันประณามเธอ” “เธออยาเขามา ณ ท่ีนี้” “จงขนบาตรและจีวรออกไปเสีย” หรือวา “เธอไมตองอุปฏฐากฉันหรอก” หรือแสดงอาการอยางใดอยางหนึ่งใหรูก็ได สัทธิวิหาริกผูถูก ประณามแลว ตองทาํ ดีแกต ัว และขอใหพ ระอปุ ชฌายอดโทษ ถาทอดธุระเปน โทษแกสัทธิวหิ าริก เม่ือสัทธิวิหารริกกลับทําดีแลวขมาโทษ ถาพระอุปชฌายไมรับและไมระงับประณาม มีโทษแกพระอุปชฌายเหมือนกัน เวนแตพระอุปชฌายมีอุบายบางอยางเห็นวารับงายนัก สทั ธวิ หิ าริกจักไมเ ขด็ หลาบ โดยยังผูกใจอยูวาจะรบั ในเมื่อเวลาอนั ควร ไมมีโทษ การถอื ภิกษุอนื่ เปนอาจารย ภิกษุผูไมไดอยูในปกครองของพระอุปชฌายดวยเหตุ ๕ ประการดังกลาวแลวตองถือ ภกิ ษอุ นื่ เปนอาจารยแทนพระอุปช ฌาย คําขอในการถอื อาจารย : อาจรโิ ย เม ภนเฺ ต โหหิ, อายสฺมโต นสิ สฺ าย วจฉฺ ามิ (๓ หน) คาํ แปล “ขอทา นจงเปนอาจารยข องขาพเจา ขาพเจาจักอยูอ าศยั ทาน” ภิกษุผูใหพ่ึงพิง เรียกวา อาจารย แปลวา ผูฝกมารยาท ภิกษุผูพึ่งพิงอาศัย ช่ือวา อนั เตวาสิก แปลวา ผอู ยูในสาํ นกั อน่ึง คําวา อาจารย หมายถึง ภิกษุผูฝกหัดอบรมมารยาท หรือผูส่ังสอนวิชาความรู มี ๔ ประเภท คือ (๑) ปพพัชชาจารย อาจารยในการบรรพชา (๒) อุปสัมปทาจารย อาจารย ในการอปุ สมบท (๓) นสิ สยาจารย อาจารยในการใหนิสสัย (๔) อุทเทสาจารย หรือธัมมาจารย อาจารยในการสอนธรรม ในท่นี ีห้ มายถงึ นสิ สยาจารย สวนคําวา อันเตวาสิก หมายถึง ผูอยูในสํานัก ภิกษุผูขออยูรวมสํานัก หรือศิษย สวนภกิ ษผุ รู ับใหอยูในสํานักเรียกวาอาจารย อันเตวาสิกก็มี ๔ ประเภทเชนเดียวกับอาจารย คือ (๑) ปพพชันเตวาสิก อันเตวาสิกในการบรรพชา (๒) อุปสัมปทันเตวาสิก อันเตวาสิกใน การอปุ สมบท (๓) นิสสยันเตวาสกิ อนั เตวาสิกในการถือนิสสัย (๔) ธัมมันเตวาสิก อันเตวาสิกใน การเรยี นธรรม ในท่นี ี้หมายถงึ นสิ สยันเตวาสกิ อ า จ า ร ย กั บ อั น เ ต ว า สิ ก พึ ง มี ค ว า ม ส นิ ท ส น ม เ อื้ อ เ ฟ อ ต อ กั น แ ล ะ กั น เ ช น เ ดี ย ว กั บ พระอุปชฌายกับสัทธิวิหาริก ตองใหความเคารพนับถือกันอยางจริงจัง เหตุที่นิสสัยระงับจาก 308

 3๓0๐9๕ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ อาจารย มี ๖ ขอ คอื ขอ ๑-๕ เหมอื นในพระอุปชฌาย สวนขอท่ี ๖ คืออันเตวาสิกเขารวมอยูกับ พระอุปชฌายะของตน หมายถึงวา อันเตวาสิกน้ันกลับเขาไปอยูในความปกครองของพระอุปชฌาย ของตนเองอกี นสิ สัยจากอาจารยก็เปนอันระงับไป ภิกษุท่ีไดรับยกเวนจากถือนิสสัย มี ๔ ประเภทคือ (๑) ภิกษุผูเดินทาง (๒) ภิกษุ ผูพยาบาลภิกษุไข ผูไดรับการขอรองจากภิกษุไขเพ่ือใหอยู (๓) ภิกษุผูเขาปาเพ่ือเจริญสมณธรรม ช่ัวคราว (๔) ภิกษุผูหาภิกษุผูใหนิสสัยไมได คือหาทานผูมีคุณสมบัติใหนิสสัยไมได และมี เหตุขัดของทจี่ ะไปอยใู นท่ีอื่นไมไ ด จึงอยูใ นทีน่ ้ันดวยผกู ใจวา เม่อื ใดมที านผูใ หน ิสสัยมาอยู จักถือ นสิ สัยในทา นผนู ั้น กใ็ ชไ ด ภิกษุผูมีพรรษาหยอนกวา ๕ ซ่ึงจัดเปนพระนวกะอยู แมจะเปนผูมีความรูทรงธรรม ทรงวินยั จะไมถ ือนิสสัยไมไ ด ทรงหา มไว เวนไวแตภ ิกษุทีไ่ ดร ับการยกเวนทัง้ ๔ ประเภทน้ัน นสิ สยั มตุ ตกะ ภิกษุผูมีพรรษาครบ ๕ แลว แตหยอน ๑๐ ทานเรียกวา มัชฌิมะ ถามีองคสมบัติครบ ทีท่ า นกาํ หนด ก็ทรงอนุญาตใหเ ปนนิสสยั มุตตกะ คอื พน จากการถอื นสิ สยั องคสมบตั ิของภกิ ษุมชั ฌมิ ะผเู ปนนิสสยั มุตตกะ มี ๔ ขอ ดงั น้ี ๑. เปนผูมีศรัทธา มีหิริ มโี อตตปั ปะ มวี ริ ิยะ มสี ติ ๒. เปนผถู ึงพรอ มดว ยศลี อาจาระ ความเห็นชอบ เคยไดย นิ ไดฟง มามาก มีปญญา ๓. รูจกั อาบตั มิ ใิ ชอ าบตั ิ อาบัติเบา อาบตั หิ นัก จาํ ปาตโิ มกขไ ดแ มนยํา ๔. ท้ังมีพรรษา ๕ หรอื เกินกวา (๖-๙ พรรษา) องคเ หลา น้แี มบกพรองบางอยางยังใชได แตท่ีขาดไมไดคือกําหนดพรรษาภิกษุมัชฌิมะ ผมู อี งคสมบตั เิ หลา น้ีทรงใหอ ยูตามลาํ พังได แตทรงหา มปกครองบรษิ ทั ภิกษุผูมีพรรษาครบ ๑๐ แลว ไดชื่อวา เถระ แปลวา ผูหลักผูใหญ หรือ ผูมั่นคง ทรงอนุญาตใหมีหนาท่ี คือ (๑) เปนพระอุปชฌายใหอุปสมบท (๒) เปนพระอาจารยใหนิสสัย (๓) มีสามเณรไวอุปฏฐากได (๔) ปกครองบริษัทได ที่เรียกวา ปริสุปฏฐาปกะ แปลวา ผูใหบริษัท อปุ ปฏฐากหรือผูใชบ รษิ ัท องคสมบัตขิ องภกิ ษผุ เู ปน พระเถระ มี ๖ ขอ โดย ๓ ขอแรก เหมอื นกับองคส มบตั ิ ของภิกษุมัชฌมิ ะ สวนอีก ๓ ขอทีเ่ หลือ ดงั นี้ ๔. อาจพยาบาลเอง หรือสั่งผูอ่ืนใหพยาบาลสัทธิวิหาริก หรืออันเตวาสิกผูอาพาธ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 309

3๓๐1๖0 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 อาจระงับเอง หรือใหผูอื่นชวยระงับความไมยินดีในพรหมจรรยของสัทธิวิหาริก หรืออันเตวาสิก อาจบรรเทาเองหรือใหผูอื่นชวยบรรเทาความเบื่อหนายอันเกิดข้ึนแกสัทธิวิหาริก หรือันเตวาสิก โดยชอบ รูจกั อาบตั ิและวิธีออกจากอาบัติ ๕. อาจฝกสัทธิวิหาริก อันเตวาสิก ในสิกขาอันเปนสวนเบื้องตนแหงพรหมจรรย และ สิกขาอันเปนสวนอภิสมาจาร อาจแนะนําธรรมวินัยอันย่ิงขึ้นไป อาจเปลื้องทิฏฐิผิด อันเกิดแก สัทธวิ ิหารกิ อันเตวาสิกโดยชอบ ๖. มพี รรษาครบ ๑๐ หรอื เกินกวา ๑๐ ขึ้นไป องคเ หลานี้แมบกพรอ งบางอยา งกใ็ ชไ ด แตท่ขี าดไมไดค ือกําหนดพรรษา 310

 3๓1๐๗1 วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ กัณฑที่ ๑๔ วัตร ขนบธรรมเนียม หรือแบบอยางอันภิกษุควรประพฤติในกาลน้ันๆ ในที่นั้นๆ ใน กิจนั้นๆ แกบุคคลน้ันๆ เรียกวา วัตร ภิกษุผูสมบูรณดวยวัตร เอาใจใสประพฤติวัตรน้ัน ๆ ให บริบูรณไดชื่อวา “อาจารสมฺปนฺโน ผูถึงพรอมดวยมารยาท” หรือ “วตฺตสมฺปนฺโน ผูเพียบพรอม ดวยวตั ร” ในทน่ี ี้ ทานจดั ประเภทวัตรท่ีจะศึกษาเปน ๓ ประเภท คือ (๑) กิจวัตร วาดวยกิจที่ควรทํา (๒) จริยาวตั ร วาดวยกิจอนั ควรประพฤติ (๓) วธิ ีวัตร วาดว ยแบบอยาง ๑. กจิ วัตร กจิ วตั ร วาดว ยกิจท่ีควรทาํ แยกยอยเปน วตั ร ๑๒ ประเภท คอื ๑. อุปช ฌายวตั ร วตั รอนั สัทธิวิหาริกพึงปฏิบตั ิตอ พระอุปชฌาย มดี งั นี้ ๑.๑ เอาใจใสก ารอปุ ฏฐากทาน ในกิจทุกอยา ง ๑.๒ หวังความศกึ ษาในทาน ๑.๓ ขวนขวายปองกนั หรือระงับความเสื่อมเสีย อันจักมีหรือไดมีแลวแกทาน เชน เปลอื้ งความเบ่ือหนาย และความเห็นผดิ ของทาน เปน ตน ๑.๔ รักษาน้ําใจทาน ไมสรา งเหตุใหแคลงใจ จะทาํ อะไรปรึกษาทา นกอน ๑.๕ เคารพในทา น เชน เดนิ ตามทา นไมช ิดนัก ไมหา งนัก ไมพูดสอดขึ้น ขณะทาน กําลังพูด ทา นพดู ผดิ ไมค า นจังๆ พดู ออ มพอใหท านรู ๑.๖ ไมเท่ียวเตรต ามอําเภอใจ ไปไหนบอกลาทา นกอน ๑.๗ เม่ือทานอาพาธ ควรเอาใจใสพยาบาล ไมไปไหนเสีย พยาบาลจนกวาทาน หายอาพาธ หรือมรณะ ๒. สทั ธวิ หิ ารริกวัตร วตั รอันพระอุปช ฌายพงึ ปฏบิ ตั ติ อสัทธิวหิ าริก มีดงั น้ี ๒.๑ เอาธรุ ะในการศกึ ษาของสัทธวิ ิหาริก ๒.๒ สงเคราะหดวยบาตร จีวร และบริขารอ่ืน ๆ ถา ของตนไมมี ก็ขวนขวายหาให ๒.๓ ขวนขวายปอ งกันหรือระงับความเสื่อมเสยี อนั จักมีหรอื ไดมีแลว แกส ัทธิวหิ าริก ๒.๔ เม่อื สทั ธวิ หิ าริกอาพาธ ทาํ การพยาบาล (วตั รอนั อาจารยและอนั เตวาสิกพงึ ปฏบิ ตั ติ อกนั พงึ เทยี บเคยี งโดยนยั น้ี) เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 311

3๓๐1๘2 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๓. อาคันตกุ วตั ร วตั รอนั ภกิ ษุผเู ปน อาคนั ตุกะไปสูอาวาสอื่นพึงปฏิบัติตอภิกษุผูเปน เจา ถน่ิ มีดังนี้ ๓.๑ เคารพในทาน พอเขาวัด ถอดรองเทา ลดรม ลดจีวรเฉวียงบา เขาไปสูท่ีอยู ของภิกษเุ จาถ่ินกอ น ไหวเจา ของถิ่นผแู กกวา ตน ๓.๒ แสดงความเกรงใจเจาถิ่น กลา วคือ เห็นเจาของถ่ินกําลังทําธุระอยู เชน กวาด ลานพระเจดียห รอื ปรงุ ยาใหภ กิ ษุไข ทานละกิจนั้นมาทําการตอนรับก็บอกทานใหทําใหเสร็จกอน เปนตน โดยนยั น้ี เม่ือจะเขา ไป หากเห็นภิกษเุ จาถิ่นกําลังทําธุระอยางนั้น ควรรอใหเสร็จกอน จึง เขา ไป ถา ภิกษเุ จา ถ่ินตองพักธุระไวไ มค วรอยนู าน ๓.๓ แสดงกิริยาสุภาพ เชน ลางเทากอนเขาไปในที่อนั ไมค วรเหยยี บดวยเทาเปอ น ๓.๔ แสดงอาการอันสนทิ กบั เจา ของถ่นิ เชน ตองการนาํ้ ด่มื ก็ด่ืม โดยนัยนี้ เจาของถิ่น ทาํ ปฏสิ นั ถารอยา งใด กร็ บั โดยไมแสดงอาการรงั เกียจ ๓.๕ ถาจะอยูที่นั่น ควรประพฤติใหถูกธรรมเนียมของเจาของถิ่น เชน ถามถึง เสนาสนะสําหรับตน ถามถึงโคจรคามสําหรับบิณฑบาตวาไกลหรือใกล จะพึงเขาไปเชาหรือสาย ถามถงึ ทอี่ โคจรที่ไมค วรเขาไป ๓.๖ อยูเสนาสนะแลว อยา ดดู าย เอาใจใสชําระปด กวาดเก็บใหเ รยี บรอย ๔. อาวาสิกวตั ร วัตรอันภกิ ษุเจาของถน่ิ พงึ ปฏิบตั ิตอ ภิกษุอาคนั ตุกะ มีดงั น้ี ๔.๑ เปนผูหนักในปฏิสันถาร เชน กําลังทําธุระอยางใดอยางหน่ึงอยู ใหงดไวกอน เวนแตกาํ ลงั ปรุงยาใหแกภ กิ ษุไขหนกั รีบทําใหเ สร็จกอน ๔.๒ แสดงความนบั ถือแกอาคนั ตุกะ เชน ตั้งหรือปูอาสนะให ถามถึงความตองการ เกี่ยวกบั น้าํ ดืม่ น้าํ ใช ๔.๓ ทาํ ปฏสิ ันถารโดยธรรม คือสมแกภาวะอาคันตุกะ เชน อาคันตุกะมีพรรษาแก กวาตน ควรลุกไปตอนรับ ถาอาคันตุกะมีพรรษาออนกวาตนก็เปนแตนิมนตใหนั่ง บอกน้ําดื่ม นาํ้ ใชใ ห (ปจ จุบันนี้ สงั่ ใหสามเณรหรือผอู ่ืนใหก ็เปนการสมควร) ๔.๔ ถาอาคนั ตุกะมาเพอ่ื จะมาอยวู ดั ควรเอาใจใสเอ้ือเฟอ จดั ทอี่ ยูให รวมถึงบอกที่ ทางและกตกิ าสงฆใหท ราบ ๕. คมิกวตั ร วตั รของภิกษผุ ูจะไปอยทู อี่ ื่นพึงปฏบิ ัติ มีดงั นี้ ๕.๑ เก็บงาํ อาสนะ ถาเห็นหลังคาร่ัว อาจซอมได ควรทําใหเสร็จกอน ถารกหรือ เปรอะเปอน ควรชาํ ระใหส ะอาด เกบ็ เคร่อื งเสนาสนะ คอื เตียง ต่ัง ฟูก หมอน และเครื่องใชไวให ถูกที่ อยา ทงิ้ ใหเกลื่อนกลาด ใหพ น อันตราย ปด หนา ตา งประตู ลนั่ ดาลหรือกญุ แจใหเรียบรอ ย ๕.๒ บอกมอบคืนเสนาสนะแกภิกษุผูเปนเสนาสนคาหาปกะ (ผูดูแลเสนาสนะ) ถาไมมี 312

 3๓1๐3๙ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ บอกมอบแกเพอ่ื นภกิ ษุทีอ่ ยดู วยกนั ถา อยรู ูปเดียว บอกมอบแกห วั หนาทายกหรอื นายบานก็ได ๕.๓ บอกลาทานผูที่ตนพึงพํานักอยู คือพระอุปชฌาย หรืออาจารย ในปจจุบัน ตองลาเจาอาวาสดวย ๖. ปณ ฑจารกิ วัตร วตั รทภี่ ิกษุผูจะเขาไปบิณฑบาตในละแวกบา นพงึ ปฏบิ ตั ิ มดี งั น้ี ๖.๑ นุงหมใหเรียบรอย คือนุงปดสะดือ ปกหัวเขา ผูกประคดเอว ซอนผา สังฆาฏกิ ับอตุ ตราสงคเขา ดวยกันเปนสองผืน หมคมุ ปด บา ทั้งสอง ๖.๒ ถอื บาตรภายในจีวร เอาออกเมอื่ จะรบั บิณฑบาต ๖.๓ สาํ รวมกริ ิยาใหเรียบรอ ยตามสมณสารปู ในเสขิยวัตร ๖.๔ กําหนดทางเขาออกแหงบานและอาการของชาวบานผูจะถวายภิกษาวาจะ ถวายหรือไมถ วาย ๖.๕ ถารูวาเขาจะใหรับบณิ ฑบาตดวยอาการสาํ รวมดังกลา วไวในเสขยิ วตั ร ๖.๖ รปู ท่กี ลับมากอ น เตรียมอาสนะที่นงั่ ฉัน น้าํ ด่ืม ภาชนะใสของฉัน ตลอดท้ัง น้ําลางเทา และเครื่องเช็ดเทาไวคอยทารูปที่มาทีหลัง ฝายรูปท่ีมาทีหลังเม่ือฉันแลวเก็บของ เหลาน้นั และกวาดหอฉัน (ธรรมเนียมน้สี ําหรับวดั ท่ภี กิ ษฉุ ันในหอแหงเดยี วกัน แตฉ ันไมพ รอ มกัน) ๗. ภัตตัคควตั ร วตั รท่ภี กิ ษผุ ูจ ะฉันอาหารพงึ ปฏบิ ตั ิ มีดังนี้ ๗.๑ นุงหม ใหเรียบรอ ยตามสมควรแกการฉนั ในวัดหรือในบา น ๗.๒ รูจักอาสนะอันสมควรแกตน ถา น่ังเขา แถวในท่ีอังคาส (ทีส่ าํ หรับฉัน) อยานั่ง เบยี ดพระเถระ ถา ท่นี ่ังมมี ากเวนไวหน่ึงหรือสองที่ แตสําหรับอาสนะท่ีเขาปูไวจํากัดจํานวนภิกษุ ไมควรทําเชนนั้น กอนนั่งควรขออนุญาต (กระทําโอกาส) พระเถระแลวจึงน่ัง และไมน่ังกีดกัน อาสนะภกิ ษผุ อู อนกวาดวยการน่งั เสยี ปลายแถว ซงึ่ ทําใหภิกษุผอู อ นกวาไมมีโอกาสจะนัง่ ๗.๓ หา มไมใ หน ัง่ ทับผา สงั ฆาฏใิ นบาน ๗.๔ ทายกถวายนํ้า ถวายโภชนะ ควรรับโดยเอื้อเฟอ ถาเขาไมไดจัดโภชนะ ถวายเฉพาะรูป แตจัดมาในภาชนะอันเดียวเพ่ือใหตักฉันเอง หรือเขาตักถวายหวังใหไดทั่วกัน ถาของนอยเห็นจะไมพ อกัน ควรผลดั กันรบั บา งไมร ับบา ง ๗.๕ ในโรงฉันเล็ก พอแลเห็นทั่วกัน ภิกษุทั้งหลายยังไมไดรับภาชนะทั่วกัน ภิกษุ ผูสังฆเถระอยาเพ่ิงลงมือฉัน เวนแตในท่ีอังคาสมีภิกษุมาก แลเห็นกันไมท่ัวถึง หรือพนวิสัย รอคอยได ๗.๖ ฉันดว ยอาการเรียบรอ ยตามทีก่ ลา วไวใ นเสขยิ วัตร ๗.๗ พึงฉันใหอิ่ม แตถาภิกษุท้ังหลายยังฉันไมเสร็จ พระสังฆเถระอยาเพิ่งรับนํ้า ลา งบาตร (ในปจ จบุ ันนี้ คอื ยังไมค วรบวนปาก หรือยังไมค วรลางมือเก็บภาชนะ ชอนสอมที่แสดง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 313

๓3๑1๐4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ถึงอาการฉนั เสร็จ) ๗.๘ พึงระวัง อยาบวนปากและลางมือใหนํ้ากระเด็นถูกภิกษุผูนั่งใกล หรือถูกจีวร ตนเอง ๗.๙ ฉนั ในทีอ่ งั คาสของทายก เสรจ็ แลวควรอนุโมทนา ๗.๑๐ เมื่อกลับอยาเบียดเสียดกันออกมา ถาโรงฉันแคบ ภิกษุผูอยูปลายแถวพึง ออกกอนโดยทวนลําดับขึ้นไป แลวยืนรออยูขางนอก จนกวาพระสังฆเถระจะออกมา ถาโรงฉันกวาง ออกตงั้ แตต นแถว แลวเดนิ กลับตามลําดบั ๗.๑๑ หามมใิ หเ อาน้าํ ลา งบาตรมเี มล็ดขา วและของเปนเดนเทท้ิงลงในบา น ๘. เสนาสนคาหาปกวัตร วัตรที่ภิกษุผูทําหนาที่แจกเสนาสนะ (จัดที่อยูอาศัย ดูแล เครอ่ื งเสนาสนะในวัด) พงึ ปฏบิ ตั โิ ดยควรรภู กิ ษทุ ่คี วรใหย าย หรอื ไมค วรใหยาย มีดงั น้ี ๘.๑ ไมค วรยายภิกษผุ แู กกวา เพ่อื จะใหภ ิกษุผูออนกวา เขา อยู ๘.๒ ไมควรยายภิกษุอาพาธ เวนแตอาพาธเปนโรคติดตอกัน เชน โรคเรื้อน หรือ เปนโรคอันจะทาํ ใหเ สนาสนะสกปรกเปรอะเปอ น ควรจดั เสนาสนะใหอยสู ว นหนง่ึ ตางหาก ๘.๓ ไมค วรยา ยภิกษผุ รู กั ษาคลงั สงฆ ๘.๔ ไมควรยา ยภิกษผุ ูเปนพหสู ูตซ่งึ ทาํ หนา ทสี่ อนธรรมแกภ กิ ษุทั้งหลาย ๘.๕ ไมค วรยา ยภิกษุผูทาํ การปฏิสงั ขรณเ สนาสนะอันชาํ รดุ ใหคืนสภาพเปนปกติ ในสังฆิกาวาส (วัด) แหงหนึ่ง ภิกษุท้ังปวงมีสิทธิในอันจะอยูเสนาสนะของสงฆ เวนไว แตประพฤติตนผิดพระธรรมวินัยถูกขับไลออกจากวัด ดังน้ัน เพื่อมิใหภิกษุแยงชิงกันในเร่ือง เสนาสนะ จึงทรงอนุญาตใหสงฆสมมติแตงต้ังภิกษุผูฉลาดสามารถรูปหน่ึงเปนเจาหนาท่ีจัดแจก ดูแลเสนาสนะ เรียกวา เสนาสนคาหาปกะ และการแจกเสนาสนะน้ันมี ๒ คราว คือ (๑) แจก สําหรบั ใหอยูในพรรษา (๒) แจกสําหรบั ใหอ ยูนอกพรรษา ในพรรษา ภิกษุมสี ิทธิอยูไดตลอดเวลา แหงการจําพรรษา ๓ เดือน นอกพรรษา ภิกษุผูเปนเสนาสนคาหาปกะสามารถจะใหยายจาก เสนาสนะแหง หน่งึ ไปอยูอ ีกแหงหน่ึงไดตามที่เหมาะสมในกาลนั้น ๆ ทานหามมิใหภิกษุด้ือดึงขัดขืน ไมย อมไป (เพราะเปน ภิกษุไมส มควรจะยึดตดิ ในที่อย)ู ๙. เสนาสนคาหกวัตร วตั รที่ภกิ ษผุ รู ับเสนาสนะ (อยอู าศยั เสนาสนะ) พึงปฏบิ ตั ิ มดี งั นี้ ๙.๑ อยา ทาํ เสนาสนะเปรอะเปอนโดยประการใด ๆ ๙.๒ ชาํ ระใหส ะอาด อยา ใหร กดวยหยากเยอ่ื หยากไย และฝนุ ละออง ๙.๓ ระวังไมใหช าํ รุดหรือทาํ แตก หกั เปน ริว้ รอยเสยี หาย ๙.๔ รกั ษาเคร่อื งเสนาสนะทุกชนิดใหสะอาดและจดั ตง้ั ใหเ ขา ระเบียบ ๙.๕ จดั ตั้งนํ้าด่มื นา้ํ ใชใ หมพี รอม 314

 3๓1๑5๑ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ ๙.๖ ของใชใ นเสนาสนะหน่งึ อยา เอาไปใชในที่อื่นใหก ระจัดกระจาย ๑๐. วจั จกฏุ วิ ตั ร วัตรท่ีภกิ ษุพงึ ปฏิบัติในการใชวจั กุฎี (หอ งน้ํา – หอ งสว ม) มีดงั นี้ ๑๐.๑ การถายอุจจาระ ถายปสสาวะ และอาบน้ํา ใหทําตามลําดับผูไปถึง ไมถือ ตามลาํ ดบั พรรษา ไมเ หมอื นกิจอน่ื ที่พงึ ทาํ ตามลําดับพรรษา ๑๐.๒ ใหระวังกิริยา เชน ประตูปดอยู มิใหดวนผลักเขาไป ตองใหเสียงกอน ฝาย ผูอยขู างในกต็ องใหเ สียงรบั ไมควรเลกิ ผานุงเขาไปหรือออกมา ระวงั อยาถา ยหรอื ชําระใหเสยี งดัง ๑๐.๓ ใหรูจักรกั ษาบริขาร เปลอ้ื งจวี รไวขา งนอก อยาหมครองเขาไป ๑๐.๔ ใหรูจักรักษาตัว คืออยาเบงแรงจนถึงกับทวารชอกซํ้า เวนไวแตทองผูก เกนิ ปกติ อยาใชไมชาํ ระอนั จะทําอันตรายตนเอง ใหใชไ มท ่เี หลาเกลย้ี งเกลาแลว ชาํ ระดว ยน้ํา ๑๐.๕ อยา ทํากจิ อน่ื เวลาถา ย เชนเค้ยี วไมชําระฟนไปพลางถายไปพลาง ๑๐.๖ ใหระวงั เพ่อื ไมใ หทําสกปรก ๑๐.๗ ใหชวยรกั ษาความสะอาด ๑๑. คิลานุปฏฐากวัตร วัตรท่ีภิกษุผูจะพยาบาลภิกษุไข โดยถาภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง อาพาธลง ภกิ ษผุ เู ปน เพ่อื นสหธรรมกิ ควรเอาใจใสชวยรกั ษาพยาบาล อยาทอดธรุ ะเสยี องคส มบตั ขิ องภิกษพุ ยาบาลไขท่เี ขา ใจพยาบาล ตรัสไว ๕ ประการ ดงั น้ี ๑. สามารถจดั ยาได รูจักประกอบเภสัช ๒. รจู กั ของแสลงและไมแสลง กนั ของแสลงออก นาํ ของไมแสลงเขา ไปให ๓. มเี มตตาจติ พยาบาลไข ไมหวังส่ิงตอบแทน ๔. ไมร ังเกยี จสิ่งขับถา ยของคนไข ๕. สามารถพดู ใหภ ิกษุไขส บายใจได ๑๒. คิลานวัตร วัตรที่ภิกษุอาพาธพึงปฏิบัติ โดยกําหนดเปนองคคุณของภิกษุไขที่ พยาบาลงายไว ๕ ประการ คือ ๑๒.๑ ทําความสบายใหแ กตน เชน ไมฉันของแสลง ๑๒.๒ รจู ักประมาณในสง่ิ ทส่ี บาย ๑๒.๓ ทานยางา ย หรอื ยอมฉันยา ๑๒.๔ บอกอาการไขต ามความเปน จริง ๑๒.๕ อดทนตอ ทกุ ขเวทนา (แมสามเณรก็ควรไดรับการพยาบาลเชนเดยี วกบั ภิกษุ) เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 315

3๓๑1๒6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๒. จริยาวัตร จริยาวัตร คอื มารยาทท่ภี ิกษุควรประพฤติ ทานกําหนดไว ๑๐ ประการ ดงั นี้ ๑. หา มมใิ หเหยียบผาขาวทเ่ี ขาปูไวในทีน่ มิ นต ๒. ยงั มิไดพ ิจารณากอนอยา นั่งลงบนอาสนะ ๓. หามมิใหน่ังอาสนะยาวกับผูหญิงและคนพันทาง แตจะนั่งกับคนมีอาสนะ ไมเสมอกัน คอื ภกิ ษผุ ูมีพรรษาแกก วา หรอื ออนกวากันไมเกิน ๓ พรรษา และอนุปสมั บันชายหรอื สามเณรไดอยู ๔. ภิกษุรองลําดับฉันคางอยู อยาใหลุก คือภิกษุผูกําลังฉันคางอยูในโรงฉัน ภิกษุรูป หน่ึงเขาไป ภิกษุผูออนกวาภิกษุรูปน้ันจะตองถอยรนลงมา ใหอาสนะแกภิกษุรูปน้ันตามลําดับ พรรษา เชนนี้อยาใหภิกษุที่กําลังฉันอยูนั้นลุกจากท่ี พึงอนุญาตใหฉันตอไป สวนภิกษุผูเพ่ิงมา พึงน่งั ลงในทว่ี า งที่ใดที่หนึ่ง โดยประการท่ีจะไมร บกวนภกิ ษุผกู ําลงั ฉนั อยูใ หลุกจากที่ ๕. จะนอนพักกลางวนั ก็ควรปดประตู หรือนอนในท่กี ําบัง ๖. หามมิใหเทอุจจาระ ปสสาวะ หยากเยื่อ หรือของเปนเดนทิ้งลงไปนอกฝา นอกกําแพง หามมใิ หเทสิ่งของเชนนนั้ ลงบนรุกขชาตทิ สี่ ดเขียว ๗. หามมิใหข้ึนตนไม เวนแตมีกิจ เชน หลงทาง ตองการจะข้ึนดูเพื่อดูหนทาง หรือ ตองการจะหนอี นั ตรายจากสัตวร า ย เปน ตน ๘. หามมิใหไปเพ่ือดูการฟอนรํา ขับรอง ประโคมดนตรี และดูการเลนบางอยางที่ไม สมควรแกสมณะ (ปจ จุบันรวมถงึ สงิ่ บันเทงิ ตาง ๆ ท่ีเปนขาศกึ แกก ศุ ล) ๙. หามมิใหกลาวธรรมดวยเสียงขับอันยาว หมายถึง หามแสดงธรรมกลาวธรรม ดวยทํานองทีเ่ ลน เมด็ เลน พราวจนยืดยาว จนอักขระวบิ ัติ จะแสดงหรอื สวดพอเปนทําเนา ไมตลก โปกฮาเชนที่เรียกวา สวดทาํ นองสรภญั ญะ ไดอ ยู ๑๐. หามมิใหจ ับวัตถอุ นามาส คือส่งิ ท่ีไมค วรจับ วตั ถอุ นามาสนั้นมี ๖ ประเภท คือ (๑) หญิงท้ังเคร่ืองแตงกาย ท้ังรูปท่ีมีสัณฐานเชนน้ัน รวมถึงสัตวเดรัจฉานตัวเมียดวย สว นผา นุง หม ของหญงิ ท่ีไมใชแลว ซง่ึ ทาํ เปนผา รองน่งั หรอื เช็ดเทา พน จากความเปน วัตถอุ นามาส (๒) ทอง เงิน และรัตนะทั้ง ๘ ประการ คือ มุกดา มณี ไพฑูรย ประพาฬ ทับทิม บุษราคัม สงั ข และศิลา รวมเปน ๑๐ อยา ง เพชรกจ็ ัดเขาในวตั ถุอนามาส (๓) ศาสตราวุธตาง ๆ ชนิด มีหอก ดาบ เปนตน ที่เปนเครื่องทํารายชีวิต และรางกาย เวนเครื่องมือทํางาน เชน ขวาน เปน ตน จับใชส อยได (๔) เคร่ืองมือสาํ หรบั ดกั สัตวตาง ๆ เชน แรว ตาขา ย แห อวน เปน ตน (๕) เครอื่ งประโคมหรอื เครือ่ งดนตรีทกุ ชนิด 316

 3๓1๑7๓ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ (๖) ขาวเปลือก และ ผลไมอันเกิดอยูกับที่ เพราะขาวเปลือกเปนธัญพืชท่ียังเพาะปลูก ได สวนผลไมทต่ี ดิ อยูกบั ข้ัวท่ีตน ไม หากภิกษุเดด็ มาปอกฉนั เอง ดเู ปนการไมส มควร ๓. วิธีวัตร วธิ ีวตั ร หมายถงึ แบบแผนที่จะพึงปฏิบตั ิใหเ ปนระเบียบเรียบรอยของภิกษุ ในกรณียกิจ ตาง ๆ ดงั ตอ ไปนี้ ๑. วิธีครองผาของภิกษุ การนุงผาอันตรวาสก ควรพับชายเขามาทั้งซายขวา เหน็บ ชายบนเหนือสะดือ ไมทําเปนชายพก ริมผาดานลางปกเขาเลยลงมาราวคร่ึงแขง อยาใหมากจน กาวเดินไมสะดวก เมื่อเขาที่ประชุม หรือออกนอกวัด นอกท่ีอยู ควรรัดประคดเอว การหมผา อุตตราสงคในวัด หรือในท่ีอยู ปดบาซาย เปดบาขวา นอกวัดหมคลุม ปดบาทั้งสอง กลัดรังดุม เม่ือเดนิ ทาง ถา ลงเรือใหปลดลูกดมุ สวนผาสังฆาฏนิ ยิ มพาดบา ซา ยวางทบั อตุ ตราสงค ๒. วิธีใชบ าตรในเวลาเที่ยวรับภิกษา ใชถือหรืออุมไวภายในจีวร ขณะจะรับเอามือซาย ยกชายจีวร ยืน่ บาตรดว ยมอื ขวา ๓. วิธีพับจีวรเก็บ ไมใหพับหักกลาง ใหพับทําเปนขนดวงกลมเหลื่อมเขาบางออกบาง ราว ๔ น้ิว เอาประคดเอววางไวในขนดอันตรวาสก เพื่อกันจีวรชํ้าตรงกลาง ในสมัยกอนเก็บจีวร บนราว มีวิธีเก็บจีวร คือถือจีวรดวยมือขางหนึ่ง ลูบราวดวยมือขางหนึ่ง เอาจีวรสอดใตราว คอย ๆ พาดใหชายจวี รอยขู างตวั ขนดอยูขา งนอก ๔. วิธีเก็บบาตร ควรเก็บไวใตเตียงหรือใตตั่ง ถือบาตรดวยมือขางหนึ่ง ลูบใตเตียง ดวยมือขางหน่งึ แลวจึงเก็บ ๕. วิธีเช็ดรองเทา ใชผ าแหงเชด็ กอ นแลว จงึ ใชผ า เปยกเช็ด ๖. วิธีพัดใหพระเถระ ใหพัดทหี่ ลงั หนหน่งึ ท่ตี ัวหนหนง่ึ ทศ่ี รี ษะหนหนง่ึ ๗. วิธีเปด – ปด หนาตางตามฤดูกาล ในฤดูหนาวใหเปดในเวลากลางวัน เพ่ือให ความรอนและแสงแดดผานเขา ปดในเวลากลางคืน เพ่ือกักความรอนไมใหออกและไมใหความเย็น เขามา ในฤดูรอน ใหปดกลางวันเพื่อมิใหความรอนเขามา เปดกลางคืนเพ่ือถายความรอน ออกและใหค วามเยน็ เขามา ๘. วธิ ีเดิน ใหเ ดินเรยี งตามลาํ ดับแกออ น เวน ระยะหางกันพอคนเดนิ ผา นได ๙. วธิ ีทําวนิ ยั กรรม ใหห มผา เฉวยี งบา นง่ั กระโหยง (หรอื คกุ เขา) ประนมมือ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 317

3๓๑1๔8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 กณั ฑที่ ๑๕ คารวะ พระรัตนตรัย เปนสรณะสูงสุดของพุทธศาสนิกชน ดังน้ัน ทานจึงหามมิใหเลนปรารภ พระรัตนตรัย คือนําพระรัตนตรัยมาเลนเปนบทละคร หรือนํามาพูดเลนในทํานองตลกคะนอง ใหเ ปน ท่ีสรวลเสเฮฮา อันเปนกิริยาไมเ คารพ การแสดงความออนนอมตอกัน เปนความดีงามของหมูคณะ พระพุทธองคจึงทรงอนุญาต ใหภิกษุแสดงความเคารพแกกันไว ๔ วิธี คือ (๑) การกราบไหว (๒) การลุกรับ (๓) การทํา อัญชลี คือ การประนมมือไหว (๔) การทําสามีจิกรรม คือ การทําความเคารพอยางอ่ืนอันเปน ความดงี าม การทาํ ความเคารพ (ความออ นนอม) ท้งั หมดนใี้ หทาํ ตามลําดับพรรษา บุคคลผูท่ีภิกษุไมควรไหว มี ๓ ประเภท คือ (๑) อนุปสัมบัน (๒) ภิกษุผูเปนนานา สงั วาส (ตา งนิกาย) พดู ไมเปน ธรรม (๓) ภิกษผุ อู อนพรรษากวา ตน โอกาส (เวลา) ทอี่ นุญาตใหงดไหวกนั มี ๘ โอกาส คือ ๑. ในเวลาประพฤติวฏุ ฐานวธิ ี คือการอยูก รรมเพ่อื ออกจากอาบัตสิ งั ฆาทิเสส ๒. ในเวลาถกู สงฆลงอุกเขปนียกรรม คอื ท่ถี ูกหา มสมโภคและสังวาส (หามกินรวมอยูร ว ม) ๓. ในเวลาเปลือยกาย ๔. ในเวลาเขา บานหรอื เดินอยตู ามทาง 318

 3๓1๑9๕ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ ๕. ในเวลาอยูท ี่มืดแลไมเห็นกนั ๖. ในเวลาทา นไมรู เชน นอนหลับ ๗. ในเวลาขบฉันอาหาร ๘. ในเวลาถายอจุ จาระปสสาวะ การไหวใน ๓ ขอขางตน ทานปรับอาบัติทุกกฏ การไหวใน ๕ ขอหลัง ทานวาเปนเพียง ไมด ไี มง าม การลกุ รบั มงี ดในบางโอกาส ดงั น้ี การลุกขึ้นยืนรับ เปนกิจท่ีผูนอยจะพึงกระทําตอผูใหญ แตพึงงดในเวลาหรือโอกาส ตอไปนี้ ๑. เวลานัง่ อยใู นสาํ นกั ผใู หญ ไมล ุกรับผูม ีพรรษานอยกวาทาน ๒. เวลานง่ั เขาแถวในบาน ๓. เวลาเขา ประชุมสงฆภายในวัด การประนมมือ และการทําสามีจิกรรม ทําไดแมแกภิกษุผูออนพรรษากวา เชน เวลา ขอขมาโทษ หรือวนิ ยั กรรม มีการปลงอาบตั ิเปน ตน นงั่ หรอื ยืนทํากไ็ ด ใชเ ฉพาะทําแกภกิ ษผุ ใู หญ การทําความเคารพที่จัดไวอีกสวนหน่ึง เมื่อคร้ังพระพุทธองคยังทรงพระชนมอยู ภิกษุทั้งหลายตางพูดเรียกกันวา “อาวุโส” ซ่ึงแปลวา “ผูมีอายุ” หรือ “คุณ” เสมอกันไปหมด เวนแตผูใหญกับผูนอย เชน พระอุปชฌายกับสัทธิวิหาริก เชนนี้ผูนอยพูดเรียกผูใหญวา “ภนฺเต” ซึ่งแปลวา “ทานผูเจริญ หรือ ทาน” ผูใหญเรียกผูนอยวา “อาวุโส” ดังน้ัน กอนท่ีจะเสด็จดับขันธ- ปรินิพพาน พระพุทธองคจึงตรัสสั่งแกภิกษุทั้งหลายใหเรียกกันตามพรรษาแกออน โดยใหใชคํา วา “ภนเฺ ต” เปน คําเรยี กภกิ ษุผูแกพ รรษา และใหใ ชคําวา “อาวุโส” เปน คําเรยี กภิกษผุ ูออ นพรรษา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 319

3๓๑2๖0 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 กณั ฑที่ ๑๖ จาํ พรรษา เม่ือครั้งปฐมโพธิกาล ยังมิไดทรงอนุญาตการจําพรรษา ภิกษุเท่ียวจาริกไปตลอดท้ังป แมฤดูฝนก็มิไดหยุดไดเหยียบย่ําขาวกลาและธัญชาติตาง ๆ ของชาวนาชาวไรเสียหาย และ สัตวเล็กสัตวนอยก็พลอยมีอันตรายแกชีวิตไปดวย ในกาลน้ัน ชาวบานชาวเมืองไดติเตียน โพนทะนากลา วรา ยภิกษสุ งฆวา ในฤดฝู นเชน นี้ พวกเดยี รถยี ยังหยดุ ไมจ าริกไปไหน ทีส่ ุดแมสตั ว เดรัจฉานบางพวก ยังหยุดอยูประจําท่ีไมไปไหน แตพวกสมณศายกบุตรกลับเท่ียวจาริกไปตลอดป โดยไมหยุด เท่ยี วเหยยี บขา วกลา หญาระบัด และสตั วนอ ยใหญ ใหถ ึงความพินาศ ความทราบถึง พระพุทธองค จึงทรงปรารภเร่ืองน้ีเปนเหตุ แลวทรงอนุญาตใหภิกษุอยูจําพรรษาตลอดไตรมาส คือ ๓ เดอื นในฤดฝู น โดยการอยูประจาํ ที่ไมไ ปคางแรม ณ ทใี่ ด ๆ การที่ภิกษุหยุดพักอยูในที่แหงเดียวโดยไมไปแรมคืนที่ไหนตลอด ๓ เดือนในฤดูฝน เรียกวา จาํ พรรษา ดิถีทก่ี ําหนดใหเ ขาพรรษา มี ๒ ชว ง คือ ๑. ปรุ ิมกิ า วสั สูปนายิกา วันเขาพรรษาตน เริ่มเม่ือพระจันทรเพ็ญเสวยอาสาฬหฤกษ ลวงไปแลว ๑ วนั คอื ตรงกับวันแรม ๑ คา่ํ เดือน ๘ ๒. ปจฉิมกิ า วสั สปู นายิกา วันเขาพรรษาหลงั เริม่ เมื่อพระจันทรเพ็ญเสวยอาสาฬหฤกษ ไปแลว ๑ เดอื น คอื ตรงวนั แรม ๑ คํ่า เดือน ๙ ภิกษุเมื่อจําพรรษา ตองมีเสนาสนะที่มุงบังเปด – ปดได ไมใชเปนที่โลงแจง และ หา มมใิ หจ ําพรรษาในสถานที่เหลาน้ี คอื (๑) ในกระทอมผี (๒) ในรม เปนกลดพระธุดงค หรือ กุฏิฟา เชน เตนท (๓) ในตุม (๔) ในโพรงตนไม (๕) บนคาคบหรืองามตนไม โดยปรับอาบัติ ทกุ กฏแกภ ิกษุผฝู า ฝน พธิ เี ขา พรรษา ในพระบาลีกลาวเพียงใหทําอาลัยคือผูกใจวาจักอยูในท่ีนั้นตลอด ๓ เดือน ก็ถือวา เปนอันเขาพรรษา ธรรมเนยี มในบดั น้ี ใหก ลา วคําอธิษฐานพรอมกนั ดังตอไปนี้ 320

 3๓2๑1๗ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ คําอธิษฐาน “อมิ สฺมึ อาวาเส อมิ ํ เตมาสํ วสสฺ ํ อเุ ปมิ. เราเขาจําพรรษาในอาวาสนตี้ ลอด ๓ เดือน คําอธษิ ฐานเฉพาะรูปที่กุฏิซาํ้ อกี วา ดังน้ี “อิมสฺมึ วหิ าเร อิมํ เตมาสํ วสฺสํ อุเปมิ. แปลวา เราเขา จาํ พรรษาในวิหาร (ท่อี ยู) นต้ี ลอด ๓ เดอื น การเขา จาํ พรรษาขณะเดนิ ทางไปกบั พวกโคตา งเปน ตน เมื่อถึงวันเขาพรรษา จะไมเขาพรรษา เท่ียวเรรอนไป ไมสมควร ภิกษุคร้ังกอนถือเปน เรื่องกวดขันมาก เชน ภิกษุชาวเมืองปาฐา พากันเดินทางมาเพื่อจะเขาเฝาพระพุทธองคที่ พระวิหารเชตวัน เมืองสาวัตถี แตมาไมทัน หนทางยังเหลือเพียง ๖ – ๗ โยชนถึงวันเขาพรรษา เสียกอน จึงจําเปนตองเขาพรรษาท่ีเมืองสาเกตุ ดวยความรัญจวนใจตลอด ๓ เดือน เพราะ ตองการจะเขา เฝา พระบรมศาสดา แตถาภิกษุเดินทางไปกับพวกโคตาง หมูเกวียน หรือโดยสารไปในเรือ เพ่ือจะไปยัง สถานที่ใดที่หน่ึง กําลังเดินทางอยู วันเขาพรรษามาถึงเขา พึงเขาพรรษาในหมูเกวียน เปนตน ซ่ึงทานแนะใหอธิษฐานใจวา “อิธ วสฺสํ อุเปมิ. เราเขาจําพรรษาในที่นี้” เม่ือโคตางหมูเกวียน หรือเรือโดยสารเดินทางตอไป ทานใหไปกับเขา เม่ือตําบลท่ีภิกษุน้ันประสงคจะไป พวกโคตาง เปนตน หยุดการเดินทางตอไป เพราะสิ้นสุดสายการเดินทาง ตางคนตางแยกยายกันไป ไมต้ัง เปนหมดู ุจเดิม ทานแนะใหอยูจาํ พรรษากับพวกภิกษใุ นตําบลน้ัน การอธิษฐานพรรษาในระหวาง เดินทางดงั กลา วมาน้ี ทา นวาพรรษาไมข าดและไดเพ่ือจะปวารณาดวย หา มตงั้ กติกาอนั ไมเ ปนธรรมระหวางเขา พรรษา กติกาอันไมเปน ธรรม ในพระบาลีแสดงไวว า สมัยนั้น พระสงฆในพระนครสาวัตถี ไดต้ัง กตกิ าเชน น้ีไววา “ในระหวา งพรรษาหา มใหบรรพชา” หลานชายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา ไดเขา ไปหาภิกษทุ ้งั หลายแลวขอบรรพชา ภิกษทุ ั้งหลายบอกอยา งนว้ี า “คุณ พระสงฆไดต้ังกติกากันไว เชนน้ีวา ในระหวางพรรษาหามใหบรรพชา คุณจงรอไปตลอดเวลาท่ีภิกษุทั้งหลายจําพรรษาอยู จําพรรษาเสร็จแลวจึงจะใหบวช” ครั้นภิกษุเหลานั้นจําพรรษาแลวไดบอกหลานชายของ นางวิสาขามิคารมารดาวา “คุณ บัดนี้ เธอจงมาบวชเถิด” เขาจึงเรียนอยางน้ีวา “ทานขอรับ ถา กระผมไดบวชไปแลว กระผมก็จะยินดียิ่งนัก แตเดี๋ยวนี้กระผมไมบวชละ” นางวิสาขามหา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 321

3๓๑2๘2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 อุบาสิกาจึงไดติเตียนวา “ไฉนพระคุณเจาทั้งหลาย จึงไดตั้งกติกากันไวเชนนี้วา ในระหวาง พรรษาหามใหบรรพชาเลา กาลเชนไรเลา จึงไมควรประพฤติธรรม” ภิกษุทั้งหลายไดยินนาง วิสาขาติเตียนเชนนั้น จึงไดกราบทูลใหทรงทราบ พระพุทธองคจึงทรงบัญญัติวา “ดูกอนภิกษุ ทง้ั หลาย ภิกษไุ มพึงตั้งกติกาไวเชนนี้วา ในระหวางพรรษาหามใหบรรพชา, รูปใดตั้ง ตอง อาบตั ิทกุ กฏ” โดยนัยน้ี พระโบราณาจารยจึงไดกําหนดกติกาอันไมเปนธรรมท่ีภิกษุไมควรตั้งในระหวาง เขาพรรษาไวตาง ๆ เชน หามไมใหบอกไมใหเรียนพระธรรมวินัย หามไมใหสาธยายธรรม หาม ไมใ หมเี ทศนาธรรม หา มไมใ หบ รรพชาอปุ สมบท หา มไมใหใ หนิสสัย หามไมใ หพูดจากัน เปน ตน สัตตาหกรณยี ะ สัตตาหกรณียะ หมายถึง กิจจําเปนท่ีทรงอนุญาตพิเศษใหภิกษุหรือภิกษุณีออกจาก สถานท่จี ําพรรษาไปคางคืนที่อ่นื ไดภายใน ๗ วัน โดยสรุปมี ๔ ประการ คือ (๑) ไปเพ่ือพยาบาล สหธรรมิกหรือมารดาบิดาผูเจ็บไข (๒) ไปเพ่ือระงับยับยั้งสหธรรมิกผูจะสึก (๓) ไปเพื่อกิจสงฆ เชน ไปหาทัพพสัมภาระมาซอมวิหารที่ชํารุดในเวลานั้น (๔) ไปเพ่ือบํารุงศรัทธาของทายก ซ่งึ สงมานิมนตเพอ่ื การบําเพ็ญกศุ ลของเขา ในเวลาจําพรรษาอยู มีอันตรายเกิดขึ้น จะอยูตอไปไมได ไปเสียจากท่ีนั้น พรรษาขาด แตทา นไมปรับอาบัติ อนั ตรายเหลา นน้ั คอื (๑) ถกู สัตวราย โจร ปศาจเบียดเบียน (๒) เสนาสนะ ถูกไฟไหมหรือน้ําทวม (๓) ภัยเชนนั้นเกิดข้ึนแกโคจรคาม ลําบากดวยบิณฑบาต ชาวบาน อพยพไป จะตามเขาไปก็ควร (๔) ขัดสนดวยอาหารโดยปกติ ไมไดอาหารหรือเภสัชอันสบาย หรือไมไดอุปฏฐากทีส่ มควร (๕) มหี ญงิ มาเกลย้ี กลอ ม หรอื มญี าติมารบกวน หรอื มาลอดวยทรัพย เกรงจะเปน อันตรายตอ พรหมจรรยจะไปเสยี กไ็ ด (๖) สงฆในอาวาสอื่นจะแตกกนั หรอื แตกกันแลว ไปเพื่อสมานสามคั คี กส็ มควร ภิกษุรับนิมนตหรือนัดหมายกันเองเพ่ืออยูจําพรรษาในท่ีใด ไมอยูในที่นั้น ทําใหขาด พรรษาตอ งปฏิสสวทุกกฏ แปลวา ทุกกฏเพราะรับคํา อน่ึง เหตุที่ทานหามไมใหภิกษุจําพรรษา ตลอด ๔ เดอื นฤดฝู นนน้ั เพราะตองการเดอื นทายฤดูฝนไวเปนจีวรกาล คราวแสวงหาจีวร คราว ทาํ จวี ร เพ่อื ผลัดผาไตรจีวรเดิม 322

 3๓2๑3๙ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ อานสิ งสข องการเขา พรรษา เม่ือภิกษุจําพรรษาจนไดปวารณาแลว ยอมไดอานิสงสแหงการจําพรรษานับแตวัน ออกพรรษาไป ๑ เดือน อานสิ งสของการจาํ พรรษาน้ันมี ๕ ประการคือ ๑. เท่ียวไปไมต องบอกลาตามสกิ ขาบทท่ี ๖ แหงอเจลกวรรค ปาจติ ตยิ กณั ฑ ๒. เท่ยี วจารกิ ไปโดยไมตอ งถอื ไตรจวี รไปครบสาํ รบั ๓. ฉนั คณโภชนแ ละปรัมปรโภชนไ ด ๔. เก็บอตเิ รกจีวรไวไดตามปรารถนา ๕. จีวรอันเกิดในท่ีนั้นเปนของไดแกพวกเธอ ท้ังไดโอกาสท่ีจะกรานกฐินและได อานิสงส ๕ ขอ นน้ั ตอ ไปอกี ๔ เดือนตลอดฤดูหนาว อธบิ ายอานสิ งสของการเขาพรรษา ๕ ประการ ดังนี้ ๑. เที่ยวไปไมตองบอกลาตามสิกขาบทที่ ๖ แหงอเจลกวรรค ปาจิตติยกัณฑ ธรรมเนียมปฏิบัติของพระภิกษุน้ันจะออกจากวัดไปในท่ีใดๆ ตองบอกลาภิกษุท่ีมีอยู ในวัดกอน จึงจะไปได หากขืนเท่ียวไปโดยไมบอกลา ตองไดรับโทษอยางเบาตามพระวินัยบัญญัติ ซ่ึง เรยี กวาตอ งอาบตั ิปาจิตตีย ๒. เที่ยวจาริกไปโดยไมตองถือเอาไตรจีวรไปครบสํารับ โดยที่ธรรมเนียมปฏิบัติ ของพระภิกษุนั้นจะอยูปราศจากไตรจีวรคือไมครองผา ๓ ผืน แมเพียงคืนหน่ึงไมได หากขืนอยู ตอ งอาบัตินิสสัคคิยปาจีตตีย และผาไตรจีวรนั้นเปนนิสสัคคียะ คือเปนส่ิงที่ตองสละแกสงฆ คณะ หรือบุคคล แลวจึงนํามาอธิษฐานเปนไตรจีวรครองใหม หากไมสละ ขืนนํามานุงหม ตองอาบัติทุก กฏอีก หรือกลาวงายๆ คือหามอยูปราศจากไตรจีวรแมเพียงคืนหน่ึง เวนแตมีเง่ือนไขพิเศษ ซึ่ง พระพุทธองคทรงกําหนดเปนขอยกเวนใน ๔ กรณี คือ (๑) ภิกษุผูจําพรรษาครบไตรมาสแลว สามารถอยูปราศจากไตรจีวรได ๑ เดือน (๒) ภิกษุผูไดกรานกฐินแลว สามารถอยูปราศจาก ไตรจีวรไดตอไปอีก ๔ เดือน (๓) ภิกษุผูอาพาธหนัก ไดรับการยกเวนจากสงฆใหปราศจาก ไตรจีวรไดจนกวาอาการอาพาธน้ันจะหาย (๔) ในเขตท่ีสงฆมีมติใหเปนเขตยกเวนการอยู ปราศจากไตรจีวรไดจนกวา อาการอาพาธนน้ั จะหาย ดังนี้ ภิกษุผูจําพรรษาและไดรับกฐินแลว เมื่อจะเที่ยวจาริกไปในที่ใดท่ีหน่ึง ยอม เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 323

3๓๒2๐4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ไดรับอานิสงส คือไมตองเอาไตรจีวรไปครบ ๓ ผืน ตลอดระยะเวลา ๕ เดือน (โดยสวนใหญจะ เวนไวแตผ า สังฆาฏิ เพราะผา สบงและผา จีวรนั้นเปนเครื่องนงุ หมจาํ เปน) ๓. ฉนั คณโภชนไดแ ละปรมั ปรโภชนได คําวา ฉันคณโภชน หมายถึง การฉันโภชนะ เปนคณะหรือเปนหมู หรือฉันเขาวง ฉันเปนวง คือการที่ภิกษุต้ังแต ๔ รูปขึ้นไป รับนิมนตดวย โภชนะ ๕ อยาง คือขาวสุก ขนมสด ขนมแหง ปลา หรือเนื้ออยางใดอยางหนึ่ง โดยทายกหรือ เจาภาพผูนิมนตออกช่ือระบุโภชนะ เชนนี้เปนอาบัติปาจิตตียทุกคํากลืน เพราะตามธรรมเนียม ของภกิ ษนุ ิยมนงั่ เรียงแถวฉัน ไมน ัง่ ลอมวงฉัน ตอมา พระพุทธองคทรงเพ่ิมพระอนุบัญญัติท่ีทรงผอนผันเปนขอยกเวนใหภิกษุ ฉันคณโภชนได ใน ๗ กรณี คือ (๑) คราวอาพาธ คือเวลาเจ็บไข ไมอาจจะไปบิณฑบาตได (๒) หนาจีวรกาล หรือคราวฤดูถวายจีวร กําหนดระยะเวลา ๕ เดือน คือถายังไมไดกรานกฐิน ๑ เดือน หลังจากออกพรรษา ถาไดกรานกฐินเพิ่มออกไปอีก ๔ เดือน ตลอดฤดูหนาว (๓) คราวทําจีวร คอื เวลาทีภ่ กิ ษตุ ดั เยบ็ จวี รใชเ อง (สมัยกอ น) ในคราวเชน นีภ้ ิกษุที่ไมชํานาญจะมี ความกังวลมาก จึงทรงอนุญาตใหฉันคณโภชนได (๔) คราวท่ีไปทางไกล ซ่ึงกําหนดระยะทาง ต้ังแตครึ่งโยชนข้ึนไป (๕) คราวท่ีไปทางเรือ ซ่ึงกําหนดระยะไกลคร่ึงโยชน โดยเทียบกับคราว เดนิ ทางไกลเพ่อื ใหเกดิ ความสะดวก (๖) คราวประชมุ ใหญ คือคราวท่ีอยูกันมาก จนบิณฑบาตไม พอฉนั (๗) คราวภัตของสมณะ คือเวลาทพี่ วกสมณะดว ยกนั นิมนตฉ นั ภิกษุท่ไี ดร บั กฐนิ แลว นอกจากจะไดร ับยกเวน ไมตองอาบัติเพราะรับประเคนฉันเปนหมู ดังกลาวมาน้ีแลว ยังไมตองอาบัติเพราะฉันปรัมปรโภชน กลาวคือ ภิกษุรับนิมนตฉันอาหารไว แหงหนึ่งแลวไมไป แตไปฉันอาหารในท่ีที่เขานิมนตทีหลังในเวลาเดียวกัน กิริยาเชนนี้เรียกตาม ศพั ทพระวินัยวา ฉันปรมั ปรโภชน หรอื ฉันโภชนะท่ีเขานมิ นตทีหลัง ตองวิกัปโภชนะท่ีรับไวกอนนั้น คือยกสวนท่ีรับนิมนตไวกอนน้ันใหแกภิกษุอ่ืนเสีย จึงฉันโภชนะทีหลังไดหรือฉันตามลําดับที่รับ นมิ นต แตถาไดร ับกฐนิ แลว ก็เปนอันไดรบั ยกเวน ไมต อ งอาบตั ปิ าจติ ตยี เ พราะฉันปรมั ปรโภชน ๔. เก็บอติเรกจีวรไวไดตามปรารถนา ไตรจีวรน้ันมีพระพุทธานุญาตใหภิกษุ ใชประจําไดอยางละผืนและตองอธิษฐานคือต้ังใจกําหนดเอาไววาจะใชเปนของประจําตัวหรือใช เปน ผาครอง ผาสวนเกนิ ทีเ่ ขาถวายภกิ ษุนอกจากผาที่อธิษฐานเปนไตรจีวร เรียกวา อติเรกจีวร (หรืออดิเรกจีวร) ซึ่งหามภิกษุเก็บไวเกิน ๑๐ วัน หากเก็บไวเกิน ตองอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย เมื่อภิกษุตองอาบัติแลว จําตองสละจีวรท่ีเปนนิสสัคคียน้ัน จึงแสดงอาบัติตก ดังนั้น ภิกษุจะเก็บ อติเรกจีวรไวไดโดยไมตองอาบัติ ก็ตอเม่ืออยูในเทศกาลถวายผากฐิน คือต้ังแตกลางเดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ หรือนับต้ังแตวันปวารณาออกพรรษาไปแลว ๑ เดือน ซ่ึงเปนเทศกาลท่ี ประชาชนพุทธบริษัทนําผามาถวายภิกษุท่ีอยูจําพรรษาแลว ซึ่งมีผลทําใหภิกษุนั้นสามารถ 324

 3๓2๒5๑ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ เปลี่ยนไตรจีวรได และไดรับสิทธิพิเศษตามพระพุทธานุญาตใหเก็บผาสําหรับจะทําจีวรไวได ตามตอ งการ ถาไดกรานกฐินหรือรับกฐินน้ันแลวสิทธิพิเศษน้ัน ขยายออกไปอีกตลอดฤดูหนาว คอื สามารถเกบ็ อติเรกจวี รไดเ พ่ิมขึ้นอีก ๔ เดือน รวมเปน ๕ เดอื น เรียกวา ไดร บั อานสิ งสแ หงกฐนิ ๕. จีวรอันเกิดในที่นั้นเปนของไดแกพวกเธอ หมายถึง มีสิทธิอันชอบธรรมในการ ไดป จจัยลาภมจี ีวรเปนตนทเ่ี กดิ ข้นึ ในทีน่ น้ั คือเกิดข้ึนในวดั ท่ีอยโู ดยทายกทายิกานาํ มาถวาย นอกจากนี้ ยงั ไดสทิ ธพิ เิ ศษท่จี ะขยายเขตทาํ จีวรใหย ืดระยะเวลาออกไป โดยปกติ เขตทําจีวรทรงอนุญาตไวเพียงทายฤดูฝน คือถึงกลางเดือน ๑๒ (ขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๑๒) ซ่ึงเรียกวา เขตกฐินตามปกติ แตถาไดรับกรานกฐินแลวเขตทําจีวรน้ันขยายออกไปตลอด ฤดูหนาว คือถึงกลางเดือน ๔ (ข้ึน ๑๕ ค่ํา เดือน ๔) เปนเวลา ๔ เดือน เรียกวา เขตอานิสงสกฐิน. เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 325

3๓๒2๒6 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 กณั ฑท่ี ๑๗ อโุ บสถ ปวารณา อุโบสถ คําวา อุโบสถ แปลวา การเขาอยู เปนช่ือของการบําเพ็ญพรตอยางหนึ่ง เปนธรรมเนียม มากอนพทุ ธกาล และพระพทุ ธองคท รงอนญุ าตธรรมเนยี มน้ันใหภกิ ษทุ าํ อโุ บสถ วันทําอุโบสถ มี ๓ วัน คือ (๑) วันจาตุททสี คือวันแรม ๑๔ ค่ํา (๒) วันปณณรสี คือวันขึ้น – แรม ๑๕ คํ่า (๓) วันสามัคคี คือวันที่สงฆแตกกันแลวปรองดองกันไดทําอุโบสถ รว มกนั เปนอโุ บสถพิเศษ เรยี กวา สงั ฆสามัคคอี ุโบสถ การก คอื ภกิ ษุผทู าํ อุโบสถ มี ๓ การก คอื (๑) สงฆ ภิกษุตั้งแต ๔ รูปข้ึนไป (๒) คณะ คือ ภิกษุต้งั แต ๒ - ๓ รูป (๓) บคุ คล ภกิ ษุรปู เดยี ว อาการที่ทําอุโบสถ มี ๓ คือ (๑) ๔ รูปขึ้นไป ใหสวดปาติโมกข (๒) ๒-๓ รูป ใหบอกความบริสทุ ธิ์แกก ันและกัน (๓) ๑ รปู ใหอ ธษิ ฐานใจ บุพพกรณ คือ กิจที่พึงทํากอนสงฆลงประชุม มี ๔ อยาง คือ (๑) กวาดโรงอุโบสถ (๒) ถามดื คํา่ ใหตามไฟ หรอื จดุ ไฟใหแ สงสวาง (๓) ตง้ั นํา้ ฉนั นาํ้ ใช (๔) ต้งั หรือปูอาสนะไว บุพพกิจ คือ กิจท่ีพึงทํากอนสวดปาติโมกข มี ๕ อยางคือ (๑) นําปาริสุทธิของภิกษุ เจ็บไขมา (๒) นําฉันทะของภิกษุน้ันมาดวย (๓) บอกฤดู (๔) นับภิกษุ (๕) ใหโอวาทภิกษุณี (หรอื สามเณรในปจ จุบนั ) คํามอบปาริสุทธิใหแกผูรับ ภิกษุผูอาพาธมีอยูในสีมา คือในเขตรวมสังวาส ไมอาจไป สูท ี่ประชุมสงฆ ณ โรงอโุ บสถได ภิกษอุ ่ืนรปู หน่ึงพึงรับมอบปาริสุทธิของภิกษุผูอาพาธน้ันมาแจง แกสงฆ นี้เรียกวานําปาริสุทธิมา วิธีมอบ ภิกษุผูอาพาธพึงกลาวกะภิกษุผูรับมอบวา “ปาริสุทฺธึ ทมมฺ ,ิ ปารสิ ทุ ฺธึ เม หร, ปารสิ ทุ ฺธึ เม อาโรเจหิ” แปลวา “ผมมอบความบริสุทธิ์ ขอคุณจงนําความ บรสิ ุทธข์ิ องผมไป ขอคุณจงบอกความบริสทุ ธ์ขิ องผม” ถา ผูมอบออ นกวาผูรับ ใชคําวา หรถ แทน หร คาํ วา อาโรเจถ แทน อาโรเจหิ สวนคําแปล ใชคาํ วา ทา น แทนคาํ วา คณุ คํามอบฉันทะใหแกผูรับ ภิกษุผูอยูในเขตสีมา มีสิทธิในอันจะไดเขาประชุมดวย แต สงฆจะเวนภิกษุนั้นทํากิจ กิจนั้นไมเปนธรรม ใชไมได เวนแตจะไดรับความยินยอมจากภิกษุนั้น 326

 32๓๒7๓ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ การใหความยินยอมน้ีเรียกวา มอบฉันทะ หรือใหฉันทะ ภิกษุทุกรูปผูไดรับนัดหมาย ควรมี แกใจในการเขาประชุมทํากิจสงฆ ถาไมอาจรวมไดโดยประการใดประการหน่ึง เชน อาพาธ ก็พึง มอบฉนั ทะ ในการมอบฉันทะน้ัน ภกิ ษผุ ูรบั มอบพงึ กลาวดงั น้ี “ฉนฺทํ ทมฺมิ, ฉนทฺ ํ เม หร, ฉนฺทํ เม อาโรเจหิ” แปลวา “ผมมอบฉันทะ ขอคุณจงนําฉันทะของผมไป ขอคุณจงบอกฉันทะของผม” (การเปลีย่ นคําตามผูออน – แก พงึ ทราบโดยนยั ทกี่ ลา วไวแลว ในปารสิ ทุ ธิทุกบท) การบอกฤดู ในครั้งพุทธกาล มี ๓ ฤดู คือ (๑) เหมันตฤดู ฤดูหนาว (๒) คิมหันตฤดู ฤดรู อ น (๓) วสนั ตฤดู ฤดูฝน การนับภิกษุ มี ๒ วิธี คือ (๑) เรียกช่ือ สําหรับภิกษุที่อยูวัดเดียวกัน (๒) ใสคะแนน สําหรับภกิ ษอุ ยตู า งวัดกนั การใหโ อวาทภิกษุณี ปจจบุ ันไมมภี ิกษุณีแลว จงึ เปน อันไมต อ งทาํ ภิกษุผูจะทําอุโบสถ ตองชําระตนใหบริสุทธิ์จากอาบัติท่ีเปนเทสนาคามินี คือแกไข ไดดวยการแสดง (ยกเวนอาบัติสงั ฆาทเิ สส) รูตัววามอี าบัติ เขา ฟงปาตโิ มกข ถกู ปรับอาบัตทิ ุกกฏ ขณะเม่อื ฟง นกึ ขน้ึ มาไดต อ งบอกแกภ กิ ษผุ นู ั่งใกลวา ตนตอ งอาบัติชอ่ื นนั้ ลุกจากที่แลวแสดงเสีย ภิกษุทั้งหลายลวงละเมิดพระบัญญัติวัตถุอยางเดียวกัน ตองอาบัติอยางเดียวกัน อาบัติ ของภิกษเุ หลานั้น เรียกวา สภาคาบัติ ทานหามไมใหแสดงตอกัน และหามไมใหรับแสดงตอกัน ขืนทํา ทานปรับอาบัติทุกกฏท้ังผูแสดงทั้งผูรับ แตอาบัตินี้ทานยอมใหเปนอันแสดงแลว อาบัติ ช่ือเดียวกัน แคตางวัตถุ เชน ปาจิตตียเพราะนอนรวมกับอนุปสัมบันเกินกําหนด กับปาจิตตีย เพราะสอนธรรมแกอ นปุ สัมบันวาพรอมกัน ไมจัดเปนสภาคาบัติ ตางรูปตางแสดง ตางรูปตางรับ แสดงกนั ได ถาภกิ ษุทั้งหลายตอ งสภาคาบัติ ใหส วดประกาศในที่ประชุมแลวฟง ปาติโมกขได อาบตั ิท่เี ปนวุฏฐานคามนิ ี จะพนไดด ว ยการอยูก รรม คืออาบัติสังฆาทิเสส ทานใหบอกไว แกภ ิกษรุ ูปหนึ่งวาตนตอ งอาบตั ิสงั ฆาทิเสส มีวัตถุอยางนนั้ ๆ แลวฟง ปาติโมกขไ ด สังฆอโุ บสถ การทาํ สังฆอุโบสถ คือการสวดปาตโิ มกขนนั้ ตองประกอบดวยองค ๔ คอื ๑. วนั นัน้ เปนวัน ๑๔ คํา่ หรือ ๑๕ ค่ํา หรอื วันสามัคคี วนั ใดวันหนึง่ ๒. จาํ นวนภิกษุผเู ขาประชุมมี ๔ รูปเปน อยางนอ ย และเปน ปกตตั ตะ คือเปน ภิกษุปกติ ไมตองอาบัติปาราชิก หรือถูกสงฆลงอุกเขปนยี กรรม (ตอ งมีภกิ ษุ ๔ รูปเปนปกตัตตะ จึงจะถือวา ใชไ ด) และนั่งไมละหตั ถบาสของกันและกนั ๓. ภิกษุทั้งหลายไมตองสภาคาบัติ คือไมตองอาบัติเรื่องเดียวกันและอาบัติอยาง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 327

3๓๒2๔8 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 เดียวกัน ถา มอี ยา งนนั้ ทา นใหส วดประกาศวา “สณุ าตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อยํ สพโฺ พ สงฺโฆ สภาคํ อาปตตฺ ึ อาปนฺโน, ยทา อ ญฺ ํ ภิกฺขุ สทุ ธฺ ํ อนาปตตฺ ิกํ ปสสฺ ิสสฺ ติ, ตทา ตสสฺ สนฺติเก ตํ อาปตฺ ตึ ปฏิกริสสฺ ติ” แปลวา “ทานเจาขา ขอสงฆจงฟงขาพเจา สงฆท้ังปวงน้ีตองสภาคาบัติ จักเห็น ภิกษุอื่นผูบริสุทธิ์ ไมตองสภาคาบัติเมื่อใด จักทําคืนอาบัติน้ันในสํานักเธอเมื่อนั้น” แลวจึงทํา อุโบสถได ๔. บุคคลควรเวนไมมีในหัตถบาส คือไมไดอยูในที่ประชุม บุคคลควรเวนนั้น ไดแก (๑) อนุปสัมบัน คือคนไมใชภิกษุ แมภิกษุณีซ่ึงเปนอุปสัมบัน แตไมสามารถจะรวมทําสังฆกรรม กับภกิ ษุได จึงนบั วาเปน อนุปสัมบนั สําหรบั ภกิ ษุ (๒) เปนภิกษุอยกู อนแตข าดจากความเปนภิกษุ แลวโดยตองอาบัติปาราชิก เขารีตเดียรถีย หรือลาสิกขา (๓) เปนภิกษุแตถูกสงฆลงอุกเขปนีย- กรรม ซึง่ ถา ไมเปน ที่ ๔ ในสงฆ ก็ไมเปนไร ในคราวประชุมทําสังฆอุโบสถนี้ ไมมีพระพุทธานุญาตโดยตรงท่ีจะใหภิกษุท้ังหลาย สนทนากันถึงพระวินัยในสงฆดวย แตมีธรรมเนียมวา ถาจะสนทนาตองไดรับสมมติกอน หรือ ประกาศสมมติตนเองก็ได ภิกษุอน่ื ประกาศสมมติก็ได เพยี งตัง้ ญตั ติกรรมกพ็ อ ปาริสทุ ธอิ ุโบสถ ในวัดแหงหนึ่ง มีภิกษุไมถึง ๔ รูป ทานไมใหสวดปาติโมกข ถามีภิกษุ ๓ รูป ใหทํา ปาริสุทธอิ ุโบสถ คือประชมุ กันในโรงอโุ บสถ รูปหนงึ่ สวดประกาศดวยญตั ติ ดังนี้ “สาณาตุ เม ภนฺเต อายสฺมนฺตา,อชฺชุโปสโถ ปณฺณรโส,ยทายสฺมนฺตานํ ปตตฺ กลฺลํ มยํ อ ฺญม ฺญํ ปาริสุทฺธิอุโปสถํ กเรยฺยาม” แปลวา “ทานเจาขา ขอทานท้ังหลาย จงฟง ขาพเจา อุโบสถวันนี้ท่ี ๑๕ ถาความพร่ังพรอมของทานถึงที่แลว เราทั้งหลายพึงทําปาริสุทธิ อุโบสถกันเถิด” ถารปู ท่ีตง้ั ญัตติแกก วาใชคําวา “อาวโุ ส” แทน “ภนเฺ ต” วนั ที่ ๑๔ ค่ํา ใหวา “จาตุทฺทโส” ภิกษผุ เู ถระพึงหมผาเฉวยี งบา พึงนัง่ กระโหยง ประนมมือ บอกปารสิ ุทธิ วาดังน้ี “ปาริสทุ โฺ ธ อหํ อาวโุ ส,ปาริสทุ โฺ ธติ มํ ธาเรถ.” (วา ๓ หน) แปลวา “ฉันบริสุทธิ์แลวขอ เธอทั้งหลายจงจําฉนั วา เปนผบู ริสุทธ์แิ ลว ” ภกิ ษนุ อกน้ี พงึ ทําอยา งน้นั ตามลําดับพรรษา คอื บอกปาริสุทธิ วา ดงั นี้ “ปาริสทุ ฺโธ อหํ ภนฺเต, ปาริสทุ โฺ ธติ มํ ธาเรถ.” แปลวา “ผมบริสุทธ์ิแลวขอรับขอทาน ทั้งหลายจงจําผมวา เปนผูบรสิ ุทธ์ิแลว” 328

 3๓2๒9๕ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ ภกิ ษุสองรปู ไมต อ งต้ังญัตติ บอกปารสิ ุทธิแกกนั และกันเลยทเี ดยี ว ภกิ ษุรปู เดียวทา นใหอ ธษิ ฐาน วา อชชฺ เม อโุ ปสโถ. “วันนอ้ี ุโบสถของเรา” การสวดปาติโมกขนี้ เปน หนา ทีข่ องพระเถระผใู หญ จะนิมนตภ ิกษุรปู อืน่ ใหส วดแทนกไ็ ด ภิกษุผูสวดน้ันตองเปนผูท่ีฉลาด จําปาติโมกขไดแมนยํา เขาใจวาพากยและอักษรถูกจังหว ะ ชัดเจน ไมใชเปนผูมีเสียงแหบเครือ ภิกษุผูสวดตองสวดดังพอใหไดยินทั่วกัน ถาแกลงทําเสียง อุบอบิ เสยี ทานปรบั ทกุ กฏ ในคําสวดมีที่เปลี่ยนวัน เดือน คือ ถาเปนวัน ๑๕ คํ่า สวดวา “อชฺชุโปสโถ ปณฺณรโส อุโบสถวันน้ีที่ ๑๕” ถาเปนวันท่ี ๑๔ คํ่า สวดวา “อชชฺ ุโปสโถ จาทุตฺทโส อุโบสถวนั นีที ๑๔” ถา้ เป็นวนั สามคั คี สวดวา่ “อชุ ชฺ ุโปสโถ สามคคฺ ี อุโบสถวนั นี้ เปน วนั สามคั คี” ในการสวดปาติโมกข ทานจัดหมวดหัวขอในการสวดไว เรียก อุทเทส โดยยอ มี ๕ คือ (๑) นทิ านุทเทส (๒) ปาราชกิ กทุ เทส (๓) สังฆาทิเสสทุ เทส (๔) อนิยตุทเทส (๕) วิตถารทุ เทส อุทเทสหลัง คอื วติ ถารทุ เทส เปนทีร่ วมแหงอุทเทสทั้ง ๕ คือ นิสสัคคิยุทเทส ปาจิตติยุทเทส ปาฏิเทสนิยุทเทส เสขิยุทเทส สมถุทเทส ดังน้ัน เม่ือวาโดยพิสดารจึงเปน อุทเทส ในการสวด ปาติโมกข จึงมี ๙ อุทเทส อุทเทสน้ีทานจัดไวเพ่ือจะไดรูจักตัดตอนสวดปาติโมกข เมื่อถึงคราว จาํ เปน คราวจําเปนอันเปนเหตุสวดปาติโมกขยอ มี ๒ ประการ คือ (๑) ไมมีภิกษุจําไดจนจบ สวดเทา ท่ีจาํ ได (๒) เกิดเหตฉุ กุ เฉินที่เรียกวา อนั ตราย เหตุฉุกเฉินท่เี รียกวาอันตราย นั้น มี ๑๐ คอื ๑. พระราชาเสดจ็ มา ๒. โจรมาปลน ๓. ไฟไหม ๔. น้าํ หลากมา ๕. คนมามาก ๖. ผเี ขา ภกิ ษุ ๗. สตั วร ายมเี สือเปนตนเขามาในอาราม ๘. งรู ายเขามาในท่ปี ระชุม ๙. ภิกษุอาพาธโรคปจจุบันในที่ประชุม ๑๐. มอี ันตรายตอ พรหมจรรย เชน มใี ครมาจบั ภกิ ษุรูปใดรูปหน่งึ กาํ ลงั สวดปาติโมกข มภี กิ ษุรปู อื่นมาถึงเขา ถามามากกวา ภกิ ษผุ ูชุมนมุ ตอ งสวดต้ังตนใหม ถา เทา กนั หรอื นอยกวา ใหส วดตอ จากที่สวดแลว ใหผ ูมาฟง ใหมฟ งสวนท่ีเหลือตอไป ถารูอยูกอน วา จักมีภิกษมุ า แตน กึ เสียวา ไมเปนไรแลว สวด ทานปรบั ถุลลัจจัย ถาทําดวยความสะเพรา นึกวา เมือ่ สวดถงึ ไหน ก็ฟงตอนนัน้ ปรบั อาบตั ทิ ุกกฏ ถาสวดจบแลวมีภิกษุอื่นมา ทานใหบอกปาริสุทธิ ในสํานกั ภกิ ษุผสู วดปาติโมกขแ ลว เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 329

เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 330 330


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook