Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วินัยบัญญัติ

วินัยบัญญัติ

Published by PJ-Ratchasin2, 2019-12-13 09:08:00

Description: บรรยายโดย
พระครูสมุห์ไพจิต จิตฺตปญฺโญ

Search

Read the Text Version

วนิ ัยบัญญตั ิ บรรยายโดย พระครูสมุห์ไพจติ จิตฺตปญฺโญ พระใบฎกี าเมตตา สนฺตกาโย

วิธีการอุปสมบท ในพทุ ธศาสนา พระศาสดาทรงอนุญาตใหบ้ วชเป็นภกิ ษุโดย ๓ วธิ ี คือ ๑. เอหภิ กิ ขุอปุ สมั ปทา แปลว่า อปุ สมบทดว้ ยทรงอนุญาตใหเ้ ป็น ภกิ ษุมา วธิ ีน้ีทรงทาเอง ๒. ตสิ รณคมนูปสมั ปทา แปลว่า อปุ สมบทดว้ ยถงึ ๓ สรณะวธิ นี ้ีทรง อนุญาตใหส้ าวกทา ๓. ญตั ตจิ ตตุ ถกมั มอปุ สมั ปทา แปลว่า อปุ สมบทดว้ ยกรรมวาจาท่ี ๔ ทง้ั ญตั ติ วธิ นี ้ีทรงใหส้ งฆท์ า

สมบัตขิ องการอปุ สมบทตอ้ งถงึ พรอ้ มดว้ ยสมบตั ิ ๕ คอื ๑. วตั ถสุ มบตั .ิ ๒. ปรสิ สมบตั .ิ ๓. สมี าสมบตั .ิ ๔. บรุ พกจิ (สมบตั )ิ ๕. กรรมวาจาสมบตั .ิ

๑. ตอ้ งเป็นมนุษยผ์ ูช้ าย. ๒. มอี ายคุ รบ ๒๐ ปี. ๓. ไม่เป็นมนุษยว์ บิ ตั ิ คอื ถกู ตอนเป็นตน้ . ๔. ไม่เป็นคนทาผดิ อย่างรา้ ยแรง เช่นฆา่ มารดาหรอื บดิ าเป็นตน้ . ๕. ไม่เคยเป็นคนทาความเสยี หายรา้ ยแรงในพระพทุ ธศาสนา เช่นตอ้ ง ปาราชิก.

ปรสิ สมบตั ิ

สีมาสมบัติ สมบูรณ์โดยสีมา คือภิกษุอยู่ในสีมา เดียวกนั ตอ้ งเขา้ ประชุมหมด หากมีเหตุขดั ข้องตอ้ ง มอบฉนั ทะสมี า ๒ ชนิด ๑. พทั ธสมี า เขตท่สี งฆส์ มมตไิ วท้ าสงั ฆกรรม ๒. อพทั ธสมี า เขตนอกเหนือจากท่สี มมตวิ ดั ท่ียงั ไม่ได้ ผูกพทั ธสมี า.

บรุ พกจิ ๑. ตอ้ งมผี ูร้ บั รอง คอื พระอปุ ชั ฌายะ ๒. ตอ้ งมีบรขิ ารท่จี าเป็น คอื บาตร สงั ฆาฏิ อตุ ราสงค์ อนั ตรวาสก (รดั ประคต องั สะ ผา้ รดั อก) ๓. ซกั ถามอนั ตรายิกธรรม.

กรรมวาจาสมบตั ิ คือ การสวดประกาศใน ท่ามกลางสงฆ์ โดยออกช่ือผูอ้ ปุ สมบท ออก ช่ืออปุ ชั ฌายด์ ว้ ย และสวดใหถ้ กู ตอ้ งชดั เจน ตามลาดบั ดว้ ยญตั ติจตตุ ถกมั มวาจา.

พระวนิ ยั หมายถงึ กฎหมายและขนบธรรมเนียม สาหรบั ป้ องกนั ความเสยี หายและชกั จูงใหภ้ กิ ษุประพฤตดิ ี งาม เรยี กวา่ พระวนิ ยั จดั เป็นสว่ นหน่ึงของ พระไตรปิฎก(พระวนิ ยั ปิฎก,พระสุตตนั ตปิฎก, พระอภธิ รรมปิฎก).

พระวนิ ยั น้นั แบ่งเป็ น ๒ สว่ น ๑. พระพทุ ธบญั ญตั ิ ขอ้ ท่ที รงตง้ั ไวเ้ ป็นบทบงั คบั ภกิ ษุ เพอ่ื ป้ องกนั ความเสยี หาย และวางโทษแกผ่ ูล้ ว่ งละเมิด โดยปรบั อาบตั ิหนกั บา้ ง เบาบา้ ง อย่างเดียวกบั พระราชบญั ญตั ิ. ๒. อภสิ มาจาร ขอ้ ท่ที รงแต่งตง้ั ไว้ เป็นขนบธรรมเนียม เพอ่ื ชกั นาความประพฤตขิ องภกิ ษุใหด้ งี าม เหมอื นอย่างขนบธรรมเนียม ของสกลุ .

การบญั ญตั ิพระวนิ ยั การบญั ญตั พิ ระวนิ ยั น้นั ไม่ไดท้ รงบญั ญตั ไิ วล้ ว่ งหนา้ ต่อเม่ือเกดิ ความเสยี หาย เพราะ การกระทาอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงของภกิ ษุรูปใดรูปหน่ึงแลว้ จงึ ทรงบญั ญตั หิ า้ มเป็นขอ้ ๆ ไป. เฉพาะขอ้ หน่ึง ๆ ยงั แบง่ การบญั ญตั ิออกเป็น ๒ วาระกม็ ี ๑. มูลบญั ญตั ิ ขอ้ ท่ที รงบญั ญตั ิไวเ้ ดมิ . ๒. อนุบญั ญตั ิ ขอ้ ท่ที รงบญั ญตั ิเพ่มิ เตมิ ทหี ลงั . รวมมูลบญั ญตั แิ ละอนุบญั ญตั เิ ขา้ ดว้ ยกนั เรยี กว่า สกิ ขาบท (ขอ้ ท่ีตอ้ งศึกษา). สกิ ขาบทขอ้ หน่ึง ๆ มีหลายอนุบญั ญตั กิ ม็ ี เหมอื นกบั มาตราทางพระราชบญั ญตั ิ.

อาบัติ อาบตั ิ แปลวา่ ความตอ้ ง ไดแ้ กโ่ ทษท่เี กดิ เพราะความละเมิดในขอ้ ท่พี ระพทุ ธเจา้ หา้ ม หรอื ไดแ้ กก่ ริ ยิ าท่ลี ว่ งละเมิดพระราชบญั ญตั ิ และมโี ทษเหนือตนอยู่. โทษ อาบตั นิ ้นั ว่าโดยโทษมี ๓ สถาน คอื ๑. อย่างหนัก ขาดจากภกิ ษุ. ๒. อยา่ งกลาง ตอ้ งอยู่กรรมจงึ พน้ . ๓. อยา่ งเบา ตอ้ งประจานตนตอ่ ภกิ ษุดว้ ยกนั จงึ พน้ ได.้ อกี อย่างหน่ึงมี ๒ สถาน คอื ๑. อเตกจิ ฉา อาบตั ทิ ่แี กไ้ ขไม่ได.้ ไดแ้ ก่ ปาราชิก. ๒. สเตกจิ ฉา อาบตั ทิ ่แี กไ้ ขได.้ ไดแ้ ก่ สงั ฆาทเิ สส. ถลุ ลจั จยั . ปาจติ ตยี ์ ปาฏเิ ทสนียะ ทกุ กฎ. ทพุ ภาสติ .

อาบตั ิว่าโดยชื่อ อาบตั นิ ้นั วา่ โดยช่ือ มี ๗ อย่าง คอื ๑. ปาราชิก. ๒. สงั ฆาทเิ สส.๓. ถลุ ลจั จยั . ๔. ปาจติ ตยี ์ (นิสสคั คยิ ปาจติ ตยี ์ ๑ สทุ ธิกปาจติ ตยี ์ ๑). ๕.ปาฏเิ ทสนียะ. ๖. ทกุ กฎ. ๗. ทพุ ภาสติ . ครุกาบตั -ิ ลหกุ าบตั ิ ครุกาบตั ิ คอื อาบตั หิ นกั แบง่ เป็น ๒ พวก คอื ๑. อาบตั หิ นกั แกไ้ ม่ได้ คอื ปาราชิก เรยี ก อเตกจิ ฉา. ๒. อาบตั หิ นกั แกไ้ ด้ คอื สงั ฆาทเิ สส เรยี ก สเตกจิ ฉา ลหกุ าบตั ิ คอื อาบตั เิ บา คอื ถลุ ลจั จยั ถงึ ทพุ ภาสติ . สมฏุ ฐาน คอื ทางเกดิ อาบตั โิ ดยตรง มี ๔ ทาง คอื ๑. ทางกาย เช่น ปาจติ ตยี ์ เพราะด่ืมน้าเมา. ๒. ทางวาจา เช่น ปาจติ ตยี ์ เพราะสอนธรรมแก่อนุสมั บนั ใหว้ ่าพรอ้ มกนั . ๓. ทางกายกบั จติ เช่น ปาราชิก เพราะทาโจรกรรมเอง. ๔. ทางวาจากบั จติ เช่น ปาราชิก เพราะสงั่ ใหท้ าโจรกรรม.

สจติ ตกะ-อจติ ตกะ อาบตั ทิ งั้ หมดนนั้ เพง่ เอาเจตนาเป็นทต่ี ง้ั แบง่ ออกเป็น ๒ พวก คอื ๑. สจติ ตกะ เกดิ ข้นึ โดยสมฏุ ฐานทม่ี เี จตนา. ๒. อจติ ตกะ เกดิ ข้นึ โดยสมฏุ ฐานทไ่ี ม่มเี จตนา. ทางกาหนดรูอ้ าบตั ทิ เ่ี ป็นสจติ ตกะ หรอื อจติ ตกะ นน้ั อยู่ทร่ี ูปความ และโวหาร (คาพดู ) ในสกิ ขาบทนน้ั ๆ นนั่ เอง โลกวชั ชะ-ปณั ณตั ตวิ ชั ชะ อน่ึง อาบตั นิ นั้ เป็นโทษเสยี หายไดอ้ กี ๒ ทาง คือ ๑. โลกวชั ชะ เป็นโทษทางโลก เช่น การฆ่ากนั ทบุ ตี ขโมย. ๒. ปณั ณตั ตวิ ชั ชะ เป็นโทษทางพระบญั ญตั ิ เช่น ขดุ ดนิ ,ฉนั อาหารใน เวลาวกิ าล.

อาการท่ตี อ้ งอาบตั ิ ๖ อย่าง ๑. ตอ้ งดว้ ยไมล่ ะอาย ๒. ตอ้ งดว้ ยไมร่ ูข้ นื ทาลงไป ๓. ตอ้ งดว้ ยสงสยั ขนื ทาลงไป ๔. ตอ้ งดว้ ยสาคญั วา่ ควรในของทไ่ี ม่ควร ๕. ตอ้ งดว้ ยสาคญั วา่ ไมค่ วรในของทค่ี วร ๖. ตอ้ งดว้ ยลมื สติ

อานิสงสพ์ ระวนิ ยั พระวนิ ยั น้นั ภกิ ษุรกั ษาโดยถกู ทางย่อมไดอ้ านิสงส์ (ผลดี) ๑.ความไม่ตอ้ งเดอื ดรอ้ นใจเรยี กว่า วปิ ฏสิ าร* ๒.ยอ่ มไดค้ วามแช่มช่ืนเบกิ บานเพราะรูส้ กึ วา่ ตนประพฤตดิ ีงาม ๓.ไดร้ บั การสรรเสรญิ จะเขา้ หม่ภู กิ ษุผูท้ รงศีลกอ็ งอาจ ไม่สะทกสะทา้ น ฝ่ ายภกิ ษุประพฤตไิ ม่ถกู ทาง ย่อหย่อนทางวนิ ยั ยอ่ มจะไดผ้ ลตรงกนั ขา้ ม กบั ท่กี ลา่ วแลว้ .

ผลท่มี ่งุ หมายแหง่ พระวนิ ยั ๘ อยา่ ง ๑. เพอ่ื ป้ องกนั ไม่ใหเ้ ป็นคนเห้ยี มโหด เช่น หา้ มฆ่ามนุษย.์ ๒. \" \" ความลวงโลกเล้ยี งชีพ เช่น หา้ มอวดอตุ ตริ ฯ ๓. \" \" ความดุรา้ ย เช่นหา้ มด่ากนั ตกี นั . ๔. \" \" ความประพฤตเิ ลวทราม เช่น หา้ มพูดปด. ๕. \" \" ความประพฤตเิ สยี หาย เช่น หา้ มแอบฟังความ. ๖. \" \" ความเลน่ ซกุ ซน เช่น หา้ ไม่ใหเ้ ลน่ จ้กี นั . ๗. ทรงบญั ญตั ติ ามความนิยมของคนครง้ั น้นั เช่น หา้ มมิใหข้ ุดดนิ . ๘. \" \" โดยเป็นธรรมเนียมของภกิ ษุ เช่น หา้ มฉนั อาหารในวิกาล.

สกิ ขาบท พระบญั ญตั ิมาตราหน่ึง ๆ เป็นสกิ ขาบทอนั หน่ึง ๆ สกิ ขาบทมาในพระปาติโมกข์ ตอ้ งรกั ษาไวเ้ ป็นหลกั มี จานวน จากดั คอื ๒๒๗ ขอ้ .สกิ ขาบทนอกพระปาตโิ มกข์ พงึ รกั ษาปฏบิ ตั ิตามความสามารถ มจี านวนมาก หากภกิ ษุ ทาย่อหยอ่ น ขาดตกบกพรอ่ งไปมาก กเ็ สยี ธรรมเนียม หาก รกั ษาไดม้ าก กจ็ ะสง่ เสรมิ ใหน้ ่าเคารพนบั ถอื ย่งิ ข้ึน

โทษโดยตรง ๔ คอื ๑. ปาราชิก. ๒. สงั ฆาทเิ สส. ๓. ปาจติ ตยี .์ ๔. ปาฏเิ ทสนียะ. โดยออ้ มอกี ๓ คอื ๑. ถลุ ลจั จยั . ๒. ทกุ กฏ. ๓. ทพุ ภาสติ .

อนุศาสน์ ๘ อย่าง นิสสยั ๔ อกรณียกจิ ๔ ปจั จยั เคร่อื งอาศยั ของบรรพชิต เรยี กนิสสยั มี ๔ อยา่ ง คอื เทย่ี วบณิ ฑบาต ๑ นุ่งห่มผา้ บงั สุกลุ ๑ อยู่โคนไม้ ๑ ฉนั ยาดองดว้ ยนา้ มตู รเน่า ๑ กจิ ท่ไี ม่ควรทา เรยี กว่า อกรณียกจิ มี ๔ อย่าง คอื เสพเมถนุ ๑ ลกั ของเขา ๑ ฆ่าสตั ว์ ๑ พูดอวดคณุ พเิ ศษทไ่ี มม่ ใี นตน ๑ กจิ ๔ อย่างน้ี บรรพชติ ทาไมไ่ ด้

สกิ ขาของภกิ ษุมี ๓ อย่าง คอื สง่ิ ท่ภี กิ ษุจะตอ้ งศึกษามี ๓ อย่าง คอื ศีล สมาธิ ปญั ญา ความสารวมกายวาจาใหเ้รยี บรอ้ ย ชอ่ื วา่ ศีล ความรกั ษาใจมนั่ ช่อื วา่ สมาธิ ความรอบรูใ้ นกองสงั ขาร ช่อื วา่ ปญั ญา

อาบตั นิ ้นั ว่าโดยช่ือ มี ๗ อย่าง โทษทเ่ี กดิ เพราะความละเมดิ ในขอ้ ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ หา้ ม เรยี กวา่ อาบตั ิ อาบตั นิ น้ั วา่ โดยช่อื มี ๗ อย่าง คอื ปาราชิก ๑ สงั ฆาทเิ สส ๑ ถลุ ลจั จยั ๑ ปาจติ ตีย์ ๑ ปาฏเิ ทสนียะ ๑ ทกุ กฎ ๑ ทพุ ภาสติ ๑ ศีล ๒๒๗ ขอ้ ทเ่ี ป็นวนิ ยั ของสงฆ์ ทาผดิ ถอื วา่ เป็นอาบตั ิ สามารถแบง่ ออกไดเ้ป็นลาดบั ขน้ั ตง้ั แต่ขนั้ รุนแรง จนกระทงั่ เบาทส่ี ุดไดด้ งั น้ี ไดแ้ ก่

ปาราชิก มี ๔ ขอ้ ไดแ้ ก่ ๑. ภกิ ษุเสพเมถนุ แมก้ บั สตั วเ์ ดรจั ฉานตวั เมยี (ร่วมสงั วาสกบั คนหรอื สตั ว)์ ๒. ภกิ ษุถอื เอาทรพั ยท์ เ่ี จา้ ของไมไ่ ดใ้ หม้ าเป็นของตน จากบา้ นก็ดี จากป่ากด็ ี (ขโมย) ๓. ภกิ ษุพรากกายมนุษยจ์ ากชวี ติ (ฆ่าคน)หรอื แสวงหาศาสตราอนั จะนาไปสู่ ความตายแก่ร่างกายมนุษย์ ๔. ภกิ ษุกลา่ วอวดอตุ ตรมิ นุสสธมั ม์ อนั เป็นความเหน็ อย่างประเสรฐิ อย่าง สามารถ นอ้ มเขา้ ในตวั วา่ ขา้ พเจา้ รูอ้ ย่างน้ี ขา้ พเจา้ เหน็ อย่างน้ี (ไมร่ ูจ้ รงิ แต่ โออ้ วดความสามารถของตวั เอง)

สงั ฆาทเิ สส ๑๓ ๑. ภกิ ษุแกลง้ ทาใหน้ า้ อสุจเิ คลอ่ื น ตอ้ งสงั ฆาทเิ สส. ๒. ภกิ ษุมคี วามกาหนดอยู่ จบั ตอ้ งกายหญงิ ตอ้ ง สงั ฆาทเิ สส. ๓. ภกิ ษุมคี วามกาหนดอยู่ พดู เก้ยี วหญงิ ตอ้ งสงั ฆาทเิ สส ๔. ภกิ ษุมคี วามกาหนดั อยู่ พูดลอ่ ใหห้ ญงิ บาเรอตนดว้ ยกาม ตอ้ งสงั ฆาทเิ สส. ๕. ภกิ ษุชกั สอ่ื ใหช้ ายหญงิ เป็นผวั เมยี กนั ตอ้ งสงั ฆาทเิ สส.

สงั ฆาทเิ สส ๑๓ ๖. ภกิ ษุสรา้ งกฎุ ที ต่ี อ้ งก่อและโบกดว้ ยปูนหรอื ดนิ ซง่ึ ไมม่ ใี ครเป็นเจา้ ของ จาเพาะเป็น ทอ่ี ยู่ของตน ตอ้ งทาใหไ้ ดป้ ระมาณ โดยยาวเพยี ง ๑๒ คืบพระสุคต โดยกวา้ งเพยี ง ๗ คืบ วดั ในร่วมใน และตอ้ งใหส้ งฆแ์ สดงทใ่ี หก้ ่อน ถา้ ไมใ่ หส้ งฆแ์ สดงทใ่ี หก้ ็ดี ทาให้ เกนิ ประมาณกด็ ี ตอ้ งสงั ฆาทเิ สส ๗. ถา้ ทอ่ี ยู่ซง่ึ จะสรา้ งข้นึ นนั้ มที ายกเป็นเจา้ ของ ทาใหเ้กนิ ประมาณนน้ั ได้ แต่ตอ้ งให้ สงฆแ์ สดงทใ่ี หก้ ่อน ถา้ ไม่ใหส้ งฆแ์ สดงทใ่ี หก้ ่อน ตอ้ งสงั ฆาทเิ สส ๘. ภกิ ษุโกรธเคอื ง แกลง้ โจทภกิ ษุอ่นื ดว้ ยอาบตั ปิ าราชกิ ไม่มมี ลู ตอ้ งสงั ฆาทเิ สส. ๙. ภกิ ษุโกรธเคือง แกลง้ หาเลสโจทภกิ ษุอ่นื ดว้ ยอาบตั ปิ าราชกิ ตอ้ งสงั ฆาทเิ สส.

สงั ฆาทเิ สส ๑๓ ๑๐. ภกิ ษุพากเพยี รเพอ่ื จะทาลายสงฆใ์ หแ้ ตกกนั ภกิ ษุอ่นื หา้ มไมฟ่ งั สงฆ์ สวดกรรมเพอ่ื จะใหล้ ะขอ้ ทป่ี ระพฤตนิ นั้ ถา้ ไมล่ ะ ตอ้ งสงั ฆาทเิ สส ๑๑. ภกิ ษุประพฤตติ ามภกิ ษุผูท้ าลายสงฆน์ นั้ ภกิ ษุอ่นื หา้ มไมฟ่ งั สงฆส์ วด กรรมเพอ่ื จะใหล้ ะขอ้ ทป่ี ระพฤตนิ น้ั ถา้ ไมล่ ะ ตอ้ งสงั ฆาทเิ สส. ๑๒. ภกิ ษุว่ายากสอนยาก ภกิ ษุอน่ื หา้ มไมฟ่ งั สงฆส์ วดกรรมเพ่อื จะใหล้ ะขอ้ ทป่ี ระพฤตนิ น้ั ถา้ ไมล่ ะ ตอ้ งสงั ฆาทเิ สส. ๑๓. ภกิ ษุประทษุ รา้ ยตระกูล คอื ประจบคฤหสั ถ์ สงฆไ์ ลเ่ สยี จากวดั กลบั วา่ ตเิ ตยี นสงฆ์ ภกิ ษุอ่นื หา้ มไมฟ่ งั สงฆส์ วดกรรมเพอ่ื จะใหล้ ะขอ้ ทป่ี ระพฤตนิ น้ั ถา้ ไมล่ ะ ตอ้ งสงั ฆาทเิ สส.

นิสสคั คยิ ปาจติ ตยี ์
























Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook